ไตรภูมิพระร่วง.pdf

December 27, 2017 | Author: Bee B Suchanat Teunto | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download ไตรภูมิพระร่วง.pdf...

Description

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

โดย นางสาวพิมณิชา พรหมมานต

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2553 ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

โดย นางสาวพิมณิชา พรหมมานต

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2553 ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION FOR TEACHING THAI ON THE TOPIC OF TRIBHUMPRARUANG MANUSSABHUM FOR MATTHAYOMSUKSA 6 STUDENTS

By Pimnicha Prommanot

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION Department of Curriculum and Instruction Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY 2010

บัณฑิ ตวิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย ศิ ล ปากร อนุ มตั ิ ให้วิท ยานิ พนธ์เรื อง “การพัฒนาบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่ วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรั บ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6” เสนอโดย นางสาวพิมณิ ชา พรหมมานต เป็ นส่ วนหนึ งของการศึกษา ตามหลักสู ตรปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

……........................................................... (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์) คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย วันที..........เดือน.................... พ.ศ........... อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ 1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษบา บัวสมบูรณ์ 2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม 3. อาจารย์ ดร.ทวีวฒั น์ วัฒนกุลเจริ ญ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ ดร.บํารุ ง ชํานาญเรื อ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย์ สมประสงค์ น่วมบุญลือ) ............/......................../..............

.................................................... กรรมการ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษบา บัวสมบูรณ์) ............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม) (อาจารย์ ดร.ทวีวฒั น์ วัฒนกุลเจริ ญ) ............/......................../.............. ............/......................../..............

51255307 : สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คําสําคัญ : บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน /ไตรภูมิพระร่ วง/ มนุสสภูมิ พิมณิ ชา พรหมมานต : การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 อาจารย์ ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ : ผศ.ดร.บุษบา บัวสมบูรณ์, ผศ.ดรไชยยศ ไพวิทยศิริธรรมและอ.ดร.ทวีวฒั น์ วัฒนกุลเจริ ญ 301 หน้า การวิจยั ครังนีมีวตั ถุประสงค์ ดังนี 1) เพือพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 2) เพือเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และ 3) เพือศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม จํานวน 30 คน ทีได้จากการสุ่ มตัวอย่างอย่างง่าย ใช้เวลาในการ ทดลอง 4 ชัวโมง เครื องมื อที ใช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยน และ3) แบบสอบถาม ความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลีย ( & ) ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าสถิติที แบบไม่เป็ นอิสระต่อกัน ผลการวิจยั มีดงั ต่อไปนี 1) ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีค่าเท่ากับ 80.33/83.67 2) คะแนนผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสู งกว่าก่อน เรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .01 3) นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยูใ่ นระดับมาก มีค่าเฉลีย เท่ากับ 4.22 และค่าเบียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.15

ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีสอน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปี การศึกษา 2553

ลายมือชือนักศึกษา........................................ ลายมือชืออาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ 1. ........................ 2. ........................ 3. ........................... ง

51255307 : MAJOR : TEACHING THAI LANGUAGE KEY WORD : COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION / TRIBHUMPRARUANG / MANUSSABHUM PIMNICHA PROMMANOT : THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION FOR TEACHING THAI ON THE TOPIC OF TRIBHUMPRARUANG MANUSSABHUM FOR MATTHAYOMSUKSA 6 STUDENTS. THESIS ADVISORS : ASST. PROF. BUSABA BUASOMBOON, Ph.D, ASST.PROF.CHAIYOS PAIWITHAYASIRITHAM, Ed.D AND THAWEEWAT WATTHANAKUNJAREON, Ph.D. 301 pp.

The purposes of this research were : 1) to develop a computer assisted instruction on “Tribhumpraruang : manussabhum” for Matthayomsuksa 6 students; 2) to compare the students’ learning achievement before and after using the computer assisted instruction and 3) to study the students’ attitudes toward the CAI lesson. The samples are 30 Matthayomsuksa 6 students of Nonthaburipittayakom school, as the result of the simple random sampling. The research demonstrating for 4 hours. The instrument used for gathering data were comprised of : 1) the CAI program presenting“Tribhumpraruang : manussabhum” for Matthayomsuksa 6 students; 2) an achievement test, used as a pretest and posttest and 3) a questionnaire on the students’ opinions of the CAI lesson. The collected data were analyzed by mean, standard deviation and t-test dependent. The results revealed that: 1)The efficient of the CAI lesson on “Tribhumpraruang : manussabhum” was 80.33/83.67. 2)The students’ achievement after using the CAI lessons was higher than before using the the CAI lesson at the level of .01. 3)The students had the attitude toward the CAI program at the high level mean equal 4.22 and standard deviation equal 0.15. ______________________________________________________________________________ Department of Curriculum and Instruction Graduated School, Silpakorn University Academic year 2010 Student’s signature ………………………………. Thesis Advisors’ s signature 1. .…………………….... 2 . .……………….……… 3. . ……………..……… จ

กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนีสําเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดีดว้ ยความกรุ ณาอย่างยิงจากผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. บุษบา บัวสมบูรณ์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม และ อาจารย์ ดร. ทวีวฒั น์ วัฒนกุลเจริ ญซึงเป็ นอาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ ดร.บํารุ ง ชํานาญเรื อ ประธานกรรมการ สอบและรองศาสตราจารย์ สมประสงค์ น่ วมบุ ญ ลื อ กรรมการผูท้ รงคุ ณวุฒิที คอยแนะนํา ให้ คําปรึ กษาตลอดจนตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆตลอดระยะเวลาในการทําวิทยานิ พนธ์ ผูว้ ิจยั ขอกราบขอบพระคุณอย่างสู งไว้ ณ ทีนี ขอกราบขอบพระคุ ณ คณาจารย์ภ าควิ ช าหลัก สู ต รและวิ ธี ส อน คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรทุกท่านทีได้ประสิ ทธิประสาทวิชาความรู้ให้กบั ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณ พระครู สังฆรักษ์กิตติพงศ์ สิ ริวฑฺ ฒโน อาจารย์พิสมัย ภูริคมั ภีร์และ อาจารย์ดารณี สมบูรณ์อนุกลู ผูเ้ ชียวชาญด้านเนื อหา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน กาญจนวณิ ชย์กุล ผูเ้ ชียวชาญด้านการวัดประเมินผล อาจารย์ ดร.นํามนต์ เรื องฤทธิ อาจารย์มณฑิรา พันธุ์อน้ และ อาจารย์กิตติศกั ดิ ณ สงขลา ผูเ้ ชี ยวชาญด้านการสร้างและการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีช่วยตรวจแก้ไขเครื องมือในการวิจยั ครังนีให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ ขอขอบคุณนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมทีให้ความร่ วมมือ อย่างดียงในการเก็ ิ บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั ครังนี ขอขอบคุณเพือนๆนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทยทุกคนทีให้กาํ ลังใจทีดีตลอดมา ขอกราบขอบพระคุ ณ คุ ณ ยายและคุ ณแม่ที ให้ก าํ ลัง ใจและให้ค วามช่ วยเหลื อตลอดมา จนกระทังวิทยานิพนธ์เล่มนีเสร็ จสมบูรณ์ ประโยชน์ใดที เกิ ดจากวิทยานิ พนธ์ฉบับนี ผูว้ ิจยั ขอมอบเพือเป็ นเครื องบูชาพระคุ ณบิ ดา มารดา คณาจารย์ ผูม้ ีพระคุณทุกท่าน ตลอดจนหนังสื อและตําราทุกเล่มทีทําให้วิทยานิพนธ์นีสําเร็ จ ด้วยดี



สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย………………………………………………………………………………… ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... …. จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... …. ฉ สารบัญตาราง………………………………………………………………………………….…. ญ สารบัญแผนภูมิ…………………………………………………………………………………… ฏ บทที 1 บทนํา…………………………………………………………………………………….. 1 ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา………………………………………………… 1 วัตถุประสงค์ของการวิจยั ................................................................................................ 13 คําถามการวิจยั ….……………..………………….……………………………….…… 14 สมมติฐานของการวิจยั ………..…….……………………………………………....…. 14 ขอบเขตของการวิจยั ……………………….……….………………………..……...….. 14 ข้อตกลงเบืองต้น………………………………………………………………………... 15 นิยามศัพท์เฉพาะ……………………....…….………………………..…………..…… 15 2 วรรณกรรมทีเกียวข้อง…..…………….……….……………..…………………...….... 17 เอกสารทีเกียวข้องกับหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย…….……...…………………………………..……… 18 เอกสารทีเกียวข้องกับหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม………….…….. 20 วิสัยทัศน์…………………………………...……………………...………….. 20 เป้ าหมายของหลักสู ตร………………..……………………………………… 20 โครงสร้างหลักสู ตร……...…………………………………………………… 22 หน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชาภาษาไทย ท 33101………………………………… 23 เอกสารทีเกียวข้องกับการสอนภาษาไทย……..………….………………………..…... 24 จิตวิทยาการสอนภาษาไทย…………………..…………………….……..…... 24 วิธีสอนภาษาไทย………….…………………………………..………..…….. 28 วิธีสอนวรรณคดีและวรรณกรรม….………………..……………….……….. 32 เอกสารทีเกียวข้องกับวรรณกรรมพระพุทธศาสนา…...…………………...…. 40 ช

หน้า บทที

3

ความหมายวรรณกรรมพระพุทธศาสนา………………………..…..………… 40 ประเภทของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา….……………………………….… 40 จุดมุ่งหมายของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา..………………...……………… 41 ไตรภูมิพระร่ วง………...…………………………………….……………….. 42 เอกสารทีเกียวข้องกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……….…….……………………………. 54 ความหมายของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน……….…………...………………….. 54 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……………………....……………… 56 ข้อดีของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……………………………………………….. 59 คุณลักษณะของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน………………………………. 63 รู ปแบบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน…………….…………………………….. 64 ประเภทของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ …………………………………………….. 67 คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทเนือหา…………………………………………. 69 ขันตอนการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……….. 76 ขันตอนในการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……………………………….. 79 ทฤษฎีทางจิตวิทยาทีเกียวข้องกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน…………………….. 86 การหาประสิ ทธิ ภาพของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน…….…….............………… 91 งานวิจยั ทีเกียวข้อง………………………………..……………….……………..….. 94 งานวิจยั ในประเทศ……………..……………………………...…………..... 94 งานวิจยั ต่างประเทศ………………..……………………………………...…. 95 วิธีดาํ เนินการวิจยั .......................................................................................................... 97 รู ปแบบการวิจยั ............................................................................................... 97 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.............................................................................. 98 ตัวแปรทีศึกษา,................................................................................................ 98 เครื องมือทีใช้ในการวิจยั .................................................................................. 98 ขันตอนดําเนินการวิจยั ................................................................................... 99 ขันตอนการสร้างและหาประสิ ทธิภาพเครื องมือในการวิจยั …........................ 99 ซ

หน้า บท 4

5

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………...………………. 115 ตอนที 1 ผลการพัฒนาและหาประสิ ทธิภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 …...…………………………………… 115 ตอนที 2 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6……… 116 ตอนที 3 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 ………………………………..……… 117 สรุ ป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ……………………………………………………. 121 สรุ ปผลการวิจยั ………………………………………………………………. 122 การอภิปรายผล………...…………………………………………………….. 122 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………. 127 บรรณานุกรม................................................................................................................. 128 ภาคผนวก...................................................................................................................... 136 ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชียวชาญ………………………………...………….. 137 ภาคผนวก ข เครื องมือทีใช้ในการวิจยั ……….………………….………….. 139 ภาคผนวก ค การตรวจสอบคุณภาพเครื องมือทีใช้ในการวิจยั ………………. 277 ภาคผนวก ง ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการทดลอง ใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ…………………………………...………… 299 ประวัติผวู้ ิจยั .................................................................................................... 301



สารบัญตาราง ตารางที

หน้า

1 ตารางรายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐานสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ปี การศึกษา 2552…………..............………..……….... 6 2 ตารางรายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐาน สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ปี การศึกษา 2552…...……... 7 3 ตารางรายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐาน สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม ปี การศึกษา 2552……………………………...………………………………… 7 4 ตารางรายงานการเปรี ยบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐาน สาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท 5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ของโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ปี การศึกษา 2552………………………………….…… 8 5 ตารางที 5 ผลการสํารวจความคิดเห็นและความสนใจในการใช้สือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553…………………………..…………………………………………… 12 6 ตารางโครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม.... 22 7 ตารางหน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชาภาษาไทย ท 33101 ……….……………...…………… 23 8 ตารางค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ในการทดสอบแบบหนึงต่อหนึง…….………….……………………….. 105 9 ตารางการแก้ไขปรับปรุ งบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการทดสอบ แบบหนึงต่อหนึง…………………………………..…………………………………... 106 10 ตารางค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ในการทดสอบประสิ ทธิภาพกลุ่มเล็ก……………………………….. 107 11 ตารางการแก้ไขปรับปรุ งบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการทดสอบประสิ ทธิภาพ แบบกลุ่มเล็ก………………………………..…………………………………………... 107 ญ

ตารางที

หน้า

12 ตารางวิเคราะห์ขอ้ สอบเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ …………...……………….. 108 13 ตารางค่าประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากการทดสอบกลุ่มตัวอย่าง...…. 116 14 ตารางผลการเปรี ยบเทียบผลการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของกลุ่มตัวอย่าง ………………………….……………….…………………… 116 15 ตารางค่าระดับเฉลีย ( & ) และส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน………...…...…………...……………………...…………. 118 16 ตารางผลการประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน………………….…..…….. 284 17 ตารางค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดสอบ แบบหนึงต่อหนึง……………………………………………………………………........ 286 18 ตารางค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดสอบกลุ่มเล็ก...…. 287 19 ตารางค่าประสิ ทธิภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดสอบกลุ่มตัวอย่าง....… 288 20 ตารางค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบทดสอบ จํานวน 60 ข้อ…………………………………………………………………………… 290 21 ตารางค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบทดสอบ จํานวน 30 ข้อ………………………………………………………………………….... 293 22 ตารางค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทาง การเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ฉบับนําไปใช้ try-out จํานวน 60 ข้อ...... 295 23 ตารางค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ฉบับนําไปใช้จริ ง จํานวน 30 ข้อ...….. 296 24 ตารางค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบสอบถาม ความคิดเห็น………………………………………………………………………………. 297 25 ตารางผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ก่อนและหลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6……………………… 300



สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที 1 2 3 4 5 6

หน้ า

โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนื อหา……………..……………. 70 โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ………...… 100 โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ…………... 101 โครงสร้างกรอบที 1………………………………………………………………………. 102 โครงสร้างกรอบที 2………………………………………………………………………. 102 โครงสร้างกรอบที 3………… ……………………………………………………………. 103



1

บทที 1 บทนํา

ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา ภาษาไทยเป็ นภาษาประจําชาติ เป็ นเครื องมือสําคัญในการสื อสารและการเรี ยนรู้ ของคน ไทย คนไทยใช้ภ าษาไทยในการถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด และใช้ภ าษาไทยเป็ นภาษาราชการ นอกจากนีภาษาไทยยังเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมทีแสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติไทย ดังนันภาษาไทย จึงมีความสําคัญยิงต่อคนไทยและประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุ ลยเดช (2539 : 7-8) มีพระราชดํารัสในทีประชุ ม ของชุ มนุ มภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมือวันที 29 กรกฎาคม 2505 ความตอนหนึงว่า ภาษาไทยนันเป็ นเครื องมื อ อย่า งหนึ งของชาติ ภาษาทังหลายเป็ น เครื องมือของมนุษย์ชนิ ดหนึ ง คือ เป็ นทางสําหรับแสดงความคิดเห็นอย่างหนึ ง เป็ นสิ งทีสวยงามอย่างหนึ ง เช่น ในทางวรรณคดี เป็ นต้น ฉะนันจึงจําเป็ นต้อง รักษาเอาไว้ให้ดี ประเทศไทยนันมีภาษาของเราเองซึ งต้องหวงแหน ประเทศ ใกล้เคียงของเราหลายประเทศมีภาษาของตนเองแต่วา่ เขาก็ไม่ค่อยแข็งแรง เขา ต้องพยายามหาทางทีจะสร้างภาษาของตนเองไว้ให้มนคง ั เรามีโชคดีทีมีภาษา ของตนเองแต่โบราณกาลจึงสมควรอย่างยิงทีจะรักษาไว้ จากกระแสพระราชดํารัสนีแสดงให้เห็นว่าภาษาไทยเป็ นเครื องมือในการสื อสารและเป็ น มรดกทางวัฒ นธรรมของไทย คนไทยโชคดี ที มี ภ าษาของตนเองจึ ง ควรหวงแหนและรั ก ษา ภาษาไทยไว้ จากความสําคัญของภาษาไทยดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิ การซึ งเป็ นหน่วยงานทีมีหน้าทีจัด การศึกษาให้แก่เยาวชนของชาติได้ตระหนักถึงความสําคัญของวิชาภาษาไทยและกําหนดให้วิชา ภาษาไทยเป็ นวิชาบังคับทีนักเรี ยนทุกคนต้องเรี ยนโดยอธิบายสาเหตุทีต้องเรี ยนภาษาไทยไว้ดงั นี (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 1) 1

