Thai
May 4, 2017 | Author: Soontorn Limp | Category: N/A
Short Description
Download Thai...
Description
อาจารย์ยุทธนา นันทิวัธวิภา อาจารย์สังเวียน มณีจันทร์ อาจารย์วิริทธิพล อังก์วราปิยทัช (อ.ทิวลิป) อาจารย์จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์ (อ.เอี้ยง) อาจารย์ชนิสา แซ่อึ้ง (อ.อ้น)
ประมวลรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 1.
ภาษาศาสตร์ ว่าด้วยลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ข้อสอบประกอบด้วย ระบบเสียงในภาษาไทย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
พยัญชนะ มักถามเรื่อง พยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะควบกล้ำ พยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกดแม่ต่างๆ พยางค์เปิด พยางค์ปิด
สระ มักถามเรื่องสระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม โดยมีตัวลวงคือรูปสระที่ไม่ตรงกับเสียงสระ
วรรณยุกต์ มักให้ผันวรรณยุกต์ตามข้อความที่กำหนด ข้อควรระวังคือการตอบให้ตรงคำถาม
โครงสร้างของพยางค์ ความเหมือน ความแตกต่างของพยางค์ คำเป็น - คำตาย ธรรมชาติของภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษา ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย คำไทยแท้ – คำยืม (คำบาลี คำสันสกฤต คำเขมร คำต่างประเทศตระกูลยุโรป) การสร้างคำการเพิ่มคำ คำประสม คำซ้อน คำซ้ำ คำสมาสทั้งคำสมาสที่ไม่มีสนธิและคำสมาสแบบมีสนธิ
2.
หลักภาษา ข้อสอบมักออกเรื่องความถูกต้องตามหลักภาษาไทย ประโยค กลุ่มคำ ประโยคสมบูรณ์ การเน้นประโยค (รูปประโยค) เจตนาของประโยค โครงสร้างของประโยค ชนิดของประโยค (ความเดียว ความรวม ความซ้อน)
ข้อบกพร่องของประโยค ก. การใช้คำฟุ่มเฟือย / กะทัดรัด ข. การใช้ภาษากำกวม / ชัดเจน ค. การวางส่วนขยายผิดที่ ง. การใช้สำนวนต่างประเทศ จ. ความสัมพันธ์ของประโยค ฉ. ประโยคไม่ครบกระแสความ ช. การใช้คำผิดหน้าที่หรือความหมายในประโยค
3.
2
การใช้คำ – สำนวน และการใช้โวหาร การใช้คำให้ตรงกับความหมาย การใช้คำราชาศัพท์ ระดับของภาษา หน้าที่และชนิดของคำ การใช้คำเชื่อม การใช้สำนวน การใช้โวหาร
ภาษาไทย O-NET
4.
วรรณคดีและความงามของภาษา การสรรคำ การเล่นเสียง ลักษณะเด่นและศิลปะในการแต่งคำประพันธ์ ฉันทลักษณ์ และลักษณเด่นของฉันทลักษณ์ (คำเอก คำโท คำครุ คำลหุ) การใช้ภาพพจน์ในวรรณคดีหรือวรรณกรรม จินตภาพ แนวคิด ค่านิยม ความเชื่อที่ปรากฏในวรรณคดีหรือวรรณกรรม ประเพณี สังคม วัฒนธรรมที่ปรากฏในวรรณคดีหรือวรรณกรรม
5.
การใช้ภาษาเพื่อการแสดงความคิดและการแสดงออก ภาษาและเหตุผล โครงสร้างของเหตุผล การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ
6.
การใช้ภาษาไทย การพูด ทั้งระหว่างบุคคลและการพูดในที่ประชุมชน การสัมภาษณ์ การฟัง การอ่าน เน้นการอ่านจับใจความและการตีความ การเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย ประกาศ การประชุม คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร กลวิธีการเขียนอธิบาย การบรรยาย การพรรณนา เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อุปมาโวหาร
7.
เบ็ดเตล็ด เครื่องหมายวรรคตอน การเขียนตัวสะกด การันต์ การอ่านคำ การใช้ลักษณนาม การใช้พจนานุกรม ฯลฯ
ภาษาไทย O-NET
3
บทที่ 1 ระบบเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่
รูปสระ - เสียงสระ 1.
รูปสระ ะ า | || ๐ ุ
เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า
วิสรรชนีย์ ลากข้าง พินทุ์อิ ฝนทอง ฟันหนู นิคหิต, หยาดน้ำค้าง ตีนเหยียด ตีนคู้ ไม้ผัด ไม้ไต่คู้
เ ไ ใ โ อ ย ว ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า
ไม้หน้า ไม้มลาย ไม้ม้วน ไม้โอ ตัว ออ ตัว ยอ ตัว วอ ตัว รึ ตัว รือ ตัว ลึ ตัว ลือ
ประเภทของสระ
1.
เสียงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสียง)
สระเสียงสั้น (รัสสระ) /อะ/
2.
/อิ/ /อึ/ /อุ/ /เอะ/ /แอะ/ /เออะ/ /เอาะ/ /โอะ/
สระเสียงยาว (ทีฆสระ) /อา/ /อี/ /อือ/ /อู/ /เอ/ /แอ/ /เออ/ /ออ/ /โอ/
สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนำเสียงสระเดี่ยว 2 เสียงมาประสมกัน ได้แก่ /อิ/ + /อะ/ = /เอียะ/ /อึ/ + /อะ/ = /เอือะ/ /อุ/ + /อะ/ = /อัวะ/
/อี/ + /อา/ = /เอีย/ /อือ/ + /อา/ = /เอือ/ /อู/ + /อา/ = /อัว/
หมายเหตุ ทางภาษาศาสตร์ ถือว่า สระประสมเสียงสั้นเป็นหน่วยเสียงเดียวกับเสียงยาว จึงถือว่าสระประสม มี คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/
4
ภาษาไทย O-NET
3
เสียง
ข้อควรจำ
อำ ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
รูปพยัญชนะ - เสียงพยัญชนะ 2.
รูปพยัญชนะ มี 44 รูป คือ
อักษรกลาง อักษรสูง ก ข ฃ จ ฉ ฎฏ ฐ ดต ถ บป ผฝ อ ศษส ห เสียงพยัญชนะปรากฏได้ 2 ตำแหน่ง ในพยางค์ คือ 1. เสียงพยัญชนะต้น 1.1 เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว มี 21 เสียง คือ 1. /ก/
2. /ค/
3. /ง/
4. /จ/
5. /ช/
6. /ซ/
7. /ย/
8. /ด/
9. /ต/
10. /ท/
11. /น/
อักษรคู่ คฅ ฆ ช ฌ ฑ ฒ ท ธ พฟ ภ ซ ฮ
12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.
/บ/ /ป/ /พ/ /ฟ/ /ม/ /ร/ /ล/ /ว/ /ฮ/ /อ/
อักษรเดี่ยว ง ญ ณ น ม ยรลวฬ
1.2 เสียงพยัญชนะต้นประสม (เสียงควบกล้ำ) คือ พยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะต้นสองตัวออกเสียงควบกันใน
ระบบเสียงภาษาไทย มี 5 ชุด คือ
ก ค ป พ ต
ร / / / / /
ล / / / / ×
ว / / × × ×
ข้อควรระวัง คำควบไม่ แท้ จั ด เป็ น เสี ย งพยั ญ ชนะ ต้นเสียงเดี่ยว เช่น จริง (จิง) สร้าง (ส้าง) โทรม (โซม) เป็นต้น
ภาษาไทย O-NET
5
2.
เสียงพยัญชนะท้าย คือ เสียงพยัญชนะที่ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดมี 9 เสียง คือ 1. /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ครก นาก ฯลฯ 2. /บ/ หรือ /ป/ เช่น พบ ลาภ กบ จับ กราฟ ฯลฯ 3. /ด/ หรือ /ต/ เช่น มด กาจ คช กฎ พุทธ ฯลฯ 4. /ง/ เช่น โมง หาง สูง แกง กิ่ง ฯลฯ 5. /ม/ เช่น กรรม หาม ชิม ทำ สัมมนา ฯลฯ 6. /น/ เช่น การณ์ กลอน สัญญาณ เขิน ฯลฯ 7. /ย/ เช่น ชาย หน่อย รวย ได้ ใน ฯลฯ 8. /ว/ เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย หิว ฯลฯ 9. /?/ หมายถึงพยางค์ที่เป็นเสียงสั้น ลงเสียงหนักท้ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ
3.
วรรณยุกต์ คือ ระดับเสียงสูงต่ำของพยางค์ (tone) มี 4 รูป 5 เสียง คือ รูป
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา พยางค์ปิด - พยางค์เปิด พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะท้าย เช่น กิน ข้าว ไหม ชิชะ จะจะ ชัยชนะ (มีเสียง /?/) พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย เช่น มา หรือ หนู โครงสร้างของพยางค์ หมายถึง ส่วนประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก เสียงของพยัญชนะท้าย พยางค์ปิด หรือพยางค์เปิด เสียงของพยัญชนะต้น เดี่ยวหรือควบกล้ำ เสียงของสระ สระสั้น สระยาว เสียงของวรรณยุกต์ เสียงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา คำเป็นคำตาย 1. คำเป็น หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาว หรือคำที่มีเสียงสะกด แต่ยกเว้น แม่ กก กบ กด เช่น น้า ตี งู
จง อาง ให้ เห็น 2. คำตาย หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีเสียงสะกด รวมทั้งคำที่อยู่ในแม่ กก กบ กด เช่น กระทะ
มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ด กฎ ศพ
อ้างอิง กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสียงภาษาไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
6
ภาษาไทย O-NET
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 1 เรื่องระบบเสียงในภาษาไทย 1.
ข้อใดมีเสียงสระสั้น ทุกพยางค์ 1. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน 3. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์
2.
ข้อใดมีจำนวนพยางค์ที่ประกอบด้วยสระลดรูปมากที่สุด 1. กวนขนม ทุ่มทุน ทางขนาน 2. ปลดปลง ปกป้อง ครบครัน 3. ตกใจ สิ้นเคราะห์ กราบกราน 4. กรี้ยวกราด กลบเกลื่อน เกรงกริ่ง
2.
นมข้น นมผง นมกล่อง นมสด 4. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์
3.
ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม เสวยสวรรค์ 1. มโนมอบพระผู้ 3. สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง 4. ข้อใดมีคำที่ประกอบด้วยเสียงสระประสมทุกคำ (2/2546) 1. เฟื้องฟ้า ร่ำรวย เสียหน้า 2. 4. 3. เปรี้ยวปาก เกรอะกรัง พร่ำเพรื่อ
2.
พูดมากเปล่าเปลืองปน 4. คำแสลงเสียดแทงระคน
ปดเหล้น คำหยาบ หยอกฤา
มัวหมอง เชื่อใจ เลิศล้ำ เรื่องราว เพลี่ยงพล้ำ แท่นพิมพ์
5.
ข้อใดไม่มีสระประสม (O-NET 50) 1. ใครดูถูกผู้ชำนาญในการช่าง 3. เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง
6.
พยางค์ท้ายข้อใดมีเสียงสระตรงกับพยางค์ที่ขีดเส้นใต้ “จราจร จลาจล” (A-NET 50) 1. ถนน ถนอม 2. ขนอน โขนง 3. ฉลอง ฉงน 4. สนม สนน
7.
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวซ้ำกันมากที่สุด (2/2546) 1. นุ่งยกนอกดอกวิเศษเกล็ดพิมเสน 2. โจงกระเบนประคดคาดไม่หวาดไหว 3. บ้างใส่เสื้อส้าระบับเข้มขาบใน 4. ข้างนอกใส่ครุยกรองทองสำริด
8.
ข้อใดมีจำนวนเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวน้อยที่สุดโดยไม่นับเสียงซ้ำ (A-NET 50) 1. สุดสายตาข้าเห็นเป็นทุกเวิ้ง 2. ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ 3. ของไทยแน่นั้นหรือคือภาษา 4. ชลล้นเจิ่งแผ่นดินหมองร้องครวญคร่ำ
9.
ข้อใดมีทั้งอักษรควบและอักษรนำ (A-NET 49) 1. สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บ ใจมา 2. เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้ 3. ลูกตายฤๅใครเก็บ ผีฝาก พระเอย 4. ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา
10.
คำขวัญต่อไปนี้มีเสียงพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด” 1. 5 เสียง 2. 6 เสียง 3. 7 เสียง
11.
2.
ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง 4. จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา
4. 8
เสียง
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดมากที่สุด (ไม่นับเสียงซ้ำ) 1. จงรู้จักรักษาคุณค่าหญิง 2. อย่าทอดทิ้งทางงามทุกความหมาย 3. แม้นราคีมีหมองต้องเสียดาย 4. จะอับอายออกนามคนหยามเรา
ภาษาไทย O-NET
7
12.
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ทุกคำ (A-NET 49) 1. เขาทำงานจนภารโรงปิดห้อง 2. คุณยายเป็นลมเมื่ออ่านจดหมายจบ 3. ต้นกล้วยริมรั้วลวดหนามออกเครือแล้ว 4. ภาคใต้ได้รับความเสียหายจากคลื่นยักษ์
13.
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายน้อยที่สุดโดยไม่นับเสียงซ้ำ (A-NET 50) 1. จงจำไว้ว่าอนาคตที่สดใสต้องเริ่มต้นเดี๋ยวนี้ 2. จงมองหาโอกาสที่ซ่อนอยู่ในอุปสรรคที่เผชิญ 3. จงจำไว้ว่าคำพูดที่อ่อนหวานช่วยสมานใจได้ดี 4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ข้างโทรศัพท์ทุกเครื่อง
14.
ข้อใดมีคำที่สะกดด้วยแม่กดมากที่สุด (O-NET 49) 1. อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นเป็นนิตย์ในโอกาสวันสุดสัปดาห์ 2. งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาสการประสูติพระโอรส 3. ขอตั้งสัจจะอธิษฐานยึดมั่นในชาติ ศาสน์ กษัตริย์ชั่วนิรันดร์ 4. ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้นให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้
15.
ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง (O-NET 49) 1. โง่ไม่เป็นใหญ่ยากฝากให้คิด 3. ต้องรู้โง่ฉลาดปราดเปรื่องตน
2.
16.
ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง (O-NET 50) 1. เจ้าคุมแค้นแสนโกรธพิโรธพี่ 3. จนพระหน่อสุริยวงศ์ทรงพระนาม
2.
17.
เสียงวรรณยุกต์ข้อใดต่างกับข้ออื่น(A-NET 50) 1. ทรงธรรมล้ำมะนุษ- 3. บำเพ็ญพะลีการ
2.
18.
คำคู่ใดต่างกันเฉพาะเสียงสระเท่านั้น (A-NET 49) 1. ทรัพย์ - ทราบ 3. หมั้น - ม่าน
2.
19.
เสียงของพยางค์ในข้อใดมีโครงสร้างต่างกับข้ออื่น (ข้อสอบ O-NET 2551) 1. ขวาน 2. หลาม 3. เผย
4.
ฝูง
20.
คำในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคำ 1. ตั้งร้าน 2. ข้างขึ้น
4.
ทรุดโทรม
21.
ข้อใดมีคำตายมากที่สุด (A-NET 49) 1. ประดุจทรงวราภรณ์สุนทรสวัสดิ์ 3. ประดับพระวรเดชวิเศษฤทธิ์
22.
ข้อใดมีคำตายน้อยที่สุด (1/2546) 1. ทั้งไพร่นายรายเรียงกันเรียดไป 2. พระเปรมปรีดิ์ดีใจอยู่ในพักตร์ 3. คำโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ง 4. เสพอาหารหวานคาวเมื่อคราวยาก
23.
ภาษาไทย O-NET
แต่เดือนยี่ย่างเข้าเดือนสาม 4. จากอารามแรมร้างทางกันดาร ฤทธิรุทมหาศาล 4. ทุกอย่างงามตามวิสัย เนิบ - นับ 4. โชค - ชัก
3.
คล่องแคล่ว
2.
เรืองจรัสยิ่งมกุฎสุดสง่า 4. ที่สถิตอานุภาพสโมสร ตัดใบไม้มุงเหมือนหลังคาบัง มิให้ประจักษ์คนทั้งหลาย เขาว่าลิงจองหองมันพองขน ล้วนของฝากเฟื่องฟูค่อยชูชื่น
ทุกพยางค์ในข้อใดเป็นคำเป็น (O-NET 50) 1. พระเสด็จโดยแดนชล 3. เรือชัยไวว่องวิ่ง
8
ทางชีวิตจะรุ่งโรจน์โสตถิผล 4. โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว
2.
ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย 4. รวดเร็วจริงยิ่งอย่างลม
บทที่ 2 การใช้คำ คำและความหมาย
คำในภาษาไทยมีความหมายกว้างและแคบไม่เท่ากัน เช่น ดอกไม้ มีความหมายกว้าง แต่ ดอกกุหลาบ มีความหมาย แคบ นอกจากนี้ความหมายของคำแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.
2.
คำที่มีความหมายตรง คือ แปลความหมายตามพจนานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ 1.1 คำที่มีความหมายเดียว เช่น ตกลง หมายถึง ยินยอมพร้อมใจกัน ผลัด หมายถึง เปลี่ยน แกน หมายถึง วัตถุแข็งที่อยู่ส่วนกลาง โก่ง หมายถึง ทำให้โค้ง 1.2 คำที่มีหลายความหมาย เช่น ขัน หมายถึง ภาชนะตักน้ำ
หมายถึง ทำให้ตึง
หมายถึง แข็งแรง ข้อควรจำ ขึ้น หมายถึง เน่าพอง (ศพขึ้น) การใช้คำต้องให้ตรงกับ ความหมาย และบริบท
หมายถึง อ่อนน้อม สังกัด (เมืองขึ้น)
หมายถึง ผุดโผล่ (ตะวันขึ้น)
หมายถึง งอก (ต้นไม้ขึ้น)
หมายถึง เพิ่ม (ขึ้นราคา) คำที่มีความหมายในประหวัด คือ คำที่มีความหมายไม่ตรงตามศัพท์ แต่มีนัยให้เข้าใจเป็นอย่างอื่น
3.
คำที่มีความหมายเปรียบเทียบ (อุปมา) หรือ การใช้สำนวนโวหารเช่น เสือ หมายถึง ความดุร้าย ปลาซิว หมายถึง ความใจเสาะ ลิง หมายถึง ความซน ฤาษี หมายถึง ความสงบเสงี่ยม ควาย หมายถึง ความโง่ แก้วตา หมายถึง เป็นที่รัก การใช้ภาษาในชีวิตประจำวันนั้น การใช้คำที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และความหมายเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะ สื่อความหมายได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร หลักสำคัญในการใช้คำโดยสรุปมีดังนี้ 1. ใช้คำให้ถูกตามตำแหน่ง และหน้าที่ เช่น คำนาม คำสรรพนาม ใช้ทำหน้าที่เป็นประธาน กรรมของประโยค
คำกริยา แสดงอาการกระทำ ผู้เรียนต้องรู้จักว่าคำใดควรอยู่ในตำแหน่งใดของประโยค 2. การเรียงลำดับคำหรือพยางค์ให้ถูกต้อง ถ้าเรียงกลับกันความหมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใจช้ำ-ช้ำใจ หนวกหู-
หูหนวก กินอยู่-อยู่กิน เป็นต้น 3. ต้องรู้สึกเลือกใช้คำให้เหมาะกับกาลเทศะ ถึงแม้บางคำจะมีความหมายคล้ายคลึงกัน แต่ไม่สามารถแทนที่กันได้ เช่น ภายในโรงฆ่าสัตว์ ตลบอบอวล ไปด้วยกลิ่นซากสัตว์ ควรแก้ไขเป็นคละคลุ้ง 4. ใช้คำให้ตรงกับความหมาย ภาษาไทยมีคำมากมายที่มีความหมาย คล้ายกัน บางคำมีความหมายแฝงอยู่ จึง จำเป็นต้องเลือกคำให้เหมาะสมและตรงความหมายมากที่สุด เช่น แล่ ฝาน ปอก ผ่า เฉือน เฉาะ สับ เป็นต้น สรุปง่าย ๆ คือ หลักของการใช้คำ ต้องใช้คำให้ตรงความหมาย ตรง : ตรงตามพจนานุกรม คำ = ความหมาย นัย : ตีความตามปริบท แฝง : ซ่อนอารมณ์ และความรู้สึก แคบ กว้าง
ภาษาไทย O-NET
9
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 2 การใช้คำ 1.
คำในข้อใดสามารถใช้ได้ทั้งความหมายโดยตรงและโดยนัยทุกคำ 1. เข้าฌาน เข้าถึง เข้าเนื้อ 2. แก้ลำ แก้เผ็ด แก้เกี้ยว 3. ขึ้นหม้อ ขึ้นสาย ขึ้นชื่อ 4. คอแข็ง คอตก คอสูง
2.
คำในข้อใดทุกคำในข้อใดมีทั้งความหมายโดยตรงและเชิงอุปมา 1. ตกเบ็ด ลอยแพ ไหว้ผี เอียงซ้าย 2. จับตา ลอกคราบ นิ้วก้อย จับตาย 3. ติดตา ลายคราม ขึ้นหิ้ง จับเข่า 4. ปากน้ำ ตัดต่อ ร้อนตัว ตกข่าว
3.
คำว่า “ทิ้ง” ในข้อใดมีความหมายในตรงทุกคำ 1. ทิ้งจดหมาย ทิ้งท้าย ทิ้งไพ่ 3. ผ้าเนื้อทิ้ง ทิ้งทวน ทิ้งธุระ
4.
ข้อใดใช้คำแสดงความหมายแคบกว้างต่างกันได้อย่างเหมาะสม 1. เขาสนใจทั้งกีฬาและมวย 2. เขาชอบปลูกต้นไม้และไม้ผล 3. ฤดูนี้มีผลไม้มากทั้งเงาะและทุเรียน 4. ประชาชนและชาวนามาชุมนุมกันมากมาย
5.
