SOAP note for Pharmacy Students
April 11, 2017 | Author: Kitiyot Yotsombut | Category: N/A
Short Description
Download SOAP note for Pharmacy Students...
Description
การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note เภสัชกรกิติยศ ยศสมบัติ, เภสัชกรหญิงสิรินุช พละภิญโญ คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การบันทึก SOAP เปนรูปแบบการบันทึกที่ไดรับความนิยมและเปนที่รูจักโดยทั่วไปของบุคลากรสาธารณสุข โดย วัตถุประสงคของการบันทึก SOAP คือเพื่อใหเกิดการสื่อสารระหวางบุคลากรการแพทยผูใหการดูแลผูปวย ทั้งในวิชาชีพเดียวกันและ ระหวางวิชาชีพอยางเปนระบบ ทําใหการดูแลผูปวยเปนไปอยางตอเนื่อง การบันทึก SOAP ยังเปนการแสดงถึงความรูความเขาใจ ของผูเขียน ทําใหผูอื่นไดทราบวาผูเขียน SOAP นั้นพบอะไร คิดเห็นอยางไรและปฏิบัติอยางไรกับปญหาที่เกิดกับผูปวย การเขียน SOAP จึงทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนองคความรูและทัศนคติในการดานการดูแลผูปวย อาทิเชนในการนําเสนอกรณีศึกษาของนิสิตตอ หนาอาจารยเภสัชกร นอกจากนี้ SOAP ยังเปนเครื่องมือสําคัญที่แสดงถึงการปฏิบัติงานของเภสัชกรซึ่งในบางประเทศไดมีการใช แบบบันทึก SOAP นี้เปนหลักฐานในการเบิกจายเงินตอบแทนแกเภสัชกรที่ใหการดูแลผูปวยอยางเชนในสหรัฐอเมริกา เปนตน1 รูปแบบการบันทึก SOAP S, O, A และ P เปนคํายอของ subjective data, objective data, assessment และ plan ซึ่งแสดงใหเห็นกระบวนการคิดวิเคราะหแกปญหา คือเริ่มจากการรวบรวมขอมูลอยางครบถวน แบงตามระดับความเชื่อไดของขอมูล จากนั้นจึงประมวลผลจากขอมูลที่ได เพื่อระบุเปนปญหาซึ่งเปนความตองการที่แทจริงของผูปวย ประเมินปญหาที่พบวามีผลกระทบตอ ผูปวยมากนอยเพียงใด เหตุและปจจัยของปญหา รวมถึงแนวทางการแกไขที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย จากนั้นจึงกําหนดเปนแนว ทางแกไข ควบคูไปกับการติดตามผลการแกปญหาและเฝาระวังการเกิดปญหาอื่นเนื่องจากวิธีการแกปญหาเดิม นอกจากนี้ยังตองมีการ วางแผนสําหรับกรณีที่การแกปญหาที่วางไวเดิมไมสัมฤทธิ์ผล หรือการดําเนินการตอไปเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการดูแลผูปวย โดย รายละเอียดของ SOAP มีดังนี้2 Subjective data หมายถึงขอมูลที่ไดจากคําบอกเลาของตัวผูปวย ผูใกลชิด หรือผูดูแลซึ่งไมสามารถพิสูจนหรือ ตรวจสอบความถูกตองได มีความเชื่อไดของขอมูลตํ่า สวนใหญเปนขอมูลที่ไมสามารถทําใหเกิดซํ้า (non-reproducible data) ขอมูลที่มักปรากฏในสวนนี้ ไดแก CC (chief complaint) HPI (history of present illness) PMH (past medical history) MH (medication history) All (allergy) S&FH (social and family history) และ ROS (review of system) Objective data หมายถึงขอมูลที่ไดจากแฟมประวัติ ยาที่ผูปวยไดรับตามใบสั่งแพทย ผลการตรวจรายกาย ผล ตรวจทางหองปฏิบัติการ และผลตรวจวัดหรือประวัติอื่นที่มีความนาเชื่อถือสูง ขอมูลที่ปรากฏในสวนนี้จะมีความเชื่อไดสูงกวาในสวน ของ subjective data ขอมูลที่ปรากฏในสวนนี้ที่พบไดบอยในเภสัชกรรมชุมชน คือ VS (vital sign) และ PE (physical examination) ในขณะที่เภสัชกรที่ปฏิบัติหนาที่ในโรงพยาบาลอาจเขาถึง objective data อื่นๆ เชนคา ตรวจทางหองปฏิบัติการ (laboratory results) และผลจากการตรวจวินิจฉัยหรือการตรวจยืนยันตางๆ (diagnostic and confirmatory tests) ขอมูลจากสวน S และ O ควรมีความสอดคลองเปนไปในทางเดียวกัน ในกรณีที่เกิดความคลาดเคลื่อนไมตรงกันของ ขอมูล ขอมูลในสวน O จะเปนขอมูลที่ควรเลือกใชในการวิเคราะหแกไขปญหามากกวาขอมูลในสวน S1