2 ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ประจําชาติ เป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิ ด ความเป็ นเอกภาพและเสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ ให้ มีความเป็ นไทย เป็ น เครื องมือในการติดต่อสื อสารเพือสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ทีดีต่อกันทําให้ สามารถประกอบกิ จธุ ระการงานและดํารงชี วิตร่ วมกันในสังคมประชาธิ ปไตยได้ อย่างสันติสุขและเป็ นเครื องมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่างๆเพือพัฒนาความรู ้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และสร้างสรรค์ ให้ทนั ต่อการเปลียนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ในการพัฒนาอาชี พให้มีความมันคงทางเศรษฐกิ จ นอกจากนี ยัง เป็ นสื อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุ รุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุ นทรี ยภาพเป็ น สมบัติลาค่ ํ าควรแก่การเรี ยนรู ้ อนุรักษ์และสื บสานให้คงอยูค่ ่ชู าติไทยตลอดไป

หลัก สู ต รการศึ ก ษาขันพื นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2544 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทย (กระทรวงศึกษาธิ การ, กรมวิชาการ 2544 : 2-3) ได้กาํ หนดสาระการเรี ยนรู้วิชาภาษาไว้ 5 สาระ ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด หลักการใช้ภาษาและวรรณคดีและวรรณกรรม โดยเฉพาะสาระวรรณคดีและวรรณกรรมซึ งหลักสู ตรได้กาํ หนดให้เป็ นสาระที 5 มาตรฐาน ท 5.1 กําหนดให้เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง ในปี การศึกษา 2553 นี การจัดการเรี ยนการสอนระดับชันมัธยมศึกษาที 6 ยังคงใช้หลักสู ตร การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 แต่อย่างไรก็ตามในปี การศึกษา 2554 การจัดการเรี ยน การสอนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ในโรงเรี ยนต้นแบบจะต้องใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขัน พืนฐาน พุทธศักราช 2551 และในปี การศึกษา 2555 การจัดการเรี ยนการสอนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ของโรงเรี ยนมัธยมศึกษาทุกโรงเรี ยนทัวประเทศไทยจะต้องใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขัน พืนฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ 2551) หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2551 : 2-3) ได้กาํ หนดสาระการเรี ยนรู้วิชาภาษาไทยไว้ 5 สาระ เช่นเดียวกันกับหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐานพุทธศักราช 2544 ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด หลักการใช้ภาษาไทยและวรรณคดีและวรรณกรรม ในสาระที 5 วรรณคดีและ วรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 ได้ก าํ หนดให้เข้าใจและแสดงความคิ ดเห็ น วิจารณ์ วรรณคดี และ วรรณกรรมไทยอย่ า งเห็ น คุ ณ ค่ า และนํา มาประยุก ต์ใ ช้ใ นชี วิ ต จริ ง จะเห็ น ได้ว่า ในหลัก สู ต ร การศึกษาขันพืนฐานพุทธศักราช 2544 วรรณคดีซึงถูกกําหนดให้เป็ นสาระที 5 นันเมือมีการพัฒนา และปรับปรุ งหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 วรรณคดีและวรรณกรรม

3 ก็ย งั คงถู ก กํา หนดเป็ นสาระที 5ของกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทยเช่ น เดิ ม ซึ งแสดงให้เห็ นถึ ง ความสําคัญของวรรณคดีและวรรณกรรมไทยทีมีต่อการเรี ยนรู้ของเยาวชนในชาติ วรรณคดีไทยมีความสําคัญต่อคนไทยและประเทศไทยเพราะวรรณคดีเป็ นสิ งทีบันทึกและ สะท้อนความเป็ นไปของมนุษย์และสังคมได้อย่างดีเยียม การอ่านวรรณคดีไทยจะทําให้ผอู้ ่านได้รับ คุ ณค่าหลายประการ อาทิ ซาบซึ งในเอกลักษณ์ ไทยและวัฒนธรรมไทย เป็ นต้น ผูอ้ ่านจะเข้าใจ ความรู ้ สึ ก นึ ก คิ ด ของผู ้ค นในยุ ค ก่ อ นๆได้ดี ขึ นเพราะวรรณคดี ม ัก ถู ก ถ่ า ยทอดออกมาโดยที ผูป้ ระพันธ์สะท้อนความรู ้ สึกนึกคิดเรื องราวของผูค้ นในยุคทีวรรณคดีได้รับการแต่งขึนสอดแทรก ไว้ในงานวรรณคดีเสมอและทีสําคัญก็คือวรรณคดีมกั สอดแทรกคติธรรม แง่คิดและปรัชญาต่างๆที เป็ นประโยชน์ในการดําเนินชีวติ ไว้เสมอ นอกจากนี วรรณคดียงั เป็ นงานประพันธ์ทีมีศิลปะใน การแต่งดี ก่อให้เกิดความประทับใจและความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ผอู้ ่าน (สมรรัตน์ พันธุ์เจริ ญ 2542:17–18) วรรณคดี แ ละวรรณกรรมทํา ให้ ผู้เ รี ยนได้ เ รี ยนรู้ สั ง คม เข้า ใจการดํา เนิ น ชี วิ ต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของคนไทย (กระทรวงศึกษาธิ การ, กรมวิชาการ 2544 ก : 9) เนือหาของวรรณคดีไทยส่ วนใหญ่จะเกียวกับศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี สังคมและชีวิต ความเป็ นอยูข่ องคนไทยในยุคต่างๆตังแต่กษัตริ ยจ์ นถึงสามัญชน คนไทยสมัยต่อมาถึงปั จจุบนั และ อนาคตสามารถรู ้ จกั หรื อเห็นหน้าตาของบรรพบุรุษของตนได้จากการศึกษาวรรณคดีเพราะฉะนัน จึงกล่ าวได้ว่า วรรณคดี คื อ คนไทย (ฝ่ ายศึกษาค้นคว้าและวิจยั ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดนครปฐม วิทยาลัยครู นครปฐม 2533 : 1) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ (2542 : 12) ได้กล่าวถึงวรรณคดี ไว้ดงั นี วรรณคดี ไทยเป็ นสมบัติ ลาค่ ํ า ของแผ่นดิ นที กวี ทงหลายได้ ั รังสรรค์ไ ว้ เพือให้เป็ นเพชรลําค่าคู่แผ่นดินไทยมาในทุกยุคทุกสมัย วรรณคดีจะสะท้อนภาพ ของสังคมไทย ตามทัศนะของกวีทีเฝ้ ามองและจับตาดูสภาพสังคมในฐานะสมาชิ ก คนหนึงในสังคมแล้วนําเสนอภาพทีเห็นออกมาตามมุมมองของตนโดยใช้ตวั อักษร ทีมีแง่งามในด้านวรรณศิ ลป์ เป็ นเครื องมือสําคัญในการถ่ายทอดสู่ สายตาผูอ้ ่านจึ ง กล่าวได้ว่า วรรณคดี ไทยคือสมบัติคู่บา้ นคู่เมืองและมีส่วนสําคัญในการแสดงถึง ความเป็ นชาติมาช้านาน

นอกจากนีดวงใจ ไทยอุบุญ (2540 : 181) ยังได้กล่าวถึงวรรณคดีไว้วา่

4 วรรณคดีเป็ นงานเขียนทีให้ความเพลิดเพลินใจแก่ผอู ้ ่านทําให้เกิดอารมณ์ คล้อยตามไปกับกวีผูแ้ ต่ ง ผูอ้ ่านจะได้รับความรู ้ ความเข้าใจในแง่ มุมของชี วิ ต วรรณคดีจึงเปรี ยบเสมือนกระจกทีส่ องให้เห็นสภาพทีเต็มไปด้วยความรู ้สึกนึ กคิด ของคนในสมัยนันๆไม่ว่าจะเป็ นด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ประวัติศาสตร์ แนวความคิดและปรัชญา วรรณคดีม่งุ เน้นศิลปะการใช้ถอ้ ยคําก่อให้เกิด ความเพลิดเพลิน

ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ (2539 : 51-60) ได้กล่าวถึงแนวทางในการจรรโลงและการอนุรักษ์ ภาษาไทยไว้โดยเปรี ยบเทียบเป็ นบันได 9 ขัน เรี ยงลําดับตังแต่บนั ไดขันแรกดังต่อไปนี รู้หลักภาษา พัฒนาทักษะทังสี วรรณคดีพึงสนใจ ฝึ กฝนนิสัยรักการอ่าน งานเขียนเพียรฝึ กฝน สื อมวลชนสังวร แต่งกาพย์กลอนเพลินใจ แก้ไขสิ งบกพร่ องและสอดคล้องวัฒนธรรมไทย ในบันไดขันที 3 หรื อทีมี ชือว่าวรรณคดีพึงสนใจนันฐะปะนีย ์ นาครทรรพได้กล่าวถึงวรรณคดีไว้วา่ วรรณคดี คือ สิ งทีแสดงถึงภูมิปัญญาของผูป้ ระพันธ์และเป็ นสมบัติ ตกทอดมาจากอดี ตจนถึ งปั จจุ บนั อันจะส่ งผลถึ งอนาคตด้วย ประชาชนคนไทย น่าจะภาคภูมิใจที เรามีกวีผปู ้ รี ชามาตังแต่สมัยสุ โขทัย อยุธยาจนถึงรัตนโกสิ นทร์ นอกจากภาคภูมิใจแล้วเราควรพิจารณาวรรณคดีในเชิงวิเคราะห์และวินิจสารทีมีใน วรรณคดี ดว้ ย จึ งนับว่าเข้าถึ งสุ นทรี ยภาพของวรรณคดี ฉากวรรณคดี เราจะได้ ความสํา เริ งอารมณ์ ไ ด้ค วามรู ้ เ กี ยวกับสํา นวนภาษา ได้เ ข้า ใจจิ นตนาการของ ผูป้ ระพันธ์และชี วิตความเป็ นอยู่ตลอดจนถึงอารมณ์ความรู ้สึกของคนไทยในอดี ต ทีเราสังเกตเห็นได้

จากความสํ า คัญ ของการวรรณคดี ดั ง กล่ า ว หลั ก สู ตรการศึ ก ษาขันพื นฐาน 2544 (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 20-21) ได้กาํ หนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ช่วงชันที 4 ว่าเมือ เรี ยนจบช่วงชันที 4 ผูเ้ รี ยนต้องมีความสามารถดังนี อ่านบทกวีนิพนธ์ประเภทกาพย์ กลอน ร่ าย โคลง ฉันท์ ลิลิต บทละคร และวรรณกรรมประเภทเรื องสัน นวนิ ย าย สารคดี แ ละบทความ สามารถใช้ หลักการวิจารณ์วรรณคดี เบื องต้นพิจารณาเรื องที อ่านโดยวิเคราะห์องค์ประกอบ ของงานประพันธ์แต่ละชนิ ดเพือประเมินคุณค่าด้านวรรณศิ ลป์ เนื อหาและคุณค่า ทางสังคมและนําไปใช้ในชีวิตจริ ง เข้าใจประวัติวรรณคดีและวรรณกรรมในแต่ละ

5 สมัย ปั จจัยแวดล้อมทีมีส่วนทําให้เกิ ดวรรณคดี และวรรณกรรมในแต่ละสมัยเพือ เป็ นความรู ้พืนฐานในการเข้าใจโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนไทย

จะเห็นได้วา่ กระทรวงศึกษาธิ การกําหนดหลักสู ตรทีให้ความสําคัญกับสาระที 5 วรรณคดี และวรรณกรรมไม่นอ้ ยไปกว่าสาระอืนๆ การให้ความสําคัญกับสาระวรรณคดีและวรรณกรรมนัน สอดคล้องกับการกําหนดวิสัยทัศน์ของหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐานพุทธศักราช 2544 ทีระบุว่า การเรี ยนภาษาไทยต้องเรี ยนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปัญญาทางภาษาทีถ่ายทอดความรู้ สึกนึ กคิด ค่า นิ ย ม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี เรื องราวของสังคมในอดี ตและความงดงามของภาษาในบท ประพันธ์ทงร้ ั อยแก้วและร้อยกรองประเภทต่างๆเพือให้เกิดความซาบซึ งและความภาคภูมิใจในสิ ง ทีบรรพบุรุษได้สงสมและสื ั บทอดมาจนถึงปัจจุบนั (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 2) จากความสําคัญของวรรณคดีทีกล่าวมาข้างต้นสามารถสรุ ปได้วา่ วรรณคดีนนมี ั อิทธิ พลต่อ ผูเ้ รี ยนให้ซึมซับคุ ณธรรมจริ ยธรรมทีได้จากวรรณคดี ทําให้ผูเ้ รี ยนเห็ นคุ ณค่าของภาษาไทยและ เข้าใจคุ ณค่าทางวัฒนธรรมและสังคมของไทยได้ดียิงขึ นรวมถึ งเกิดความรั กความหวงแหนและ ภาคภูมิใจในความเป็ นไทย อย่างไรก็ตามการจัดการเรี ยนรู้เกี ยวกับวรรณคดีและวรรณกรรมนันอาจจะไม่บรรลุ ตาม เป้ าหมาย ดังทีปรากฏผลในรายงานผลการทดสอบระดับ ชาติ ขนพื ั นฐาน กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทยของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทังประเทศในปี การศึกษา 2552 ซึ งแสดงให้เห็ นว่า คะแนนเฉลียในระดับประเทศของมาตรฐาน ท 5.1 วรรณคดีและวรรณกรรมนันนักเรี ยนทําคะแนน ในมาตรฐานนีได้ไม่ถึงจํานวนครึ งหนึงของข้อสอบจํานวน 18 ข้อ คือ ข้อละ 1 คะแนนเท่ากับ 18 คะแนน นักเรี ยนทําได้เฉลียเพียง 8.22 คะแนน ดังปรากฏในตารางที 1

6 ตารางที 1 รายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐานสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทยของนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 ปี การศึกษา 2552 มาตรฐานและสาระการเรี ยนรู้

มาตรฐาน ท 1.1 มาตรฐาน ท 2.1 มาตรฐาน ท 3.1 มาตรฐาน ท 4.1 มาตรฐาน ท 5.1

สาระการอ่าน สาระการเขียน สาระการฟัง การดูและการพูด สาระหลักการใช้ภาษา สาระวรรณคดีและวรรณกรรม

คะแนน เต็ม

คะแนน เฉลีย

17.00 16.00 9.00 40.00 18.00

10.08 7.94 4.56 15.67 8.22

ส่ วน เบียงเบน มาตรฐาน 3.75 2.81 1.91 4.89 3.09

ร้อยละ

59.29 49.62 50.66 39.17 45.66

ทีมา : กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, เอกสารรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา (O-NET) ปี การศึกษา 2552 ชั นประถมศึกษาปี ที 6 ชั นมัธยมศึกษาปี ที 2 ชั นมัธยมศึกษาปี ที 6 (นนทบุรี : สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1,2553),16. นอกจากนี เมือพิจารณาดูในระดับเขตพืนทีการศึกษา พบว่า โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมซึ ง เป็ นโรงเรี ยนระดับมัธยมศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขตพืนทีมัธยมศึกษา เขต 3 มีคะแนนเฉลียจาก การทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐานสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทยระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ปี การศึกษา 2552 ตํากว่าร้อยละ 50 และเมือได้ศึกษาข้อมูลรายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐานสาระ การเรี ยนรู้ภาษาไทย O-NET เปรี ยบเทียบกับผลคะแนนของนักเรี ยนในระดับโรงเรี ยน ในช่วงเวลา 3 ปี ทีผ่านมา คือ ปี การศึกษา 2550 - 2552 พบว่า คะแนนเฉลียของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมลดลงอย่างต่อเนืองคือในปี การศึกษา 2550 มีคะแนนเฉลียร้อยละ 51.74 ในปี การศึกษา 2551 มีคะแนนเฉลียร้อยละ 46.64 และในปี การศึกษา 2552 มีคะแนนเฉลีย 46.15 เขียนสรุ ปได้ดงั ตารางที 2 (กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพืนที การศึกษานนทบุรี เขต 1 2553)

7 ตารางที 2 รายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐาน สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทยของนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ปี การศึกษา 2550-2552 ปี การศึกษา 2550 2551 2552

คะแนนเต็ม 100 100 100

คะแนนเฉลีย 51.74 46.50 46.15

ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 11.59 14.03 12.50

ในส่ วนของสาระที 5 วรรณคดีและวรรณกรรม จากรายงานผลการทดสอบระดับชาติขนั พืนฐานกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ปี การศึกษาทีผ่านมา คือปี การศึกษา 2552 พบว่า นักเรี ยน ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมทําคะแนนเฉลียไม่ถึงร้อยละ 50 ของจํานวน ข้อสอบ คือ ทําข้อสอบได้เฉลียเพียง 8.12 ข้อ จากจํานวนข้อสอบของมาตรฐาน ท 5.1 วรรณคดีและ วรรณกรรมซึงมีทงหมดจํ ั านวน 18 ข้อ ดังปรากฏในตารางที 3 ตารางที 3 รายงานผลการทดสอบระดับชาติขนพื ั นฐาน สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ปี การศึกษา 2552 จํานวนข้อสอบ 18

คะแนนเฉลีย 8.12

ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 8.28

ทีมา : กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, เอกสารรายงานผลการทดสอบทางการศึ กษา (O-NET) ฉบับที 2 ปี การศึ กษา 2552 ชั น มัธยมศึกษาปี ที 6 (นนทบุรี : สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, 2553). นอกจากรายงานผลการทดสอบระดับ ชาติ ข นพื ั นฐานข้า งต้นที กล่ า วมา จากรายงาน สรุ ปผลการเรี ยนวิชาภาษาไทยของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ในปี การศึกษา 2552 ภาคเรี ยนที 1 และภาคเรี ยนที 2 พบว่าคะแนนเฉลียของวิชาภาษาไทยนันยังไม่เป็ นที น่าพอใจ ดังจะเห็นได้จากผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในภาคเรี ยนที 1 ซึ งนักเรี ยนมีผลการเรี ยนเฉลีย เพียง 2.18 คิดเป็ นร้อยละ 54.51 ของคะแนนทังหมดและผลสัมฤทธิทางการเรี ยนในภาคเรี ยนที 2 ซึ ง