ข้อใดไม่มีความหมายกว้างแคบอยู่ด้วยกัน 1. กิจวัตรประจำวันของสาวิตรี ได้แก่ การอ่านหนังพิมพ์ในเวลาเช้าและดูโทรทัศน์ในเวลากลางคืน 2. การพกอาวุธ เช่น มีด ปืน ระเบิดขวด ในที่สาธารณะเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำ 3. การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยเป็นโอกาสที่นักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ ได้แข่งขันกัน 4. การเดินทางไปต่างจังหวัดในปัจจุบันนี้ เราสามารถเดินทางได้หลายวิธี เช่น โดยทางเครื่องบิน รถไฟ รถยนต์
6.
ข้อใดใช้คำถูกต้องตรงความหมาย 1. ผมว่ากรณีนี้ยังมีอะไรเคลือบแคลงอยู่อีกมาก 2. พนักงานคนใหม่พิมพ์หนังสือตกหายไปหลายวรรค 3. ระวังกระเป๋าให้ดีๆ นะ อย่าให้ใครฉกชิงเอาไปได้ 4. อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบบอกว่าตัวดีกว่าเพื่อนๆ อยู่เรื่อย
7.
ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้อง 1. แม่ค้าขายส้มตำไก่ย่างเป็นอาชีพที่มีรายได้ดีและไม่ตกงาน 2. อาหารประเภทยำมีรสชาติเผ็ดร้อนกลมกล่อมถูกปากคนไทย 3. แม้ฐานะของเราจะไม่ค่อยดี พ่อแม่ก็ส่งเสียให้ลูกทุกคนได้เรียนจนจบมหาวิทยาลัย 4. แม้ว่าชื่อเสียงของพ่อจะไม่เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้อื่น แต่ฉันก็ภูมิใจในตัวท่าน
8.
ข้อใดใช้คำไม่ตรงความหมาย 1. อาจารย์ปฐมท่านเป็นพหูสูต คุณอ่านเรื่องอะไรไม่เข้าใจก็ถามท่านได้ทุกเรื่อง 2. คนสมถะอย่างอาจารย์ชัยนาท ใครอย่าไปขอร้องให้ทำอะไรเลย ท่านไม่ช่วยหรอก 3. บ้านเล็กๆ หลังนั้นอาจารย์พังงาอาศัยอยู่กับครอบครัวอย่างสันโดษ ไม่ค่อยติดต่อกับใคร 4. บ้านอาจารย์ประจวบเล็กและแทบจะไม่มีของใช้ในบ้านเลย ท่านค่อนข้างอัตคัด
9.
ข้อใดใช้คำได้ถูกต้องตามความหมาย 1. เธอปักผ้าผิดจึงต้องเราะออกแล้วปักใหม่ 2. คุณปู่ขลิบผมไฟหลานคนแรกเมื่ออายุครบเดือน 3. เธอมีน้ำตากลบตาเมื่อฟังข่าวเด็กถูกทิ้งถังขยะ 4. แม่บอกลูกว่าอย่าปล่อยผมยาวรุ่ยร่ายเวลาไปโรงเรียน
10
ภาษาไทย O-NET
2.
ทิ้งทาน ทิ้งกระจาด เททิ้ง 4. ทิ้งเพื่อน ทิ้งขว้าง ทิ้งตา
10.
ข้อใดใช้คำถูกต้องตรงความหมาย 1. วิชัยทำผิดระเบียบของบริษัทเป็นครั้งแรกผู้จัดการจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียงภาคทัณฑ์เท่านั้น 2. บ้านของเขาถูกเวนคืน จึงโยกย้ายครอบครัวไปอยู่กับน้องชายที่ต่างจังหวัด 3. พอได้ฤกษ์ทำพิธีเปิดร้านใหม่ ฝนก็ตกประปรายลงมาพอดี 4. คุณแม่คัดเลือกมะม่วงผลงามๆ ไว้ทำบุญตอนเช้า
11.
คำในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้เติมในช่องว่างต่อไปนี้ “เธอ…พวกเพื่อนๆ ที่พากัน… เสนอผลงานให้เจ้านายโดยไม่รอเธอ เธอเสียใจมากแทบอยากจะ…
เพื่อนๆ จนฉันต้องเป็นฝ่าย… เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง” 1. ตัดรอน ตัดตอน ตัดทาง ตัดประเด็น 2. ตัดพ้อ ตัดหน้า ตัดขาด ตัดบท 3. ตัดรอน ตัดหน้า ตัดญาติขาดมิตร ตัดประเด็น 4. ตัดพ้อ ตัดบท ตัดรอน ตัดตอน
12
ข้อใดไม่มีคำพ้องความหมาย 1. ไอยรา ราชสีห์ กุญชร 3. เทเวศร์ อัจฉรา สุรารักษ์
2.
ลำธาร ชลาสินธุ์ มัจฉา 4. สิงขร เวหาสน์ วนาดร
ภาษาไทย O-NET
11
บทที่ 3 คำไทยแท้และคำยืมภาษาต่างประเทศ
คำไทยแท้
หลักการสังเกตคำไทยแท้ 1.
คำไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว เช่น กิน นอน วิ่ง ผัด จิก เคี้ยว ไล่ ตี ฉัน ข้า เขา เจ้า ท่าน มัน แก พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ดิน น้ำ ไฟ ตา หู ปาก ดี
ขาว สูง หอม กลม หนา แบน ใน นอก บน อ่าง ริม และ กับ แต่ ต่อ ถ้า แม้ จึง ฯลฯ
2.
คำไทยแท้ส่วนใหญ่มักมีคำกร่อนเสียง คำกร่อนเสียงเหล่านี้เป็นคำไทยแท้ เช่น ฉะนั้น กร่อนมาจาก ตะขบ กร่อนมาจาก ตะเคียน กร่อนมาจาก ตะขาบ กร่อนมาจาก มะพร้าว กร่อนมาจาก มะตูม กร่อนมาจาก มะปราง กร่อนมาจาก ตะวัน กร่อนมาจาก ตะปู กร่อนมาจาก สะดือ กร่อนมาจาก สะใภ้ กร่อนมาจาก
3.
ฉันนั้น ต้นขบ ต้นเคียน ต้นขาบ หมากพร้าว หมากตูม หมากปราง ตาวัน ตาปู สายดือ สาวใภ้
คำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา แม่กก ใช้ “ก” สะกด เช่น ผัก รัก มาก ลาก จาก ฯลฯ แม่กบ ใช้ “บ” สะกด เช่น ดับ ตับ สูบ ทุบ ยุบ พบ ฯลฯ แม่กด ใช้ “ด” สะกด เช่น มัด รัด ฟัด จุด สุด ชุด ฯลฯ แม่กง ใช้ “ง” สะกด เช่น วัง มุง ลุง ชั่ง นาง ฯลฯ แม่กน ใช้ “น” สะกด เช่น เรือน ลาน ฟัน ปาน ฯลฯ แม่กม ใช้ “ม” สะกด เช่น ผม ลม สม ปูม เข็ม งม ฯลฯ แม่เกย ใช้ “ย” สะกด เช่น หาย ควาย ลาย นาย สวย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ “ว” สะกด เช่น ผิว ดาว แมว ข้าว เหว ฯลฯ
ข้อควรระวัง : บางคำสะกดตรงตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้ เช่น โลก มาจาก บาลี สันสกฤต กาย มาจาก บาลี สันสกฤต ยาน มาจาก บาลี สันสกฤต พน มาจาก บาลี สันสกฤต ชน มาจาก บาลี สันสกฤต มน มาจาก บาลี คำเขมร มีดังนี้ จมูก เดิน จะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ดินสอ ปล้นสะดม เขลา ฯลฯ
12
ภาษาไทย O-NET
4.
คำไทยแท้ไม่มีการันต์ คำที่มีตัวการันต์มาจากภาษาอื่น ยกเว้น 4 คำนี้ (แม้มีตัวการันต์ก็เป็นไทยแท้) ผีว์ บ่าห์ เยียร์ อาว์ 5. คำไทยแท้มักปรากฏรูปวรรณยุกต์ แต่มีอีกมากมายที่ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ เช่น
พอ แม เสือ ปา 6.
พ่อ แม่ เสื่อ ป่า
พ้อ แม้ เสื้อ ป้า
คำไทยแท้มักไม่ปรากฏพยัญชนะต่อไปนี้ ฆ ณ ญ ฏ ฑ ฒ ฎ ธ ศ ษ ฬ ยกเว้นบางคำเป็นไทยแท้ เช่น หญิงใหญ่ ณ ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน ศอก เศิก ศึก ธ เธอ
7.
คำไทยแท้ใช้ “ ใ ” 20 ตัว คือ ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ จะใคร่ลงเรือใบ สิ่งใดอยู่ในตู้ บ้าใบ้ถือใยบัว เล่าท่องอย่าละเลี่ยง
ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ มิหลงใหลใครขอดู ดูน้ำใสและปลาปู มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง หูตามัวมาใกล้เคียง ยี่สิบม้วนจำจงดี
คำบาลี – สันสกฤต
ภาษาบาลี มีพยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ภาษาสันสกฤต มีพยัญชนะ 35 ตัว (เพิ่ม ศ,ษ) สระ 18 ตัว (เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ)
ฐานคอ ฐานเพดาน ฐานปุ่มเหงือก ฐานฟัน ฐานริมฝีปาก เศษวรรค สูตรการจำ
1
2
3
4
5
ก ข ค จ ฉ ช ฏ ฐ ฑ ต ถ ท ป ผ พ ย ร ล ว ส ห ฬ ํ ยายเราเล่าว่าเสือหิวฬาตากลม
ฆ ฌ ฒ ธ ภ
ง ญ ณ น ม
หลักการสังเกตคำบาลี - สันสกฤต 1. สังเกตสระ คำใดประสมด้วย ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา เป็นคำสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มีสระเหล่านี้)
เช่น ไวทย ฤษี เอารส ไมตรี เสาร์ เยาวชน นฤมล พฤศจิกายน ไอศูรย์ ฤดู ไปรษณีย์ ฯลฯ 2. สังเกตพยัญชนะ คำใดประสมด้วย ศ ษ เป็นคำสันสกฤต
เช่น ภิกษุ ศาสนา พิษณุ กษัย พฤษภาคม ราษฎร รัศมี เกษตร มหัศจรรย์ ศักดิ์ ฯลฯ 3. สังเกตคำควบกล้ำ คำใดมีคำควบกล้ำเป็นคำสันสกฤต (เพราะบาลีไม่นิยมควบกล้ำ)
เช่น ประถม จักร ปราชญ์ อัคร อินทร์ บุตร เนตร สตรี ราตรี จันทรา นิทรา กษัตริย์ ฯลฯ 4. สังเกต “รร” คำใดที่มี “รร” เป็นคำสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มี “รร”)
เช่น ธรรม จรรยา พรรษา สรรพ กรรม สวรรค์ วิเคราะห์ ฯลฯ 5. สังเกต “เคราะห์” คำใดที่มี “เคราะห์” เป็นคำสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์ สงเคราะห์ ฯลฯ
ภาษาไทย O-NET
13
6.
สังเกต ตัวสะกด ตัวตาม คำใดมีตัวสะกด แล้วมีอักษรตามมา 1 ตัว (เบิ้ล) มาจาก บาลี ตัวสะกดตัวตามต้องเป็น
พยัญชนะวรรคเดียวกันจะเป็นไปตามกฎนี้ 6.1 พยัญชนะแถวที่ 1 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 1 หรือ 2 ในวรรคเดียวกันตาม เช่น สัจจะ สัตตะ อัตตะ สักกะ รุกข ปัจฉิม ทุกข์ บุปผา ฯลฯ 6.2 พยัญชนะแถวที่ 3 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 3 หรือ 4 ในวรรคเดียวกันตาม เช่น วิชชา อัคคี พยัคฆ์ พุทธ วัทฒน อัชฌาศัย ฯลฯ 6.3 พยัญชนะแถวที่ 5 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวไหนก็ได้ในวรรคเดียวกันตาม เช่น สังกร องค์ สงฆ์ กัณฑ์ จันทนา บัญญัติ ฯลฯ 6.4 เศษวรรคสะกดตามตัวเอง เช่น เวสสันดร วัลลภ อัยยิกา ฯลฯ หมายเหตุ : ภาษาสันสกฤตมีตวั สะกดตัวตามก็จริง แต่ไม่เป็นไปตาม 6.1 – 6.3 เช่น อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว์
อาชญา ฯลฯ
คำเขมร
หลักการสังเกตคำเขมร 1. คำเขมรมักสะกดด้วย จ ญ ล ร ส ย และมักจะไม่มีตัวตาม สูตรการจำ จาน หญิง ลิง เรือ เสือ จ สะกด เช่น อำนาจ เสร็จ สมเด็จ ตำรวจ ฯลฯ ญ สะกด เช่น เพ็ญ เผอิญ สำราญ ผจญ ครวญ ชำนาญ ฯลฯ ล สะกด เช่น กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล จรัล กำนัล ฯลฯ ร สะกด เช่น ขจร อร กำธร ควร ฯลฯ ส สะกด เช่น ดำรัส จรัส ตรัส ฯลฯ 2. คำที่มาจากเขมรมักเป็นคำควบกล้ำ เช่น กรวด กระบือ เกลือ ขลาด กระแส ไพร ตระกอง โปรด กราน กรม กระทรวง กระเพาะ โขลน ฯลฯ 3. คำที่มาจากเขมรมักใช้อักษรนำ
เช่น โฉนด เขม่า ขนอง ขลาด เขลา จมูก ถวาย ฉนำ เฉลียง ถวาย ขนุน ขยำ ฉลู ฯลฯ 4. คำที่มาจากเขมร มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำ (เพราะมาจาก บ เติมคำหน้า)
เช่น บัง บังควร บังอาจ บังคม บังคับ บังเกิด บัน บันทึก บันเทิง บันดาล บันได บำ บำเพ็ญ บำนาญ บำเหน็จ บำบัด 5. คำที่มากจากเขมรมักขึ้นต้นด้วย กำ คำ จำ ชำ ดำ ตำ ทำ สำ อำ
เช่น กำหนด คำรบ จำแนก ชำนาญ ชำรุด ดำเนิน ดำรัส ตำรวจ ตำรา ทำนบ สำราญ อำนวย ฯลฯ ข้อสังเกต ภาษาบาลี, สันสกฤต และเขมร มักไม่มีวรรณยุกต์กำกับ
คำยืมจากภาษาจีน และภาษาชวา การเขียนคำที่มาจากภาษาจีน และภาษาชวาใช้หลักง่ายๆ คือ เขียนรูปตามเสียงที่ออก หรือได้ยินโดยใช้ตัวสะกดตรง ตามมาตรา และมักใช้รูปวรรณยุกต์กำกับเสียง
14
ภาษาไทย O-NET
คำยืมจากภาษาตระกูลยุโรป
1.
ใช้ศัพท์บัญญัติ คือ การกำหนดคำไทย บาลี สันสกฤต หรือเขมร ที่มีความหมาย หรือสื่อความหมายเหมือนศัพท์
คำเดิมอาจใช้ในการแปลคำศัพท์ หรือสร้างคำศัพท์ก็ได้ เช่น vision - วิสัยทัศน์ bus - รถโดยสารประจำทาง stamp - ดวงตราไปรษณียากร 2. การทับศัพท์ คือ การถอดรูปอักษรจากต้นฉบับเป็นอักษรไทย ยึดหลักตามราชบัณฑิตสภา ดังนี้ 2.1 ถอดรูปอักษรตัวต่อตัวตามแนวเทียบ มักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ เช่น clinic – คลินิก computer – คอมพิวเตอร์ dollar – ดอลลาร์ guitar – กีตาร์ 2.2 คำบางคำที่เคยใช้รูปวรรณยุกต์อนุโลมให้ใช้ได้ เช่น แท็กซี่ ท็อฟฟี่ เค้ก เป็นต้น 3. ศัพท์เทคนิค หรือชื่อเฉพาะ สามารถใช้ทับศัพท์ได้ แต่ยึดหลักการใช้แนวเทียบตัวอักษร
อ้างอิง ประสิทธิ์ กาพย์กลอน และไพบูลย์ ดวงจันทร์, 2527, ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช ราชบัณฑิตยสถาน, 2539, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อุปกิตศิลปสาร, 2531, หลักภาษาไทย, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช ภาษาไทย O-NET
15
ตัวอย่างข้อสอบเรื่องคำไทยแท้และคำยืมภาษาต่างประเทศ 1.
ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ (O-NET 49) 1. รู้กินเพิ่มพลังงาน รู้อ่านเพิ่มกำลังปัญญา 2. น้ำมันขาดแคลน คุยกับแฟนก็ต้องดับไฟ 3. รักบ้านต้องล้อมรั้ว รักครอบครัวต้องล้อมรัก 4. ภาษาบอกความเป็นชาติ เอกราชบอกความเป็นไทย
2.
ข้อใดไม่มีคำที่มาจากภาษาเขมร (A-NET 49) 1. โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็กและคนชรา 3. นวนิยายเรื่องนี้ดำเนินเรื่องได้กระชับดี
3.
ข้อใดไม่มีคำที่มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต (ข้อสอบ O NET 2551) 1. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 2. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็นเทวดา 3. ชื่อของเขาอยู่ในทำเนียบรุ่น 4. ภรรยาของเขาทำงานอยู่ที่นี่
4.
ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาต่างประเทศมากที่สุด (กข/2540) 1. จงเจริญชเยศด้วย เดชะ 2. ปราชญ์แสดงดำริด้วย ไตรยางศ์ 3. อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ 4. บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร
5.
คำประพันธ์ต่อไปนี้คำยืมมาจากภาษาต่างประเทศรวมกี่คำ (สามัญ 2/2539) “บำรุงบิดามา ตุระด้วยหทัยปรีย์ หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหนึ่งตน” 1. 5 คำ 2. 6 คำ 3. 7 คำ
4. 8
6.
คำซ้อนทุกคำในข้อใดเกิดจากคำไทยทั้งหมด (สามัญ 1/2541) 1. ภูเขา ข้าทาส 2. ข้าวของ มูลค่า 3. แก่นสาร กาลเวลา
4.
7.
ข้อใดใช้คำภาษาต่างประเทศโดยไม่จำเป็น (2/2543) 1. เมื่อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็นเพราะฟิวส์ขาดหรือปลั๊กหลุด 2. เด็กๆ ชอบรับประทานไอศกรีมช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีมกะทิสด 3. ก่อนเข้าแบงก์ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ต้องถอดหมวกกันน็อกและแว่นตาดำออก 4. นักกอล์ฟหลายคน อยากเปลี่ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์วูดส์ เพื่อให้ตีลูกได้แม่นและไกล
8.
ข้อใดจำเป็นต้องใช้คำทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ (1/2544) 1. โรงพิมพ์ส่งงานพิมพ์มาให้ตรวจปรู๊ฟที่สองแล้ว 2. ห้างสรรพสินค้าที่เปิดใหม่มักจะมีของแถมแจกฟรีแก่ลูกค้า 3. นักศึกษาที่เรียนได้เกรดเอ ห้าวิชาในเทอมใดจะได้รับการยกเว้นค่าหน่วยกิตในเทอมต่อไป 4. นักกีฬาวีลแชร์ของไทยได้เหรียญทอง จากการแข่งขันกีฬาคนพิการที่ประเทศออสเตรเลีย
9.
ข้อใดใช้คำภาษาต่างประเทศ โดยไม่จำเป็น (2/2544) 1. เวลาไปเที่ยวป่า ฉันชอบสวมกางเกงยีนส์และหมวดแก๊ป 2. ขณะนี้น้ำมันเบนซินราคาแพงมาก อีกทั้งแก๊สก็กำลังขึ้นราคา 3. พอถึงสนามหลวง คนขับรถเมล์เหยียบเบรกกะทันหันจนเราหัวคะมำ 4. ที่ทำงานของฉันกำลังซ่อมลิฟต์ ที่ห้องทำงานก็ต้องซ่อมสวิตซ์ไฟด้วย
16
ภาษาไทย O-NET
2.
เราจะไปรับหลานสาวที่สถานีบางซื่อ 4. เขาเป็นคนเจ้าสำราญมาตั้งแต่ยังหนุ่ม
คำ
แก่เฒ่า หยาบช้า
10.
ข้อใดจำเป็นต้องใช้คำต่างประเทศ (O-NET 49) 1. ราคาน้ำมันดีเซลและเบนซินขึ้นๆ ลงๆ ตามกลไกการตลาด 2. รัฐบาลประกาศกำจัดคอร์รัปชั่นให้หมดไปจากประเทศไทย 3. ยักษ์ใหญ่มือถือทุ่มโปรโมชั่นใหม่ๆ เฉือนกันดุเดือน 4. เวลาขับรถต้องคาดเซฟตีเบลต์ทุกครั้ง
11.
ข้อใดเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้องทุกคำ (O-NET 50) 1. เปอร์เซ็น พลาสติค คลินิก 2. ซอส เต็นท์ เบนซิน 3. กร๊าฟ ช้อค สปริง 4. สวิตซ์ เชิ้ต ดีเปรสชั่น
12.
ข้อใดไม่มีคำภาษาไทยแทนคำภาษาต่างประเทศ (O-NET 50) 1. วัยรุ่นส่วนใหญ่ชอบร้องเพลงฮิตติดอันดับ 2. รัฐบาลมีโปรเจ็กต์พัฒนาชนบทมากมาย 3. พ่อค้ารับออร์เดอร์สั่งสินค้าจากอเมริกา 4. ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
ภาษาไทย O-NET
17
บทที่ 4 การสร้างคำ 1.