การพิจารณาแบงวาขอมูลที่ไดเปน S หรือ O นั้น บางกรณีระบุไดยากและไมมีหลักการตายตัวที่เปนที่ยอมรับโดยสากล เชน PMH, MH, All ซึ่งหากไดจากการสัมภาษณผูปวย อาจพิจารณาใหเปน S แตถาไดจากเวชระเบียนของผูปวยอาจพิจารณา ใหเปน O อยางไรก็ตามประวัติที่ไดจากการสัมภาษณผูปวยหากสามารถตรวจสอบพบวามีความนาเชื่อถือสูงก็อาจจัดเปน O ได เชนเมื่อพบผูปวยใหขอมูลวามีประวัติแพยา โดยสามารถระบุไดโดยละเอียดถึงชื่อยา ขนาดยา เหตุผลที่ไดรับยา อาการผิดปกติหลัง การใชยา อีกทั้งมีการประเมินโดยบุคลากรวิชาชีพแลว ขาดแตเพียงบัตรแพยาและบันทึกในเวชระเบียน ในกรณีเชนนี้ตําราบางเลมก็ จัดใหเปน O ไดเชนกัน Assessment หมายถึงการประเมินปญหาของผูปวย อาจเปนปญหาทางการแพทย (medical problems) หรือ ปญหาที่เกิดจากการใชยา (Drug therapy problems; DTPs) หรืออาจพบปญหาทั้งสองชนิดควบคูอยูดวยกัน ปญหาที่เกิดจากการใชยา (DTPs) เปนหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงของเภสัชกร ประกอบดวยหลายประการและมีผู แจกแจงใหความหมายพรอมทั้งคําเรียกที่แตกตางกันไป ระบบหนึ่งซึ่งเปนที่นิยมใชคือ Cipolle, Strand & Morley (1998) ซึ่งระบุวา DTPs ที่พบไดบอยประกอบดวยหัวขอใหญเจ็ดประการ คือ 1. ผูปวยไดรับยาโดยไมจําเปน (unnecessary drug therapy) เชน - ผูปวยไดรับยาที่ไมมีขอบงใชที่เหมาะสมกับสภาวะของผูปวยในขณะนั้น - ผูปวยไดรับยาหลายชนิดรวมกันเพื่อรักษาภาวะที่สามารถใชยาชนิดเดียวได - ผูปวยควรไดรับการรักษาดวยวิธีอื่นที่ไมใชการใชยา - ผูปวยไดรับยาเพื่อรักษาอาการไมพึงประสงคจากยาชนิดอื่น ซึ่งเปนอาการไมพึงประสงคที่สามารถหลีกเลี่ยงได - ผูปวยใชยาในทางที่ผิด สารเสพติด แอลกอฮอล หรือบุหรี่ หรือผูปวยใชยาเพื่อทํารายตัวเอง 2. ผูปวยตองการการรักษาดวยยาเพิ่มเติม (Need for additional drug therapy) เชน - ผูปวยมีปญหาทางอายุรกรรมเกิดขึ้นซึ่งตองการการรักษาดวยยาชนิดใหม - ผูปวยตองการยาปองกันเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดปญหาทางอายุรกรรมขึ้นใหม - ผูปวยตองการการรักษาดวยยาหลายชนิดรวมกันเพื่อหวังผลในการเสริมฤทธิ์กัน 3. ผูปวยไดรับยาที่ไมมีเหมาะสม (Wrong or inappropriate drug) เชน - ผูปวยไดรับยาที่ไมใหประสิทธิผลสูงสุดสําหรับสภาวะของผูปวยในขณะนั้น - ผูปวยไดรับยาที่ไมสามารถรักษาภาวะของผูปวยในขณะนั้นไดอีกตอไป - ผูปวยไดรับยาที่มีรูปแบบของยาไมเหมาะสม - ผูปวยไดรับยาที่ไมใหประสิทธิผลในการรักษาโรคหรืออาการ 4. ผูปวยไดรับยาขนาดตํ่าเกินไป (dosage too low) เชน - ผูปวยไดรับยาในขนาดที่ตํ่าเกินไปที่จะใหผลตอบสนองทางการรักษาไดตามตองการ - ระยะหางระหวางมื้อยานานเกินไปที่จะทําใหเกิดการตอบสนองที่ตองการ - การเกิดอันตรกิริยาระหวางยาทําใหลดปริมาณยาที่จะออกฤทธิ์ไดลง - ระยะเวลาการไดรับยาในการรักษาสั้นเกินไปที่จะทําใหเกิดผลการรักษาตามตองการ 5. ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงค (adverse drug reaction) - ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคแมวาจะไดรับยาในขนาดที่เหมาะสม อัตราเร็วและวิถีทางการใหยาถูกตอง - ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคโดยที่พบวาผูปวยมีปจจัยเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากการไดรับยาอยูกอนแลว - ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคโดยมีสาเหตุจากการเกิดอันตรกิริยาระหวางยา - ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคจากการใหยาผูปวยในอัตราที่เร็วเกินไป - ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคขึ้นจากการที่ผูปวยแพยาที่ไดรับ การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note; ภก.กิติยศ ยศสมบัติ/ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
2
- ผูปวยเกิดอาการไมพึงประสงคจากการไดรับยาที่มีขอหามใช 6. ผูปวยไดรับยาในขนาดสูงเกินไป (dosage too high) เชน - ผูปวยไดรับยาในขนาดที่สูงเกินไปสําหรับสภาวะรางกายของผูปวยในขณะนั้น - ผูปวยเกิดเหตุการณไมพึงประสงคเนื่องมาจากระยะหางระหวางมื้อยาสั้นเกินไป - ผูปวยเกิดเหตุการณไมพึงประสงคเนื่องมาจากระยะเวลาการไดรับยาในการรักษานานเกินไป - ผูปวยเกิดเหตุการณไมพึงประสงคเนื่องมาจากเกิดอันตรกิริยาระหวางยาที่สงผลใหเกิดพิษจากยาที่ไดรับ - ผูปวยเกิดเหตุการณไมพึงประสงคเนื่องมาจากการปรับเพิ่มขนาดยาเร็วเกินไป 7. ผูปวยไมรวมมือ หรือไมสามารถใชยาตามสั่ง (non-compliance, non-adherence) เชน - ผูปวยไมเขาใจคําแนะนําการใชยา - ผูปวยเลือกที่จะไมรับประทานยา - ผูปวยลืมรับประทานยา - ผูปวยไมไดรับยาเนื่องจากยานั้นมีราคาแพง - ผูปวยไมสามารถกลืนยาหรือใชยาดวยตัวเองได - ไมมียานั้นในประเทศไทย หรือหาซื้อไดยาก หลังจากที่มีการระบุ (identification) ปญหาของผูปวยไดแลว ขั้นตอนตอมาคือการจัดลําดับความสําคัญของ ปญหา (prioritization) โดยเมื่อพิจารณาจากรูปที่ 1 จะสามารถเรียงลําดับความสําคัญของปญหาที่ควรไดรับการแกไข ตามลําดับคือ A – B – C – D3
• ไมเรงดวน และอันตราย นอย
• ไมเรงดวน แตอันตราย
• เรงดวนและ อันตราย
D
A
C
B • เรงดวนแต อันตรายนอย
รูปที่ 1: problem prioritization3 เมื่อลําดับความสําคัญของปญหาไดแลว เภสัชกรอาจเลือกเพียงปญหาหลักของผูปวยมาทําการแกไขกอน หรืออาจแกไข ปญหาทั้งหมดไปพรอมกัน อยางไรก็ตามการแกไขปญหาแตละปญหานั้นมีลําดับขั้นตอนเหมือนกัน เพียงแตหากเภสัชกรเลือกแกไขทีละ
การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note; ภก.กิติยศ ยศสมบัติ/ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
3
ปญหาก็จะบันทึกเฉพาะ S และ O เฉพาะที่เกี่ยวของกับปญหานั้น ในขณะที่ถาเลือกแนวทางการแกปญหาทั้งหมดไปดวยกัน ก็ สามารถระบุ S และ O ที่เกี่ยวของกับปญหาทั้งหมดไวดวยกันทีเดียว ขั้นตอนตอมาใน assessment คือการพิจารณาถึงแผนการรักษาเดิมและพัฒนาแผนการรักษาของผูปวยขึ้นใหมจาก ขอมูล S และ O ที่รวบรวมได ดังนั้นสิ่งที่ตองประเมินในสวนนี้คือปจจัยเหตุ (etiology) ปจจัยเสี่ยง (risk factor) ความรุนแรงของปญหาและการแกไขหรือรักษาที่ควรไดรับโดยอางอิงตามตํารา แหลงขอมูลตางๆ และแนวทางมาตรฐานในการรักษา ที่ทันสมัยเปนปจจุบันโดยอาจใชการประเมินตามหลัก IESAC คือการใชยาตองมีขอบงใช (indication) เปนยาที่มี ประสิทธิภาพดี (efficacy) มีความปลอดภัยสูง (safety) มีมาตรการที่จะสงเสริมใหเกิดความรวมมือในการใชยา (adherence) และเหมาะสมคุมคา (cost-effectiveness) สําหรับผูปวยแตละราย การจะเลื อกยาและแนวทางรั ก ษาที ่ด ีเ พื ่ อแนะนําให ก ับผู ปวยนั้น เภสัชกรตอ งใชการคิดวิเ คราะหอ ย างเปนระบบ (systematic critical thinking) โดยใชความรูพื้นฐานทางเภสัชศาสตรที่เกี่ยวของ เชนความรูทางกายวิภาคศาสตร และสรีรวิทยา พยาธิวิทยาและสมมุตฐานการเกิดโรค เภสัชวิทยา เภสัชเคมี เภสัชจลนศาสตร ฯลฯ รวมกับความรูเชิงประยุกตเชน เภสัชบําบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ (evidence-based pharmacotherapy) ซึ่งเลือกใชโดยไตรตรองอยางถี่ถวนแลว วามีความเหมาะสมกับตัวผูปวยเฉพาะราย นอกจากนี้เภสัชกรควรประยุกตใชศาสตรแขนงอื่นเขารวมในการกําหนดแผนการรักษา ก็ จะชวยเสริมใหผูปวยมีความรวมมือในการใชยาดีขึ้น เชนการประยุกตใชหลักจิตวิทยาและพฤติกรรมสุขภาพของผูปวยรวมดวย เปน ตน Plan หมายถึงแผนการที่วางไวเพื่อดําเนินการแกไขปญหาที่พบ เชนแผนการรักษา คําแนะนําในการปฏิบัติตน หรือการ สงตอผูปวย เภสัชกรควรเสนอแนะแผนการรักษาตางๆ ทั้งที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับการใชยาโดยสอดคลองกับเปาประสงคที่วาง ไว แผนการที่ระบุควรเขาใจงาย จําเพาะเจาะจง กระชับ ครบถวนและปฏิบัติไดจริง สิ่งสําคัญที่จะเปนแนวทางในการดูแลผูปวยซึ่งปรากฏใน plan คือ goal of therapy (เปาหมายการรักษา) ซึ่ง ตองสอดคลองกับปญหาของผูปวยและปฏิบัติไดจริงในบริบทนั้นๆ โดยปกติ goal of therapy จําแนกไดเปน 1. บําบัดโรค เชนใหยาตานเชื้อราแกผูปวยที่มาดวยโรคกลาก 2. ขจัดหรือบรรเทาอาการของโรค เชนใหยา antihistamine แกผูปวยที่มาดวยโรคกลากเพื่อบรรเทาอาการคัน 3. หยุดหรือชะลอการดําเนินโรค เชนควบคุมความดันโลหิตเพื่อชะลอการเสื่อมของไตในผูปวยไตวายเรื้อรัง 4. ปองกันการเกิดโรค เชนการให aspirin แกผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือการ แนะนําใหฉีดวัคซีนไขหวัดใหญในผูปวยโรคหลอดลมอุดกั้นที่มีการดําเนินโรคอยูในขั้นรุนแรง หลังจากกําหนดเปาหมายการรักษาสําหรับผูปวยแลว องคประกอบตอมาของ plan คือ therapeutic plan (แผนการรักษา) patient education (การใหความรูแกผูปวย) efficacy monitoring (การติดตามประสิทธิผล) safety monitoring (การเฝาระวังดานความปลอดภัย) adherence monitoring (การติดตามความรวมมือใน การรักษา) follow-up และ future plan (แผนการในอนาคต เชนการนัดกลับมาพบ หรือแผนการรักษาเพิ่มเติมหาก พบวาผลการรักษาไมเปนตามเปาหมายหรือเกิดความไมปลอดภัยขึ้นกับผูปวย) ตามลําดับ
การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note; ภก.กิติยศ ยศสมบัติ/ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
4
การประเมินความเหมาะสม ครบถวน ถูกตองของแบบบันทึก SOAP เภสัชกรสามารถใช checklist ดังรายละเอียดตอไปนี้เปนตัวชวยในการประเมินความเหมาะสม ครบถวน ถูกตอง ของแบบบันทึก SOAP ได ทั้งนี้แมจะประเมินตาม checklist วาครบถวนแลวก็มิอาจประกันไดวาแบบบันทึก SOAP นั้นจะ ถูกตอง เหมาะสมเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นกับสถานการณ กาลเทศะและวัตถุประสงคในการนําแบบบันทึก SOAP นั้นไปใช SOAP note checklist Basic component of note Beginning of note
End of note Writer’s name/signature Writer’s title and contact