8 นักเรี ยนมีผลการเรี ยนเฉลียเพียง 2.77 คิดเป็ นร้อยละ 69.22 ของคะแนนทังหมด ดังปรากฏใน ตารางที 4 ตารางที 4 รายงานผลการเรี ยนวิชาภาษาไทยของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยน นนทบุรีพิทยาคม ภาคเรี ยนที 1 และภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 ภาคเรี ยน

1 2

จํานวน นักเรี ยน (คน) 197 195

จํานวนนักเรี ยนจําแนกตามระดับผลการเรี ยน (คน) 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 0 4 26 62 55 29 29 12 1 2 43 42 39 27 28 3

ผลการเรี ยน เฉลีย

2.18 2.77

ทีมา : ฝ่ ายวิชาการโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, แบบสรุ ปการเปรียบเทียบระดับผลการเรียนเฉลียของ นักเรียนชั นม.1, ม.4, ม,5 ,ม.6 ภาคเรียนที 1/2552 , 2/2552 , 2552 (นนทบุรี : โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม, 2552),18. การทีนักเรี ยนมีคะแนนเฉลียในสาระที 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท5.1 ตํากว่า เกณฑ์ร้อยละ 50 อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ ดังทีสุ จริ ต เพียรชอบและสายใจ อินทรัมพรรย์ (2538:7-16) ได้กล่าวถึ งปั ญหาการสอนวรรณคดี และวรรณกรรมไทยไว้วา่ เกิดจาก ปั ญหาเกี ยวกับ ตัวครู คือ ครู คิดว่าการสอนวิชาวรรณคดีและวรรณกรรมทีดีคือการสอนเพือให้นกั เรี ยนสอบผ่าน ครู ไม่ได้มุ่งให้นกั เรี ยนได้รับประโยชน์ในชี วิตประจําวัน การสอนจึงมุ่งเน้นไปทีการท่องจําเพียง อย่างเดียว นักเรี ยนไม่มีโอกาสร่ วมกิจกรรม ในส่ วนของปั ญหาด้านการเรี ยนการสอน พบว่าครู ไม่ ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็น ครู บางคนไม่ยอมใช้เทคนิ คการสอนแบบต่างๆ ครู บางคน ใช้สือการสอนเฉพาะกระดานดําและรู ปภาพเล็กๆน้อยๆทําให้นกั เรี ยนขาดความสนใจ ครู ขาดความ เข้าใจในเนือหาทีจะสอน นอกจากนี ปั ญหาทีเกียวกับตัวนักเรี ยน พบว่า นักเรี ยนมีทศั นคติทีไม่ดีต่อ วิชาภาษาไทยโดยเฉพาะวรรณคดี และวรรณกรรม นักเรี ยนไม่เห็ นความสําคัญของวรรณคดี และ วรรณกรรมเพราะถือว่าเป็ นเรื องล้าสมัย สอดคล้องกับที อัจจิมา เกิดผล (2539 : 127) กล่าวถึงปั ญหา ในการเรี ยนวรรณคดีไว้วา่ นักเรี ยนไม่มีความสนใจทีจะเรี ยนและเห็นว่าวรรณคดีเป็ นสิ งมอมเมา ไร้เหตุผลและเป็ นเรื องเพ้อฝัน

9 นอกจากปั ญหาการเรี ยนการสอนวรรณคดีและวรรณกรรมทีกล่าวมาข้างต้น ผูว้ ิจยั ยังได้ สัมภาษณ์ครู ผสู้ อนวิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ดารณี สมบูรณ์อนุกูล 2553 ; พิสมัย ภูริคมั ภีร์ 2553 ; จันทนา อานมณี 2553 ; เปรมฤดี จรรยานันทจิต 2553; สุ ภตั รา ท่าทราย 2553) ถึง สาระการเรี ยนรู ้ ในวิชาภาษาไทยทีครู ผสู้ อนคิดว่ามีปัญหาในการเรี ยนการสอนนักเรี ยนระดับชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 มากทีสุ ด ผลปรากฏว่าครู ทุกท่านมีความเห็นตรงกันว่าสาระที 5 วรรณคดีและ วรรณกรรมเป็ นสาระทีมีปัญหาในการเรี ยนการสอนมากทีสุ ดและจากการสอบถามถึงสาเหตุทีทํา ให้ผเู ้ รี ยนไม่ประสบความสําเร็ จในการเรี ยนวรรณคดีไทย พบว่า เกิดจากสาเหตุต่างๆ สรุ ปได้ดงั นี ประการที หนึ ง เนื อหาในวรรณคดี บ างเรื องเกี ยวพันกับ สิ งที เป็ นนามธรรม ทํา ให้นัก เรี ย นไม่ สามารถเข้าใจเรื องทีเรี ยนได้อย่างลึกซึ ง ประการทีสอง นักเรี ยนไม่เข้าใจคําศัพท์ในวรรณคดีไทย ทําให้อ่านวรรณคดีไม่เข้าใจเมือไม่เข้าใจจึงเกิดความเบือหน่ายในการเรี ยนวรรณคดีไทย ประการที สาม นักเรี ยนชอบให้ครู เล่าเรื องวรรณคดี ให้ฟังแต่ไม่ชอบแปลความและวิเคราะห์วรรณคดี ด้วย ตนเองเพราะเห็นว่าวรรณคดีเป็ นเรื องยากและล้าสมัย ประการสุ ดท้าย ครู ผสู้ อนขาดสื อการเรี ยนรู้ ทีทันสมัยและตรงกับความสนใจของผูเ้ รี ยน จากการทีผูว้ ิจยั ให้ครู ผูส้ อนวิชาภาษาไทยจัดลําดับ วรรณคดีในหนังสื อเรี ยนภาษาไทยของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีครู ผสู้ อนคิดว่าสอนยากทีสุ ด ผลปรากฏว่า วรรณคดี ที ครู ผูส้ อนคิ ดว่า สอนยากที สุ ด ได้แก่ วรรณคดี เรื องไตรภูมิ พ ระร่ ว งซึ ง สอดคล้องกับทีพระดุษฎี เมธงฺ กุโร (อ้างถึงในพระราชวรมุนี 2542 : คํานํา) กล่าวถึงปั ญหาของใน การอ่านเรื องไตรภูมิพระร่ วงไว้ในคํานําของหนังสื อเรื องไตรภูมิพระร่ วง : อิทธิ พลต่อสังคมไทย ของพระราชวรมุนี ไว้วา่ ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นหนังสื อทีอ่านยากเนื องจากคําศัพท์ทีอยูใ่ นเรื องไตรภูมิ พระร่ วงเป็ นคําศัพท์โบราณ วรรณคดี เรื อง ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดีพระพุทธศาสนาทีสําคัญเรื องหนึงของประเทศ ไทย พระมหาธรรมราชาลิไทได้ทรงศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ต่างๆในพระพุทธศาสนาแล้วจึงได้ทรง พระราชนิ พนธ์ไตรภูมิพระร่ วงขึ น ดังนัน หนังสื อเรื องไตรภูมิพระร่ วงจึงเป็ นหนังสื อเล่ มแรกที เกิ ดขึนจากการค้นคว้าวิจยั ของผูน้ ิ พนธ์ (พระวรเวทย์พิสิฐ 2536:30) พระราชประสงค์ทีสําคัญใน การพระราชนิ พนธ์เรื องไตรภูมิพระร่ วง คือ เพือเทศนาโปรดพระมารดาและเพือสังสอนประชาชน ให้เห็นถึงบาปบุญคุ ณโทษเพือให้ประชาชนเกรงกลัวต่อบาปและมุ่งประกอบแต่กรรมดี ไตรภูมิ พระร่ ว งเป็ นวรรณคดี ที เป็ นแม่ บทของวรรณกรรมและวรรณคดี ไ ทยทังปวงและมี อิท ธิ พ ลต่ อ วรรณกรรมในสมัยหลังๆเกือบทุกเรื องมีเรื องของไตรภูมิแทรกอยู่หรื อไม่ก็กล่าวอ้างถึงสิ งต่างๆที ปรากฏในไตรภูมิ เช่น เปรต อสุ รกาย ภูเขาสัตบริ ภณ ั ฑ์ ปลาอานนท์ ครุ ฑ นาค ป่ าหิ มพานต์ สัตว์ ต่างๆในป่ าหิ มพานต์ ฯลฯ (ทวีศกั ดิ ญาณประทีป 2536 : 81)

10 จากการสอบถามครู ผสู ้ อนภาษาไทยข้างต้นถึงแนวทางในการแก้ปัญหาการเรี ยนการสอน วรรณคดี ไทย ครู ผสู ้ อนมีความเห็นสอดคล้องกันว่าควรหาวิธีสร้างแรงจูงใจในการเรี ยนวรรณคดี ไทยโดยการสร้ า งสื อการสอนที เหมาะสมกับ ยุ ค สมัย และความสนใจของผูเ้ รี ย นเพื อนํา มาใช้ แก้ปัญหาในการเรี ยนการสอนวรรณคดีไทย ในวิสัย ทัศ น์ ของหลักสู ต รแกนกลางการศึก ษาขันพืนฐาน พุทธศัก ราช 2551ได้มุ่งเน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ (กระทรวงศึกษาธิ การ 2551:3) ซึ งทําได้หลายวิธีดว้ ยกัน เช่น การจัดการเรี ยนรู้ แบบ 4 MAT การจัดการเรี ยนรู้ดว้ ยเทคนิ คการสื บเสาะหาความรู้ การจัดการเรี ยนรู้โดยการทํา โครงงาน การเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ฯลฯ (วัชรา เล่าเรี ยนดี 2550 : 60-94) การใช้บทเรี ยน คอมพิ ว เตอร์ ช่ วยสอนเป็ นการจัด การเรี ย นรู้ วิธี ห นึ งที เน้นผูเ้ รี ย นเป็ นสํ า คัญ เนื องจากบทเรี ย น คอมพิ วเตอร์ ช่ วยสอนเป็ นเครื องมื อที สามารถตอบสนองความแตกต่า งของผูเ้ รี ย นได้ ผูเ้ รี ย น สามารถเรี ยนได้ตามอัตราความเร็ วของตนเองทําให้เกิ ดความมันใจในการเรี ยนมากขึน สามารถ เลือกเรี ยนบทเรี ยนในส่ วนทีตนเองต้องการได้ เมือผูเ้ รี ยนทํากิจกรรมใดบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนจะตอบสนองต่อกิ จกรรมนันๆโดยผูเ้ รี ยนสามารถแก้ไขหรื อเริ มต้นใหม่ได้เมือทําผิดโดยไม่ ต้องอายเพือนหรื อครู ผสู้ อน ( Nash and Ball 1983; Kemp 1985; Thomas and Kobayashi 1987, อ้างถึงใน พรสวัสดิ จงสวัสดิ 2535:35) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารทรงชี ให้เห็นถึงความสําคัญของการนําคอมพิวเตอร์ กบั การจัดการเรี ยนรู้ ในปาฐกถา เรื อง การศึกษากับ การพัฒนาประเทศเนืองในงานวันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ครังที 9 เมือ วันที 7 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2538 ณ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร (สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 2538 : 31 -32) ความตอนหนึงว่า ปั จจุบนั สารสนเทศ หรื อ Information Technology หรื อ IT ก้าวหน้าไป มากคอมพิวเตอร์ กลายเป็ นส่ วนสําคัญในการใช้ประมวลข้อมูลในทุ กๆด้าน ทุ ก สาขาวิ ชา ชี วิตของผูค้ นต้องเกี ยวกับคอมพิ วเตอร์ มากขึ น คงจะหายากที ว่าทํา อะไรแล้วไม่ใช้คอมพิวเตอร์ การเรี ยนรู ้เกียวกับการใช้คอมพิวเตอร์ จึงมีประโยชน์ ผูท้ ี สามารถใช้คอมพิ วเตอร์ ได้หรื อมี ความรู ้ ทางด้านคอมพิ วเตอร์ ไม่ว่าจะเป็ น สาขาวิชาชี พใดจะได้เปรี ยบกว่าคนอืน หางานทําได้ง่ายขึ น ในส่ วนตัวข้าพเจ้า พยายามสนับ สนุ นเรื องนี มากที สุ ด เท่ า ที จะทํา ได้ ได้ทดลองร่ วมกับ สมาพันธ์ สารสนเทศลองจัดการสอนในโรงเรี ยนต่างๆทีพยายามลองก่อน คือ โรงเรี ยนศึกษา สงเคราะห์ซึงก็คงรู ้ จกั กันว่าเป็ นโรงเรี ยนของกระทรวงศึ กษาธิ การที สอนตังแต่ ระดับประถมศึกษาตอนต้นจนถึงมัธยมศึกษาตอนต้น ขณะนี ขยายถึงมัธยมศึกษา ตอนปลายในบางโรงเรี ย นที มี ค วามพร้ อม นักเรี ย นที มาอยู่ใ นโรงเรี ย นนี เป็ น

11 ชาวเขาหรื อนั ก เรี ยนที ยากจนด้ อ ยโอกาส ได้ ล องจั ด ชั นสอนเรื องการใช้ คอมพิวเตอร์ขึนมา เท่าทีผ่านมาได้ผลดีช่วยให้นกั เรี ยนมีวิชาชีพต่อไปเพิมขึน อีกอย่างช่วยในการศึกษาชันสูงต่อไป

นอกจากนี ผูว้ ิจยั ได้ทาํ แบบสํารวจเพือสํารวจความพร้อมและความสนใจในการใช้สือเพือ การศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและเก็บรวบรวมข้อมูลกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมจํานวน 100 คน พบว่า นักเรี ยนส่ วนใหญ่ ร้อยละ 84 มีคอมพิวเตอร์ เป็ นของตนเอง นักเรี ยนทังหมดร้อยละ 100 สามารถใช้งานโปรแกรม คอมพิว เตอร์ เบื องต้น เช่ น ไมโครซอฟต์เวิร์ด พาวเวอร์ พ อยท์ ฯลฯได้แ ละต้อ งการเรี ย นด้ว ย บทเรี ยนที สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ด้วยตนเองบทเรี ยนที สามารถประเมินผลการเรี ยนรู้ ให้ท ราบผลได้ ในทันทีและต้องการเรี ยนรู้โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ทีมีภาพและเสี ยงประกอบ นักเรี ยนร้อยละ 77 รู ้จกั บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน นักเรี ยนร้อยละ 65 เคยเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน นักเรี ยนส่ วนใหญ่ร้อยละ 96 สนใจเรี ยนวรรณคดีไทยเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ผ่านบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ดังปรากฏในตารางที 6 และจากการศึกษาความพร้อมในด้าน อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ สํา หรั บ ใช้ใ นการเรี ย นการสอนด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนของ โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม พบว่าโรงเรี ยนมีความพร้อมในการใช้สือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เนืองจากมีคอมพิวเตอร์ เพียงพอต่อจํานวนผูเ้ รี ยน

12 ตารางที 5 ผลการสํารวจความคิดเห็นและความสนใจในการใช้สือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553 ความพร้อมและความสนใจ

จํานวนนักเรี ยน (คน) 1. มีคอมพิวเตอร์เป็ นของตนเอง 84 2. ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เบืองต้นได้ 100 77 3. รู้จกั บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 65 4. เคยเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 100 5. สนใจเรี ยนด้วยบทเรี ยนทีสามารถเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง 100 6. สนใจเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ทีสามารถประเมินผลการเรี ยนรู้ ให้ทราบผลได้ในทันที 100 7. สนใจเรี ยนรู้โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ทีมีภาพและเสี ยงประกอบ 8. สนใจเรี ยนวรรณคดีไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ผ่าน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 96

ร้อยละ 84 100 77 65 100 100 100 96

สรุ ปได้ว่า นักเรี ยนทังหมดมีความพร้อมในการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพราะมี ความรู ้ พืนฐานในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เบืองต้นได้ นักเรี ยนทังหมดสนใจการเรี ยนรู้ ด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและนักเรี ยนส่ วนใหญ่สนใจเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ นอกจากนีผูว้ จิ ยั ยังได้ศึกษางานวิจยั ทีเกียวข้องกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทยพบว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนใช้ได้ดีกบั การสอนเกียวกับการอ่าน ได้แก่ งานวิจยั ของจรรยา บุญปล้อง (2541 : บทคัดย่อ) ทีได้ศึกษาพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เพือการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจยั พบว่า คะแนน หลังเรี ยนของกลุ่ มตัวอย่างสู งกว่าคะแนนก่อนเรี ยนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติทีระดับ .05 กลุ่ ม ตัวอย่างทีมีความสามารถในการเรี ยนต่างกันมีคะแนนเฉลียหลังเรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ ทางสถิติทีระดับ .05 กลุ่มตัวอย่างทีเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความเห็นว่า การเรี ยนด้วย บทเรี ย นคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนน่ า สนใจและพอใจการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน สมศักดิ อัมพรวิสิทธิ โสภา (2548 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระ

13 การเรี ยนรู ้ ภาษาไทยชันประถมศึกษาปี ที 6 เรื อง รามเกียรติ ตอน ศึกไมยราพ ผลการวิจยั พบว่า ค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 และนักเรี ยน ส่ วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ั (2550 : บทคัดย่อ) ได้สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนในระดับมากทีสุ ด ปารณี ย ์ โชติมนเศรษฐ์ ช่วยสอนวิชาภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน อุตตรกุรุทวีป ผลการศึกษา พบว่า บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนภาษาไทย เรื องไตรภูมิพระร่ วงตอน อุตตรกุรุทวีป สําหรับนักเรี ยนช่วงชันที 4 มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 88.67/94.50 จากผลงานการวิจยั ของนักการศึกษาทีพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้ผลการวิจยั ตรงกันว่าการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนันเป็ นสื อใน การเรี ยนการสอนที สามารถช่ วยเพิมผลสัม ฤทธิ ทางการเรี ย นในสาระการอ่ านรวมถึ งการเรี ย น วรรณคดีและวรรณกรรมของนักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี อนึ ง การสอนวรรณคดีนนก็ ั เป็ นการสอนอ่าน อย่างหนึงโดยเป็ นการอ่านผ่านการวิพากษ์วิจารณ์ จึงสามารถสรุ ปได้วา่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนนันเป็ นสื อการเรี ย นรู ้ ทีช่ วยให้นัก เรี ย นมี ผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นวรรณคดี ไทยสู งขึ นและ นักเรี ยนมีทศั นคติทีดีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ด้วยเหตุผลทีกล่าวมาทังหมดจึงทําให้ผวู้ ิจยั สนใจทีจะสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มาใช้เป็ นสื อในการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยมีจุดมุ่งหมายเพือนํานักเรี ยนไปสู่ การเรี ยนรู้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและ เสริ มสร้างทักษะในการคิดแก้ปัญหาด้วยตนเองเพราะบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนช่วยให้ผเู้ รี ยนมี พัฒนาการไปจนถึงขีดสุ ดเพราะลักษณะของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นสื อการสอนทีผูเ้ รี ยน สามารถศึกษาหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง การนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมาใช้ในการจัดการ เรี ยนการสอนกลุ่มทักษะวิชาภาษาไทยน่าจะเป็ นวิธีแก้ปัญหาทีดีวิธีหนึ งทีจะสามารถแก้ปัญหาได้ ทังปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนทีมีจาํ นวนนักเรี ยนต่อห้องมากเกินไป ครู ขาดสื อทีทันสมัยและ ปั ญหาในด้านความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน นอกจากนีบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยัง เป็ นสื อทีสามารถนําไปใช้ในพืนทีทีขาดแคลนครู ได้อย่างกว้างขวางอีกด้วย วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพือพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ให้มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

14 3. เพือศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ คําถามการวิจัย 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หรื อไม่ 2. ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่า ก่อนเรี ยนหรื อไม่ 3. ความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ อยูใ่ นระดับใด สมมติฐานของการวิจัย 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสู งกว่าก่อนเรี ยน ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ประชากรทีใช้ในการศึกษาครังนี เป็ นนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ทีกําลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 5 ห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนทังหมด 151 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ทีกําลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 1 ห้องได้จากการสุ่ มอย่างง่าย (Simple random sampling) จากห้องเรี ยน 5 ห้องเรี ยน ด้วยวิธีการจับสลากห้องเรี ยน จํานวน 30 คน

15 2. ตัวแปรทีศึกษา 2.1 ตัวแปรต้ น (Independent Variables) ได้แก่ การเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2.2 ตัวแปรตาม (dependent Variables) ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทยเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิทีเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 3. เนือหา เนือหาทีใช้ในการวิจยั ครังนีเป็ นเนือหาวิชาภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ จากหนังสื อสาระการเรี ยนรู ้ขนพื ั นฐาน วรรณคดีวิจกั ษ์ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ตามหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 4. ระยะเวลา ดําเนินการทดลอง ในภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 โดยใช้เวลาในการทดลอง 2 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชัวโมง รวมทังหมด 4 ชัวโมง ข้ อตกลงเบืองต้ น เนือหาและการเขียนสะกดคําศัพท์ในการทําวิจยั ครังนี กําหนดตามหนังสื อสาระการเรี ยนรู้ ขันพืนฐาน วรรณคดี วิจกั ษ์ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ตามหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 และพจนานุ กรมศัพท์วรรณคดี ไทย สมัย สุ โขทัย ไตรภูมิกถาฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2544 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง สื อการเรี ยนการสอนทีจัดทําด้วยโปรแกรม บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือนําเสนอข้อความ ภาพ กราฟิ ก และเสี ยง เกี ยบกับเรื องไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิสาํ หรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 2.ไตรภู มิพ ระร่ วง ตอน มนุ ส สภูมิ หมายถึ ง บทเรี ยนในกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ ภ าษาไทย สาระวรรณคดี และวรรณกรรม เรื องไตรภูมิพระร่ วงซึ งประกอบด้วย ประวัติความเป็ นมา ประวัติ

16 ผูป้ ระพันธ์ ลักษณะคําประพันธ์ เนื อหาตอนมนุ สสภูมิ คุ ณค่าของเนื อเรื องในด้านต่างๆ คุ ณค่า ทางด้านวรรณศิลป์ ข้อคิด เพือให้ผเู้ รี ยนใช้เรี ยนด้วยตนเองเป็ นรายบุคคล 4. ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ซึ งสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู้เฉลียอย่างน้อย ร้อยละ 80 ซึ งมีดชั นีบ่งชีประสิ ทธิภาพ คือ ประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก คือ คะแนนทีได้จากการทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยนโดยเฉลียร้อยละ 80 80 ตัวหลัง คือ คะแนนทีได้จากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน โดยเฉลียร้อยละ 80 5. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน หมายถึง คะแนนทีได้จากการทดสอบก่อนและหลังเรี ยนเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนซึ งวัดจากคะแนนทีได้จาก การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทีผูว้ จิ ยั สร้างขึน 6. ความคิดเห็นของนักเรี ยน หมายถึง พฤติกรรมทีนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ปี การศึกษา 2553 ทีแสดงออกถึ งความรู ้ สึกนึ กคิดเกียวกับการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยตอบ แบบสอบถามทีผูว้ จิ ยั สร้างขึน

17

บทที 2 วรรณกรรมทีเกียวข้ อง การวิจยั เรื อง “การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6” ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสาร ตําราและงานวิจยั ทีเกียวข้อง ดังนี 1. เอกสารทีเกียวข้ องกับหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ ภาษาไทย 2. เอกสารทีเกียวข้ องกับหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้ าหมายของหลักสู ตร 2.3 โครงสร้างหลักสู ตร 2.4 หน่วยการเรี ยนรู้รายวิชาภาษาไทย ท 33101 3. เอกสารทีเกียวข้ องกับการสอนภาษาไทย 3.1 จิตวิทยาการสอนภาษาไทย 3.2 วิธีสอนภาษาไทย 3.3 วิธีสอนวรรณคดีและวรรณกรรม 4. เอกสารทีเกียวข้ องกับวรรณกรรมพระพุทธศาสนา 4.1 ความหมายวรรณกรรมพระพุทธศาสนา 4.2 ประเภทของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา 4.3 จุดมุ่งหมายของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา 4.4 ไตรภูมิพระร่ วง 5. เอกสารทีเกียวข้ องกับคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 5.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 17

18 5.3 ข้อดีของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.4 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.5 รู ปแบบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.6 ประเภทของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.7 คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา 5.8 ขันตอนการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.9 ขันตอนในการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.10 ทฤษฎีทางจิตวิทยาทีเกียวข้องกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5.11 การหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 6. งานวิจัยทีเกียวข้ อง 6.1 งานวิจยั ในประเทศ 6.2 งานวิจยั ต่างประเทศ 1. เอกสารทีเกียวข้ องกับหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย ดังนี หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 ได้กาํ หนดโครงสร้างของหลักสู ตรเป็ น 4 ช่วงชัน ตามระดับพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ดังนี ช่วงชันที 1 คือ ชันประถมศึกษาปี ที 1 – 3 ช่วงชันที 2 คือ ชันประถมศึกษาปี ที 4 - 6 ช่วงชันที 3 คือ ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 – 3 ช่วงชันที 4 คือ ชัน มัธยมศึกษาปี ที 4 – 6 ได้กาํ หนดสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย มี รายละเอียดดังนี (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 ข : 12) สาระที 1 : การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 : ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตดั สิ นใจแก้ปัญหาใน การดําเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน

19 สาระที 2 : การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 : ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความและเขียน เรื องราวในรู ป แบบต่า งๆ เขี ย นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึ ก ษาค้นคว้าอย่า งมี ประสิ ทธิภาพ สาระที 3 : การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณและพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที 4 : หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลียนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริ มสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคมและชีวติ ประจําวัน สาระที 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 : เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง คุณภาพผู้เรียนเมือจบช่ วงชั นที 4 กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ (2544 : 5-6) ได้กาํ หนด คุณภาพของผูเ้ รี ยนช่วงชันที 4 ไว้ดงั นี 1. อ่านอย่างมีวิจารญาณและมีประสิ ทธิ ภาพ ตีความ แปลความและขยายความเรื องทีอ่าน อย่างลึกซึงและวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าเรื องทีอ่าน 2. เลือกอ่านหนังสื อและสื อสารสนเทศจากแหล่งเรี ยนรู้ได้อย่างกว้างขวางเพือประโยชน์ใน การพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยนและพัฒนาความรู้ทางอาชีพ 3. เขียนเชิงวิชาการ เขียนอธิบาย ชีแจง เขียนโน้มน้าวจิตใจ เขียนแสดงทรรศนะ เขียน บันเทิงคดีและสารคดี เขียนเชิงสร้างสรรค์ 4. ตังประเด็นหัวข้อการเขียนได้ตามจุดประสงค์ เรี ยบเรี ยงงานเขียนโดยมีการอ้างอิงข้อมูล สารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 5. นําความรู ้ จากการฟั งและดูสือรู ปแบบต่างๆมาใช้เป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจแก้ปัญหา และแสดงความคิดเห็นและสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ได้อย่างมีเหตุผล

20 6. พูดในโอกาสต่างๆทังทีเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ พูดโน้มน้าวจิตใจ พูดเพือความ บันเทิง พูดแสดงความคิดเห็น 7. ใช้ภาษาเพือพัฒนาการเรี ยน การทํางานและการประกอบอาชีพ สร้างสรรค์งานเชิง วิชาการและใช้อย่างสร้างสรรค์เป็ นประโยชน์ 8. เข้าใจการเปลียนแปลงของภาษา รวมทังอิทธิ พลของภาษาถินและภาษาต่างประเทศทีมี ต่อภาษาไทย 9. เข้าใจประวัติวรรณคดี และวรรณกรรมในแต่ละยุคและใช้หลักการพิจารณาวรรณคดี เบืองต้นพิจารณาเรื องทีอ่านและนําไปใช้ในชีวติ ประจําวัน 10. แต่งกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ร่ าย 11. ท่องจําบทร้อยกรองทีไพเราะและมีคุณค่านําไปใช้ในการกล่าวอ้างทังการพูดและ การเขียน 12. ศึกษารวบรวมวรรณกรรมพืนบ้าน ศึกษาความหมายของภาษาถิน สํานวน สุ ภาษิตทีมี ในวรรณกรรมพืนบ้านและวิเคราะห์คุณค่าทางด้านภาษาและสังคม 13. มีมารยาทการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด 14. มีนิสัยรักการอ่านการเขียน ในการทําวิจยั ครังนีผูว้ จิ ยั ยึดเนือหาสาระที 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 2. เอกสารทีเกียวข้ องกับหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 2.1 วิสัยทัศน์ วิ สั ย ทัศ น์ ข องหลัก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นนนทบุ รี พิ ท ยาคม กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภาษาไทย (หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม 2551:1) มุ่งส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูน้ าํ ในการอนุรักษ์ภาษาไทย ใฝ่ ใจรักการอ่าน สื อสารถูกต้อง สอดคล้องภูมิปัญญาไทย ใช้เทคโนโลยี มีคุณธรรมนําความรู้สู่ชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 เป้าหมายของหลักสู ตร หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทยมีเป้ าหมาย ดังต่อไปนี (หลักสู ตรโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม 2551: 1) 1. ผูเ้ รี ยนอนุ รักษ์และเผยแพร่ ภาษาไทย

21 2. ผูเ้ รี ยนใช้ภาษาไทยได้สละสลวยถูกต้องตลอดจนสามารถใช้กระบวนการคิดขันสู ง 3. ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาภาษาไทยตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา 4. ผูเ้ รี ยนใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถินอย่างเห็นคุณค่า 5. ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสื อสารและสื บค้นข้อมูลได้อย่างหลากหลาย 6. ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมในการใช้ภาษาไทยเพือการสื อสาร 7. ผูเ้ รี ยนมีความรักความหวงแหน ภาคภูมิใจในความเป็ นไทย มันใจในตนเองและมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์

22 2.3 โครงสร้ างหลักสู ตร ตารางที 6 โครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ชัน

ภาคเรี ยนที 1

เวลาเรี ยน

ภาคเรี ยนที 2

หน่วยกิต / ชัวโมง ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4

รายวิชาพืนฐาน ท.21101 ภาษาไทยพืนฐาน 1 ท.22101 ภาษาไทยพืนฐาน 3 ท.23101 ภาษาไทยพืนฐาน 5 ท.31101 ภาษาไทยพืนฐาน 1 ท.32101 ภาษาไทยพืนฐาน 3 ท.33101 ภาษาไทยพืนฐาน 5 รายวิชาเพิมเติม ท.21201 รักษ์ภาษา 1 ท.22203 นิทานพืนบ้าน 1 ท.23205 การอ่านสร้างสุ ข 1 ท.30201 ประวัติวรรณคดี 1 ท. 30202 วรรณกรรมท้องถิน

ม. 5 ท. 30207 ภาษาไทยเพือ กิจกรรมการแสดง 1 ท. 30211 วรรณคดีมรดก 1 ม. 6 ท.30209 หลักภาษาไทย

1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1/40 1/40 1/40 1/40

1/40

1/40

เวลาเรี ยน หน่วยกิต/ ชัวโมง

รายวิชาพืนฐาน ท.21102 ภาษาไทยพืนฐาน 2 ท.22102 ภาษาไทยพืนฐาน 4 ท.23102 ภาษาไทยพืนฐาน 6 ท.21102 ภาษาไทยพืนฐาน 2 ท.32102 ภาษาไทยพืนฐาน 4 ท.33102 ภาษาไทยพืนฐาน 6 รายวิชาเพิมเติม ท.21202 รักษ์ภาษา 2 ท.22204 นิทานพืนบ้าน 2 ท.23206 การอ่านสร้างสุ ข 2 ท.30204 ประวัติวรรณคดี 2 ท.30206 การแสดงละครเวที เบืองต้น ท. 30208 ภาษาไทยเพือ กิจกรรมการแสดง 2 ท. 30212 วรรณคดีมรดก 2 ท.30210 ภาษากับวัฒนธรรม

ทีมา : ฝ่ ายวิชาการโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม (นนทบุรี : โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, 2553), 4.