คำประสม หมายถึง การเอาคำมารวมกันให้เกิดความหมายใหม่ (คำประสม = คำต้น + คำเติม) - คำประสมจะมีความหมายโดยตรงหรือโดยนัยก็ได้ - คำประสมเกิดจากคำต่างชนิดรวมกันเมื่อปะสมกันแล้วอาจเป็นคำชนิดเดิมหรือชนิดใหม่ก็ได้ เช่น แม่(นาม) + พริก(นาม) = น้ำพริก (นาม) ห่อ (กริยา) + หมก (กริยา) = ห่อหมก (นาม) - ถ้าขึ้นต้นด้วย การ ของ เครื่อง ควา ช่าง ชาว ผู้ ที่ นัก หมอ มักเป็นคำประสม 2.
คำซ้อน มี 2 ประเภท 2.1 คำซ้อนเพื่อความหมาย มี 3 ลักษณะ (1) คำซ้อนทีเ่ กิดจากการนำคำทีค่ วามหมายเหมือนกันมาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต สวยงาม บ้านเรือน ทรัพย์สิน
ข้อสอบชอบออกคำซ้อนภาษาไทยภาษาถิ่น เช่น พัดวี ทองคำ เสื่อสาด เป็นต้น (2) คำซ้อนที่เกิดจากการนำคำที่ความหมายคล้ายกันมาซ้อนกัน เช่น เงินทอง เพชรพลอย หน้าตา แขนขา (3) คำซ้อนที่เกิดจากการนำคำที่ความหมายตรงข้ามกันมาซ้อนกัน เช่น เป็นตาย ร้ายดี ถี่ห่าง 2.2 คำซ้อนเพื่อเสียง ต้องมีพยัญชนะต้นเป็นเสียงเดียวกันโดยที่แต่ละคำจะมีความหมายหรือไม่มีก็ได้ เช่น เกะกะ งอแง จอแจ เจี๊ยวจ๊าว เตาะแตะ ฟูมฟาย อึดอัด ฯลฯ คำซ้อนจะมีความหมาย กว้างขึ้นแคบลง คงเดิม หรือเปลี่ยนไปก็ได้ 3.
คำซ้ำ หมายถึง การใช้คำเดิมซ้ำกันสองครั้ง คำที่ใช้ซ้ำสามาถแทนด้วยไม้ยมก (ๆ) ได้ ความหมายของคำซ้ำ ได้แก่ บอกลักษณะ บอกพหูพจน์ เพิ่มจำนวน บอกความถี่ (ความต่อเนื่อง) ไม่เจาะจง อ่อนลง
เน้นย้ำ เปลี่ยนความหมาย
4.
คำสมาส เป็นการสร้างคำแบบบาลีลันสกฤต โดยแบ่งเป็น 2 วิธี คือ สมาสแบบไม่มีสนธิ(ชนคำ) และสมาแบบมีสนธิ
(เชื่อมคำ) กฎของคำสมาสมี 3 ข้อ 1. คำที่นำมาสมาสกันต้องเป็นคำบาลีสัสนกฤตเท่านั้น 2. แปลความหมายจากหลังไปหน้า 3. อ่านออกเสียงต่อเนื่องระหว่างคำ 4.1 คำสมาสแบบไม่มีสนธิ (ชนคำ) เช่น คุณธรรม (คุณ+ธรรม) ราชการ (ราช +การ) สัตวแพทย์(สัตว์ + แพทย์) ชีววิทยา (ชีวะ+วิทยา) ถ้าเจอคำใดที่ลงท้ายด้วย ธรรม ศาสตร์ สถาน ศึกษา กิจ กรรม วิทยา กร ภาพ ศิลป์ การ ภัย = มักเป็นคำ
สมาสแบบไม่มีสนธิ 4.2 คำสมาสแบบมีสนธิ (เชื่อมคำ) ***โจทย์เน้นเฉพาะ สระสนธิ เท่านั้น 1. สระสนธิ เช่น ชลาลัย (ชล+อาลัย) ปรมินทร์ (ปรม+อินทร์) ราชูปถัมภ์ (ราช+อุปถัมภ์) จุฬาลงกรณ์
(จุฬา +อลงกรณ์) สุริยโยทัย (สุริยะ+ อุทัย) 2. พยัญชนะสนธิ จำเป็นคำไปเลยเพราะมีแค่ไม่กี่คำ ได้แก่ พรหมชาติ อาตมภาพ รโหฐาน มโนภาพ
เตโชธาตุ นิรทุกข์ นิรภัย ทุรชน ทรชน ฯลฯ 3. นิคหิตสนธิ สังเกตคำที่ขึ้นต้นด้วย สง สัง สัม สัญ สัณ สมา สมุ สโม
18
ภาษาไทย O-NET
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 4 เรื่องการสร้างคำ 1.
คำประสมทุกคำในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนคำว่า “เครื่องซักผ้า” (O-NET 50) 1. ผ้าขาวม้า หม้อหุงข้าว 2. แปรงสีฟัน ตู้กับข้าว 3. รถไถนา น้ำพริกเผา 4. ยาหยอดตา ไม้จิ้มฟัน
2.
ข้อใดเป็นคำประสมทุกคำ (O-NET 49) 1. บ้านเรือน พ่อแม่ ลูกหลาน 2. ขาดเหลือ บ้านนอก อ้วนพี 3. ห่อหมก ชั่วดี บ้านพัก 4. กล้วยไม้ เสื้อคลุม แผ่นเสียง
3.
ข้อความต่อไปนี้มีคำประสมจำนวนเท่าใด (ไม่นับคำซ้ำ) “ปัจจุบนั สินค้าต่างๆ ทีข่ ายได้ ไม่ได้ขายด้วยคุณภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ขายด้วยภาพลักษณ์ ทีด่ ดี ว้ ย นัน่ หมายความว่า
ห้างนั้นบริษัทนั้นมีชื่อเสียงดี มีสินค้าดี มีภูมิหลังดี และสินค้านั้นเป็นที่น่าเชื่อถือในวงการค้า” 1. 4 คำ 2. 5 คำ 3. 6 คำ 4. 7 คำ
4.
ข้อความต่อไปนี้มีคำซ้อนกี่คำ (O-NET 49) การระเบิดของภูเขาไฟทำให้หนิ ร้อนจากใต้พภิ พดันตัวขึน้ มาเหนือผิวโลก ก่อให้เกิดคลืน่ ยักษ์ถาโถมเข้าทำลายบ้านเรือน
และชีวิต ท้องทะเลปั่นป่วน ท้องฟ้ามืดมิดทำให้ผู้คนหวาดกลัวคิดว่าโลกจะแตก 1. 4 คำ 2. 5 คำ 3. 6 คำ 4. 7 คำ
5.
ข้อใดไม่มีคำซ้อน (ฉบับตุลาคม 2546) 1. ธรรมดาเกิดมาเป็นสตรี ชั่วดีคงได้คู่มาสู่สม 2. ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กันมา พร้อมนั่งปรึกษาที่วัดนั้น 3. ได้ถือน้ำพระพิพัฒน์สัจจา จะหลบลี้หนีหน้าไปทำไม 4. แสนรโหโอฬาร์น่าสบาย หญิงและชายต่างกลุ้มประชุมกัน
6.
ข้อใดไม่มีคำซ้อน (๒/๒๕๔๕) 1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขึ้นเมื่อทราบข่าวคนรักของเธอ 2. สาลินไม่รู้จักมักคุ้นกับอัศนีย์แต่เขาก็มาชวนเธอทำงาน 3. รจนาตกอยู่ในวังวนของความทุกข์ที่ดูจะหาทางออกไม่ได้ 4. กนกเรขาไม่เดือดร้อนที่คนเข้าใจผิดเรื่องการทำงานของเธอ
7.
ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ (A-NET 50) 1. ลอดลายมังกร สิงห์สาราสัตว์ น้ำท่า 2. โมโหโกรธา ดั้งเดิม ปางก่อน 3. เสกสรร เก็บงำ บาปบุญคุณโทษ 4. วิชาความรู้ ข้าวปลาอาหาร แม่ไม้มวยไทย
8.
ข้อใดมีคำที่สลับคำแล้วไม่เป็นคำซ้อน (A-NET 50) 1. ปนปลอม ยียวน 2. ร่อนเร่ เลือนราง 3. ทนทาน โลมเล้า 4. กลับกลอก ลอกเลียน
ภาษาไทย O-NET
19
9.
ข้อใดไม่มีคำซ้อน (O-NET 50) 1. กินข้าวเสร็จแล้วต้องช่วยกันเก็บถ้วยชามให้เรียบร้อย 2. ประชาชนกำลังยื้อแย่งกันซื้อเสื้อเหลืองที่เมืองทองธานี 3. เด็กวัยรุ่นทุกวันนี้ชอบกินเหล้าเมายาประพฤติตนเหลวแหลก 4. รัฐบาลยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัวได้จึงทำให้น้ำมันมีราคาแพง
10.
ข้อใดมีทั้งคำซ้อนและคำประสม (A-NET 49) 1. ของของใคร ของใครก็ห่วง ของใครใครก็ต้องหวง ห่วงใยรักใคร่ถนอม 2. ชอบไหม ชอบไหม รูปร่างหน้าตาอย่างนี้ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหม ชอบไหม 3. น้องเปิ้ลน่ารัก น้องเปิ้ลน่ารัก ผมเหงาอ้างว้างเปล่าเปลี่ยว ผมอยู่คนเดียวในความมืด 4. ไก่ไหมครับไก่ ซื้อไหมครับ จะกลับแล้วไก่ ไก่ขายถูกถูกแถมกระดูกกับไม้เสียบไก่
11.
ข้อใดไม่ใช้คำซ้ำ (A-NET 49) 1. มีความเหงาเยียบเย็นเป็นที่อยู่ วันวันรับรู้การไหลผ่าน 2. เยี่ยมเยี่ยมมองมองแล้วร้องว่า อะไรนี่บ่นบ้าน่าหนวกหู 3. สงสารใจใจเจ้าเอ๋ยไม่เคยว่าง ทุกก้าวย่างหยุดใจไม่ได้หนอ 4. ปูน้อยน้อยวิ่งร่อยตามริมหาด ทั้งสองมาดหมายตะครุบปุบเปิดหาย 12.
คำซ้ำในข้อใดไม่สามารถใช้เป็นคำเดี่ยวได้ (O-NET 50) 1. กับข้าวพื้นๆ ใครก็ทำได้ 2. แท็กซี่คันไหนๆ ก็ไม่รับฉันสักคัน 3. หาซื้อเมล็ดพันธุ์ดีๆ มาเพาะปลูก 4. จุดตะเกียงกระป๋องเล็กๆ ท่องหนังสือ
13.
คำซ้ำในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น (ฉบับตุลาคม 2546) 1. น้อยมีเสื้อผ้าสวยเป็นตู้ๆ 2. เมื่อตอนเด็กๆ ฉันไม่ชอบว่ายน้ำ 3. ฉันเห็นทหารเดินมาเป็นแถวๆ 4. เขาไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ในวันอาทิตย์
14.
ข้อใดเป็นคำสมาสทุกคำ (ฉบับตุลาคม 2546) 1. พลความ นาฏศิลป์ สรรพสัตว์ 3. ราชดำเนิน สหกรณ์ ชีวประวัติ
15.
ข้อใดไม่มีคำสมาส (O-NET 49) 1. ในลักษณ์นั้นว่าปัจจามิตร 2. ผงคลีมืดคลุ้มโพยมบน 3. ตรัสขาดว่าราชบุตรี 4. เกียรติยศจะไว้ในธรณินทร์
20
ภาษาไทย O-NET
2.
ชลบุรี ธนบัตร พิธีกร 4. ยุทธวิธี คริสตจักร เอกภาพ
มาตั้งติดดาหากรุงใหญ่ บดบังสุริยนในท้องฟ้า จรกาธิบดีมากล่าวขาน จนสุดสิ้นดินแดนแผ่นฟ้า
16.
ข้อใดไม่มีคำสมาส (O-NET 50) 1. บทความบางเรื่องมีแผนภูมิประกอบ 2. คณะนาฏศิลป์ไทยไปแสดงต่างประเทศ 3. หนังสือที่มีอายุครบ 50 ปีแล้วไม่มีค่าลิขสิทธิ์ 4. ทหารที่สละชีพเพื่อชาติได้รับการยกย่องให้เป็นวีรบุรุษ
17.
ข้อใดเป็นคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ (O-NET 50) 1. โลกาภิวัตน์ เอกภพ ศานติสุข 3. ฉัพพรรณรังสี อิทธิฤทธิ์ ปริศนา
2.
18.
ข้อใดเป็นคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ (1/2547) 1. ทิวากร อมรินทร์ รัตติกาล 3. กุศโลบาย มิจฉาทิฐิ บุญญาธิการ
2.
19.
การสร้างคำในข้อใดมีลักษณะต่างจากข้ออื่น (A-NET 49) 1. อุทกภัย คณิตศาสตร์ มนุษยชาติ 2. กาลเทศะ ธุรกิจ แพทยศาสตร์ 3. อุณหภูมิ เทพบุตร ประวัติศาสตร์ 4. ภัตตาคาร อรุโณทัย วชิราวุธ
20.
ข้อใดมีคำที่เกิดจากการสร้างคำมากชนิดที่สุด (ฉบับตุลาคม 2546) 1. ผู้สูงอายุควรรู้จักดูแลสุขภาพให้แข็งแรง 2. ใบหน้ายิ้มแย้มของเธอทำให้ความโกรธของเราเบาบางลง 3. ถ้าอยากเป็นคนน่ารักอย่างไทย จิตใจควรงามและเป็นธรรม 4. หัวใจของศาสนาพุทธคือละชั่ว ทำดี และทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
สิงหาสน์ วชิราวุธ นิลุบล 4. มโหฬาร เจตนารมณ์ เบญจเพส สรรพางค์ ธันวาคม อรัญวาสี 4. ธรรมาสน์ มหัศจรรย์ อรุโณทัย
ภาษาไทย O-NET
21
บทที่ 5 ระบบประโยคในภาษาไทย ประโยค คือ การนำถ้อยคำมาเรียงกันอย่างเป็นระเบียบ และมีเนื้อความครบถ้วนสมบูรณ์
โครงสร้างของประโยค
+ ภาคแสดง ภาคประธาน
กิริยา กรรม ขยายกรรม ประธาน ขยายประธาน
เช่น นกน้อยสองตัว กำลังบินอยู่บนท้องฟ้า ตำรวจร่างใหญ่ จับคนร้ายคนนั้น
ขยายกิริยา
การเน้นประโยค
การเน้นรูปแบบประโยค หมายถึง การวางรูปแบบของคำในประโยค เรียกตามการวางชนิดของคำที่ทำหน้าที่ใน ประโยค มี 4 ชนิด คือ 1. ประโยคเน้นประธาน คือ การวางส่วนผู้กระทำไว้ส่วนต้นของประโยค เช่น แดงเล่นฟุตบอล โรงเรียนนี้มีนักเรียนน่ารักจำนวนมาก แมวตัวนั้นกระโดดสูงมาก 2. ประโยคเน้นกรรม คือ การวางส่วนผู้ถูกกระทำไว้ส่วนต้นของประโยค เช่น ขนมเค้กนี้แม่ทำให้ฉัน รถยนต์ล้างเสร็จแล้ว ป้าถูกแมวกัด 3. ประโยคเน้นกริยา คือ การวางกริยา 3 คำ มี เกิด ปรากฏ ไว้ส่วนต้นของประโยค เช่น มีข้าวในนา เกิดฟ้าผ่าเมื่อวาน ปรากฏน้ำท่วมภาคใต้ 4. ประโยคมีผู้รับใช้ คือ ประโยคประธาน หรือกรรม มีผู้รับใช้ เข้ามาแทรก เช่น คุณพ่อให้ฉันล้างรถ ครูใหญ่บอกให้นักเรียนเข้าเรียน เจตนาของประโยค ประโยคแบ่งตามเจตนาได้ 3 ประเภท คือ 1. ประโยคแจ้งให้ทราบ หมายถึง ประโยคที่ผู้ส่งสารมีเจตนาในการเล่าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นการกล่าวทั่วไป เช่น นักเรียน ม.6 ของโรงเรียนนี้ น่ารักทุกคน ผู้หญิงสวมเสื้อสีฟ้าเป็นน้องสาวของฉัน หนังสือเล่มนี้ราคาแพงมาก 2. ประโยคถามให้ตอบ หมายถึง ประโยคที่ผู้ส่งสารมีเจตนา ในการถามเพื่อให้อีกฝ่ายตอบ เช่น ใครไม่ชอบวิชาภาษาไทยบ้าง คุณจะไปเรียนต่อที่ไหน อะไรที่เธอต้องการบ้าง 3. ประโยคบอกให้ทำ หมายถึง ประโยคที่ผู้ส่งสารมีเจตนา ให้ผู้รับสารปฏิบัติตามความต้องการของตน มักอยู่ใน
รูปแบบ คำสั่งขอร้อง อ้อนวอน แนะนำ ตักเตือน และสั่งห้าม เช่น ห้ามเดินลัดสนาม คุณไปดูหนังกับฉันเย็นนี้นะ ตอนกลับอย่าลืม ซื้อโจ๊กมาฝากด้วย ชนิดของประโยค 1. ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงหนึ่ง มีภาคประธาน และภาคแสดงอย่างละ 1 ส่วน ข้อสังเกต ประโยคความเดียวจะมีกริยาสำคัญเพียงตัวเดียว เช่น ป้าตัดผม คุณพ่อของเธอเป็นตำรวจใจดี โปรดทิ้งขยะลงถัง 2. ประโยคความรวม คือ การนำประโยคความเดียวตัง้ แต่สองประโยคขึน้ ไปมารวมกัน มักใช้คำสันธานเป็นตัวเชือ่ ม แบ่งเป็น 4 ชนิด ดังนี้
22
ภาษาไทย O-NET
2.1 ประโยคความรวมแบบคล้อยตามกัน เช่น ปรีชาทำงานเสร็จแล้วเขาก็รีบกลับบ้าน พอโรงเรียนเลิก เธอก็รีบกลับบ้าน 2.2 ประโยคความรวมแบบขัดแย้งกัน เช่น กว่าเธอจะมาถึงเขาก็หลับพอดี น้องชอบดูหนัง แต่พี่ชอบฟังเพลง แม้เธอจะไม่สวยแต่ก็มีเสน่ห์ 2.3 ประโยคความรวมแบบเป็นเหตุเป็นผล เช่น เพราะฝนตกหนักจึงเกิดน้ำท่วม นิตยาเป็นคนจู้จี้ลูกๆ เลยไม่ค่อยรัก อารีหิวมากเธอก็เลยทานข้าวสองจาน 2.4 ประโยคความรวมแบบให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เธอควรเลือกระหว่างฉันหรือไม่ก็เขา ไม่ลุงก็ป้าต้องให้ของขวัญแก่ฉันแน่ ๆ จะดูหนังสือหรือฟังเพลงก็เลือกเอาสักอย่างสิ ข้อควรระวัง : ออกสอบทุกปี คนรูปหล่อสวมเสื้อขาว คนรูปหล่อสวมเสื้อขาว ยืนสอนหนังสืออยู่หน้าห้อง คนรูปหล่อยืนสอนหนังสืออยู่หน้าห้อง
เด็กซนว่ายน้ำ เด็กซนว่ายน้ำไปเกาะเรือ เด็กซนไปเกาะเรือ
ปู่นอนอย่างมีความสุข ปู่นอนฟังเพลงอย่างมีความสุข ปู่ฟังเพลงอย่างมีความสุข
3. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีประโยคย่อยทำหน้าที่ขยายประโยคหลัก แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 3.1 ประโยคย่อยทำหน้าที่หน่วยนาม (หน่วยนาม = นาม นามวลี สรรพนาม สรรพนามวลี = ประธาน กรรม
ส่วนเติมเต็ม ของประโยค) จะมีประพันธสรรพนาม ผู้ ,ที่, ซึ่ง, อัน เชื่อม เช่น คุณป้าใส่นาฬิกาที่คุณลุงซื้อให้ แมวตัวที่ขโมยปลาถูกจับได้แล้ว รถเมล์ซึ่งเธอรอเกือบสองชั่วโมงมาถึงแล้ว 3.2 ประโยคย่อยทำหน้าที่ขยายหน่วยกริยา (กริยา กริยาวลี) จะมี “ที,ว่า” เชื่อม ซึ่งทำหน้าที่ขยายกริยาหรือวิเศษณ์ เช่น ผมยินดีด้วยที่คุณได้รับรางวัล แม่บอกว่าพ่อจะมารับไปเที่ยวภูเก็ต
ข้อควรจำ ระวังประโยคที่ไม่จบความ ไม่ถือว่าไม่เป็นประโยค เช่น รถยนต์คันที่ชนเด็กนักเรียน (ขาดภาคแสดง) ขณะที่เธอเดินอยู่บนถนนอย่างเหม่อลอย (ประโยคไม่จบความ) พ่อขุนรามคำแหงมหาราชกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยองค์ที่ 3 (ขาดภาคแสดง)
ภาษาไทย O-NET
23
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 5 เรื่องระบบประโยคในภาษาไทย 1.
ข้อใดเป็นประโยคสมบูรณ์ (O-NET 49) 1. ภาษาไทยพัฒนามาตลอดเวลา 3. เด็กหญิงตัวเล็กผิวขาวคนนั้น
2.
ข้อใดเป็นประโยคสมบูรณ์ (O-NET 50) 1. การแต่งกายตามสมัยหรือตามแฟชั่นของวัยรุ่น 2. มีข่าวโรคไข้หวัดนกระบาดในหลายจังหวัดของไทย 3. บุคลิกภาพหรือชื่อเสียงของผู้พูดและการยอมรับจากผู้ฟัง 4. ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ปาฏิหาริย์ ตลอดจนเรื่องไสยศาสตร์
3.