Note title Date and time written No grammatical errors (incomplete sentences allowed) Succinct phrases used No spelling errors Appropriate medical terminology Only approved abbreviations No patient identifiable information Information appropriately labeled (mg/dl, mmHg, etc.) Use appropriate interprofessional language Clear, clean and legible Subjective & Objective information allocated in appropriate position Demographic information CC (chief complaint) All (allergy) HPI (history of present illness) S&FH (social and family history) PMH (past medical history) ROS (review of system) MH (medication history) PE (physical examination) Current medication list Lab (laboratory results) Medication adherence Other diagnostic and confirmatory tests Assessment Statement of medical problems and drug therapy problems Etiology and risk factors of problem Pertinent therapeutic alternative(s) including pros and cons of each alternative (IESAC may be applied) Plan Goals of therapy related to selected drug therapy problem Action taken/recommendation Medication recommendations include drug, dose, route, directions and, if applicable, duration Patient education: Brief description of any counseling points/patient education provided Efficacy monitoring: specific parameters to monitor therapeutic efficacy with suitable timeframe Safety monitoring: specific parameters to monitor medication safety Adherence monitoring: specific parameters to monitor medication understanding and adherence Follow-up component includes: purpose of follow-up, method of contact, person responsible and timeframe Future plan if goal of therapy not reached
การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note; ภก.กิติยศ ยศสมบัติ/ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
5
เอกสารอางอิง 1. Zierler-Brown S, Brown TR, Chen D, Blackburn RW. Clinical documentation for patient care: models, concepts, and liability considerations for pharmacists. Am J Health Syst Pharm 2007;64:1851-8. 2. Tomechko MA, Strand LM, Morley PC, Cipolle RJ. Q and A from the Pharmaceutical Care Project in Minnesota. Am Pharm 1995;NS35:30-9. 3. J.P. R, Currie JD, eds. A practical guide to pharmaceutical care: a clinical skills primer. 3th ed. Washington, DC: American Pharmacists Association; 2007. กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ผศ.ภญ.อภิฤดี เหมะจุฑา คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ภญ.สุชาดา สูรพันธ คณะเภสัช ศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ ผศ.ดร.ภก.ปรีชา มนทกานติกุล คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล สําหรับความรู แนวคิดและขอเสนอแนะอันมีประโยชนตอผูเขียนและนักเรียนเภสัชศาสตรทุกคน
การบันทึกการใหบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบ SOAP note; ภก.กิติยศ ยศสมบัติ/ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
6
View more...
Comments