1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1.5/60 1/40 1/40 1/40 1/40

1/40

1/40

23 2.4 หน่ วยการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท 33101 ตารางที 7 หน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชาภาษาไทย ท 33101 จุดประสงค์ ปลายทาง 1.เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจการใช้ภาษา แสดงเหตุผล 2. เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการอนุมานเหตุผล 3.เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจโครงสร้าง การอนุมานเหตุและผลทีสัมพันธ์กนั 1.เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับการแสดง ทรรศนะ 2. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจการใช้ภาษาแสดง ทรรศนะ 1. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าเกียวกับการโต้แย้ง 2. เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะการใช้ภาษาในการโต้แย้ง

เนือหา

ชัวโมง

หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 เหตุผลกับภาษา 1.1 การใช้ภาษาแสดงเหตุผล 1.2 การอนุมานเหตุและผล 1.3 โครงสร้างการอนุมานเหตุและผล

6

หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 ทรรศนะ 2.1 การแสดงทรรศนะ 2.2 การใช้ภาษาแสดงทรรศนะ

4

หน่ วยการเรียนรู้ ที 3 การใช้ ภาษาในการโต้ แย้ ง 3.1 การโต้แย้ง 3.2 การใช้ภาษาในการโต้แย้ง 1. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับวิธี หน่ วยการเรียนรู้ ที 4 การใช้ ภาษาโน้ มน้ าวใจ การโน้มน้าวใจ 4.1 การโน้มน้าวใจ 2. เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการใช้ภาษาทีโน้มน้าวใจ 4.2 การใช้ภาษาทีโน้มน้าวใจ 1. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเรื องฉันท์ชนิด หน่ วยการเรียนรู้ ที 5 คําประพันธ์ ประเภทฉันท์ ต่างๆ 5.1 ฉันท์ชนิดต่างๆ 2. เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการใช้คาํ ในการแต่งฉันท์ 5.2 การใช้คาํ ฉันท์ในการแต่งฉันท์ 1.เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการเขียนเรี ยงความเกียวกับ หน่ วยการเรียนรู้ ที 6 การเขียนเรียงความ โลกจินตนาการ 6.1 เรี ยงความเกียวกับโลกจินตนาการ 2.เพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการเขียนเรี ยงความเกียวกับ 6.2 เรี ยงความเกียวกับโลกในอุดมคติ โลกอุดมคติ 1. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ แนวคิดและ หน่ วยการเรียนรู้ ที 7 หลักทัวไปในการพิจารณา ค่านิยมในงานประพันธ์ แนวคิดและค่ านิยมในงานประพันธ์ 7.1 แนวคิดในงานประพันธ์

4

4

4

4

2

24

ตารางที 7 (ต่อ) หน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชาภาษาไทย ท 33101 จุดประสงค์ ปลายทาง

เนือหา

1. เพือให้นักเรี ยนมี ความรู ้ความเข้าใจในงานประพันธ์ หน่ วยการเรียนรู้ ที 8 งานประพันธ์ เรื องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ 8.1 สามก๊ก ตอน กวนอูไปราชการกับโจโฉ 2. เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจในงานประพันธ์ 8.2 เสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวาย เรื องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ฎีกา 3.เพือให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจ เรื อง ไตรภูมิ 8.3 ไตรภูมพิ ระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 8.3.1 ความเป็ นมาและความสําคัญของเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง 8.3.2 รู ปแบบและลักษณะการแต่ง เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 8.3.3 เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 8.3.4 แนวปฏิบตั ิจากเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 8.3.5 คุณค่าของเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

ชัวโมง 9

ทีมา : ฝ่ ายวิชาการโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนนนทบุรีพทิ ยาคม (นนทบุรี :โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, 2553), 3. 3. เอกสารทีเกียวข้ องกับการสอนภาษาไทย ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้องกับการเรี ยนการสอนภาษาไทยตามลําดับ ดังนี 3.1 จิตวิทยาการสอนภาษาไทย ในการสอนภาษาไทยหากครู ภาษาไทยคํานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู้และสามารถนําหลัก จิตวิทยามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรี ยนรู้ก็จะช่วยส่ งเสริ มและ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ทกั ษะและมีพฒั นาการทางภาษาไทยทีดี หลักจิตวิทยาทีครู ภาษาไทยควร ทราบและควรนํามาใช้ในการจัดการเรี ยนรู้มีหลายประการ ในทีนียกมากล่าวเพียงบางประการที สอดคล้องกับการสอนภาษาไทยได้โดยนําหลักจิตวิทยาบางประการมาใช้ สุ จริ ต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์ (2531 : 65 – 82) ได้กล่าวถึงหลักจิตวิทยาบางประการทีครู ภาษาไทยควร

25 ทราบและนําไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้เพือสร้างบรรยากาศและสภาพการเรี ยนการสอนให้ มีประสิ ทธิภาพมากยิงขึน ดังต่อไปนี 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual difference) ครู ภาษาไทยจะต้องคํานึงอยูเ่ สมอว่านักเรี ยนแต่ละคนมีความรู้ ความถนัด ความสามารถ และความสนใจทางภาษาแตกต่างกัน เด็กต่างเพศกันก็มีความถนัดทางภาษาต่างกันทังนี ขึนอยู่กบั สาเหตุหลายประการ เช่น สภาพร่ างกายสติปัญญา ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว สิ งแวดล้อมทังทางบ้านและชุ มชนทีอยูอ่ าศัย การดูแลเอาใจใส่ และการปลูกฝังทักษะทางภาษาก่อน เข้าเรี ยน ดังนันครู ภาษาไทยจึงควรคํานึ งถึ งความแตกต่างเหล่านี ก่อนสอนควรได้มีการทดสอบ ความสามารถทางภาษาของเด็กก่ อน ไม่ควรคาดหวัง ให้เด็กทุ กคนทําได้เหมื อนกันหมดแต่ควร พยายามจัดระบบการเรี ยนการสอนและจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรี ยนรู้และให้เกิดความเจริ ญงอกงาม ให้มากที สุ ดเท่าที จะมากได้ นอกจากนี ยังควรสร้ างสถานการณ์ ทีทําให้เด็กทุกคนมีความรู้ สึกว่า ตนเองประสบความสําเร็ จในการเรี ยนภาษาไทย 2. กระบวนการเรี ยนรู้ (Learning process) การเรี ยนรู้ คือ การเปลียนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนซึ งเป็ นผลมาจากประสบการณ์ตรง จากการฝึ กปฏิบตั ิและการทีผูเ้ รี ย นได้มีปฏิสัมพันธ์กบั สิ งแวดล้อม พฤติกรรมทีเกิดจากการเรี ยนรู้นี จะงอกงามขึนและคงทนถาวรไม่มีการลืม การสอนภาษาไทยนันบางเรื องเนือหาซําซากนักเรี ยน เรี ยนซําซากแต่จาํ ได้ก็เพียงเพือสอบเท่านันไม่เกิดความรู้ทีคงทน ดังนันครู ภาษาไทยควรจัดสภาพ การเรี ยนการสอนทีให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริ งความรู้จะได้คงทนถาวร 3. การเรี ยนรู้โดยการกระทํา (Learning by doing) ภาษาไทยเป็ นวิ ช าทัก ษะนัก เรี ย นจะมี ค วามคล่ อ งแคล่ ว ชํา นาญในภาษาได้ก็ เ พราะมี ประสบการณ์ตรง ได้ลงมือทําเองฝึ กฝนด้วยตนเอง การเรี ยนภาษาไทยโดยมีครู เป็ นผูบ้ รรยายโดยไม่ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนลงมือกระทํา หรื อมีโอกาสน้อยมาก นักเรี ยนจะได้รับประโยชน์จากการเรี ยน น้อยทีสุ ด เนืองจากอัตราเวลาเรี ยนหรื อจํานวนนักเรี ยนเป็ นอุปสรรคในการทีนักเรี ยนจะได้มีโอกาส ปฏิบตั ิจริ งอย่างทัวถึง กิจกรรมเสริ มหลักสู ตรภาษาไทยและนวัตกรรมต่างๆก็จะช่วยได้มาก 4. กฎแห่งการฝึ กฝน (Law of exercise) กฎของการเรี ยนรู้ โดยการฝึ กฝนเป็ นกฎของการเรี ยนรู้ อีกข้อหนึ งซึ งนักจิตวิทยาทีชื อ ธอร์นไดค์ (Thorndike) ได้เสนอไว้วา่ การเรี ยนรู้จะเกิดขึนได้ดีต่อเมือผูเ้ รี ยนได้มีการฝึ กฝนหรื อ การกระทําซํา ภาษาไทยเป็ นวิชาทักษะโดยลักษณะวิชาแล้วผู้เรี ยนจะมีทกั ษะทางภาษาดีมีความรู้ ความเข้าใจได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่วและเกิดทัศนคติทีดีต่อภาษาไทยก็ต่อเมือได้ฝึกฝนและกระทํา ซํา ถ้าผูเ้ รี ยนได้ฝึกฝนโดยการทําแบบฝึ กหัดซําๆ ได้ใช้ทกั ษะภาษามากยิงขึนเท่าใดก็จะช่วยให้มี

26 การพัฒนาการด้านทักษะดีมากเท่านัน 5. กฎแห่งผล (Law of effect) เมือนักเรี ยนได้เรี ยนภาษาไทยแล้ว นักเรี ยนย่อมต้องการทราบว่าผลการเรี ยนของตนเป็ น อย่างไร เป็ นทีพอใจของตนหรื อของครู ผสู้ อนหรื อไม่ ดังนัน เมือครู มีงานให้นกั เรี ยนทํา ครู จึงควร รี บตรวจและส่ งเสริ มนักเรี ยนโดยรวดเร็ ว การเขียนติชมก็ควรระมัดระวังใช้ถอ้ ยคํา ควรชมสิ งที นักเรี ยนทําได้ดีเสี ยก่อนแล้วจึงติ การติเป็ นการติเพือก่อ มีการเสนอแนะลงไปด้วย นักเรี ยนจะได้ ทราบว่าจุดเด่นของตนคือส่ วนไหนและมีส่วนใดควรแก้ไขบ้าง การให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วม ในการติชมหรื อประเมินผลการทํางานของเพือนในชันเดียวกันก็เป็ นสิ งทีพึงกระทําเพือให้ขอ้ มูล ย้อนกลับ 6. กฎของการใช้และไม่ใช้ (Law of use and disuse) ภาษาไทยเป็ นวิชาทักษะต้องมีการใช้และฝึ กฝนอยูเ่ สมอจึงจะมีความคล่องแคล่วชํานาญ ในการใช้ภาษา หากเรี ยนไปแล้วไม่ได้ใช้หรื อนานๆใช้ครังหนึ งก็จะลื มหรื ออาจมีทกั ษะไม่ดี เท่าทีควร การสอนเนื อหาวิชาภาษาไทยโดยเฉพาะในด้านของหลักภาษาและการใช้ภาษาครู ควร วางแผนในการสอนด้วยความระมัดระวังความมุ่งหมายและกิ จกรรมควรคํานึ งถึงการนําไปใช้ใน สถานการณ์อืนๆด้วย 7. แรงจูงใจ (motivation) แรงจูงใจเป็ นสิ งสํา คัญมากโดยเฉพาะในการสอนภาษาไทยเพราะโดยทัวไปแล้วตัว นักเรี ยนหรื อผูป้ กครองไม่ค่อยให้ความสนใจวิชาภาษาไทยมากนักเพราะภาษาไทยเป็ นภาษาของเรา เองเกิดมาก็สามารถพูดจาติดต่อสื อสารได้รู้เรื อง ครู ภาษาไทยควรสร้างสถานการณ์ต่างๆทีเป็ นสิ ง เร้าเพือเป็ นสิ งจูงใจให้นกั เรี ยนสนใจเรี ยนตังใจฝึ กฝนทักษะและมีทศั นคติทีดีต่อภาษาไทย แรงจูงใจ มี 2 ประเภท คือ 1.แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic motivation) คือ แรงจูงใจทีเกิดขึนจากสิ งเร้า ภายนอกทีควรจัดขึน เช่น การสร้างบรรยากาศ การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆทีน่าสนใจ สนุกสนานฯลฯ เป็ นแรงกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนเกิดความกระตือรื อร้นทีจะเรี ยน 2.แรงจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) คือ แรงจูงใจทีเกิดภายในตัวเอง แรงจูงใจภายในเป็ นความกระตือรื อร้น อยากเรี ยนรู้ อยากร่ วมกิจกรรม อยากเสาะแสวงหาความรู้ 8. การเสริ มกําลังใจ (Reinforcement) การเสริ มกําลังใจจึงเป็ นสิ งทีสําคัญ ขณะทีการเรี ยนการสอนภาษาไทยดําเนิ นไปนัน ครู ควรเสริ มกําลังใจเด็กเป็ นระยะๆ นักจิตวิทยาเสนอแนะว่าการเสริ มกําลังใจในทางบวกจะสื อให้ นักเรี ยนทราบว่าสิ งทีแสดงออกนันถูกต้องเมือทราบว่าตนทําได้ถูกต้องก็จะเกิดความภาคภูมิใจและ

27 พยายามทํากิ จกรรมต่างๆให้ดียิงขึนโดยหวังว่าจะได้รับการยกย่องชมเชยอีก ในกรณี ทีเด็กทํา ผิดพลาดครู ไม่ควรแสดงกิริยาอาการหรื อใช้คาํ พูดทีสะเทือนใจ อาจใช้คาํ พูดทีว่า “ ขอบใจมาก เป็ น คําตอบทีน่าสนใจแต่ยงั ไม่ถูกทีเดียว ลองหาคําตอบใหม่ซิ ” การเสริ มกําลังใจทางบวกจะช่วยให้ นักเรี ยนทัศนะต่อการเรี ยนมากขึน วิธีการเสริ มกําลังใจมีหลายวิธีแต่ทีนิยมใช้มีดงั ต่อไปนี ได้แก่ 1. การเสริ มกําลังใจด้วยวาจา 2. การเสริ มกําลังใจด้วยสี หน้าท่าทาง 3. การเสริ มกําลังใจด้วยการให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วม 4. การเสริ มกําลังใจโดยกลุ่มนักเรี ยน 5. การเสริ มกําลังใจด้วยการให้รางวัล ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ (2545:7:8) กล่าวถึง หลักจิตวิทยาการสอนภาษาไทยทีครู ภาษาไทย ควรทราบและควรทํามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทย ในทีนี จะกล่าวเพียง บางข้อพอให้เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทย 1. ความสนใจ ในการเรี ยนนันหากวิชาใดทีเด็กมีความสนใจก็จะตังใจเรี ยนและเรี ยนได้ดีฉะนันครู จึง ควรหาวิธีทีจะทําให้เด็กสนใจบทเรี ยน โดยสร้างแรงจูงใจและสร้างบรรยากาศในการเรี ยนเพือให้ เด็กอยากเรี ยน เช่น จัดกิจกรรมเพือเร้าความสนใจของเด็ก เป็ นต้น 2. การฝึ กฝน ภาษาไทยเป็ นวิชาทักษะจึงต้องมีการฝึ กฝนเสมอ ครู ควรเข้าใจหลักในการฝึ กโดยเริ มฝึ ก จากสิ งทีง่ายไปหาสิ งทียากและต้องให้ฝึกบ่อยๆโดยให้นกั เรี ยนทําแบบฝึ กหัด การตรวจแบบฝึ กหัด อย่างสมําเสมอก็เป็ นสิ งจําเป็ น ถ้าพบว่านักเรี ยนทําผิดจะต้องแก้ไขในการแก้ไขนันครู ควรชี แจงให้ นักเรี ยนทราบว่าแก้เพืออะไรเพือให้นกั เรี ยนเข้าใจจุดมุ่งหมาย 3. การให้งาน ในการให้งานแก่นกั เรี ยนเมือนักเรี ยนทํางานเสร็ จ ครู ควรให้นกั เรี ยนมีโอกาสทราบผล การทํางานของเขาเสมอ ในกรณี ทีเขาทําได้ดีก็จะเป็ นเครื องยัวยุให้เขาอยากเรี ยนต่อไปในกรณี ทีเขา ทําผิดก็จะได้แก้ไขให้ดีขึน 4. การพลิกแพลงวิธีสอน ในการเรี ยนถ้าเรี ยนเป็ นเวลานานร่ างกายและสมองจะอ่อนเพลีย ครู จึงควรพิจารณาเวลา ในการจัดตารางสอนโดยกะระยะเวลาให้เหมาะกับลักษณะของบทเรี ยน ถ้าบทเรี ยนเป็ นการฟังครู เพียงอย่างเดียวนักเรี ยนจะสนใจครู ได้เพียงหนึงชัวโมง ถ้าบทเรี ยนนันมีกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้ทาํ ได้เปลียนอิริยาบถนักเรี ยนก็อาจเรี ยนได้ต่อเนื องติดต่อกันได้ถึง 2-3 ชัวโมง ฉะนันในการจัดเวลา

28 เรี ยนภาษาไทยจึงต้องจัดให้เหมาะสมกับเนือหาและวิธีสอนเพือให้เด็กได้มีโอกาสพักผ่อนสลับกับ การเรี ยนเด็กจะได้กระปรี กระเปร่ าอยูเ่ สมอ 5. การเรี ยนสิ งทีมีความหมายต่อชีวติ หลักในการเรี ยนรู้ทีสําคัญอีกข้อหนึง คือ สิ งใดมีประโยชน์ มีความหมายต่อชีวติ และอยู่ ในความสนใจของนักเรี ยนสิ งนันจะเป็ นสิ งทีนักเรี ยนเรี ยได้ดีจาํ ได้แม่นโดยไม่ตอ้ งเคียวเข็ญ สิ งที นักเรี ยนได้ลงมือทําด้วยตนเอง หาวิธีแก้ปัญหาเอง มีประสบการณ์ดว้ ยตนเอง นักเรี ยนจะเรี ยนสิ ง นันได้ผลดี ทีสุ ด ตรงกับหลัก ที ว่า เรี ย นรู้ จากการปฏิ บตั ิ นันเอง ดัง นันแบบฝึ กหัดภาษาไทยที ให้ นักเรี ยนทําจึงควรเป็ นเรื องทีอยูใ่ นความสนใจของนักเรี ยน ในการสอนภาษาไทยนันครู ผสู้ อนควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยาในทีเกียวกับการสอนเพือจะ ได้จดั หาวิธีการจัดการเรี ยนรู้ได้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและเพือให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ผเู้ รี ยน 3.2 วิธีสอนภาษาไทย การสอนภาษาไทยนันย่อมมุ่งให้บรรลุจุดประสงค์ทีตังไว้ เมือพิจารณาความมุ่งหมายและ รายการสอนในหลักสู ตรภาษาไทยแล้วจะเห็นได้วา่ เรามุ่งให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ในสิ งต่อไปนี คือ (สมถวิล วิเศษสมบัติ 2525 : 51) 1.ทักษะ หมายถึง ความถูกต้องคล่องแคล่วในการใช้ภาษาไทยได้แก่ ทักษะในการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน 2. ความสามารถทีจะใช้ภาษาให้สละสลวย เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ขันมีศิลปะนี สู งกว่าขันมีทกั ษะ 3. ความรู้ ได้แก่ความรู ้ต่อไปนี 3.1 ความรู ้เกียวกับหลักภาษา รู้วา่ ภาษาไทยมีทีมาอย่างไร มีลกั ษณะสําคัญ อะไรบ้างทีควรทราบและมีหลักเกณฑ์อะไรทีควรจําไว้ เพือช่วยให้เราใช้ภาษาได้ดี 3.2 ความรู ้เกียวกับวรรณคดีและวรรณกรรมไทย รู้วา่ วรรณคดีและวรรณกรรมมี รู ปลักษณะอย่างไร รู้ประวัติของผูแ้ ต่ง ทีมาของเรื อง เนือเรื อง ศัพท์ ลักษณะนิ สัยของตัวละคร ทัศ นะของผูแ้ ต่ ง วัฒ นธรรมในด้า นต่ า งๆตลอดจนหลัก เกณฑ์ใ นการวิจ ารณ์ ว รรณคดี แ ละ วรรณกรรมตามสมควร 3.3 ความรู้ในเรื องทีจะนํามาพูดหรื อเขียน เช่น พูดเรื องการเล่วา่ วก็ควรจะมี ความรู ้ เรื องว่าเขาทําและเล่ นกันอย่างไรหรื อเขียนเรื องชี วประวัติบุคคลสําคัญก็ควรจะมีความรู้ เกียวกับบุคคลนันๆมากพอควร 3.4 ความรู ้ทีได้จากการฟังและการอ่าน นักเรี ยนมีโอกาสศึกษาด้วยตนเองได้จาก