ข้อใดเป็นประโยคไม่สมบูรณ์ (A-NET 49) 1. ร้านสวยรับสั่งทำเพชรทุกชนิดด้วยฝีมือดีและงานประณีต 2. โรงแรมเบิร์ดพาราไดซ์ หรูแบบมีสไตล์ ห้องพักสะอาด บริการดี 3. ร้านเอก ศูนย์รวมวัสดุก่อสร้างครบวงจรที่ใหญ่ที่สุดในพิษณุโลก 4. พลอยเพชรศูนย์ศัลยกรรมความงาม ศัลยกรรมตกแต่ง มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
4.
กลุ่มคำในข้อใดเป็นนามวลีทั้งหมด (A-NET 49) 1. นกบนต้นไม้ วิ่งออกกำลังกาย 2. โรงเรียนของเรา สูงเทียมฟ้า 3. ผู้บริหารโรงเรียน สุดแดนสยาม 4. ฟ้าเพียงดิน สุดแดนสยาม
5.
ในข้อความนี้มีประโยคที่สมบูรณ์กี่ประโยค(A-NET 50) พิธีกระทำสัตย์สาบานต่อกษัตริย์นี้ เป็นพิธีของศาสนาพราหมณ์ที่ได้เข้าไปมีบทบาทอยู่ในราชสำนักของกษัตริย์รัฐ
สังคมทาสของสมัยนครหลวง 1. 1 ประโยค 2. 2 ประโยค 3. 3 ประโยค 4. 4 ประโยค
6.
ข้อความต่อไปนี้มีกี่ประโยค (A-NET 49) ปัจจุบันหมู่บ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ได้เปิดพิพิธภัณฑ์ให้นักท่องเที่ยวเข้าชมการตีเหล็กซึ่งใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น ทางหมู่บ้าน ได้มีการรวมกลุ่มกันเปิดโรงทำมีดเหล็กน้ำพี้โบราณ ทั้งดาบอาคม มีดหมอ มีดตัดลูกนิมิต และมีดใช้สอย ท่านจะหา ชมการตีมีดได้ทั่วไปในหมู่บ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ จังหวัดอุตรดิตถ์ 1. 1 ประโยค 2. 2 ประโยค 3. 3 ประโยค 4. 4 ประโยค
ประเทศชาติบ้านเมืองของเรา ทะเลสาบข้างหมู่บ้านเจ้าพระยา
ข้างหลังภาพ วิมานดิน ทหารประจำการ เด็กเลี้ยงแกะ
7.
ข้อใดเป็นประโยคคำถาม (O-NET 49) 1. อะไรฉันก็กินได้ทั้งนั้น 3. ทำไมเธอไม่อ่านคำสั่งให้ดีเสียก่อน
2. 4.
เธอนั่นเอง ฉันนึกว่าใครเสียอีก เมื่อไรเขาจะมาก็ไมรู้
8.
ประโยคในข้อใดต้องการคำตอบ (A-NET 49) 1. ไหนจะเก่งเหมือนเธอล่ะ 3. ใครอยากไปก็ไปได้
2. 4.
อะไร เธอจะให้ฉันอยู่คนเดียวจริงๆ หรือ ทำไมฉันจะต้องบอกเธอด้วย
9.
ข้อใดเป็นประโยคกรรม 1. ประโยชน์ที่เกิดจากโครงการนี้มีผลดีต่อสังคมในระยะยาว 2. เพราะแม่สูบบุหรี่จัดลูกที่คลอดออกมาจึงมีขนาดเล็กกว่าปกติ 3. คนที่เป็นเบาหวานมีโอกาสติดเชื้อทางกรวยไตมากกว่าคนทั่วไป 4. อาคารผู้ป่วยนอกหลังนี้สร้างเสร็จภายในห้าเดือนด้วยเงินบริจาคของประชาชน
24
2. 4.
ภาษาไทย O-NET
10.
ข้อใดไม่ใช่ประโยคเดี่ยว (A-NET 49) 1. ขับรถไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. ใช้เกียร์ให้สัมพันธ์กับรอบความเร็ว
2.
11.
ข้อใดเป็นประโยคความเดียว 1. สมบัติขึ้นรถไฟไปเที่ยวทางใต้ทุกปี 3. เรื่องสั้นของ “วินทร์” มักจะจบแบบหักมุม
2.
12.
ข้อใดเป็นประโยคความรวม (O-NET 50) 1. กระแสน้ำไหลแรงจนเซาะตลิ่งพังไปแถบหนึ่ง 2. มีหลักฐานว่ามนุษย์ยุคหินใช้ขวานทองแดงในการล่าสัตว์ 3. ฟ้าทะลายโจรเป็นพืชสมุนไพรที่นิยมใช้รักษาอาการเจ็บคอ 4. การส่งเสริมการอ่านเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างหนึ่ง
13.
ข้อใดเป็นประโยคความรวม (ข้อสอบ O-NET 2551) 1. ฉันก็อยากทำอะไรตามใจตัวเองบ้าง 2. อะไรที่ดี ๆ ก็น่าจะทำเสียก่อน 3. ร้านนี้อาหารอะไรก็อร่อยทั้งนั้น 4. อะไรมาก่อนเราก็กินไปพลาง ๆ
14.
ข้อใดไม่ใช่ประโยครวม (O-NET 49) 1. พอฝนจะตกเราก็รีบกลับบ้านทันที 2. คนไทยรักสงบแต่ยามรบก็ไม่ขลาด 3. ใคร ๆ ก็รู้ว่าแถวสีลมอากาศเป็นพิษ 4. ประชาชนไม่ใช้สะพานลอยตำรวจจึงต้องตักเตือน
15.
ลักษณะความสัมพันธ์ของเนื้อความในประโยคใดต่างจากข้ออื่น (A-NET 49) 1. มาโนชไปว่ายน้ำทุกเช้า สุขภาพของเขาจึงดีกว่าทุกคนในครอบครัว 2. พอเสร็จจากกล่าวเปิดงานเลี้ยงวันนี้ ท่านก็ขับรถออกไปทันที 3. บ้านของวิไลดูไม่เก่าเลย ก็เธอเพิ่งให้ช่างมาทาสีใหม่เมื่อเดือนที่แล้ว 4. สมบัติต้องทำงานหารายได้พิเศษ เลยสอบได้คะแนนน้อยกว่าคราวที่แล้ว
16.
ข้อใดเป็นประโยคความซ้อน 1. สมชายวางมือจากกิจการทุกอย่างที่บริษัท 3. คุณยายถือศีลแปดที่วัดทุกวันพระ
17.
ข้อใดไม่ใช่ประโยคความซ้อน 1. สิ่งที่เขาตั้งใจกระทำให้พ่อแม่คือการตั้งใจเรียนและการเป็นคนดี 2. สะพานแห่งใหม่ที่เพิ่งจะเปิดใช้ช่วยให้การจราจรคล่องตัวขึ้น 3. ตึกแถวริมถนนใหญ่ที่หน้าบ้านฉันถูกทุบทิ้งไปแล้ว 4. เขาขายรถยนต์คันที่ถูกรางวัลกาชาดไปเมื่อวานนี้
18.
ข้อใดเป็นประโยคต่างชนิดกับข้ออื่น (A-NET 49) 1. ทุกวันนี้สิ่งที่สำคัญที่สุดในการดำรงชีวิตคือสติ 2. การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมจะต้องทำด้วยสติ 3. การถือศีลเป็นเรื่องไม่ยากแต่คนส่วนใหญ่ปฏิบัติไม่ได้ 4. ระบบการศึกษาในปัจจุบันไม่สอนให้มีคุณธรรมจริยธรรมซึ่งจำเป็นมาก
ไม่ควรเร่งเครื่องก่อนออกรถ 4. ตรวจเช็คเครื่องยนต์ปีละ 2 ครั้ง คุณยายตื่นขึ้นมาทำอะไรกุกกักตอนดึกบ่อยๆ 4. ตอนเด็กๆ เขาว่ายน้ำไปเกาะเรือโยงเสมอ
2.
แม่ใส่นาฬิกาเรือนใหม่ที่พ่อให้ 4. วันนี้พ่อประชุมที่ทำงานตลอดวัน
ภาษาไทย O-NET
25
19.
ข้อใดเป็นประโยคต่างชนิดกับข้ออื่น (O-NET 50) 1. ลูกที่ดีเป็นที่พึ่งของพ่อแม่ในวัยชรา 2. ไม่ว่าลูกจะเป็นอย่างไรพ่อแม่ก็ยังคงรักลูกเสมอ 3. หากลูกทุกคนดูแลเอาใจใส่พ่อแม่ท่านก็จะมีความสุข 4. การดูแลเอาใจใส่พ่อแม่เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของลูก
20.
ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดเป็นประโยคต่างชนิดกับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2551) (1) การบริโภคอาหารทะเลมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อร่างกายคนเรา (2) ในเนื้อปลามีกรดไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งมีส่วนช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด (3) คนที่ชอบรับประทานกุ้งส่วนมากไม่รับประทานหางและเปลือก (4) ทั้งหางและเปลือกกุ้งเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียมและไคโตซาน 1. ส่วนที่ 1 2. ส่วนที่ 2 3. ส่วนที่ 3
4.
ส่วนที่ 4
อ้างอิง นววรรณ พันธุเมธา. ม.ป.ป. ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ไพบูลย์ ดวงจันทร์. 2542. การใช้ภาษา. ภาควิชาภาษาไทย และภาษาตะวันออก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิจินตน์ ภาณุพงศ์. 2520. โครงสร้างภาษาไทย : ระบบไวยากรณ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง อุปกิตศิลปสาร, พระยา. 2511. หลักภาษาไทย. พระนคร : ไทยวัฒนาพานิช.
26
ภาษาไทย O-NET
บทที่ 6 ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา
1. 2. 3. 4. 5. 6.
การใช้ภาษาผิด เข่นการใช้คำผิดความหมาย ผิดหน้าที่ ผิดบริบท การใช้ภาษาไม่เหมาะสม การใช้ภาษาผิดระดับ การใช้ภาษาไม่กระจ่าง การใช้ภาษาไม่สละสลวย การใช้สำนวนแบบภาษาต่างประเทศ การใช้ประโยคไม่จบความ
1.
การใช้ภาษาผิด 1.1 การใช้คำผิดความหมาย เช่น พ่อแม่เสี้ยมสอนให้เขาเอื้ออารีแก่ผู้อื่น ตำรวจรัวกระสุนปืนใส่ผู้ร้ายหนึ่งนัด นทีทั้งฉลาดและขยันทำงานที่ได้เลื่อนตำแหน่งครั้งนี้สาสมแล้ว เขาสร้างสรรค์ความผิดวันละเล็กวันละน้อย รู้ว่าเขาเจ็บไข้ได้ป่วยก็ควรไปดูดายเขาบ้าง เขาหมกมุ่นกับการเรียนจนล้มป่วย 1.2 ใช้กลุ่มคำและสำนวนผิดความหมาย เช่น ลืมหน้าอ้าปาก ต้องใช้ ลืมตาอ้าปาก ทันฟืนทันควัน ต้องใช้ ทันทีทันควัน ปัญญาเท่าฝาหอย ต้องใช้ ปัญญาแค่หางอึ่ง 1.3 การเรียงคำหรือกลุ่มคำผิดลำดับ มักเกิดจากการวางกลุ่มคำขยายไว้ห่างจากคำที่ต้องการขยายมากเกินไป เช่น ในเรื่องนิกกับพิม มีการกล่าวถึงมนุษย์ในทัศนะของสุนัขต่างๆ กัน (…มีการ กล่าวถึงมนุษย์ในทัศนะต่างๆ กันของสุนัข) เขาแลเห็นเด็กน้อยไร้เดียงสาข้างหญิงสาวกำลังกระโดดเต้น (เขาแลเห็นเด็กน้อยไร้เดียงสากำลังกระโดดโลดเต้นข้างหญิงสาว) 2. การใช้ภาษาไม่เหมาะสม 2.1 ใช้ภาษาพูดในการเขียนทางวิชาการ เช่น - ยังไง (อย่างไร) - นิดหน่อย (เล็กน้อย) - เผาศพ (ฌาปนกิจศพ) - เอาการเอางาน (มีความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน) - เยอะแยะ (มาก) 2.2 ใช้ภาษาต่างประเทศโดยไม่จำเป็นในภาษาเขียน เช่น - แอร์ (เครื่องปรับอากาศ) - แอนตี้ (ต่อต้าน) - เซ็นเซอร์ (ตรวจพิจารณา) - รถเมล์ (รถโดยสารประจำทาง) 2.3 ใช้ภาษาต่างระดับในบริบทเดียวกัน เช่น - มารดาของข้าพเจ้าเสียชีวิตตั้งแต่ข้าพเจ้ายังเล็กๆ คุณพ่อจึงมีภรรยาใหม่ - กระผมขอเรียนว่า กระผมไม่ได้เกงานเมียกระผมออกลูกเมื่อวานนี้กระผมเลยต้องหยุดงาน 2.4 ใช้ภาษาไม่เหมาะสมกับโวหาร เช่น - เด็กน้อยค่อย ๆ เดินไปโรงเรียนอย่างเร่งรีบ - เขาเดินเตร่มาหาฉันทันทีที่รถไปจอดสนิท - เธอสวมเสื้อบางจนดูตัวเปล่าเล่าเปลือย - เรือค่อยๆ แล่นผ่านไปอย่างรวดเร็ว ภาษาไทย O-NET
27
3.
การใช้ภาษาไม่กระจ่าง 3.1 ใช้คำไม่ชัดเจน เช่น - เขาถูกไล่ออกเพราะไม่ซื่อสัตย์ (ต้องบอกว่าไม่ซื่อสัตย์อย่างไร) - เรื่องนี้ผู้แต่งมีจินตนาการที่ดี (คำว่าดีความหมายก้วางเกินไป) - มีอะไรๆ อีกหลายประการที่เธอยังเขียนคลาดเคลื่อน จากความเป็นจริง (ควรให้ข้อเท็จจริง) 3.2 ใช้ภาษากำกวม คือตีความได้หลายอย่าง เช่น - ไหล่เขาลาดดีจริง - พ่อตาไม่สบาย - ที่นี่รับแก้กางเกง - คนที่จับเชือกควรจะเป็นคนสาว - รถบรรทุกของไปตั้งแต่เช้า - ที่นี่รับอัดพระ - พ่อเลี้ยงเธอดี - ถึงไม่มีที่นอนก็ไม่ร้อนใจเลย 4. การใช้ภาษาไม่สละสลวย 4.1 ใช้ภาษาฟุ่มเฟือย เช่น - ในอนาคตข้างหน้า - นำศพของผู้ตายไปไว้ที่วัด - ในอดีตที่ผ่านมา - เขาถูกจับในข้อหาลักทรัพย์ของผู้อื่น - ประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีต - การจราจรติดขัด ถนนแออัดด้วยรถ - มีสัมพันธไมตรีอันดี - ผลสืบเนื่องที่ตามมา - บ้านเรือนของผู้คนมีอยู่เป็นระยะๆ - ทำการ, รับฟัง 4.2 ลำดับคำไม่เหมาะสม เช่น - ลีลาของชีวิตเธอเปลี่ยนแปลง - เขาเป็นคนดีถ้าเขาไม่ดื่มเหล้า 5. ใช้สำนวนต่างประเทศ เช่น - ใช้ชีวิต - จะนำมาซึ่ง…. - พบตัวเอง - ง่ายต่อการทำความเข้าใจ - มาในเพลง - หกโรคร้าย (ขาดลักษณนาม) - มาในชุด - สำหรับ, มัน (ไว้ต้นประโยค) - ภายใต้การนำ - ต้องอบอุ่นร่างกาย - ภายใต้การควบคุม - พร้อมด้วย, ปราศจาก 6. การใช้ประโยคไม่จบความ ลักษณะการใช้ประโยคไม่จบความ มักจะหลอกโดยใช้ส่วนต่างๆ ของประโยคที่ทำหน้าที่ขยาย (ประโยคความซ้อน)
แต่ขาดใจความหลักของประโยค เช่น - เด็กที่เดินอยู่บนถนน - บ้านซึ่งใกล้จะพังแล้วนั้น - เขามักจะพูดเสมอ ๆ ว่า ฯลฯ
อ้างอิง ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2532. การใช้ภาษาไทยในวงราชการ. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. ไพบูลย์ ดวงจันทร์. 2542. การใช้ภาษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิจินต์ ภาณุพงศ์. 2520. โครงสร้างภาษาไทย: ระบบไวยกรณ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. เอกฉัท จารุเมธีชน. 2541. ภาษาไทยธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
28
ภาษาไทย O-NET
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 6 เรื่องข้อบกพร่องในการใช้ภาษา ประโยคใดไม่กำกวม 1. ใครตามหมอมา 2. เขาเหยียบแก้วแตก 3. ถ้าเขาตกลงไปคุณจะเสียใจ 4. เขาไปเชียงใหม่กับเพื่อนอีกสองคน ข้อใดมีความหมายกำกวม 1. ผู้ได้รับรางวัลเป็นกวีที่มีชื่อเสียงชาวญี่ปุ่น 2. ตำรวจจับผู้ค้ายาเสพติดจำนวนมากที่กลางกรุง 3. แม่ค้าหยิบเหรียญบาทออกมาทอน 4 เหรียญ 4. แผ่นดินไหวทำให้บา้ นเรือนพังพินาศและผูค ้ นล้มตายมาก ข้อใดใช้คำฟุ่มเฟือย (2/2544) 1. ความเครียดนับวันจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสังคมถึงขั้นวิกฤต 2. ปัญหาสุขภาพจิตเป็นผลจากความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ 3. ผู้คนในหลายประเทศกำลังให้ความสนใจในการใช้สมุนไพรลดความเครียด 4. สมุนไพรคลายเครียดมีทั้งที่เป็นอาหาร เครื่องดื่ม เช่น ชาชงสมุนไพรชนิดต่างๆ และน้ำมันหอมระเหย ข้อใดใช้ภาษาได้กระชับที่สุด (2/2544) 1. ห้องเรียนควรมีการถ่ายเทของอากาศและการปรับแสงสว่างอย่างเหมาะสม 2. ห้องปฏิบัติการทางภาษาควรบุวัสดุกันเสียงและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 3. นิสิตสามารถหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันได้จากห้องสมุด 4. ห้องสมุดเป็นสถานที่ที่ไม่มีเสียงรบกวนจากสิ่งต่างๆ ทำให้การอ่านหนังสือมีสมาธิดียิ่งขึ้น ประโยคใช้ภาษากะทัดรัดที่สุด (1/2542) 1. งานเป็นสิ่งที่ทำให้คนมีชีวิตที่สมบูรณ์และเป็นคนที่ใครๆ ยอมรับ 2. โรงแรมขอขอบคุณที่ท่านให้ความสนใจในการให้บริการของเรา 3. อาหารที่ซื้อตามข้างถนน ก่อนรับประทานก็ควรทำให้อุ่นอีกครั้ง 4. ขอเชิญผู้สนใจชมประติมากรรมกลางแจ้งนี้ด้วยตาตนเองที่ถนนสีลม ข้อใดใช้ภาษาได้กระชับ (O-NET 50) 1. ผู้ร้ายถูกฆ่าตายที่หน้าตลาดเมื่อคืนวานนี้ 2. ขอเชิญทุกท่านได้โปรดกรุณาช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้วย 3. ในการพัฒนาชาติรัฐบาลควรส่งเสริมการศึกษาเป็นประการแรก 4. อนุชนคนรุ่นหลังควรรักษาศิลปวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่สืบไป ข้อใดเป็นประโยคที่มีใจความกะทัดรัด (2/2544) 1. ทางเดินขึ้นภูเขาขรุขระไม่เรียบทำให้เดินลำบาก 2. เขาเดินไปจนสุดถนนก็พบบ้านคนหลังหนึ่ง 3. สาวน้อยเดินพลางวิ่งพลางไปตลอดทาง 4. เด็กน้อยร้องตะโกนเสียงดังลั่น ข้อใดใช้ถ้อยคำฟุ่มเฟือยที่สุด (1/2544) 1. ข้าวหอมมะลิของไทยเป็นข้าวหอมชนิดเดียวที่มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ คนจึงนิยมบริโภคกันทั่วโลก 2. เพื่อนบ้านที่ดีต้องไม่กระทำสิ่งที่จะนำความทุกข์ความรำคาญมาให้เพื่อนบ้านนี่เป็นความจริง 3. เมื่อจะคิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว ขอให้นึกว่าตนเป็นที่รักของตน จึงไม่ควรทำลายตน 4. การก่อสร้างในซอยนี้ นายช่างผู้ควบคุมการก่อสร้างควรจะมาดูแลการก่อสร้างบ้างเพื่อความเรียบร้อยของงาน ข้อใดสื่อความหมายได้ชัดเจนที่สุด (1/2544) 1. อาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม การไฟฟ้าจะดับไฟตั้งแต่ 9.00 น 2. วันที่ 23 ตุลาคมนี้พวกเรานัดพบกันที่หน้าตึกสี่ เวลา 6 โมงตรง 3. วันนี้ผมจะไปกินข้าวด้วย ขอหมี่กรอบสักจาน ต้มยำกุ้งสักถ้วยนะ 4. พายุเมขลาจะเคลื่อนเข้าสู่จังหวัดชุมพรประมาณบ่าย 3 โมง วันที่ 28 เดือนนี้ ภาษาไทย O-NET
29
10.
ข้อใดสื่อความไม่ชัดเจน (2/2543) 1. พรุ่งนี้หัวหน้าจะเรียกประชุมตอนบ่าย ๆ 3. สมสิริมาหาครูตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน
11.
ข้อความใดมีความหมายเหมือนกัน (1/2542) ก. แนวทางการสร้างงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ ข. แนวทางการสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา ค. แนวทางที่มีคุณภาพในการสร้างงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษา ง. แนวทางของสถาบันอุดมศึกษาในการสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพ 1. ก และ ค 2. ข และ ค 3. ก และ ง
คุณย่าชอบดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำ 4. เมื่อวานนี้แม่แวะมาหาตอนกินข้าวเย็น
4.
ข และ ง
12.
ข้อใดวางส่วนขยายผิดที่ (2/2544) 1. การตั้งครรภ์โดยไม่ทราบว่าเป็นเบาหวานมาก่อนมีปัจจัยความเสี่ยงอยู่หลายอย่าง 2. สตรีมีครรภ์และเป็นเบาหวานมีความเสี่ยงที่จะแท้งหรือมีลูกพิกลพิการมาก 3. การควบคุมน้ำตาลอย่างจริงจังช่วยทำให้คนไข้เบาหวานตั้งครรภ์ได้เป็นปกติมากขึ้น 4. ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ โดยเฉพาะกรรมพันธุ์และความอ้วนต้องใช้สูติแพทย์ตรวจเบาหวานอย่างละเอียด
13.
ข้อใดวางส่วนขยายผิดที่ (1/2544) 1. กรมประชาสงเคราะห์ได้พยายามช่วยเหลือเด็กยากจนเร่ร่อนให้มีผู้ปกครองคอยดูแลที่เหมาะสม 2. ทุกคนตั้งแต่ระดับผู้บริหารจนถึงพนักงานทำงานด้วยความมุ่งมั่นเพื่อความสำเร็จและชื่อเสียงขององค์การ 3. ในการรับตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดครั้งนี้ ข้าพเจ้าตั้งใจอย่างยิ่งที่จะฟื้นฟูประเพณีเก่าๆ ขึ้นมา 4. สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้ปรับปรุงบริการรับแจ้งเหตุต่างๆ ทางโทรศัพท์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
14.
ข้อใดเรียงลำดับคำในประโยคได้เหมาะสมที่สุด (1/2542) 1. ปรากฏว่าเด็กมีแผลฟกช้ำดำเขียวที่ต้นขาจากการตรวจของแพทย์ 2. ประวัติศาสตร์แบบอาณานิคมไม่น้อย ให้อิทธิพลแก่การศึกษาประวัติศาสตร์ไทย 3. ในทางกลับกันวิชาการเกษตรก็มีส่วนช่วยเสริมวิธีการจัดการต่าง ๆ 4. เหมือนตุ๊กตาที่ผู้ถือปล่อยมือ เขาสิ้นสติสัมปชัญญะและหล่นลงไปกองอยู่บนพื้น
15.
ประโยคใดวางส่วนขยายถูกต้อง (2/2541) 1. ห้ามเด็ดขาดนั่งหลังคารถไฟ 2. การอ่านเป็นปุ๋ยอย่างดีที่บำรุงสมองเด็ก 3. ครูเป็นทรัพยากรบุคคลในการส่งเสริมการศึกษาที่สำคัญ 4. เขาเริ่มพัฒนาอย่างเร่งรีบเรื่องสาธารณูปโภคในหมู่บ้าน
16.
ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้อง (1/2546) 1. แม่ค้าขายส้มตำไก่ย่างเป็นอาชีพที่มีรายได้ดี และไม่ตกงาน 2. อาหารประเภทยำมีรสชาติเผ็ดร้อนกลมกล่อมถูกปากคนไทย 3. แม้ฐานะของเราจะไม่ค่อยดี พ่อแม่ก็ส่งเสียให้ลูกทุกคนได้เรียนจนจบมหาวิทยาลัย 4. แม้ว่าชื่อเสียงของพ่อจะไม่เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้อื่น แต่ฉันก็ภูมิใจในตัวท่าน
17.
ข้อใดไม่ใช่สำนวนภาษาต่างประเทศ (2/2542) 1. โรคตับอักเสบในผู้ใหญ่มีอาการรุนแรงและเป็นนานกว่าเด็กเล็ก 2. เราควรเลือกซื้อผักที่มีรูพรุนจากการถูกแมลงกัดกินบ้างจะดีกว่า 3. วิธีทำไม่ยาก เมื่อผักสุกตักออกแช่น้ำเย็น เพื่อหยุดการสุกของผัก 4. โรงเรียนควรกระตุ้นผู้ปกครองให้ช่วยกันเอาใจใส่เรื่องการเรียนของลูกหลาน
30
2.
ภาษาไทย O-NET
18
ข้อใดไม่ใช่สำนวนภาษาต่างประเทศ (1/2542) 1. ชาวต่างชาติมักจะกล่าวว่าวิชาภาษาไทยยากแก่การเรียน 2. รัฐบาลพยายามประชาสัมพันธ์ให้คนไทยช่วยกันประหยัดอย่างจริงจัง 3. คณะกรรมการชมรมนักเรียนเก่าชุดนี้ถูกจับตามองจากสมาชิกตลอดเวลา 4. การนำชาวบ้านมาชุมนุมประท้วงครั้งนี้ทำให้ประเทศได้รับความเสียหายมาก
19.
ข้อใดไม่ใช่สำนวนต่างประเทศ (2/2543) 1. ประชากรโลกกำลังเผชิญโศกนาฎกรรมเงียบจากโรคร้าย ทั้งเอดส์ มาลาเรียและวัณโรค 2. ต่อข้อซักถามของผู้สื่อข่าว ตัวแทนสภากาชาดสากลแถลงว่าสถานการณ์โรคร้ายในปัจจุบันกำลังน่าวิตก 3. สภากาชาดสากลพร้อมด้วยผู้นำจากประเทศในเอเซียแถลงว่าประเทศในทวีปแอฟริกาเป็นพื้นที่ที่มีโรคเอดส์
ระบาดมากที่สุด 4. รัฐบาลแต่ละประเทศควรสนใจปัญหาโรคเอดส์ เพราะปัจจุบันโรคเอดส์เป็นมหันตภัยที่ทำลายเศรษฐกิจและสังคม
20.
ข้อใดไม่ใช้สำนวนต่างประเทศ (1/2544) 1. เป็นเวลา 3 วัน ที่หน่วยกู้ภัยค้นหาผู้ประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตก 2. ปัจจุบันประเทศไทยส่งผักและผลไม้ไปจำหน่ายที่อังกฤษและญี่ปุ่นเดือนละกว่า 120 ตัน 3. กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี่พร้อมด้วยนักบินอวกาศ 7 คน เดินทางกลับถึงพื้นโลกโดยสวัสดิภาพ 4. สถานการณ์หวาดผวาโรควัวบ้า ซึ่งเกี่ยวข้องกับโรคสมองฝ่อในมนุษย์ยังคุกคามประเทศเพื่อนบ้านอยู่ขณะนี้
21.
ข้อใดใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ (2/2544) 1. ข้อมูลที่ปราศจากการตีความอาจเป็นข้อมูลขยะก็ได้ 2. ประเทศไทยขาดแคลนทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม 3. ค่านิยมของสังคมไทยอาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ 4. คุณภาพของคนในประเทศเป็นดัชนีวัดความสำเร็จในการพัฒนาประเทศ
22.
ประโยคใดไม่ใช้สำนวนต่างประเทศ (1/2543) 1. ถ้าเราช่วยกันแยกขยะ ก็จะง่ายต่อการนำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่ 2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษประการสำคัญคือการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของขยะที่ย่อยสลาย 3. การที่พลาสติกและโฟมถูกนำมาผลิตใหม่จะทำให้ขยะที่ย่อยสลายยากมีปริมาณเพิ่มขึ้น 4. ถ้าเรารู้จักนำถุงพลาสติกและกล่องโฟมกลับมาใช้ใหม่จะทำให้ปัญหาเรื่องขยะน้อยลง
23.
ข้อใดไม่ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ (O-NET 50) 1. ในความคิดของผมหนังสือเล่มนี้ดีที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน 2. ไม่เป็นการยากที่เราจะสืบค้นประวัติชีวิตของท่านผู้รู้ 3. ปัจจุบันนี้ชาวกรุงเทพฯ ประสบปัญหาการจราจรติดขัด 4. คนไทยกำลังให้ความสนใจข่าวเศรษฐกิจ
22.
ข้อใดมีข้อบกพร่องต่างกับข้ออื่น (A-NET 50) 1. อิสรภาพก็ตกเป็นของเขาในที่สุด 3. มีผู้คนมารวมกันเยอะแยะเลย
2.
23.
ประโยคข้อใดไม่มีข้อบกพร่อง (A-NET 50) 1. บุคคลควรมีมารยาทในการสื่อสาร 3. ข้อสอบชุดนี้ไม่ยากที่จะทำความเข้าใจเลย
2.
เรื่องนี้ดูยังไงก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ 4. อย่าลืมนะวันพรุ่งนี้เชิญไปงานด้วยกัน เมื่อสองสหายมาพบกัน ความดีใจก็เกิดขึ้น 4. รัฐบาลบรรลุข้อตกลงในการเจรจากับเพื่อนบ้าน
ภาษาไทย O-NET
31
บทที่ 7 ความงามในภาษาและการอ่านวรรณคดี ความงามในภาษาเกิดจาก
1.
การสรรคำ 2. การเรียบเรียงถ้อยคำ 3. ภาพพจน์
การสรรคำ
การสรรคำ หมายถึง การเลือกใช้ถ้อยคำโดย 1.1 คำนึงถึงความหมาย
ความหมาย
บริบท ความแวดล้อม แสงจันทร์บ่ส่องแสง หมดเทวษ
สะพานตา เชื่อมความจริงที่ยิ่งใหญ่
กวีโวหาร สะพานใจ เชื่อมความรักที่ศักดิ์สิทธิ์
สะพานกาย เชื่อมความรู้ที่บูชิต
สะพานมิตรภาพลาวไทย... เข้าใจกัน (ชูเกียรติ วรรณศูท)
(สะพานตา = ภาพปรากฏการณ์ที่พบ สะพานใจ = ความรื่นรมย์ สะพานกาย = ประสบการณ์) 1.2 คำนึงถึงเนื้อเรื่องและบุคคลในเรื่อง 1.3 คำนึงถึงลักษณะของคำประพันธ์ 1.4 คำนึงถึงเสียง - คำเลียนเสียงธรรมชาติ - คำที่เล่นเสียงวรรณยุกต์ - คำที่เล่นเสียงสัมผัส - คำที่เล่นเสียงหนักเบา - คำพ้องเสียงและคำซ้ำ
เสียง สัมผัสสระ ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู หนูงูสู้ดูอยู่ รูงูทู่หนูมูทู เสียงสัมผัส (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร)
สัมผัสอักษร เสียงหนักเบา = ครุ ลหุ
ฉับฉวยชกฉกช้ำ โถมทุบทุ่มถองทับ ตบตีต่อยตุบตับ หมดหมู่เมงมอญม้าว (กรมหลวงพิชิตปรีชากร)
32
ภาษาไทย O-NET
ฉุบฉับ ถีบท้าว ตบตัก ม่านเมื้อหมางเมิน
โวหารภาพพจน์
1. อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง (เหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ราว ราวกับ เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน กล เฉก คล้าย อย่าง) คุณแม่หนาหนักเพี้ยง คุณบิดรดุจอา- คุณพี่พ่างศิขรา คุณพระอาจารย์อ้าง
พสุธา กาศกว้าง เมรุมาศ อาจสู้สาคร
2. อุปลักษณ์ คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง โดยใช้คำว่า “คือ, เป็น” (เปรียบเทียบโยงความคิดอย่างหนึ่งไปสู่ความคิดหนึ่ง) คือน้ำผึ้งคือน้ำตาคือยาพิษ คือหยาดน้ำอมฤตอันชื่นชุ่ม คือเกสรดอกไม้คือไฟรุม คือความกลุ้มคือความฝันนั่นแหละ “รัก” (ไฟรักไฟลาไฟชัง : รยงค์ เวนุรักษ์) 3. บุคลาธิษฐาน บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือ การสมมติให้สิ่งต่าง ๆ แสดงกิริยาอาการ เหมือนมนุษย์ สามารถ
แสดงอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดได้ หลังคาโบสถ์โอดครวญเมื่อจวนผุ ระแนงลุล่วงหล่นบนพื้นหญ้า เสาอิฐปูนทรุดเซตามเวลา พระประธานสั่นหน้าระอาใจ (แสงธรรม : สุธน พันธุเมฆ)
4.
อติพจน์ คือ การพรรณนาเกินขอบเขตความเป็นจริง เอียงอกเทออกอ้าง เมรุชุบสมุทรดินลง อากาศจักจารผจง โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม
อวดองค์ อรเอย เลขแต้ม จารึก พอฤา อยู่ร้อนฤาเห็น
(นิราศนรินทร์) 5. ปฏิพากย์ คือ กล่าวตรงกันข้าม เช่น หน้าชื่นอกตรม จักรวาลวุ่นวายไร้สำเนียง 6. สัทพจน์ หมายถึง การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น บัดเดี๋ยวดังหงั่งเหง่งวังเวงแว่ว 7. นามนั ย คื อ การใช้ คุ ณ สมบั ติ เด่ น ๆ หรื อ เอกลั ก ษณ์ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง หรื อ สิ่ ง ที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในเรื่ อ งนั้ น แทน
ความหมายทั้งหมด เช่น ฉัตร สำคัญที่สุดในประเภทเครื่องสูง จึงใช้ฉัตรแทนราชบัลลังก์ ราชสมบัติ รอยย่นที่ขอบตาชายหน้าเศร้า เหลือเพียงเงาความทรงจำเหมือนร่ำไห้ เคยพร่าสาวบริสุทธิ์ดุจพรานไพร น้ำตาไหลอาบรอยย่นตราบพ้นกรรม
(อดีตรำลึก : วาสนา บุญสม) รอยย่นที่ขอบตา = ความแก่ชรา ภาษาไทย O-NET
33
8. 9.
สัญลักษณ์ หมายถึง การนำคำหนึ่ง มากหมายความแทนอีกคำหนึ่งโดยถือว่าคำที่นำมาใช้แทนกันได้นั้นต้อง
เป็นที่เข้าใจกันทั่วไป สีขาว = ความบริสุทธิ์ ความไร้เดียงสา สิงโต สิงห์ = ผู้มีอำนาจ นกขมิ้น = คนร่อนเร่พเนจร ระฆัง = ความมีเกียรติ มีชื่อเสียง อุปมานิทัศน์ คือ การยกเรื่องสั้นๆ มาเล่าประกอบให้เข้าใจในเรื่องนั้นๆ ชัดเจนขึ้น เช่น เรื่องกบในกะลาครอบ ประกอบความเข้าใจเรื่อง การมีวิสัยทัศน์แคบ
ศิลปะการประพันธ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
สัมผัสสระ ต้องเป็นสระเสียงเดียวกันและเสียงพยัญชนะสะกดมาตราเดียวกัน เช่น ฉันเห็นหมีที่ดำน่าขำยิ่ง สัมผัสอักษร (สัมผัสพยัญชนะ) พยัญชนะเสียงเดียวกันจะสัมผัสกันได้ เช่น ผ่องแผ้ว เพลี่ยงพล้ำ (อักษรสูง
และอักษรต่ำสัมผัสอักษรกันได้เพราะจัดเป็นเสียงเดียวกัน (ท ธ ฑ ฒ สามารถสัมผัส กับ ถ ฐ ได้ เป็นต้น) เล่นเสียงวรรณยุกต์ บางปีข้อสอบเรียกการเล่นเสียงสูง – ต่ำ หรือการใช้เสียงดนตรี เช่น ธรณีนี่นี้ เป็นพยาน การซ้ำคำ การซ้ำคำคือการใช้คำๆ เดียวกันซ้ำในหลายๆ จุด มี 2 แบบ คือ เป็นคำซ้ำและไม่เป็นคำซ้ำ การเล่นคำ การเล่นคำคือการเอาคำพ้องเสียงมาใช้ในหลายๆ แห่งในคำประพันธ์ (คำพ้องเสียง=คำที่อ่าน
เหมือนกันแต่ความหมายต่างกัน) **** เล่นคำต่างกับซ้ำคำตรงที่ เล่นคำความหมายจะต่างกัน ซ้ำคำความหมายจะเหมือนกัน) การซ้ำคำเล่นคำ ใช้ทั้งสองวิธีประกอบกัน การดุลเสียงและดุลความหมาย น้ำหนักความของข้อความจะเท่ากัน ปฏิปุจฉา (คำถามเชิงวาทศิลป์) คำถามที่ไม่ต้องการคำตอบแต่พูดให้คิด เช่น ลงกาเป็นสองเมืองหรือ
ให้น้องแล้วมารื้อให้พี่ คำไวพจน์ (การหลากคำ) คำทีค่ วามหมายเหมือนกัน (Synonym) เช่น วารี = ชล = ธาร = นที = น้ำ ฯลฯ การใช้คำที่มีเสียงหนักเบา หนัก=ครุ (ยาวหรือสะกด) เบา=ลหุ (สั้นและต้องไม่สะกด) คำอัพภาส คำซ้ำที่กร่อนเสียงพยางค์หน้า เช่น ระเรื่อย ระริน วะวาว วะวับ ยะยิ้ม ยะยุ่ง สัทพจน์ การเลียนเสียงธรรมชาติ (สัทพจน์เป็นทั้งภาพพจน์และศิลปะการแต่งคำประพันธ์)
จินตภาพ
จินตภาพ หมายถึง ประสาทสัมผัสในการจินตนาการ ได้แก่ 1. รูป (ภาพ สี แสง การเคลื่อนไหว) 2. รส 3. กลิ่น 4. เสียง
การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
ควรพิจารณาถึง 1. วัฒนธรรมกับภาษา คือ การใช้ภาษาในการแสดงออกทางวัฒนธรรม หรือการแทรกวัฒนธรรมในการสื่อสาร
ตลอดจนเนื้อหาทางวรรณคดี วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และปฏิบัติสืบต่อกันมา ทำให้เกิดความเจริญงอกงามแก่หมู่คน วิถีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ที่แสดงถึงความเจริญงอกงามของชาติ ศีลธรรมอันดี วิทยาการ และพฤติกรรมร่วม ของสังคมในข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย มักถามถึงวัฒนธรรม ที่ปรากฏในวรรณกรรม เช่น ความรัก วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม ศาสนา ความเชื่อ ภูมิปัญญา เป็นต้น 2. นิสัยและพฤติกรรมของตัวละคร ว่าการแสดงบทบาทของตัวละครนั้นๆ เป็นเช่นใด อยู่ภายใต้เงื่อนไขใดหรือไม่ 3. คุณค่าของวรรณคดีหรือวรรณกรรม โดยพิจารณาจาก 3.1 คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ 3.2 คุณค่าทางด้านสังคม
34 ภาษาไทย O-NET
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 7 ความงามในภาษาและการอ่านวรรณคดี อ่านคำประพันธ์ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 (ข้อสอบ O-NET 2551) (1) เป็นกลุ่มกลุ่มกลุ้มกายเหมือนทรายซัด ต้องนั่งปัดแปะไปมิได้นอน (2) ครั้นยามเย็นเห็นเหมือนหนึ่งเมฆพลุ่ง เป็นควันฟุ้งราวกับไฟไกลหนักหนา (3) ดูเหย้าเรือนหาเหมือนอย่างไทยไม่ หลังคาใหญ่พื้นเล็กเป็นโรงผี (4) เราเป็นมนุษย์สุดรักต้องลักพา เหมือนอินทราตรึงส์ตรัยเป็นไรมี 1.
ข้อใดไม่ใช้ภาพพจน์ชนิดอุปมา 1. ข้อ 1 2. ข้อ 2
3.
ข้อ 3
4.
ข้อ 4
2.
ข้อใดใช้ภาพพจน์ชนิดอุปลักษณ์ 1. ข้อ 1 2. ข้อ 2
3.
ข้อ 3
4.
ข้อ 4
3.
ข้อใดใช้ภาพพจน์มากกว่าหนึ่งชนิด (O-NET 49) 1. ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดคนองท้องช้างเหลวไหล 2. เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา 3. ปัญญาค่าเปรียบแก้ว ก่องเก็จ 4. ดังหับดับหิ่งห้อย เหือดแห้งแสงหาย
4.
ข้อใดใช้ภาพพจน์ต่างจากข้ออื่น (O-NET 49) 1. เธอคือโคมทองของชีวิตพี่ นำส่องทางไว้ให้ดีเพื่อชีวิตนี้รื่นรมย์ 2. เอาลำน้ำใสเย็นนี่หรือมาเป็นเมรุทอง เอาน้ำตกก้องเป็นกลองประโคม 3. แม้มิได้เป็นจันทร์อันสกาว ขอเป็นดาวดวงแจ่มแอร่มตา 4. ถึงโลกแตกแหลกเป็นผงคลี รักเต็มปรี่ไม่มีรู้คลาย
5.
ข้อใดไม่ใช่ภาพพจน์ชนิดบุคคลวัต (ข้อสอบ O-NET 2550) 1. เมฆไหลลงห่มเงื้อม ผาชะโงก 2. งามม่านเงาไม้โศก ซับซ้อน 3. ดอกหญ้าป่าลมโบก ผงกช่อ 4. ซ่าซ่าธาราฉะอ้อน เร่งร้อนระหายฝัน
4.
บาทที่ 4
6.
โคลงต่อไปนี้บาทใดใช้สัมผัสอักษรเด่นชัดที่สุด (O-NET 50) ร้อนอากาศอาบน้ำ บรรเทา ร้อนแดดพอแฝงเงา ร่มได้ ร้อนในอุระเรา เหลือหลีก ร้อนนอกราคหมกไหม้ หม่นเพี้ยงเพลิงรุม 1. บาทที่ 1 2 บาทที่ 2 3. บาทที่ 3 7.
ข้อใดไม่มีการเล่นคำ (O-NET 50) 1. เบญจวรรณวันจากเจ้า 2. นามแก้วดอกแก้วคือ 3. งามทรงวงดังวาด 4. นางแย้มดุจเรียมยล
กำสรดเศร้าแทบวายวาง แก้วเนตรพี่นี้ใช่ใคร งามมารยาทนาดกรกราย น้อยแย้มยิ้มพริ้มพรายงาม
ภาษาไทย O-NET
35
8.