29 การฟั งวิทยุ การฟังอภิปราย ปาฐกถา โต้วาที การอ่านหนังสื อพิมพ์ นิ ตยสารและหนังสื อใน ห้องสมุด สิ งเหล่านีเป็ นความรู ้ในวงกว้าง 3.5 เจตคติ หมายรวมทัง การเห็นคุณค่าของภาษาไทยความสนใจทีจะเรี ยนวิชานัน ความรู้สึกนิยมชมชืนในวรรณคดีและวรรณกรรม และเจตคติทีดีต่อวัฒนธรรมไทยโดยทัวไป 3.6 วิจารณญาณ หมายถึง ปั ญญาทีรู้ดีชวั รู้ถูกผิด รู้เหตุผลและความสามารถทีจะ นําความรู ้ ทีได้รับทักษะทีมีขึนและเจตคติทีเกิ ดขึน ไปใช้ให้ประโยชน์ในการครองชี วิตและการ ประกอบการงานของตนได้ วิจารณญาณนี หมายรวมถึงปั ญญาทีหยังรู้วา่ สิ งใดควรเชือ สิ งใดไม่ควร เชือและควรตัดสิ นใจอย่างไร ในการสอนภาษาไทยนันหากครู มีหลักการสอนทีดียอ่ มทําให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้และมี ความสามารถตรงตามความต้องการของหลักสู ตร ครู ผสู้ อนจึงควรศึกษาหลักการสอนภาษาไทย ทีดีซึง บํารุ ง กลัดเจริ ญและฉวีวรรณ กินาวงศ์ (2527 : 151-153) ได้กล่าวถึงหลักการสอนทีครู ควร คํานึงถึงไว้ สรุ ปได้ดงั นี 1. สอนจากสิ งทีไม่รู้ไปหาสิ งทีรู้ จากสิ งง่ายไปหาสิ งยาก จากสิ งทีมีตวั ตนไปสู่ สิงทีไม่มี ตัวตน จากสิ งง่ายไปสู่ สิงซับซ้อนและจากเหตุไปหาผล 2. สอนให้นกั เรี ยนเรี ยนรู้จากการกระทํา 3. สอนให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้โดยผ่านประสาทสัมผัสทัง 5 4. สอนให้น่าสนใจให้นกั เรี ยนสนุกและสอดคล้องกับธรรมชาติของนักเรี ยน การสอนภาษาไทยให้มีประสิ ทธิ ภาพนันครู ผูส้ อนต้องพยายามจัดการเรี ยนการสอนให้ เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนโดยคํานึงถึงผูเ้ รี ยนและเรื องทีจะสอนเป็ นสําคัญ สุ จริ ต เพียรชอบ (2531:164 – 185) ได้เสนอกลวิธีการสอนภาษาไทยไว้ สรุ ปได้วา่ 1. การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบนีเหมาะทีจะให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้เนือหา แนวคิด คํา จํา กัดความข้อมู ลหรื อ ความคิดรวบยอดต่า งๆ การสอนแบบบรรยายเป็ นวิธี ก ารสอนทีง่ า ย เหมาะสมทีจะสอนผูเ้ รี ยนซึ งมีจาํ นวนมาก การสอนแบบบรรยายทีดีมกั จะเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน ซักถาม อภิปรายแสดงความคิดเห็นหรื อตังข้อสังเกตได้ การสอนแบบบรรยายมี 3 รู ปแบบ คือ 1.1 การบรรยายอย่างเป็ นทางการ ผูส้ อนจะรับผิดชอบในการเรี ยนการสอนผูเ้ ดียว ผูเ้ รี ยนจะมีจาํ นวนมากน้อยเท่าใดก็ได้ มีการใช้อุปกรณ์การสอนประกอบบ้างแต่ไม่มากนัก การสอนจะได้ผลมากน้อยเพียงใดนันขึนอยูก่ บั ผูบ้ รรยาย 1.2 การบรรยายโดยใช้สือประสม ผูบ้ รรยายมีการวางแผนการบรรยายร่ วมกัน หลายฝ่ ายทังฝ่ ายที รั บผิดชอบด้านเนื อหา วิธีสอนและฝ่ ายสื อการสอน มีก ารใช้สือการสอน ประกอบการบรรยายอย่างมาก ทําให้บรรยากาศในการเรี ยนการสอนดี มีชีวติ ชีวาทําให้ผเู้ รี ยนเกิด

30 ความสนุกสนาน 1.3 การบรรยายเชิงอภิปราย ผูบ้ รรยายจะใช้เวลาบรรยายเพียงเล็กน้อยเพือเป็ น การให้ขอ้ มูลและกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคิด นอกจากนันก็จะใช้เวลาส่ วนใหญ่ในการให้ผเู้ รี ยน อภิปรายแสดงความคิดเห็น ผูเ้ รี ยนจะเกิดความสนุกสนาน มีการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล สถิติต่างๆมาใช้ประกอบการอภิปรายทําให้ได้เรี ยนรู้เนือหาต่างๆกว้างขวางและลึกซึ งมากยิงขึน 2. การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบนีเป็ นการสอนทีนักเรี ยนจะมีส่วนร่ วมในการเรี ยน การสอนเป็ นอย่างมากเพราะนักเรี ยนจะเรี ยนด้วยการกระทํา ครู จะคอยเป็ นผูช้ ีแนะสนับสนุนให้ ความสะดวกให้คาํ แนะนําและชี แนวทางให้แก่นกั เรี ยน การอภิปรายจะช่วยให้เกิดการเรี ยนรู้อย่าง แท้จริ งและความรู้จะคงทน นอกจากนันยังช่วยสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู กบั นักเรี ยนและ นักเรี ยนกับนักเรี ยนซึ งในการสอนภาษาไทยด้วยวิธีการอภิปรายสามารถทําได้ดงั นี 2.1 การอภิปรายกลุ่มย่อย ครู ผสู้ อนจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มย่อยๆกลุ่มละ ประมาณ 8 – 10 คน แล้วมอบหมายให้นกั เรี ยนปรึ กษาหรื อค้นคว้าในเรื องต่างๆอาจใช้เวลาใน การอภิปรายประมาณ 20 – 30 นาที แล้วให้ตวั แทนกลุ่มมาเสนอการอภิปราย 2.2 การเปิ ดอภิปรายทัวไป วิธีนีนักเรี ยนจะมีโอกาสได้อภิปราย ซักถามแสดงความ คิดเห็นและตังข้อสังเกตได้อย่างกว้างขวาง หลังจากทีครู บรรยายเสร็ จแล้ว สิ งทีสําคัญก็คือครู ควร พยายามสนับสนุนให้นกั เรี ยนทุกคนได้แสดงความคิดเห็น ครู ตอ้ งเป็ นคนใจกว้างยินดีตอบคําถาม ยอมรับฟัง เคารพความคิดเห็นของนักเรี ยนและควรพยายามเสริ มกําลังใจให้กล้าแสดงความคิดเห็น 2.3 การอภิปรายเป็ นรายคณะ ในการเรี ยนการสอนภาษาไทยครู อาจมอบหมายให้ นักเรี ยนประมาณ 5 – 6 คนไปศึกษาค้นคว้าแล้วมาอภิปรายหน้าชันเป็ นกิจกรรมนําเข้าสู่ บทเรี ยน หรื อเป็ นกิจกรรมขันสรุ ปหรื อกิจกรรมประกอบการเรี ยน 2.4 การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่จะมีนกั เรี ยนประมาณ 4 – 5 คนได้รับมอบหมาย ให้ไ ปศึ ก ษาค้นคว้า หาความรู ้ เกี ยวกับ สิ งที จะเรี ย นอย่า งละเอี ย ดและให้ เพื อนในชันซัก ถามตัง ข้อสังเกตเพิมเติม 2.5 การอภิปรายแบบซักถาม นักเรี ยนทุกคนจะต้องศึกษาค้นคว้าเรื องทีจะเรี ยน อย่างกว้างขวางจึงจะสามารถซักถามโต้ตอบกันได้ตรงประเด็น นักเรี ยนทังชันจะต้องแบ่งเป็ น 2 พวก กําหนดให้นกั เรี ยน 3 – 4 คนเป็ นวิทยากร มีหน้าทีตอบคําถาม นักเรี ยนทีเหลือจะต้องช่วยกัน ประมวลคําถามและจัดคําถามเป็ นประเด็นสําคัญๆแล้วส่ งตัวแทนเป็ นผูซ้ กั ถามประมาณ 3 – 4 คน มี ผูด้ าํ เนินการอภิปรายเป็ นผูช้ ่วยให้การอภิปรายดําเนินไปโดยสะดวก

31 3. การสอนแบบอนุ มานวิธี คือ การสอนโดยทีครู ให้คาํ จํากัดความให้หลักเกณฑ์ของ เนือหาวิชาก่อนแล้วจึงยกตัวอย่างประกอบ การสอนแบบนีดําเนินไปอย่างรวดเร็ ว นักเรี ยนบางส่ วน อาจฟังและคิดตามทันแต่จะมีนกั เรี ยนส่ วนหนึงตามไม่ทนั ไม่เข้าใจ ก็ควรจะใช้สือการสอนและเปิ ด โอกาสให้นักเรี ยนได้ร่วมกิ จกรรม การสอนก็จะดี กว่าครู บอกคําจํากัดความและยกตัวอย่างให้ นักเรี ยนฟังเพียงอย่างเดียว 4. การสอนแบบอุปมานวิธี คือ การสอนจากตัวอย่างไปสู่ กฎเกณฑ์ ในการสอนวิชาหลัก ภาษาแทนทีครู จะสอนโดยบอกคําจํากัดความของเรื องนันและยกตัวอย่างให้เองทังหมดครู ควรให้ นักเรี ยนช่วยกันยกตัวอย่าง สรุ ปคําจํากัดความและหลักเกณฑ์จากตัวอย่างด้วยตนเอง 5. การสอนด้วยวิธีการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาเป็ นทักษะสําคัญทีนักเรี ยนควรต้องได้รับ การฝึ กฝนเป็ นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทีมีขนตอนชั ั ดเจน คือ การกําหนดปั ญหา การหาขอบเขตหรื อ รวบรวมความรู้ทีเกี ยวข้องกับปั ญหา การตังสมมุติฐานหรื อการคาดคะเนถึ งความน่ าจะเป็ นการ รวบรวมข้อมูลเพือแก้ปัญหาและขันสรุ ป 6. การสอนโดยวิธีแบ่งกลุ่มระดมความคิด โดยวิธีนีครู จะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 8 – 10 คน อย่างมากไม่เกิน 15 คนเพราะถ้ามีจาํ นวนมากไปจะทําให้การแสดงความคิดไม่ คล่องตัวเท่าทีควร การระดมความคิดใช้เวลาสันๆประมาณ 10 – 15 นาที แต่ละกลุ่มจะมีประธาน และเลขานุการ ประธานจะขอให้สมาชิกทุกคนช่วยกันระดมความคิด เมือใครคิดอะไรได้ก็พูดขึนมา เลขานุ การก็จดบันทึกไว้ โดยไม่คาํ นึ งถึงความสําคัญก่อนหลัง จากนันตัวแทนของกลุ่มก็จะออกมา รายงานให้กลุ่มใหญ่ทราบ 7. การสอนด้วยการแบ่งกลุ่มศึกษาเป็ นการศึกษาค้นคว้าจากตําราในห้องสมุดการสัมภาษณ์ การสังเกตและการเข้าร่ วมกิจกรรมโดยตรงครู จึงควรทีจะได้ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งวิทยาการต่าง ๆ ให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําให้เพือนักเรี ยนจะได้มีนิสัยรักการค้นคว้าและศึกษาหา ความรู้ดว้ ยตนเอง การแบ่งกลุ่มอาจแบ่งประมาณ 4 – 5 กลุ่ม กลุ่มละประมาณ 8 – 10 คนและ มอบหมายให้ไปศึกษาค้นคว้า โดยกําหนดเวลาให้ อาจเป็ น 3 วัน 5 วัน หรื อ 1 สัปดาห์ก็ได้ 8. การสอนโดยวิธีแบ่งหมู่ให้นกั เรี ยนทํางานเป็ นวิธีการทีเป็ นประโยชน์เพราะว่าช่วยให้ นักเรี ยนมีประสบการณ์ในการทํางานร่ วมกับผูอ้ ืนอย่างมีระเบียบแบบแผน รู้จกั รับผิดชอบร่ วมกัน 9. การสอนด้วยวิธีการสอนเป็ นคณะ คือ การสอนทีจัดครู เป็ นกลุ่มหรื อเป็ นคณะประมาณ กลุ่มละ 4 – 5 คน ประกอบไปด้วยครู อาวุโส ผูม้ ีความสามารถในการสอนเป็ นอย่างดีเป็ นหัวหน้า คณะ ครู ทีมีประสบการณ์รองลงมา ครู ใหม่ ครู ช่วยสอน นิสิตฝึ กสอนและเจ้าหน้าทีฝ่ ายธุรการเป็ น

32 ผูร้ ่ วมคณะ ครู ทุกคนจะวางแผนงานด้วยกัน ครู มีประสบการณ์น้อยมีโอกาสได้วางแผนและสอน ร่ วมกับครู อาวุโสทีมีประสบการณ์มากนักเรี ยนเองก็มีการจัดกลุ่มเช่นกันในการสอนเป็ นคณะจะมี การสอนเป็ นกลุ่มใหญ่ การสอนกลุ่มย่อยและการสอนเป็ นรายบุคคลทีนักเรี ยนทํางานด้วยตนเอง 10. การสอนด้วยวิธีการตอบสนอง การสอนวรรณคดีโดยวิธีนีเป็ นผลเนื องมาจากทฤษฎี การเร้าและการตอบสนอง วิธีการแบบนีเน้นทังทีตัวเนือหาบทเรี ยนและทีตัวนักเรี ยนเอง ครู ผสู้ อน จะพยายามให้นกั เรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการเรี ยน โดยเฉพาะการตอบสนองให้มากทีสุ ดเท่าทีจะมาได้ นักเรี ยนจะรู ้ สึกว่าตนเองเป็ นบุ คคลทีมีค่า ครู พยายามให้ความสนใจเอาใจใส่ และเปิ ดโอกาสให้ แสดงความคิดเห็นความรู ้สึกและครู ก็มกั จะยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นนันๆ 11. การสอนภาษาไทยแบบหน่วย คือ พยายามจัดให้การเรี ยนการสอนวรรณคดีสัมพันธ์กบั หลักภาษาและทักษะการใช้ภาษา วิธีดาํ เนินการ คือ แทนทีจะสอนวรรณคดีตามทีปรากฏในหนังสื อ แบบเรี ยนก็จดั ทําเป็ นหน่วยตังชือหน่วยขึนใหม่โดยให้มีเนือหาครอบคลุมถึงวรรณคดีนนด้ ั วย 12. การสอนภาษาไทยแบบศูนย์การเรี ยนเป็ นวิธีการทีนําเอานวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ ประกอบการสอนเป็ นการใช้การสอนทีใช้สือประสมและกระบวนการกลุ่มมาประสมกันจึงช่วยให้ ผูเ้ รี ยนเกิดความสนุกสนานและเกิดประสบการณ์ตรงจากการทํากิจกรรม ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยวิธีสอนแต่ละวิธีจะเหมาะกับการสอนเนื อหาทีแตกต่าง กัน เช่น เนือหาทีเป็ นองค์ความรู ้ ก็ควรใช้การสอนแบบบรรยาย แบบอภิปราย แบบอนุมานวิธีและ แบบอุปมานวิธี เป็ นต้น แต่ถา้ เป็ นเนื อหาทีต้องการให้นกั เรี ยนได้ฝึกการคิดหรื อเน้นการทํางานเป็ น กลุ่มก็ควรใช้วธิ ี การสอนแบบการแก้ปัญหา การแบ่งกลุ่มระดมความคิด การแบ่งกลุ่มศึกษาและ การสอนเป็ นคณะ เป็ นต้น ส่ วนการสอนเนือหาทีเป็ นวรรณคดีและวรรณกรรมอาจใช้การสอนด้วย วิธีการตอบสนองและการสอนภาษาไทยแบบหน่วย เป็ นต้น สรุ ปได้วา่ การทีครู จะนําวิธีสอนต่างๆไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้นนจํ ั าเป็ นจะต้อง พิจารณาให้สอดคล้องกับเนือหาทีจะสอนและความเหมาะสมกับนักเรี ยน 3.3 วิธีสอนวรรณคดีวรรณกรรม วัตถุประสงค์ ในการสอนวรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดี และวรรณกรรมนันเป็ นกระจกสะท้อนสัง คม จุ ดมุ่ง หมายหลักของการสอน วรรณคดีและวรรณกรรมนันเนื องมาจากต้องการให้นกั เรี ยน มีความภาคภูมิใจในประเทศชาติและ ภูมิปัญญาทางภาษาของคนไทย พยุง ญาณโกมุท (2518: 72) กล่าวถึงวัตถุ ประสงค์ในการสอน วรรณคดีไว้ สามารถสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี

33 1. เพือมุ่งยกระดับจิตใจให้ใฝ่ ชอบ รู้จกั ผิดชอบชัวดี ให้มีคุณธรรมจริ ยธรรมและซาบซึ งใน สุ นทรี ยภาพในวรรณคดี 2. เพือให้เกิ ดความรู ้ เช่ น รู้ศพั ท์เพิมขึน รู้ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี รู้ความหมุนเวียนแห่ ง ชีวติ เกิดภูมิปัญญาขึน เป็ นต้น 3. เพือให้เกิดรสนิยมในการเลือกหนังสื อทีดีๆอ่านและรู้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ 4. เพือให้เกิดทัศนคติ ภาคภูมิใจในภาษาไทยและในวรรณกรรมของชาติ รู้จกั รักษาและสื บ ต่อในสมบัติอนั ลําค่านีไว้ 5. เพือพืนฐานในการทีจะเรี ยนวรรณคดีในชันสู งๆต่อไป สมถวิล วิเศษสมบัติ (2525: 106-107) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายในการสอนวรรณคดีไว้เป็ น ข้อๆดังนี 1. เพือให้มีความเพลิดเพลิน 2. เพือการศึกษาเกียวกับวัฒนธรรม 3. เพือศึกษาชีวติ และสังคมในแง่มุมต่างๆ 4. เพือให้ตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดี 5. เพือให้สามารถนําไปใช้ในชีวติ จริ ง 6. เพือให้เห็นความงามของภาษา 7. เพือให้เกิดความรักชาติและภาคภูมิใจในคุณความดีของบรรพบุรุษ 8. เพือส่ งเสริ มให้มีจินตนาการและความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ 9. เพือให้มีเหตุผลในการตัดสิ นพิจารณา 10. เพือให้มีความรู้และความเข้าใจ 11. เพือฝึ กฝนการอ่าน เขียน พูดและฟังอย่างคล่องแคล่ว 12. เพือให้รักการอ่านและการค้นคว้า สรุ ปได้วา่ จุดประสงค์ทีสําคัญในการสอนวรรณคดีและวรรณกรรมคือการสอนให้ผเู้ รี ยน ตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีไทย ซาบซึ งในสุ นทรี ยะ เข้าใจสังคมและวัฒนธรรมไทย มองเห็น ความงามของภาษาและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย ลักษณะของผู้สอนวรรณคดีทดีี ในการสอนวรรณคดีนนผู ั ส้ อนต้องพยายามสอนให้ผเู้ รี ยนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความซาบซึ งและทัศ นคติ ที ดี ง ามต่อวรรณคดี เพื อให้เห็ นคุ ณค่ าของวรรณคดี พยุง ญาณโกมุ ท (2518:16) ได้เสนอแนะคุณลักษณะของผูส้ อนวรรณคดีทีดี ไว้ดงั นี

34 1. เป็ นผูท้ ีได้ศึกษาวรรณคดีเป็ นอย่างดีมาพอสมควร อย่างน้อยๆก็ตอ้ งมีความรู้สูงกว่าเด็ก 1 ระดับ เพราะมิเช่นนันการสอนก็จะเป็ นไปในวงแคบๆทําให้เด็กได้รับความรู้ไม่ละเอียดแจ่มแจ้ง พอ 2. เป็ นผูช้ อบอ่าน ชอบค้นคว้าเพราะทําให้มีความรู้กว้างขวางซึ งจะช่วยให้วินิจฉัยบทเรี ยน ได้ถูกต้องและสอนได้ละเอียด ั องพยายามให้เด็กเกิดอารมณ์คล้อยตาม 3. เป็ นผูม้ ีอารมณ์ดีเพราะการสอนวรรณคดีนนจะต้ ถ้าผูส้ อนมีอารมณ์เคร่ งเครี ยดอยูต่ ลอดเวลา เมือสอนถึงตอนสนุ กขบขันแต่ผสู้ อนมีอารมณ์ข่นุ มัวก็ จะไม่สามารถทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดอารมณ์ได้ 4. เป็ นผูม้ ีพืนความรู ้ ทางหลักภาษาพอสมควรเพือทีจะได้รู้ว่าในตอนนันใช้หลักภาษาผิด หรื อถูกอย่างไรจะได้อาศัยพืนความรู้วนิ ิจฉัยศัพท์ได้ถูกต้อง 5. เป็ นผู้วิ จ ารณญาณดี รู้ จ ัก คิ ด หาเหตุ ผ ลเพราะการเรี ย นวรรณคดี จ ะต้อ งฝึ กให้ เ ด็ ก วิจารณญาณ ทังจะต้องรู ้จกั การวิจารณ์เป็ นอย่างดีดว้ ย 6. เป็ นผูม้ ีศิลปะเพราะวรรณคดี นนเป็ ั นศิลป์ ผูส้ อนจึงต้องเป็ นผูม้ ีความรู้ทางศิลป์ เพือให้ เข้าใจในศิลป์ ได้ถูกต้องและสามารถแปลงศิ ลป์ จากตัวอักษรออกเป็ นวัตถุ เช่ น โดยการจัดทําเป็ น อุปกรณ์ให้เป็ นปรากฏ ดังนีเป็ นต้น ในการสอนวรรณคดีนนั ถ้าผูส้ อนสอนดี นักเรี ยนก็จะเข้าใจถึงวรรณคดีแต่หากผูส้ อนด้วย วิธี ก ารต่ อ ไปนี จะทํา ให้ นัก เรี ย นไม่ ช อบเรี ย นวรรณคดี ท าํ ให้ก ารเรี ย นการสอนไม่เ ป็ นไปตาม จุดมุ่งหมาย ได้แก่ 1. สอนให้จาํ โดยการบังคับ เช่น ให้จาํ ประวัติตวั ละคร จํา พ.ศ. จําคําศัพท์ จําภาษิต โดยเด็ก ไม่ รู้ว่า จะจําเอาไปทํา ไม การให้จาํ ควรให้เด็ก เกิ ด ความเข้าใจก่ อนและเลื อกจํา ในสิ งที จะเป็ น ประโยชน์ต่อชีวติ ประจําวันมากกว่า 2. สอนเหมือนแบบพระเทศน์ คือ สอนไปอย่างเฉื อยๆไม่ทาํ ให้ผเู้ รี ยนเกิดความตืนเต้น ไม่ เกิดอารมณ์ ใครจะขัดแย้งโต้เถียงในสิ งทีตนสอนไม่ได้ดงั นี เป็ นต้น 3. สอนเน้นในสิ งที ไม่ ใช่ วรรณคดี เช่ น เน้นคํา ศัพท์ เน้นอักขรวิธี เน้นวิธีการแต่ง ฯลฯ สอนโดยไม่มีอุปกรณ์มาเร้าความสนใจเด็กและสอนโดยอ่านให้ฟังโดยไม่มีกิจกรรมอืนๆเลย ั ความรู้เกียวกับวรรณคดีทีสอนได้เป็ นอย่างดีและควรเลือกวิธีสอน ผูส้ อนวรรณคดีนนควรมี ให้เหมาะสมกับวรรณคดีแต่ละเรื องและควรหลีกเลียงวิธีการสอนทีน่าเบือเพราะจะทําให้ผเู้ รี ยนขาด ความสนใจในการเรี ยนวรรณคดี

35 แนวทางในการสอนวรรณคดี ในการสอนวรรณคดี นนหากครู ั ผูส้ อนมีหลักหรื อแนวทางในการสอนวรรณคดี การสอน ย่อมทําให้การสอนนันบรรลุเป้ าหมายทีตังไว้ พยุง ญาณโกมุท (2518: 72) ได้กล่าวถึง แนวทางในการสอนวรรณคดีไว้ สรุ ปได้ดงั นี 1. ต้องยึดหลักว่าจะต้องสอนให้เด็กทังรู้ เรื องและรส ฉะนันในการให้เด็กอ่านวรรณคดี จะต้องให้อ่านทัง 2 ลักษณะ คือให้อ่านในใจเพือให้รู้เรื อง และอ่านออกเสี ยง หรื ออ่านทํานองเสนาะ ถ้าเรื องนันเป็ นร้อยกรองเพือให้รู้รส การอ่านในใจเพือ ให้รู้เรื องในการเอาวิธีสอนอ่านในใจมาใช้ และไม่จาํ เป็ นต้องอ่านในชันเรี ยน อาจให้อ่านมาล่วงหน้าจากบ้านก็ได้ 2. ก่อนการสอนจะต้องนําเอาคําศัพท์มาชี แจงเสี ยก่อนอ่านออกเสี ยงอย่างไร เป็ นคําชนิ ด ไหน เช่น คํานาม คําวิเศษณ์หรื อกริ ยา ฯลฯและต้องให้รู้ความหมายของคํา โดยการฝึ กให้คน้ จาก พจนานุกรมหรื อสารานุกรม อย่าเพียงแต่ให้เด็กค้นคําอธิ บายศัพท์จากท้ายบทเท่านันเพราะความรู้ ของเด็กจะไม่กว้างขวาง ทังยังควรหัดให้เด็กตีความหมายของคําศัพท์จาก “บริ บท” คือคําประกอบ รอบๆศัพท์อีกด้วย คําศัพท์ในวรรณคดี นนคํ ั าใดทีสมัยนี ไม่ได้ใช้คือศัพท์ตายเวลาสอนไม่ตอ้ งเน้น มากเพราะไม่ได้ใช้ประโยชน์ ควรสอนเน้นศัพท์เป็ น คือ คําศัพท์ทีเรากําลังใช้กนั อยูโ่ ดยต้องให้รู้ทงั การเขียน การอ่านและการใช้ดว้ ย 3. การสอนเนือเรื อง ให้ยดึ หลักดังนี 3.1 ให้รู้เรื องแต่ตน้ คือ รู้ตงแต่ ั ตน้ จนมาบรรจบกับเรื องทีปรากฏในหนังสื อ (ถ้า เป็ นเรื องทีตัดตอนเอามาให้รู้เพียงว่าเรื องนันดําเนิ นมาอย่างไร เรื องมาจบเอาตรงไหนโดยครู ใช้วิธี เล่าย่อๆให้ฟังหรื อให้เด็กแบ่งหมู่ไปค้นคว้ามาเล่าก็ได้ เพือเด็กจะได้ลาํ ดับเรื องราวได้ถูกต้อง เมือ อ่านรู ้เรื องแล้วควรฝึ กให้ทาํ บันทึกเรื องย่อไว้ 3. 2 ให้รู้เฉพาะตอนโดยละเอียด หมายถึงให้รู้เรื องทีมีปรากฏอยู่ในแบบเรี ยนให้ ละเอี ย ดว่า เรื องนันมี ป มสํ า คัญตรงไหนบ้า งตอนใดให้ค ติ อ ย่า งไรให้ค ้น คิ ด ว่า ผูแ้ ต่ ง ชี ให้เ ห็ น อะไรบ้าง เช่นความเชือของคนในสมัยนันๆ ผูแ้ ต่งเรื องเปรี ยบเทียบไว้ หรื อเอาเรื องจริ งๆมาแต่ง ถ้า แต่งเปรี ยบเทียบก็ให้รู้ว่าผูแ้ ต่งเปรี ยบอะไรกับสิ งใด เช่ น เปรี ยบรู ปทองภายในของเจ้าเงาะเหมือน เช่น ความดีของคน ผูแ้ ต่งให้ความรู ้อะไรบ้าง เป็ นต้น 3.3 ให้รู้หลักการเลือกใช้ถอ้ ยคําของผูแ้ ต่งว่าเป็ นอย่างไร สะเทือนอารมณ์อย่างไร มีความไพเราะอย่างไร เหมาะสมหรื อไม่สํานวนโวหารราบเรี ยบดี หรื อว่าไม่ดีอย่างไรเป็ นโวหาร ชนิดใด

36 4. การสอนให้เกิดความซาบซึงในสุ นทรี ยะ ให้ยดึ หลักดังนี 4.1. ให้รู้ประเภทของเรื อง เช่น เป็ นสารคดี โอวาท วรรณคดีเกียวกับศาสนาหรื อ เชิงประวัติ ฯลฯ 4.2 ให้รู้ภูมิหลังของผูแ้ ต่งว่าผูแ้ ต่งเป็ นใคร มีการศึกษาเพียงใด ชีวิตของผูแ้ ต่งเป็ น อย่างไร มีผลงานอะไรบ้างเพราะผูแ้ ต่งมักสอดแทรกชีวติ ของตนไว้ในเรื องเสมอและรู้วา่ แต่งทําไม 4.3 ให้รู้เบื องหลังของเรื อง เช่ น ถ้าเป็ นเรื องเกี ยวกับพระพุท ธศาสนาก็ตอ้ งรู้ ว่า นําเอามาจากชาดก หรื อ แต่งขึนจากหลักธรรมข้อใด ถ้าเป็ นเรื องต่างประเทศก็ให้รู้วา่ ประเทศนันอยู่ ทีไหน สภาพภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ เป็ นอย่างไร ฯลฯ 4.4 ให้รู้สุนทรี ยะของคําประพันธ์ ให้อ่านดังๆหรื ออ่านทํานองเสนาะ ให้ดูวา่ ตอน ใดให้รสอย่างไร ตอนใดไพเราะควรท่องจําไว้ 4.5 ให้ฝึกให้วิจารณ์วา่ ดีหรื อไม่อย่างไร พิจารณาองค์ประกอบของวรรณคดี เช่ น โครงเรื อง การใช้ถอ้ ยคํา สํานวนโวหาร นิสัยและการกระทําของตัวละคร ฯลฯ 4.6 ให้เปรี ยบเทียบ เช่น นําเอาความคิดในวรรณคดีมาเปรี ยบเทียบกับความคิดใน ปัจจุบนั 5. การสอนให้เข้าใจเรื อง โดยการให้ปฏิบตั ิกิจกรรม เช่น 5.1 ให้แปลงเรื องออกเป็ นบทละครแล้วนํามาแสดง 5. 2ให้อภิปรายกันว่าได้ความรู้อย่างไร ความรู้นนเอาไปใช้ ั ได้หรื อไม่อย่างไร ตอน ใดให้รสดีกว่า 5.3 ให้จดั นิทรรศการ หรื อ จัดการแสดง (display) 5.4 ให้ลองแปลงเรื อง หรื อต่อเรื องให้จบโดยการเขียน 5.5 ให้วาดภาพ เช่น ภาพตอนสังข์ทองถูกถ่วงนํา ฯลฯ เพือให้เกิดจินตนาการ สมถวิล วิเศษสมบัติ (2525: 110-123) ได้เสนอว่า การสอนวรรณคดีควรใช้วิธีการหลายๆ วิธีไม่ควรสอนแบบถอดความ แบบบรรยายหรื อแบบท่องจําแต่ควรสอนให้นกั เรี ยนได้คิดรู้จกั ใช้ เหตุผลและร่ วมกิ จกรรมมากที สุ ดเท่าทีจะมากได้ นอกจากนี ยังได้เสนอวิธีการสอนวรรณคดี วิธี ต่างๆเอาไว้ สรุ ปได้ดงั นี 1. การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีการบรรยายเป็ นวิธีการสอนทีมีประโยชน์หากครู วางแผนการ สอนถูกต้อง มีวตั ถุประสงค์ทีแน่นอนว่าแต่ละคาบจะจัดกิจกรรมอย่างไร เช่น กิจกรรมการนําเข้าสู่ บทเรี ยน ขันสอน การใช้กิจกรรมประกอบ การวัดและประเมินผล ครู ไม่ควรทํากิจกรรมเพียงคน เดียวแต่ควรให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมทุกขันตอน 2. การสอนวรรณคดีดว้ ยการอภิปรายประกอบการบรรยาย เป็ นการสอนด้วยวิธีบรรยายแต่