ข้อใดไม่มีการเล่นคำ (O-NET 49) 1. มาคลองบางกอกกลุ้ม ลางใจ ฤๅบ่กอกหนอใน อกช้ำ 2. สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา นึกระกำนามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม 3. โฉมแม่จักฝากฟ้า เกรงอินทร์ หยอกนา อินทรท่านเทอกเอา สู้ฟ้า นางนวล 4. นางนวลจับแมกไม้ นวลนุชแนบเรียมควร คู่แคล้ว 9.
ข้อใดไม่มีคำอัพภาส (O-NET 49) 1. ลอยละลิ่วปลิวไปไพรระหง 3. กุหลาบงามหอมระรื่นชื่นนาสา
10.
ข้อใดใช้คำอัพภาส (O-NET 50) 1. ประยงค์ทรงพวงห้อย 2. ลวดลายระบายระบุกระหนาบ 3. สามยอดตลอดระยะระยับ 4. ความรักที่ยังรักระบมใจ
11.
ข้อใดไม่ใช่คำถามเชิงวาทศิลป์ (O-NET 50) 1. นามวงศ์พงศ์ใดจงบอกมา แจ้งกิจจาแล้วจึงจะรบกัน 2. เมื่อผันแปรแลพบก็หลบพักตร์ จะเห็นรักฤาไม่เห็นเป็นไฉน 3. อันของสูงหมายปองต้องจิต ถ้าไม่คิดปีนป่ายจะได้หรือ 4. ยังมิทันสู่สมภิรมยา เวราสิ่งใดให้ไกลกัน
12.
ข้อใดสื่อจินตภาพต่างกับข้ออื่น (ข้อสอบ O-NET 2550) 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉ่ำ 2. ทั้งทุ้มต่ำเรื่อยจะเจื้อยแจ้ว 3. วะแว่วเพียงเสียงพ้อซอสายเอก 4. ประกายพรึกกะพริบพลิ้วพ้นทิวไม้
13.
ข้อใดไม่แสดงจินตภาพการเคลื่อนไหว (ข้อสอบ O-NET 2551) 1. อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ 2. บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟ้อน 3. สารทรงราชรามัญ ลงล่าง แลนา 4. หน่อนเรนทรทิศ ตกด้าว
14.
ข้อใดสื่อภาพและเสียงได้เด่นชัดที่สุด (O-NET 49) 1. คูบกระโดกโยกอย่างทุกย่างเดิน เขยื้อนเยินยอบยวบยะยวบกาย 2. เงื้อมตลิ่งงิ้วงามตระหง่านยอด ระกะกอดเกะกะกิ่งไสว 3. ย่ามกระสอบกรอบแกรบกระไกรกริก กลักพริกพลิกแพลงตะแคงหงาย 4. ทั้งจากที่จากคลองเป็นสองข้อ ยังจากกอนั้นก็ขึ้นในคลองขวาง
2.
แสงเรื่อเรืองแดงยะยับสลับคราม 4. เจ้าละเลยเร่ร่อนไปหนไหน ระย้าย้อยห้อยพวงกรอง กระแหนะภาพกระหนกพัน วะวะวับสลับพรรณ อย่าตัดไมตรีตรึงให้ตรอมตรม
15.
ข้อใดไม่ปรากฏในคำประพันธ์ต่อไปนี้ (O-NET 49) ฝนเป็นสายปรายโปรยเมื่อใกล้ค่ำ ฟ้าร่ำคำรณอยู่เลื่อนลั่น แปลบประกายปลายคุ้งทุ่งสุพรรณ ลมกระชั้นกระโชกกระชากแรง 2. แสง 3. เสียง 1. สี
36
ภาษาไทย O-NET
4.
การเคลื่อนไหว
16.
คำประพันธ์ต่อไปนี้แสดงคุณค่าด้านใดน้อยที่สุด (O-NET 49) เขียวขจีระริกใบไหวเอนอ่อน น้ำค้างซ้อนฝากไว้จูบใบเขียว อุ้มหยาดน้ำราวมณีที่ริ้วเรียว เติบโตต่อรอเดียวมาเกี่ยวคน 1. การสรรคำใช้ 2. การเสนอแนวคิด 3. การเล่นสัมผัส 4. การใช้ภาพพจน์
17.
ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นของคำประพันธ์ต่อไปนี้ (O-NET 50) อันว่าโกสุมสโรชก็โรยรายร่วงรสเรณูนวลผกาเกสร หมู่แมลงมาศภมรก็มัวเมาเอาชาติละอองอันละเอียด
เสียดแทรกไซร้สร้อยเสาวคนธ์ขจร หึ่งหึ่งบินวะวู่ว่อนร่อนร้องอยู่โดยรอบขอบจตุรสระศรี 1. การสรรคำ 2. ภาพชัดเจน 3. เสียงไพเราะ 4. เนื้อความลึกซึ้ง 18.
คำประพันธ์ต่อไปนี้ไม่ปรากฏคุณค่าทางวรรณศิลป์ตามข้อใด (O-NET 49) ขึ้นทรงรถทองผ่องพรรณ งามงอนอ่อนฉัน เฉกนาคราชกำแหง งามกงวงจักรรักต์แดง งามกำส่ำแสง งามคุมประดับเพชรพราย 1. การสรรคำใช้ 2. การเสนอแนวคิด 3. การเล่นสัมผัส 4. การใช้ภาพพจน์ 19.
คำที่ขีดเส้นใต้ในคำประพันธ์ต่อไปนี้หมายถึงใคร (O-NET 49) ฤๅรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤๅ 1. อินทรชิต 2. ไพจิตราสูร 3. ทศกัณฐ์
4.
กุมภกรรณ
20.
ข้อใดไม่มีการเสนอแนวคิด (O-NET 49) 1. ก้านบัวบอกลึกตื้น ชลธาร มารยาทส่อสันดาน ชาติเชื้อ กันหมด 2. ความรู้อาจเรียนทัน ยกแต่ชั่วดีกระด้าง อ่อนแก้ฤๅไหว 3. นางแย้มเหมือนแม่แย้ม ยวนสมร ใบโบกกลกวักอร เรียกไท้ 4. โลกนี้มิอยู่ด้วย มณี เดียวนา ทรายและสิ่งอื่นมี ส่วนสร้าง 21.
ข้อใดมีแนวคิดที่เป็นอุดมการณ์เพื่อบ้านเมือง (O-NET 49) 1. คนเดียวเท่านั้นในชีวิติ คนเดียวสนิทแนบอุรา 2. ขอคนเมืองอยู่เมืองสร้างเมืองแล้ว อย่าทิ้งแนวธรรมชาติวิบัติก่อน 3. จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง 4. อันของดีมีมากทั่วแดนไทย น่าหวงแหนไว้ให้ลูกหลาน
22.
พิธีกรรมใดสะท้อนความเชื่อเรื่องภูตผีวิญญาณ (O-NET 49) 1. เบิกโขลนทวาร 2. ปวงละว้าเซ่นไก่ 3. ตัดไม้ข่มนาม 4. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ภาษาไทย O-NET
37
23.
ข้อใดไม่แสดงความเชื่อในสังคมไทย (O-NET 49) 1. อนึ่งพบปะพระสงฆ์ทรงศีลา ไม่วันทาถอยถดทั้งยศทรัพย์ 2. ถึงร้อยรสบุปผาสุมาลัย จะชื่นใจเหมือนสตรีไม่มีเลย อย่าถือศักดิ์สนทนาอัชฌาสัย 3. หนึ่งนักปราชญ์ราชครูซึ่งรู้หลัก 4. วันจันทร์นั้นควรสีนวลขาว จะยืนยาวชันษาสถาผล 24. ข้อใดแสดงภูมิปัญญาไทย (O-NET 49) 1. ลักจั่นวัลย์เปรียงแก่นปรูลาย เป็นยาหายโรคภัยที่ในตัว 2. ทิศประจิมริมฐานมณฑปนั้น มีดาบสรูปปั้นยิงฟันขาว ดูเวลาปลอดห่วงทักทิน 3. คะเนนับย่ำยามได้สามครา 4. เสนาะเสียงเทศนาปุจฉาถาม ในสนามเสียงสนั่นเนินสิงขร 25.
ข้อใดไม่เกี่ยวกับวิถีชีวิตไทย (O-NET 49) 1. ที่มีเกวียนเกณฑ์บรรทุกลำเลียง ใส่เสบียงครบคนละสิบถัง 2. อันชิงนางอย่างนี้ไม่ผิดธรรม์ ธรรมเนียมนั้นมีแต่บุราณมา 3. มือถือสมุกหมากตามยากไร้ ดอกไม้ธูปเทียนถือติดมา 4. ที่นอนหมอนมุ้งเสื่ออ่อน ผ้าผ่อนดีดีมีในบ้าน
26.
ภาพสะท้อนทางสังคมข้อใดไม่ปรากฏในคำประพันธ์ต่อไปนี้ (O-NET 49) อันนารีที่ยังสาวพวกชาวบ้าน ถีบกระดานถือตระกร้าเที่ยวหาหอย ดูแคล่วคล่องล่องแล่นแฉลบลอย เอาขาห้อยเป็นหางไว้กลางเลน อันพวกเขาชาวประมงไม่หย่งหยิบ ล้วนตีนถีบปากกัดขัดเขมร จะได้กินข้าวเช้าก็ราวเพล ดูจัดเจนโลดโผนในโคลนตม 1. ลักษณะนิสัยของชาวประมง 2. การประกอบอาชีพของชาวประมง 3. การแต่งกายของชายชาวประมง 4. การละเล่นของสาวชาวประมง 27.
ข้อใดแสดงเวลาต่างกับข้ออื่น (O-NET 50) 1. พื้นนภางค์เผือดดาว แสงเงินขาวจับฟ้า 2. ดาวเดือนก็เลื่อนลับ แสงทองพยับโพยมหน 3. พอพระสุริยงค์เธอเยื้องรถบทจร ทิพากรยอแสงคลาไคล 4. แสงทองระรองรุ่ง รวิปรุงชโลมสรรพ์
28.
เนื้อความในข้อใดไม่ใช่การถาม (O-NET 50) 1. อ้อ จิตระรถเจ้าไป ตามที่กูใช้ สำเร็จประสงค์ฤาหวา 2. ไปถึงซึ่งแคว้นแดนใด ข้าบาทก็ได้ วาดรูปอนงค์งามงอน 3. หากเราจะขอให้ท่าน ช่วยเปลื้องรำคาญ จะได้ละหรือว่ามา 4. ท่านมีเวทมนตร์คาถา อาจดลหัทยา ใครใครได้หมดฤาไฉน 29. ข้อความที่ขีดเส้นใต้ในคำประพันธ์ต่อไปนี้หมายถึงข้อใด (O-NET 50) เมื่อสุกงอมหอมหวนจึงควรหล่น อยู่กับต้นอย่าให้พรากไปจากที่ อย่าชิงสุกก่อนห่ามไม่งามดี เมื่อบุญมีคงจะมาอย่าปรารมภ์ 2. ทรัพย์สิน 1. ลาภยศ 3. คู่ครอง 4. ผู้อุปถัมภ์
38
ภาษาไทย O-NET
30.
คำประพันธ์ต่อไปนี้อนุมานได้ว่าผู้เขียนเป็นคนลักษณะใด (O-NET 50) คราหิวใช่จักต้อง เสียศรี อุทกกลั้วนาภี อยู่ได้ เย็นซ่านผ่านอินทรีย์ พอชื่น จิตนา แม้มิได้อิ่มไซร้ ใช่ต้องวางวาย 1. หยิ่งยโส 2. รักเกียรติของตน 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ 4. สู้ชีวิตอย่างมีความหวัง 31.
ข้อใดไม่ได้แสดงวัฒนธรรม (O-NET 50) 1. เสนาะเสียงเทศนาปุจฉาถาม ในสนามเสียงสนั่นเนินสิงขร เป็นวัณบัณรสีรวีวร พระจันทรทรงกลดรจนา 2. ม่านนี้ฝีมือวันทองทำ จำได้ไม่ผิดนัยน์ตาพี่ เส้นไหมแม้นเขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแล้วแต่นางเดียว 3. แม้ลูกเรืออวดดีมีทิฐิ และเริ่มริเฉโกยุ่งโยเส เมื่อคลื่นลมแรงจัดซัดโซเซ เรือจะเหล่มระยำคว่ำไป 4. เริ่มผูกลายลวดเลิศประเสริฐก่อน อรชรก้านกิ่งยิ่งประสงค์ สลับสีเพียบเพ็ญเบญจรงค์ จัดประจงเป็นภาพพิไลตา 32. ข้อใดไม่อาจอนุมานได้ว่าเป็นบุคลิกของผู้พูด (A-NET 49) พระคุณเอ่ย จะคิดดูมั่งเป็นไรเล่า ว่ามัทรีนี้เป็นข้าเก่าแต่ก่อนมา ดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกกว่านั้น
ที่แน่นอน คือนางไหนอันสนิทชิดใช้แต่ก่อนกาลยังจะติดตามพระราชสมภารมาบ้างละหรือ ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียว
ดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี 1. จงรักภักดี 2. ไม่เห็นแก่ตัว 3. ขาดเหตุผล 4. เจ้าโวหาร 33.
คำประพันธ์ต่อไปนี้ตรงกับสำนวนไทยข้อใด ความรักขุนแผนก็แสนรัก ด้วยร่วมยากมานักไม่เดียดฉันท์ สู้ลำบากบุกป่ามาด้วยกัน สารพันอดออมถนอมใจ ขุนช้างแต่อยู่ด้วยกันมา คำหนักหาได้ว่าให้เคืองไม่ เงินทองกองไว้มิให้ใคร ข้าไทใช้สอยเหมือนของตัว 1. เหยียบเรือสองแคม 2. จับปลาสองมือ 3. รักพี่เสียดายน้อง 34.
35.
4.
ไม้หลักปักเลน
คำสอนในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น (2/2546) 1. อย่าเท้าแขนเท้าคางให้ห่างกาย อย่ากรีดกรายกรอมเพลาะเที่ยวเราะเริง 2. เห็นผู้ดีมีทรัพย์ประดับแต่ง อย่าทำแข่งวาสนากระยาหงัน 3. เมื่อยามยิ้มยิ้มไว้แต่ในพักตร์ อย่ายิ้มนักเสียงสง่าพาสลาย 4. อย่าลืมตัวมัวเดินให้เพลินจิต ระวังปิดปกป้องขอสงวน
ข้อใดสอนผู้ที่จะเข้ารับราชการ (1/2547) 1. อันเผ่าพงศ์วงศาสุรารักษ์ ที่สิ่งไรไม่ทราบได้กราบทูล 2. อันคนดีมีศีลสัตย์สันทัดเที่ยง เอาไว้ใช้ใกล้บพิตรไม่คิดร้าย 3. อันโซ่ตรวนพวนพันมันไม่อยู่ แม้นผูกใจไว้ด้วยปากไม่จากองค์ 4. จงโอบอ้อมถ่อมถดพระยศศักดิ์ ครั้งต่ำนักมักจะผิดคิดรำพึง
สามิภักดิ์พึ่งปิ่นบดินทร์สูรย์ จึงเพิ่มพูนภาคหน้าปรีชาชาญ ช่วยชุบเลี้ยงชูเชิดให้เฉิดฉาย เขารักตายด้วยได้ด้วยใจตรง คงหนีสู้ซ่อนมุ่นในฝุ่นผง อุตส่าห์ทรงทราบแบบที่แยบคาย ถ้าสูงนักแล้วก็เขาเข้าไม่ถึง พอก้ำกึ่งกลางนั้นขยันนัก ภาษาไทย O-NET
39
บทที่ 8 โวหารในการเขียน 1.
การอธิบาย การอธิบาย เป็นการใช้โวหารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ด้วยวิธีการดังนี้ 1.1 การใช้คำนิยาม 1.2 การยกตัวอย่างประกอบ 1.3 การเปรีบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง 1.4 การชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน 1.5 การอธิบายตามลำดับ 1.6 การกล่าวซ้ำด้วยถ้อยคำที่แปลกออกไป
2.
บรรยายโวหาร บรรยายโวหารเป็นการใช้โวหารเพื่อมุ่งเน้นการดำเนินเรื่องโดยจะกล่าวถึงใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
3.
พรรณนาโวหาร พรรณนาโวหารเป็นโวหารที่มุ่งเน้นการให้รายละเอียด ภาพที่เด่นชัดและความรู้สึก โดยมวิธีการดังนี้ 3.1 การแยกส่วนประกอบ 3.2 การชี้ลักษณะเด่น 3.3 การใช้โวหารภาพพจน์
4.
อุปมาโวหาร อุปมาโวหารเป็นโวหารที่มีการเปรียบเทียบ
5.
สาธกโวหาร สาธกโวหารเป็นโวหารที่มีการยกตัวอย่างประกอบ
6.
เทศนาโวหาร เทศนาโวหารเป็นโวหารที่มุ่งเน้นการสั่งสอน
40
ภาษาไทย O-NET
1.
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 8 โวหารในการเขียน
คำประพันธ์ต่อไปนี้ใช้โวหารแบบใด (O-NET 2549) ณ ร่มไม้สาละพนาสัณฑ์ นามสุมพินีวันมหาสถาน พระนางเริ่มเจ็บครรภ์มิทันนาน ประสูติกาลพระโอรสแสนงดงาม วิสาขะวันเพ็ญเพลาเลิศ พระกุมารผู้ประเสริฐแห่งโลกสาม บัวบูชารองพระบาทยาตราตาม บุญญายามจิตพร้อมน้อมประณต 1. บรรยายโวหาร 2. พรรณนาโวหาร 3. เทศนาโวหาร
4.
สาธกโวหาร
2.
ข้อความต่อไปนี้ใช้วิธีอธิบายแบบใด (O-NET 2549) การทำห่อหมกนั้นต้องใช้เวลานาน เตรียมใบตอง เจียนใบตองสำหรับห่อ เลือกใบยอที่ไม่อ่อนเกินไปมาฉีกเป็น
ชิ้นๆ ปลาช่อนหรือปลาสวายแม่น้ำที่จะนำมาทำห่อหมกต้องแล่เอาแต่เนื้อ หัวกับพุงแยกไว้ต่างหาก น้ำพริกแกงที่ใช้
คือน้ำพริกแกงเผ็ด แต่ไม่ใส่เครื่องเทศ กะทิคั้นเอาแต่หัว รวมเครื่องปรุงใส่ลงในอ่าง คนจน “ขึ้น” ตักใส่ใบตองห่อ
แล้วนำไปนิ่งจนสุก 1. ให้นิยาม 2. ใช้ตัวอย่าง 3. ชี้แจงตามลำดับขั้น 4. เปรียบเทียบความเหมือนและความต่าง 3.
ข้อความต่อไปนี้เป็นการอธิบายแบบใด (ข้อสอบ O NET 2550) การเดินทางในสมัยก่อนใช้เกวียนหรือช้างหรือม้าถ้าไปทางบก ถ้าเดินทางเรือก็ใช้เรือพายหรือเรือแจว การ
เดินทางกินเวลานาน ผู้ที่มีนิสัยทางกวีจึงแต่คำประพันธ์พรรณนาหนทางที่ผ่านไป 1. ใช้ตัวอย่าง 2. กล่าวตามลำดับ 4. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง 3. ชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน 4.
ข้อใดไม่ใช่การเขียนแบบบรรยาย (ข้อสอบ O NET 2550) 1. ปลาหนักสามสิบกิโลกระแทกผิวน้ำเสียงดัง มันหงายท้องขึ้นมาอยู่ครู่หนึ่งก่อนพลิกกลับแล้วผลุบหายลงสู่ใต้น้ำ 2. พ่อครัวรีบปีนขึ้นหลังคา อุ้มไอ้โต้ลงมาล่ามไว้ หยิบผ้าขนหนูออกมาเช็ดขนให้มัน 3. รถยนต์คันหนึ่งเลี้ยวจากถนนใหญ่เข้ามาในซอยและจอดอยู่ใกล้ปากทางหลายนาที 4. เขายังจำใบหน้าท่าทางของเธอได้อย่างติดตา เธอเป็นคนอ้วน หน้าอิ่ม แก้มแดงเรื่อ เหมือนดอกหงอนไก่บาน
5.
บทประพันธ์ต่อไปนี้ใช้โวหารชนิดใด (A-NET 2549) “ครั้นถึงเนินนทรายชายทุ่ง แว่นแคว้นแดนกรุงดาหา จึงให้หยุดกองทัพตั้งพลับพลา ที่ต้องนามครุฑาเกรียงไกร แล้วบัญชาให้ตำมะหงง ท่านจงรีบเข้าไปกรุงใหญ่ ทูลศรีปัตหราเรืองชัย แก้ไขอย่าให้เคืองบาทา” 1. พรรณนา 2. อธิบาย 3. เทศนา
4.
บรรยาย
6.
ข้อความต่อไปนี้ใช้โวหารตามข้อใด (A-NET 2549) ไอ้เหลาผอมแห้งแกร่งกรัง เนื้อหนังเหี่ยวย่นยังกะผิวลูกมะระแห้ง ตัวเล็กขนาดเด็กประถมปลาย ตัดผมสั้น
เกรียนทรงนักเรียนมีหงอกแซมประปราย เค้าหน้าเหมือนตัวป๊อปอายหนังการ์ตูน ตาตี่เล็กเท่าเม็ดแตงโม เวลายิ้ม
หรือหัวเราะ หนังตาแทบจะปิดหากันจนสนิท ปากกว้าง ดั้งแฟบ และฟันหน้าตอนบนหายไปหมด 1. พรรณนา และ อุปมา 2. พรรณนา และ สาธก 3. บรรยาย และ อุปมา 4. บรรยาย และ สาธก
ภาษาไทย O-NET
41
7.
ข้อใดใช้โวหารการเขียนต่างกับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2550) 1. เสียงเพลงสรรเสริญพระบารมีดังขึ้น พร้อมกับเสียงที่ทุกคนเปล่งออกมาว่า “ทรงพระเจริญ” ก็ดังก้องไป
ทั่วบริเวณ 2. มองไปทางไหนเห็นแต่สีเหลืองอร่ามสะพรั่งไปทั่วบริเวณ อาจมีสีอื่นบ้างจากร่มกั้นกางกันแดดดูเป็นสีกระดำ
กระด่างแซมปนอยู่ 3. เสียงผู้คนตะโกนไปทั่วว่า “ทรงพระเจริญ” แสงแดดที่แผดกล้ากลับรู้สึกอบอุ่น มีสายลมเย็นๆ แผ่วผ่านมา 4. เสียงเห่เรือก้องกังวานตามผืนน้ำ ท่ามกลางแสงอาทิตย์ยามเย็นก็สาดแสงสีเหลืองทองจับเป็นประกายบริเวณ
หมู่ยอดเจดีย์
42
ภาษาไทย O-NET
บทที่ 9 ความคิดและการแสดงออก (เหตุผลกับภาษา การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ) เหตุผลกับภาษา โจทย์จะถาม 3 ประเด็น 1. มีการแสดงเหตุผลหรือไม่(ถ้ามีต้องมีเหตุ+ผล) ไม่ใช่มีอย่างใดอย่างหนึ่ง 2. ลำดับการแสดงเหตุผล(เหตุก่อนผลหรือผลก่อนเหตุ) 3. ความสมเหตุสมผล คำเตือน เรื่องนี้ให้พยายามหา คำสำคัญ ดังนี้ หลัง เพราะ เพราะว่า ด้วย เหตุที่ว่า โดยที่ = เหตุ (ข้อสนับสนุน) หลัง ดังนั้น เพราะฉะนั้น จึง ก็เลย = ผล (ข้อสรุป)
การอนุมาน อนุมาน = เดาอย่างมีเหตุผล 1. นิรนัย เป็นการเดาที่อ้างกฎหรือหลักความจริง ดังนั้นเวลาเดาแล้วมันจะเป็นความจริง ตัวอย่าง 1) คนทุกคนเกิดมาก็ต้องตาย แม้ตัวเราเองก็ตายจากดลกนี้ไปในวันหนีงเป็นแน่ 2) อาจารย์วาดจันทร์เป็นคนดีมากๆ เลยนะเพราะอาจารย์เป็นคนมีความกตัญญู (สัจธรรมก็คือ ความกตัญญู
กตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี) 3) คุณสมบัติต้องเป็นผู้หญิงแน่ๆ เพราะเป็นป้าของคุณสมชาย (เดาจากความจริงที่ว่า ป้าต้องเป็นเพศหญิง
เท่านั้น) 2. อุปนัย เป็นการเดาจากสิ่งที่เห็นว่าหลายๆ เหตุการณ์เป็นเช่นนั้น เราก็เลยสรุปว่ามันน่าจะเป็นเช่นนั้นซะเลยซึ่ง
ความจริงอาจไม่ใช่ก็ได้เพราะไม่ได้อ้างจากกฎความจริงหรือสัจธรรม (แบบนี้เป็นการคาดเดาเอามากๆ เลยให้
พยายามสังเกตจากคำว่า คง คงจะ อาจ อาจจะ น่า น่าจะ) ตัวอย่าง (ตัวละครและเรื่องเหล่านี้เป็นการสมมุตินะคะ) 1) ใครๆ เห็นอาจารย์ทิวลิปก็หลงเสน่ห์กันทั้งนั้น ฉันว่าถ้าไอซ์มาเจออาจารย์ทิวลิปก็คงหลงเสน่ห์ไปอีกคน 2) ปีที่แล้วนะอาจารย์ทิวลิปอกหักวันวาเลนไทน์ เดี๋ยวปีนี้อาจารย์ก็คงอกหักอีกรอบ 3) โดม และฟิล์มก็เคยเป็นแฟนกับอาจารย์ทิวลิป เรนก็ยังเคย ไอซ์เองก็น่าจะเคยเป็นแฟนอาจารย์นะ การอนุมานจากสาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน 1. การอนุมานจากเหตุไปหาผล เห็นเหตุ แล้ว เดา ผล - นักเรียนตั้งใจเรียน คงจะสอบติดจุฬาฯ กันทุกคนแน่เลย - อาจารย์ทิวลิปทำตัวน่ารัก ผู้ชายน่าจะมารักเป็นร้อยจนเลือกไม่ไหว - อาจารย์ทาทายังสอนภาษาไทยได้มันสะใจสุด ไม่นานก็คงจะดังระเบิดเถิดเทิง 2. การอนุมานจากผลไปหาเหตุ เห็นผล แล้ว เดา เหตุ - ฟิล์มแลดูหน้าตาอิดโรย เมื่อคืนคงทำงานดึกไปหน่อย (หรือไปทำอย่างอื่นก็ไม่รู้นะ) - อาจารย์ทิวลิปแลดูสวยขึ้น อาจารย์น่าจะไปทำศัลยกรรมที่ยันฮีมานะ - พี่จวงนมใหญ่ขึ้นกว่าเดิมเยอะเลย พี่จวงคงจะกินยาคุมเพิ่มเป็นวันละ 2 แผงแน่ๆ 3. การอนุมานจากผลไปหาผล เห็นผลตัวที่ 1 เดา ผลตัวที่ 2 - อาจารย์วสีแลดูสวยขึ้นนะ เดี๋ยวก็คงมีผู้ชายมาตามจีบกันจนหัวกระไดไม่แห้ง - โดมสอบตกตั้งหลายวิชา เกรดเฉลี่ยก็คงลดลงด้วย - บีมได้เกรดเฉลี่ยตั้ง 3.80 ยังงี้คงจะได้เกียรตินิยมด้วยชัวร์เลย ภาษาไทย O-NET
43
การแสดงทรรศนะ โจทย์จะถาม 3 ประเด็นหลักๆ คือ 1. โครงสร้าง (ที่มา/ข้อสนับสนุน/ข้อสรุป) ถามว่าอยู่ตรงไหน ส่วนไหนเป็นอะไร โดยเฉพาะข้อสรุปโจทย์ถามหา
บ่อยมาก 2. ข้อความนั้นๆ มีการแสดงทรรศนะหรือไม่ ให้สังเกตคำที่ใช้แสดงทรรศนะ เช่น คิดว่า เห็นว่า คงจะ อาจจะ
น่าจะ ควรจะ พึงจะ ขอสรุปว่า ฯลฯ 3. ประเภทของทรรศนะ (ระวังใน 1 ทรรศนะ อาจมีได้หลายประเภท) - ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง แสดงความเห็นทั่วไป เน้นความจริง ความเท็จ สถานการณ์ที่เกิดขึ้น - ทรรศนะเชิงนโยบาย เน้นการเสนอแนะสิ่งต่างๆ เช่น แผนงาน โครงการ ข้อควรทำ เป็นต้น - ทรรศนะเชิงคุณค่าหรือค่านิยม เน้นการตัดสินว่าเป็นอย่างไร ดี/ไม่ดี ควร/ไม่ควร เหมาะ/ไม่เหมาะ การโต้แย้ง การโต้แย้ง ใช้ความรู้จากเรื่องทรรศนะมาเชื่อมโยง เพราะการโต้แย้งคือการแสดงทรรศนะที่ต่างกันนั่นเอง Key Words แสดง การโต้แย้ง = แต่ แต่ทว่า มิใช่ ใช่ว่า ไม่ว่า หาก โจทย์จะถามเกี่ยวกับประเด็นการโต้แย้ง บ่อยมากๆ นั่นก็แปลว่าเขาชอบให้เราตั้งชื่อหัวข้อการโต้แย้งนั่นเอง จ้ะ การโน้มน้าวใจ โจทย์จะถามเกี่ยวกับกลวิธีการในการโน้มน้าวใจและสารโน้มน้าวใจ กลวิธีการโน้มน้าวใจมี 6 วิธี คือ 1. แสดงความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้โน้มน้าวใจ 2. แสดงความหนักแน่นของเหตุผล 3. แสดงให้ประจักษ์ถึงความรู้สึกหรืออารมณ์ร่วมกัน 4. แสดงทางเลือกด้านดีและด้านเสีย 5. สร้างความหรรษาแก่ผู้รับสาร 6. เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า สารโน้มน้าวใจ มี 3 ประเภท คือ 1. คำเชิญชวน 2. โฆษณาสินค้าและบริการ 3. โฆษณาชวนเชื่อ
44
ภาษาไทย O-NET
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 9 เรื่องความคิดและการแสดงออก (ภาษากับเหตุผล การอนุมาน การแสดงทรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ) 1.
คำขวัญข้อใดแสดงเหตุผล (O-NET 49) 1. ลูกมาก จะยากจน 3. น้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทำ
2.
ข้อใดมีเนื้อความไม่สมเหตุสมผล (O-NET 49) 1. ประเพณีรับน้องใหม่ควรอนุรักษ์ไว้ เพราะเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานแต่ต้องเป็นไปในทางสร้างสรรค์ 2. การเข้าแถวเคารพธงชาติในตอนเช้าจะช่วยปลูกสำนึกให้เกิดความรักและภูมิใจในชาติ 3. การปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัดจะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุได้มาก 4. การออกกำลังกายในตอนเช้าดีต่อสุขภาพ เพราะเป็นช่วงเวลาที่คนไม่พลุกพล่านมากนัก
3.
ข้อความต่อไปนี้มีโครงสร้างการแสดงเหตุผลตามข้อใด (O-NET 49) (1) ความสนุกเกิดจากใจและกายที่สอดคล้องกันเป็นอันหนึ่งอันเดียว / (2) ใจอยากสนุก ร่างกายไม่เป็นใจ ก็นึก
สนุกไม่ได้ / (3) ในทางกลับกัน ร่างกายพร้อมที่จะสนุกใจไม่เป็นไปด้วย ก็หมดโอกาสสนุก 1. (1) เป็นข้อสรุป (2) และ (3) เป็นข้อสนับสนุน 2. (1) เป็นข้อสนับสนุน (2) และ (3) เป็นข้อสรุป 3. (1) และ (3) เป็นข้อสรุป (2) เป็นข้อสนับสนุน 4. (1) และ (3) เป็นข้อสนับสนุน (2) เป็นข้อสรุป
4.
ข้อความตอนใดมีการใช้เหตุผล (A-NET 49) (1) พายุใหญ่ที่พัดกระหน่ำนาวาชีวิตครอบครัวคุณนั้นหนักหน่วง คุณควรถือประสบการณ์ครั้งนี้เป็นบทเรียนอัน
ยิ่งใหญ่ / (2) หากคุณเป็นคนเดินเรือคุณจะต้องรู้ว่าพายุนั้นมีอยู่คู่ทะเลเสมอ / (3) คุณจะหวังว่าชั่วชีวิตคุณจะ
โชคดี ไม่ต้องเผชิญพายุนั้นไม่ได้ / (4) ธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ให้บทเรียนที่มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ตลอดไป 1. ตอนที่ 1 2. ตอนที่ 2 3. ตอนที่ 3 4. ตอนที่ 4
5.
ข้อใดเสนอผลก่อนเหตุ (A-NET 49) 1. การผลักดันเรื่องป่าชุมชนเป็นบทเรียนสำคัญทำให้คนในป่าชุมชนเรียกรู้ที่จะรักและหวงแหนทรัพยากรของตนเอง 2. ช่วงปี 2534-2535 ป่าถูกทำลาย ชุมชนย่ำแย่ จากนั้นชาวบ้านได้จัดตั้งคณะกรรมการป่าชุมชนขึ้นมาดูแลป่า 3. โดยที่คณะกรรมการจัดทำโครงการคำนึงถึงวิถีชีวิตและการทำมาหากินของชาวบ้าน ชาวบ้านยังคงเข้าไปหาปู
หาปลาได้ 4. รัฐควรชี้แจงโครงการแก่ประชาชนอย่างชัดเจน เรื่องโครงการหมู่บ้านป่าไม้แผนใหม่เป็นเรื่องละเอียดอ่อน
2.
เด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า 4. เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ
6.
คำขวัญในข้อใดมีการแสดงเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล (A-NET 49) 1. หนึ่งเสียงของท่าน รังสรรค์บ้านเมือง 2. ระบบพรรคดี ผู้สมัครมีคุณธรรม 3. ไม่ป้องกันคนพาล ไม่อภิบาลคนชั่ว 4. บ้านเมืองใช่ของใคร อย่าแยกค่ายแยกมุ้ง
7.
ข้อใดเป็นการแสดงเหตุผลด้วยวิธีนิรนัย 1. นุชเคยยากจนมาก่อนจึงรู้ค่าของเงินมากกว่าศิราที่ร่ำรวย 2. จ๋อมแจ๋มชอบฟังนิทาน ดังนั้นเมื่อโตขึ้นน่าจะชอบอ่านหนังสือ 3. เจือมีความกตัญญู ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นผู้มีคุณธรรมอันประเสริฐ 4. เรืองรองเป็นคนขาดวิจารณญาณ เรียนมาจากระบบที่ไม่ส่งเสริมความคิด
ภาษาไทย O-NET
45
8.
ข้อใดเป็นอนุมานแบบอุปนัย 1. กฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ ถ้าใครฝ่าฝืนจะถูกปรับไม่เกิน 1,000 บาท 2. ปลาทูเป็นอาหารทะเลที่มีคุณค่าทางอาหารสูง สัตว์ทะเลอื่นๆ ก็น่าจะมีคุณค่าทางอาหารสูงด้วย 3. มลพิษทางน้ำมีผลกระทบต่อสัตว์น้ำและผู้คน ผู้อยู่ริมน้ำจึงต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา 4. ปรากฏการณ์เอลนิโน่มผ ี ลกระทบต่อประเทศต่างๆ ปีหน้าประชากรโลกจึงต้องประสบภาวะขาดแคลนอาหารแน่นอน
9.
ข้อใดเป็นการอธิบายจากผลไปหาเหตุ (A-NET 49) 1. พี่ชมแล้วให้ตรมระบบกาย ด้วยเจ้าสายสุดใจมิได้มา 2. เห็นลมอื้อจะใครสื่อสาราสั่ง ถึงร้อยชั่งคู่ชมเคยถนอม 3. ประจวบจนถึงตำบลบ่อโศก ยามวิโยคออกชื่อก็ครือหู 4. พี่จากจรดวงใจมาไกลเชย โอ้อกเอ๋ยแทบพังเหมือนฝั่งชล
10.
ข้อใดใช้วิธีอนุมานต่างกับข้ออื่น 1. กินข้าวกับน้ำพริกปลาทูแบบไทยๆ จะไม่เป็นโรคมากมายอย่างแน่นอน 2. คนที่เป็นโรคอ้วน โรคเบาหวานและโรคหัวใจนั้นเป็นเพราะไม่ได้ออกกำลังกาย 3. คนเราจะได้รับวิตามินและเกลือแร่อย่างครบถ้วนจากอาหารทั่วไป หากรู้จักเลือกกิน 4. เราควรเลือกอาหารที่มีประโยชน์ เพราะอาหารที่ดีช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
11.
ข้อความต่อไปนี้ใช้วิธีอนุมานแบบใด ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญประการหนึ่งของประเทศไทย เพราะยังไม่สามารถเก็บขยะมูลฝอย
ต่างๆ ไปกำจัดได้หมด มีขยะมูลฝอยตกค้าง ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและเกิดผลกระทบต่อสุขภาพผู้คน 1. อนุมานจากเหตุไปหาผล 2. อนุมานจากผลไปหาเหตุ 4. อนุมานจากผลไปหาผล 3. อนุมานจากเหตุไปหาเหตุ 12.
ข้อใดใช้ภาษาแสดงทรรศนะ (O-NET 49) 1. พวกเราทุกคนขอแสดงความคิดเห็นในเรื่องการเข้าค่ายพักแรมของโรงเรียน 2. พวกเราทุกคนขอยืนยันว่าโรงเรียนต้องจัดให้มีการเข้าค่ายพักแรม 3. พวกเราทุกคนต้องการให้โรงเรียนจัดให้มีการเข้าค่ายพักแรม 4. พวกเราทุกคนเห็นว่าโรงเรียนควรจัดให้มีการเข้าค่ายพักแรม
13.
ข้อใดไม่ใช่การแสดงทรรศนะ (A-NET 49) 1. ทุกๆ องค์กรในสังคมน่าจะร่วมมือจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์กันอย่างทั่วถึง 2. ครูควรปลูกฝังคุณธรรมเพื่อส่งเสริมความดีให้นักเรียนได้รู้คุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นคน 3. หากพ่อแม่ให้ความรักความเอาใจใส่ลูกและสนับสนุนให้ทำกิจกรรมเยาวชนปัญหาของเด็กก็คงจะไม่เกิด 4. เพื่อนๆ ที่เป็นกัลยาณมิตรกันจะช่วยชักจูงกันไปในทางที่ดีเพื่อชีวิตที่ดีงามของแต่ละคน
14.
ข้อความต่อไปนี้แสดงทรรศนะประเภทใด (A-NET 49) แนวคิดการกำหนดสัดส่วนการรับนักเรียนชั้น ม. 1 โดยเพิ่มการรับเด็กนอกเขตพื้นที่เป็น 40% เป็นการเพิ่ม
โอกาสให้เด็กที่อยู่ห่างไกลโรงเรียนที่มีคุณภาพได้มีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีคุณภาพได้มากขึ้น และต้องการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนที่เคยมีคุณภาพสูงๆ แต่ถูกลดคุณภาพลงในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ให้กลับมามี
คุณภาพอีกครั้งหนึ่ง 1. ทรรศนะเชิงนโยบาย 2. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง 3. ทรรศนะเชิงนโยบายและเชิงคุณค่า 4. ทรรศนะเชิงคุณค่าและข้อเท็จจริง
46
ภาษาไทย O-NET
15.
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการแสดงทรรศนะประเภทใด (O-NET 49) เมื่อไรหนอ พวกหนุ่มๆ ของเราจึงเข้าใจได้บ้างว่า การเป็นชาวนา ชาวสวนหรือกรรมกรอื่นๆ นั้น ก็มีเกียรติ
เท่ากับที่จะเป็นผู้ทำงานด้วยปากกาเหมือนกัน 2. ทรรศนะเกี่ยวกับข้อเท็จจริง 1. ทรรศนะเกี่ยวกับนโยบาย 3. ทรรศนะเกี่ยวกับเหตุการณ์ 4. ทรรศนะเกี่ยวกับคุณค่า 16.
ข้อความต่อไปนี้แสดงทรรศนะประเภทใด (O-NET 49) พระภิกษุฟาเหียนเป็นนักธรรมจาริกรูปแรกที่เดินทางไปอินเดียใน ค.ศ. 399 ท่านเดินทางผ่านเทือกเขาหิมาลัย
ด้วยความยากลำบาก บันทึกของท่านเป็นประโยชน์อย่างมากในการเรียนรูพ้ ระพุทธศาสนา และชีวติ สังคมอืน่ ๆ ในขณะนัน้ 2. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง 1. ทรรศนะเชิงคุณค่า 4. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริงและนโยบาย 3. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริงและคุณค่า อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม (1) การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยนั้น ปรัชญาสำคัญคือการสอนให้นิสิตนักศึกษาคิดเป็น / (2) และให้เขา
เหล่านั้นสามารถตัดสินใจเลือกเส้นทางชีวิตของตนเองได้ / (3) ดังนั้นการกระทำแบบมัดมือชกโดยให้พวกเขาได้เข้า
ร่ว มกิจ กรรมรับน้องใหม่ / (4) รวมทั้งการใช้ ยุท ธวิ ธี จน ทำให้ รุ่นน้ องนอกแถวกลายเป็ นแกะดำนั้ น ไม่น่าจะ
สอดคล้องกับปรัชญาการเรียนในระดับอุดมศึกษา 17.
ข้อความข้างต้นใช้วิธีสื่อความตามข้อใด 1. โต้แย้ง และแนะแนวทางที่ควรปฏิบัติ 2. โต้แย้ง และชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง 3. ชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง และเสนอให้แก้ไขปรับเปลี่ยน 4. เสนอให้แก้ไขปรับเปลี่ยน และแนะแนวทางที่ควรปฏิบัติ
18.
ข้อความส่วนใดใช้ถ้อยคำที่เข้าใจได้โดยไม่ต้องตีความ 1. ส่วนที่ 1 2. ส่วนที่ 2 3. ส่วนที่ 3
19.
ข้อใดไม่มีการโต้แย้ง (A-NET 49) 1. แม้ว่าภาษาจะเป็นสมบัติของมนุษย์ แต่เป็นสมบัติที่ต้องมีการเรียนรู้ มีการถ่ายทอดมนุษย์ไม่ได้รับมาเองโดย
อัตโนมัติ 2. ในสังคมไทยปัจจุบน ั คนไทยสนใจการพูด การเสนอความคิดเห็นกันมากก็จริงแต่ไม่สนใจทีจ่ ะใช้ภาษาไทยให้ถกู ต้อง 3. คนไทยทุกคนควรศึกษา ทำความเข้าใจและมีหน้าที่ดูแลรักษาภาษาไทย เพื่อความมั่นคงและความทันสมัยของ
ภาษาของชาติ 4. ใช่ว่ากวีทุกคนที่ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องไพเราะจะได้รับการยกย่องเป็นบุคคลสำคัญของชาติเสมอ
3.
ส่วนที่ 4
20.
ข้อความต่อไปนี้เป็นข้อโต้แย้งของข้อใด “การตั ด พั นธุ ก รรมพื ช มี ปั ญ หาอยู่ ไม่ น้ อ ย ทั้ ง ปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพและปั ญ หาด้ า น
เศรษฐกิจ ถึงแม้ว่ามีข้อบ่งชี้ไม่ชัดทั้งหมด แต่ก็สร้างความหวาดระแวงได้มาก” 1. ปัญหาจากการตัดต่อพันธุกรรมพืชเป็นเรื่องที่แก้ไขได้เสมอ 2. การปรับปรุงพันธุ์พืชเป็นวิทยาการที่น่าพอใจและมีประโยชน์มาก 3. การปรับปรุงพันธุ์พืชแสดงความก้าวหน้าของวิทยาการสมัยใหม่ในตะวันตก 4. เทคโนโลยีการตัดต่อพันธุกรรมพืชเป็นสิ่งที่ต้องตามให้ทันและรู้เท่าทัน
21.
นิทานเป็นงานศิลปะประเภทวรรณศิลป์ ซึ่งโดยทั่วไปเกิดจากแรงบันดาลใจของกวีหรือผู้แต่ง แรงบันดาลใจอาจเกิด จากความทุกข์ ความสุข ความเกลียดชัง ความเครียดแค้น ฯลฯ จะเป็นความรู้สึกฝ่ายดีหรือไม่ดีก็ได้ แต่เมื่อกลั่นกรอง ผ่านใจของผู้แต่ง แล้วเจือด้วยจินตนาการ และปรุงด้วยภาษาศิลป์แล้ว ภาพที่ออกมาควรประณีตละเมียดละไม ข้อใดเป็นประเด็นโต้แย้งของข้อความข้างต้นไม่ได้ (A-NET 49) 1. นิทานเป็นเรื่องที่ผู้เขียนต้องใช้ภาษาศิลป์ 2. แรงบันดาลใจของผู้แต่งนิทานอาจมาจากเรื่องดีหรือไม่ดี 3. นิทานควรเป็นเรื่องราวที่งดงามเสมอไป 4. นิทานเป็นเรื่องที่เกิดจากจินตนาการเท่านั้น ภาษาไทย O-NET
47
22.
ข้อใดไม่ต้องใช้หลักการโน้มน้าวใจ (O-NET 49) 1. การโฆษณาสินค้า 2. การหาเสียง 3. การประกาศแจ้งความ 4. การปราศรัย
23.
การโฆษณาบริการในข้อใดมีการโน้มน้าวใจแฝงอยู่ด้วย (O-NET 49) 1. 2. คลินิกปากน้ำ แม่ช้อยครัวไทย รับสมัครแพทย์ บริการอาหารไทยใน - นอกสถานที่ เงินเดือน 10,000 บาท + คอม + รสชาติดั้งเดิมแบบชาววัง ที่พักโทร. 0-3456-6541 โทร. 0-2345-6000
3.
24.
เป็นเจ้าของธุรกิจสุขภาพ คู่กับงานประจำ เริ่มต้น 2-3 ชม. / วัน ทำงานด้วย FAX, Tel. InterNET ฯลฯ โทร. 0-5213-7864
4.
สถาบันกวดวิชาเลิศวิทย์ รับสมัครครูเพศหญิง ปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขา รักการสอนเด็ก โทร. 0-8925-3144
ข้อใดเป็นการแสดงการโน้มน้าวใจ 1. เจียนกระดาษให้พอดีกรอบด้านนอก เจาะช่องกลางเอารูปถ่ายที่ต้องการจะใส่มาใส่ในช่องกรอบ จัดเส้นฉากให้ดี ติดเทปหลังกรอบทั้งสี่มุม 2. ใครจะเชื่อว่า “นก” ผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งเสรีภาพบนท้องฟ้ามีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานซึ่งอาศัยอยู่บน พื้นดิน 3. การท่องเที่ยวในฟาร์มหรือเขตเกษตรกรรมอื่นๆ เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพราะคุณจะได้ทั้งสาระและความ รื่นรมย์ในขณะเดียวกัน 4. การแห่ลูกแก้ว ก็คือการแห่นาค ผิดกับทางภาคกลางก็เพียงแต่ว่านาคทางภาคกลางนั้นนุ่งขาวห่มขาว แต่ลูกแก้ว ทางภาคเหนือนั้นแต่งตัวเป็นกษัตริย์โดยไปเช่าเครื่องแต่งกายมาจากพวกลิเก
25.
ข้อความต่อไปนี้ใช้กลวิธีในการโน้มน้าวใจตามข้อใด (A-NET 49) คนเราไม่ควรพูดเพราะอดไม่ได้ที่จะต้องพูด เราควรพูดเฉพาะสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น เนื้อหาที่พูดต้องมีสาระ
สำคัญ มีหลักการที่ดี มีคุณค่าควรแก่การฟัง จึงจะส่งเสริมบุคลิกภาพและความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้พูด 1. แสดงให้เห็นความเชื่อถือของผู้เขียน 2. แสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผล 4. แสดงให้เห็นทางเลือกด้านดีและด้านเสีย 3. แสดงให้ประจักษ์ถึงอารมณ์ร่วม
48
ภาษาไทย O-NET
บทที่ 10 การวิเคราะห์และวินิจสาร การวิเคราะห์สาร หมายถึง การแยกแยะเนื้อหาที่อ่านหรือฟังออกเป็นส่วน ๆ เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง วิเคราะห์ลักษณะคำประพันธ์ เป็นต้น การวินิจสาร หมายถึง การพิจารณาสารอย่างละเอียด สามารถตีความสารโดยใช้เหตุผลประกอบการพิจารณา การวิเคราะห์และวินิจสาร หมายถึง การแยกแยะองค์ประกอบของสารและพิจารณาอย่างละเอียดโดยใช้เหตุผล n การวิเคราะห์สาร - ลักษณะคำประพันธ์ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ข่าว บทความ ฯลฯ - อ่านจับใจความ สามารถตอบได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร กับใคร อย่างไร ฯลฯ - พิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียด หาใจความ และพลความ - พิจารณากลวิธีในการนำเสนอสาร n การวินิจสาร - พิจารณาเนื้อความ หาใจความหลัก - ตีความจากเนื้อหา หาจุดมุ่งหมายในการส่งสาร อารมณ์ ความคิดของผู้ส่งสาร - พิจารณาสาร หาแนวคิดหลัก และแนวคิดเสริม
บรรณานุกรม นิ่มนวล หาญทนงค์. 2541. การแต่งคำประพันธ์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. วินัย ภู่ระหงษ์. ม.ป.ป. “วรรณคดีกับความงามทางวรรณศิลป์”, มนุษย์กับความงาม. กรุงเทพฯ. : วิชัยพาณิชย์ และการพิมพ์ ภาษาไทย O-NET
49
ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 10 เรื่องการวิเคราะห์และวินิจสาร 1.
ข้อใดเป็นใจความสำคัญของข้อความต่อไปนี้ ความไม่พอใจจนเป็นคนเข็ญ พอแล้วเป็นเศรษฐีมหาศาล จนทั้งนอกทั้งในไม่ได้การ จงคิดอ่านแก้จนเป็นคนมี 1. ต้องรู้จักหาวิธีแก้จน 2. ไม่มีใครปรารถนาความจน 3. จนทรัพย์แล้วอย่าจนความคิด 4. จะไม่จนถ้าเป็นคนรู้จักพอ 2.
ข้อใดเป็นใจความสำคัญของข้อความต่อไปนี้ ความตายเป็นเพียงการเดินทางไปสู่บ้านหลังใหม่ ไม่มีใครเคย “ตาย” ไปจากหัวใจของคนที่รัก ตราบใดที่เรายัง
ระลึกถึง คนที่เรารักก็ยังคง “มีชีวิต” อยู่ตราบนั้น ไม่มีวันแตกดับไปตามกาลเวลา 2. การตายเป็นการเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ 1. ความตายเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องพบ 3. ผู้ตายยังคงอยู่ ในใจของผู้ที่รักเขา 4. ผู้ที่ตายแล้วยังมีผู้ระลึกถึงอยู่เสมอ 3.
ข้อใดเป็นใจความสำคัญของข้อความต่อไปนี้ (ข้อสอบ O-NET 2551) อาหารญี่ปุ่นที่เด่นๆ คือ ปลาซึ่งมีโปรตีนที่ดีกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นเพราะมีโอเมก้า 3 ซึ่งช่วยลดอัตราเสี่ยงต่อโรค
หัวใจและโรคหลอดเลือด และยังมีวิตามิน เกลือแร่มากอีกทั้งอาหารญี่ปุ่นมักใช้สาหร่ายเป็นส่วนประกอบหลักซึ่งมีทั้ง
โปรตีน ไอโอดีนและใยอาหารสูง จึงช่วยเรื่องการย่อยและระบบขับถ่าย 1. อาหารญี่ปุ่นมีคุณค่าทางโภชนาการสูง 2. อาหารญี่ปุ่นให้โปรตีนสูงกว่าอาหารชาติอื่น 3. อาหารญี่ปุ่นช่วยรักษาโรคต่างๆ ได้ 4. อาหารญี่ปุ่นช่วยควบคุมน้ำหนักได้ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 4 - 5 การรู้ความจริงของธรรมชาติจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง เมื่อเรารู้แล้วเราก็จะปฏิบัติต่อสิ่งทั้งหลายได้ถูกต้อง
เหมือนกับในทางวิทยาศาสตร์ฝ่ายวัตถุที่ค้นพบความจริงคือกฎธรรมชาติบางอย่างหรือบางส่วน เมื่อค้นพบแล้วก็นำ
เอากฎธรรมชาติบางส่วนนั้นมาใช้ทำอะไรต่างๆ ได้ เช่น การสร้างสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ตั้งแต่เรือกลไฟ รถไฟ เรือบิน
ตลอดจนคอมพิวเตอร์ 4.
ข้อใดเป็นวิธีส่งสารข้อความนี้ (A-NET 50) 1. การนำเข้าเรื่อง 3. การแสดงข้อมูลรายละเอียด
5.
ใจความสำคัญของข้อความนี้คือข้อใด (A-NET 50) 1. การรู้กฎสำคัญของธรรมชาติ 2. การประจักษ์ในความสำคัญของธรรมชาติ 3. การใช้ประโยชน์จากความจริงของธรรมชาต 4. การประดิษฐ์สิ่งของสำคัญจากการค้นพบกฎธรรมชาติ
2.
การสรุปโดยให้เหตุผล 4. การขยายเนื้อเรื่องพร้อมทั้งตัวอย่าง
6.
ข้อใดเป็นจุดประสงค์ของผู้แต่งคำประพันธ์ต่อไปนี้ บ้านเมืองลำบากยากเข็ญ หนุ่มสาวยังเล่นขายข้าวของ บ้านเมืองเร่งหาปัญญาครอง หนุ่มสาวยังฉลองไม่เลิกรา ขึ้นอุดมศึกษายังทารก โลกแข่งขันสกปรกไม่รอท่า พวกกินเมืองย่อมยินดีปรีดา เมืองนี้นักศึกษาไม่ยอมโต 1. ต้องการเห็นนักศึกษาเป็นปัญญาชนที่แท้จริง 2. ต้องการให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของกิจกรรม 3. ชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันบ้านเมืองอยู่ในภาวะวิกฤต 4. ชี้ให้เห็นปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง 7.
ข้อใดแสดงเจตนาที่ชัดเจนที่สุดของข้อความต่อไปนี้ ขวานไทยไม่มีด้ามนำไปใช้ย่อมไร้พลัง คนไทยไม่เคยแบ่งข้างไทย แขก จีน ฝรั่งที่เกิดเมืองไทยใต้ร่มบรม
โพธิสมภาร พระเจ้าอยูห่ วั พระราชินที รงห่วงใย ลูกเอยหลานเอยล้วนคนไทย มาสร้างฝันวันใหม่ให้ขวานไทยใจหนึง่ เดียว
50
ภาษาไทย O-NET
1.
ชี้ให้เห็นความสำคัญของแผ่นดินไทยทุกส่วน 3. กระตุ้นให้คนไทยมีความหวัง
2.
ย้ำให้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ 4. เตือนให้คนไทยรักสามัคคี
8.
ผู้กล่าวข้อความต่อไปนี้มีจุดประสงค์ตามข้อใด ต้นไม้น้อยๆ ยังให้ออกซิเจนแก่โลก ดอกไม้น้อยๆ ยังให้ความเพลินตาแก่มนุษย์ ผีเสื้อและนกกาบินไปมายังให้
ความสบายตาแก่ผู้พบเห็น เราเกิดมาชาติหนึ่งจะไม่ให้อะไรแก่แผ่นดินที่เราเกิดมาบ้างหรือ 1. ให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรของโลก 2. ให้รู้จักบุญคุณของธรรมชาติ 3. ให้ทำตนให้มีประโยชน์ต่อส่วนร่วม 4. ให้เห็นประโยชน์ของสรรพสิ่งในโลก 9.
ข้อความต่อไปนี้ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายอย่างไร (O-NET 50) วัยรุ่นจะรักเพื่อนมาก เพราะมองเห็นว่าเพื่อนมีปัญหาคล้ายกับตนเอง จึงมักเห็นอกเห็นใจกัน และมักคิดว่า
ผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ จึงได้พยายามเกาะกลุ่มกันเอง พูดคุยกันเอง ปรึกษากันเอง พ่อแม่หลายคนไม่เข้าใจไปตำหนิว่าเห็น
เพื่อนดีกว่าพ่อแม่ จึงทำให้น้อยใจและโต้ตอบกลับมา เกิดเป็นความขัดแย้งในครอบครัว 2. แสดงความเห็นใจวัยรุ่น 1. ให้ผู้ใหญ่เข้าใจวัยรุ่น 3. แสดงพฤติกรรมของวัยรุ่นในแง่ลบ 4. แก้ปัญหาการคบเพื่อนของวัยรุ่น 10.
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่อาจอนุมานได้ (O-NET 50) สังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่ต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดของตนเองและครอบครัว ความสัมพันธ์ของ สมาชิกใน
ครอบครัวจึงไม่แน่นแฟ้นเท่าที่ควร 1. ครอบครัวส่วนมากพ่อแม่ทำงานนอกบ้าน 2. พ่อแม่ไม่มีเวลารับฟังปัญหาของลูก 3. สมาชิกของครอบครัวมีเวลาอยู่ร่วมกันน้อย 4. เวลาส่วนใหญ่ของลูกอยู่กับเพื่อนที่โรงเรียน 11.
ข้อความต่อไปนี้ผู้เขียนต้องการโน้มน้าวใจผู้อ่านในเรื่องใด (O-NET 50) หากพวกเราทั้งหลายอยากให้ลูกหลานของเราเจริญเติบโตเป็นคนดีที่มีความฉลาด มีความเพียร ก็จงหมั่นจัดหา
หนังสือดีๆ ให้พวกเขาได้อ่านกัน และร่วมสร้างกุศลจัดซื้อหนังสือบริจาคส่งไปให้ห้องสมุด เพื่อลูกหลานของเราได้มี
โอกาสอ่านเถอะ เพราะเด็กที่ฉลาดมีความเพียรย่อมส่งผลให้ประเทศชาติเจริญ 1. การรักการอ่าน 2. การบริจาคหนังสือ 3. การส่งเสริมให้เด็กฉลาด 4. การพัฒนาประเทศด้วยการอ่าน 12.
ข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้พูด (O-NET 50) แม้ว่าฉันจะตายในการรับใช้ชาติ ฉันก็รู้สึกภูมิใจเป็นอย่างมาก เพราะเลือดทุกหยดที่รินรดออกมาจะสร้างความ
เจริญให้ประเทศชาติ และก่อให้เกิดความเข้มแข็งอันทรงพลัง 1. ความเสียสละ 2. ความมุ่งมั่น 3. ความซื่อสัตย์ 4. ความรับผิดชอบ
13.
คำประพันธ์ต่อไปนี้ผู้เขียนสื่อความหมายตามข้อใด (O-NET 50) ถ้าโลกคือละครโรงใหญ่ ผู้กำกับคือใครที่แอบซ่อน เราจะยอมเขากำหนดทุกบทตอน หรือจะต้อนผู้กำกับให้อับจน 1. เยาะเย้ยโชคชะตาอันรันทด 2. ต้องการลิขิตชีวิตด้วยตนเอง 3. ปลงตกกับชีวิตที่พลิกผัน 4. ครุ่นคิดเรื่องอำนาจพรหมลิขิต
14.
ข้อใดไม่ได้กล่าวถึงในข้อความต่อไปนี้ (O-NET 50) แพทย์ไทยเห็นว่าเด็กไทยกำลังถูกโรคอ้วนรุมเร้าอันเป็นผลจากการกินอาหารฟาสต์ฟู้ด จึงร่วมกันจัดการ
ประกวดการลดน้ำหนักเพื่อขจัดความเสี่ยง เป็นการจูงใจคนทุกวัยให้เห็นความสำคัญของการลดน้ำหนักมากกว่าที่จะ
ปล่อยให้ตนเองอ้วนต่อไป 2. การแข่งขันลดความอ้วน 1. ผลเสียของโรคอ้วน 3. ภัยของการบริโภคอาหารจานด่วน 4. วิธีการป้องกันและรักษาโรคอ้วน ภาษาไทย O-NET
51
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 15 - 16 ผู้ใดทำกรรมใดไว้จะได้รับผลของกรรมนั้น การก่อทุกข์โทษแก่ผู้อื่นเป็นการทำกรรมทางกาย ทางวาจา และทางใจ ด้วย เพราะใจต้องก่อขึ้นก่อนจึงจะออกมาทางกาย ทางวาจา เพราะฉะนั้นความคิดนั่นแหละจึงเป็นตัวก่อกรรมที่สำคัญ
อย่าว่าแต่จะถึงกับแสดงออกแล้วจึงจะเป็นกรรมเลย เพียงแต่คิดอยู่ในใจไม่ทันได้แสดงออกหรือปกปิดเสียไม่แสดงออกก็
ยังเป็นกรรมแล้วอย่างแน่นอนให้โทษแก่ตนเองแล้วอย่างแน่นอน ฉะนั้นจึงต้องระวังความคิดหรือใจนั่นแหละให้ดี พยายาม ทำสติให้ติดต่อเพื่อจะได้ดูใจตนเองได้ติดต่อกันให้มากที่สุด 15.
ข้อใดเป็นแนวคิดหลัก(A-NET 50) 1. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว 3. กรรมทุกอย่างเกี่ยวเนื่องกัน
2.
16.
ข้อความนี้ใช้การขยายความด้วยวิธีใด(A-NET 50) 1. ยกตัวอย่าง 3. โต้แย้ง
2.
ใจเป็นต้นทางแห่งกรรม 4. ใจเป็นกาย นายเป็นบ่าว ใช้เหตุผล 4. เปรียบเทียบ
17.
ตามสาระของข้อความต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวผิด (ข้อสอบ O-NET 2551) การเรียบเรียงลำดับข้อความผิดที่ในประโยคเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ทำให้อ่านยากและกำกวม จะเห็นกันอยู่เสมอถ้าผู้
เขียนหรือผู้พิสูจน์อักษรอ่านทบทวนและจัดลำดับเสียใหม่ก่อนปล่อยผ่านออกไปก็จะช่วยให้การอ่านราบรื่นไม่สะดุด 1. ความกำกวมของข้อความเกิดจากการเรียงลำดับความผิดตำแหน่ง 2. ผู้เขียนสามารถขจัดความกำกวมของข้อเขียนได้ด้วยตนเอง 3. การตรวจทานเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้มีการเรียงลำดับความได้ 4. ความบกพร่องด้านการเรียงลำดับข้อความเกิดขึ้นเป็นประจำจนแก้ไขไม่ได้
18.
ข้อใดคือความคิดรวบยอดของคำประพันธ์ต่อไปนี้ (ข้อสอบ O-NET 2551) ครืนครืนเสียงครวญคราง ไม่สิ้นสร่างที่โศกหา พื้นแผ่นพสุธา ท่วมน้ำตาตลอดไป 1. ความปั่นป่วนของธรรมชาติ 2. ความรุนแรงของพายุฝน 3. ความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ 4. ความเสียหายร้ายแรง 19.
20.
52
ตามรายงานต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่สาเหตุโดยตรงของโรคอ้วน (ข้อสอบ O-NET 2551) ผลสำรวจล่าสุดในจีนพบว่า หนึ่งในสี่ของเด็กวัยรุ่นชายในเมืองใหญ่ได้กลายสภาพเป็นเด็กอ้วนไปแล้ว อันเป็น ผลมาจากความนิยมตะวันตกและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดีขึ้น เด็กต้องคร่ำเคร่งกับการเรียน จนไม่มีเวลาได้ออกกำลังกาย นโยบายจำกัดให้แต่ละครอบครัวมีบุตรได้เพียงคนเดียวของทางการจีนก็เป็นอีกปัจจัย สำคัญที่ส่งผลต่อโรคอ้วนในเด็กชาย เพราะลูกชายโทนจะได้รับการปรนเปรอเยี่ยง “จักรพรรดิน้อย” 1. เด็กคร่ำเคร่งเรียนหนังสือมากเกินไป 2. เด็กไม่ได้ออกกำลังเพียงพอ 3. เด็กอยู่ดีกินดีมากเกินไป 4. เด็กนิยมกินอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ ข้อใดอนุมานได้จากข้อความต่อไปนี้ (ข้อสอบ O-NET 2551) ความสะดวกสบายในการอยู่หอพักของนักศึกษาเป็นไปตามกำลังเงิน อยู่หอพักที่สถานศึกษาจัดให้อาจสะดวก สบายน้อยกว่า เสียเงินน้อยกว่า แต่มีสิ่งหนึ่งที่หอพักเอกชนไม่มีให้ คือการรู้จักอยู่ร่วมกัน รู้จักอดทนต่อความไม่พอใจ คนอื่น เป็นการฝึกให้มีมนุษยสัมพันธ์ได้อย่างดี 1. หอพักของสถานศึกษามีความปลอดภัยมากกว่าหอพักเอกชน 2. นักศึกษาชอบอยู่หอพักเอกชนมากกว่าหอพักที่สถานศึกษาจัดให้ 3. หอพักเอกชนมีสิ่งอำนวยความสะดวกให้มากกว่าหอพักของสถานศึกษา 4. สถานศึกษามีงบประมาณจำกัดในการสร้างหอพัก จึงไม่อาจแข่งขันกับเอกชนได้
ภาษาไทย O-NET
View more...
Comments