37 เปิ ดโอกาสให้นักเรี ยนอภิ ปรายแสดงความคิ ดเห็ นหลังจากครู บรรยาย เช่ น อภิปรายแสดงความ คิดเห็นเกียวกับตัวละคร สํานวนโวหาร เป็ นต้น 3. การสอนวรรณคดีดว้ ยการอภิปราย ทําได้หลายวิธี ได้แก่ 3.1 การอภิปรายเป็ นคณะ (Panel discussion) ครู ให้นกั เรี ยนทังชันไปศึกษา วรรณคดี มาแล้วให้นกั เรี ยนกลุ่มหนึ งประมาณ 5-6 คน จัดอภิปรายหน้าชันแสดงความคิดเห็นให้ เพือนๆในชันฟั งมีทงผู ั ด้ าํ เนิ นการอภิปรายและผูอ้ ภิปรายโดยผูอ้ ภิปรายแต่ละคนจะสามารถแสดง ความคิ ดเห็ นได้กว้า งขวางและนักเรี ย นที เป็ นผูฟ้ ั งสามารถซักถาม ตังข้อสัง เกตหรื อแสดงความ คิดเห็นได้ 3.2 การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ (Symposium) การอภิปรายวิธีนีจะแบ่งนักเรี ยน เป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน แล้วมอบหมายให้ไปศึกษาความรู้ในเรื องต่างๆมาอย่างละเอียดแล้วมา อภิปรายในชันเรี ยน การอภิปรายชนิดนีเป็ นทางการกว่าแบบแรก ผูท้ ีได้รับมอบหมายให้ไปศึกษา ต้องศึกษาอย่างละเอียดจากแหล่งวิทยาการทีหลากหลายนอกเหนือจากการศึกษาหนังสื อเรี ยนเพียง อย่างเดียว 3.3 การอภิปรายซักถาม (Colloquy) การอภิปรายวิธีนีทังผูอ้ ภิปรายและผูฟ้ ังต้อง ศึกษาวรรณคดีทีจะอภิปรายอย่างกว้างขวาง ต้องช่วยกันประมวลคําถามทีตนต้องการคําตอบแล้ว มอบหมายให้ตวั แทนของผูฟ้ ัง 3-4 คนเป็ นผูซ้ กั ถามบนเวที นักเรี ยนอีก 3-4 คนจะได้รับมอบหมาย ให้เป็ นวิทยากรตอบคําถาม การดําเนิ นการอภิปรายนันผูด้ าํ เนิ นการอภิ ปรายเป็ นผูด้ าํ เนิ นรายการ โดยแนะนําตัววิทยากรและตัวแทนของผูฟ้ ั ง จากนันเชิ ญให้ตวั แทนผูฟ้ ั งถามคําถามแล้วเชิ ญให้ วิทยากรตอบคําถาม ผูฟ้ ังอืนๆทีไม่ได้อยูบ่ นเวทีสามารถถามคําถามได้ในกรณี ทีไม่เข้าใจคําตอบ 3.4 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small group discussion) ครู จะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ น กลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 7-8 คน มอบหมายให้ไปศึกษาค้นคว้าในเรื องต่างๆ เช่น สอนวรรณคดี เรื อง ผูช้ นะสิ บทิศ ก็อาจมอบหมายให้กลุ่มที 1 ไปศึกษา เรื อง ผูช้ นะสิ บทิศในตอนก่อนจะถึงตอนที จะเรี ยนและเรื องราวตอนทีจะเรี ยน กลุ่มทีสองไปศึกษาเรื องเกียวกับการใช้คาํ พูดของตัวละครที เกียวเนืองกับอุปนิสัยและเนือเรื อง ฯลฯ หลังจากการศึกษาค้นคว้าและอภิปรายกลุ่มย่อยแล้วก็นาํ มา เสนอในชันเรี ยน 4. การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีการแก้ปัญหา (Problem solving method) ครู จดั การเรี ยนรู้ให้ ผูเ้ รี ยนได้ฝึกฝนทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้วรรณคดีเป็ นสื อกลาง เมือกําหนดปั ญหาแล้วควรมี ขันตอนในการแก้ปัญหาดังนี คือ 4.1 พิจารณาขอบเขตของปัญหา 4.2 ศึกษาสภาพการณ์หรื อเหตุการณ์ทีทําให้เป็ นปั ญหาขึน

38 4.3 พิจารณาหาวิธีการแก้ปัญหาทีเหมาะสมทีสุ ด 4.4 ตัดสิ นใจเลือกวิธีทีเหมาะสมเพือแก้ปัญหา 4.5 ประเมินวิธีแก้ปัญหาว่าเป็ นวิธีการทีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด 5. การสอนวรรณคดีดว้ ยการศึกษาค้นคว้า เป็ นการสอนทีครู พยายามส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมี โอกาสศึกษาค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งวิทยาการต่างๆให้มากทีสุ ดเพือให้นกั เรี ยนมีทกั ษะและนิสัย รักการค้นคว้าศึกษาด้วยตนเอง 6.การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีการแสดงหรื อการละเล่นเป็ นวิธีการเรี ยนทีผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้อย่าง แท้จริ ง ได้แก่ การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงละครและสถานการณ์จาํ ลอง วิธีการดังกล่าวช่วย ให้นกั เรี ยนเข้าถึงวรรณคดีได้ดีขึนเพราะได้ลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง 7. การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีการสอนเป็ นคณะ (Team teaching) เป็ นการสอนทีจัดครู เป็ น กลุ่มเพราะครู แต่ละคนมีความถนัดและประสบการณ์ต่างกัน การจัดกลุ่มครู จะจัดเป็ นกลุ่มละ 4-5 คน ประกอบด้ ว ยครู อาวุ โ สผู้มี ค วามสามารถและประสบการณ์ เ ป็ นหั ว หน้ า คณะ ครู ผู้มี ประสบการณ์รองลงมา ครู ผชู ้ ่วยหรื อนิสิตฝึ กสอน สําหรับผูเ้ รี ยนก็มีการจัดกลุ่มเช่นเดียวกันคือ จัด ให้นกั เรี ยนมีจาํ นวนมากขึน เช่น จากเรี ยนเป็ นห้องๆก็เอามารวมกันหลายๆห้อง ห้องเรี ยนใช้ห้องที มีขนาดใหญ่สําหรับการเรี ยนรวมและใช้ห้องขนาดเล็กสําหรับประชุมกลุ่มย่อย การสอนวรรณคดี แบบเป็ นคณะมีขนตอน ั ดังต่อไปนี 1. ผูอ้ าวุโสเชิญครู ประชุมเพือวางแผนการสอน 2. ในการสอนเป็ นกลุ่มใหญ่ครู อาวุโสเป็ นผูส้ อนโดยมีครู ผรู้ ่ วมคณะเป็ นผูช้ ่วยโดย มอบหมายงานตามความสามารถของครู แต่ละคน 3. การสอนกลุ่มย่อยทําหลังจากทีมีการบรรยายกลุ่มใหญ่แล้ว โดยแบ่งนักเรี ยนเป็ น กลุ่มย่อยๆกลุ่มละ 20-30 คน มีครู ประจําทุกกลุ่ม ในกลุ่มย่อยอาจมีการอภิปรายการทําแบบฝึ กหัด การศึกษาค้นคว้าตามแผนทีวางไว้ 4. การศึกษาค้นคว้าเป็ นรายบุคคลตามความสามารถและความถนัดของผูเ้ รี ยน 5. การประเมินและติดตามผลร่ วมกันของครู และนักเรี ยน 8. การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีแบ่งหมู่ทาํ งาน (task group) การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีนีเป็ น การสอนให้นัก เรี ย นรู ้ จกั ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื น เช่ น เรื อง พ่อแม่ รังแกฉัน ครู แบ่งนัก เรี ยนเป็ นหมู่ มอบหมายให้หมู่ที 1 ค้นคว้าเรื องการใช้เครื องหมายวรรคตอนชนิ ดอืนๆนอกเหนื อจากทีพบใน บทเรี ยน หมู่ที 2 ให้ไปค้นคว้าเกียวกับพระราชบัญญัติประถมศึกษาว่ามีในสมัยใด หมู่ที 3 ให้หา คติธรรมจากเรื อง หมู่ที 4 ให้ศึกษาว่าเนือเรื องสอนให้รู้จกั เลือกคบเพือนอย่างไร เป็ นต้น

39 9. การสอนวรรณคดีดว้ ยวิธีการตอบสนอง (Response-centered technique) เป็ นการสอนที ครู เน้นให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมให้มากทีสุ ด นักเรี ยนจะรู้สึกว่าตนเองมีความสําคัญทีครู เอาใจใส่ เปิ ด โอกาสให้แสดงความคิดเห็น การแสดงพฤติ กรรมหรื อความคิดทําได้หลากหลาย เช่น เมือนักเรี ยน อ่ า นบทประพัน ธ์ บ ทหนึ งอาจแสดงปฏิ กิ ริ ย าโต้ต อบได้ห ลากหลาย เช่ น พูด หรื อ เขี ย นแสดง ความรู ้ สึ ก ร้ อ งเพลง หรื อวาดภาพ เป็ นต้น นัก เรี ยนแต่ ล ะคนมี ค วามรู้ ค วามสามารถและ ประสบการณ์ต่างกันและสิ งเหล่านันจะทําให้การตอบสนองของแต่ละคนแตกต่างกันออกไปด้วย 10. การสอนวรรณคดีแบบหน่วย เป็ นการจัดการเรี ยนวรรณคดีให้สัมพันธ์กบั หลักภาษา และทักษะในการใช้ภาษา วิธีการคือจัดความรู้ในวรรณคดีเป็ นหน่วยๆแล้วตังชือใหม่ โดยมีเนือหา ครอบคลุมวรรณคดีนนๆด้ ั วย เช่น อาจตังชือหน่วยวรรณคดีวา่ “บรรพบุรุษไทยปกป้ องบ้านเมืองมา อย่างไร” จากเรื อง ลิ ลิตยวนพ่าย จากนันก็หาเนื อหาทีมาจากหนังสื อเล่มอืนและจากเหตุการณ์ ใน ชี วิตประจําวัน แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม ให้นกั เรี ยนอภิปรายเรื องบรรพบุรุษไทยทีปกป้ องบ้านเมือง นักเรี ยนเขี ยนเรี ยงความสันๆหรื อคําประพันธ์แสดงความเสี ยสละของบรรพบุรุษ นักเรี ยนอ่าน วรรณคดีเรื อง ลิลิตยวนพ่าย แล้วอ่านหนังสื อทีมีเนื อเรื องเกียวกับความเสี ยสละของบรรพบุรุษไทย ท่านอืนๆเพิมแล้วนํามาอภิปราย นักเรี ยนแต่ละกลุ่มแต่งคําขวัญเกียวกับการเสี ยสละหรื อบทละคร สันๆเกียวกับความรักชาติ นักเรี ยนทุกกลุ่มทํากิจกรรมทังสี หัวข้อ 11. การสอนวรรณคดีในห้องเรี ยนแบบศูนย์การเรี ยนเป็ นการแบ่งนักเรี ยนในห้องออกเป็ น กลุ่มกิจกรรมประมาณ 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะเรี ยนเนือหา ใช้สือการสอนและทํากิจกรรมแตกต่างกัน นักเรี ยนจะเกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ งโดยมีสือการสอนเป็ นเครื องช่วย 12. การสอนวรรณคดีโดยใช้วธิ ี กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ (Group process) เป็ นการสอนที ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความสัมพันธ์ทีดีกบั ผูอ้ ืน มีหลักดังต่อไปนี 1. ยึดนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง จัดการศึกษาให้นกั เรี ยนได้ร่วมกิจกรรมอย่างทัวถึง 2. ยึดกลุ่มเป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ทีสําคัญ 3. มุ่งให้นกั เรี ยนค้นพบความรู้ดว้ ยตนเอง 4. พยายามจัดการเรี ยนรู้ทีส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนคิดและหาแนวทางให้นกั เรี ยนนํา ความรู้ทีได้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน สรุ ปได้วา่ วิธีการสอนวรรณคดีนนมี ั อยูห่ ลายวิธีดว้ ยกัน ในการทีจะเลือกวิธีใดมาใช้ในการ จัดการเรี ยนการสอนนันครู ภาษาไทยควรคํานึ งถึงเนือเรื องทีจะสอน ความพร้อมและความต้องการ ของผูเ้ รี ยนของตนเป็ นหลัก

40 4.เอกสารทีเกียวข้ องกับวรรณกรรมพระพุทธศาสนา ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารทีเกียวข้องกับวรรณกรรมพระพุทธศาสนา ดังนี 4.1 ความหมายของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา มี ผู้ใ ห้ ค วามหมายของวรรณคดี พ ระพุ ท ธศาสนาไว้ดัง นี สนิ ท ตังทวี (2527:85) ให้ ความหมายของวรรณคดีพระพุทธศาสนา ไว้ว่า วรรณคดีพระพุทธศาสนา คือ วรรณคดีทีเขียนขึน โดยอาศัยเนื อหาสาระหรื อหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนบุคคลต่างๆในศาสนา ได้แก่ ศาสดา สาวกและผูท้ ีเกียวข้องมาเป็ นแก่นเรื องหรื อโครงเรื องเพืออาจจะรวมทังเรื องราวทีคิดแต่งขึน ใหม่ให้เป็ นอย่างเรื องในศาสนา ทังนีโดยมีจุดประสงค์เพือจะกล่อมเกลาจิตใจของบุคคลให้ดีขึน สมรรัตน์ พันธุ์เจริ ญ (2542 : 16) กล่าวถึงวรรณคดีพระพุทธศาสนา ไว้วา่ เป็ นวรรณคดีทีมี เนือหาแสดงความเชือและศรัทธาในองค์ศาสดา หรื อคําสอนในศาสนา เช่น ไตรภูมิพระร่ วง พระปฐมสมโพธิกถา พระมาลัยคําหลวง เป็ นต้น นอกจากนีวิโรจน์ อินทนนท์ (2549 : 131) ยังได้ให้ความหมายของวรรณคดีพระพุทธศาสนา ในประเทศไทยไว้ว่า วรรณคดี พ ระพุ ท ธศาสนาในประเทศไทย หมายถึ ง วรรณคดี ที อธิ บ าย หลักธรรมของพระพุทธศาสนา ซึ งเขียนขึนโดยจินตกวีไทย ตังแต่สมัยกรุ งสุ โขทัยเป็ นต้นมา จนถึง สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ มีมากมายหลายเรื อง มีทงภาษาบาลี ั ภาษาไทย มีทงร้ ั อยแก้วและร้อยกรองมี ทังสอนธรรมในพระพุทธศาสนาโดยตรงและโดยอ้อม สรุ ปได้วา่ วรรณคดีพระพุทธศาสนา หมายถึง งานเขียนทีเขียนขึนโดยอาศัยหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา เขียนโดยกวีไทยตังแต่สมัยสุ โขทัยมาจนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ 4.2 ประเภทของวรรณกรรมศาสนา วรรณคดีพระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็ นประเภทต่างๆ ได้ดงั นี (สนิท ตังทวี 2527 : 87) 1. วรรณคดี ทีเกี ยวกับศาสนธรรมเป็ นวรรณคดี ทีแสดงถึ งคําสอนของพระพุทธศาสนา โดยตรงหรื อโดยปริ ยาย วรรณคดี ทีกล่ าวถึ งโดยตรง เช่น ไตรภูมิพระร่ วง ไตรภูมิโลกวินิจฉัย ที กล่าวโดยปริ ยายหรื อสอดแทรกปรัชญาทางศาสนาไว้ดว้ ยนันมีอยู่ในวรรณคดี ไทยเกื อบทุ กเรื อง เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี ลิลิตตะเลงพ่าย เป็ นต้น 2. วรรณคดีทีเกียวกับศาสนประวัติ เป็ นวรรณคดีทีมีเรื องรางเนือหา ความเป็ นมาหรื อ ความเจริ ญรุ่ งเรื องของศาสนาในสมัยต่างๆ ศาสนประวัติจะมีสอดแรกอยูใ่ นวรรณคดีบางเรื องและ บางตอน เช่น ศิลาจารึ กพ่อขุนรามคําแหงมหาราช นางนพมาศ มูลศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์

41 จามเทวีวงศ์ เป็ นต้น 3. วรรณคดี ทีเกี ยวกับศาสนพิธีเป็ นวรรณคดีทีแสดงพิธีกรรมทีเกี ยวกับพระพุทธศาสนา เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็ นต้น 4. วรรณคดีทีเกียวกับศาสนวัตถุสถานเป็ นเรื องราวทีกล่าวถึงปูชนี ยวัตถุหรื อปูชนี ยสถาน ทางพระพุทธศาสนา เช่น ปุณโณวาทคําฉันท์ เป็ นต้น 5. วรรณคดี ทีเกี ยวกับศาสนนิ ท านหรื อชาดกเป็ นวรรณคดี ทีเกี ยวกับนิ ทานหรื อเรื องใน คัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่น มหาชาติหลวง สมุทรโฆษคําฉันท์ เป็ นต้น 6. วรรณคดีทีเกียวกับสาวกประวัติ เป็ นวรรณคดีทีกล่าวถึงประวัติหรื อข้อประพฤติปฏิบตั ิ ของสาวก เช่น พระมาลัยคําหลวง เป็ นต้น 7. วรรณคดี ทีเกี ยวกับพระพุท ธประวัติเป็ นวรรณคดี ที กล่ าวถึ งประวัติของพระพุทธเจ้า วรรณคดีทีเกียวกับพระพุทธประวัติโดยตรง เช่น พระปฐมสมโพธิกถา เป็ นต้น สรุ ปได้วา่ วรรณคดีพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็ นประเภทต่างๆได้ตามลักษณะของเนือหาที ปรากฏ 4.3 จุดมุ่งหมายของวรรณกรรมพระพุทธศาสนา มีผกู ้ ล่าวถึงจุดมุ่งหมายของคดีและวรรณกรรมพระพุทธศาสนาไว้ดงั นี คณาจารย์มหาวิทยาลัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย (2551:12-13) กล่ า วถึ ง จุ ดมุ่ ง หมายของวรรณคดี และวรรณกรรม พระพุทธศาสนาไว้ สรุ ปได้วา่ วรรณคดีและวรรณกรรมทีเกียวกับพระพุทธศาสนามีจุดมุ่งหมายใน การแต่ง ดังนี 1. มุ่ ง แสดงให้ ผู ้ศึ ก ษาได้ ต ระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของพุ ท ธธรรมและความสู งส่ งของ พระพุทธศาสนาและให้เห็นคุณค่าของการบําเพ็ญทาน 2. มุ่งแสดงให้ประชาชนเข้าใจโลกตามความเป็ นจริ ง ให้มองเห็นว่าการดํารงตนอยูใ่ น ทํานองคลองธรรมมีผลคือได้รับความสุ ข 3. มุ่งแสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาสู งส่ งด้วยบารมีพระบรมศาสดา บุคคลทุกคนมีสิทธิ และความสามารถที จะบรรลุ ธ รรมหากได้รับ การฝึ กฝนตนเองให้ถู ก ต้องผูท้ ี บําเพ็ญบารมี ค รบ สมบูรณ์สามารถทีจะบรรลุพระโพธิญาณได้ 4. มุ่งเน้นให้พุทธศาสนิกชนได้ศึกษาหลักคําสอนโดยผ่านวรรณคดีไทยเพือนําไปปฏิบตั ิให้ เกิดความสุ ขแก่ตนเอง 5. มุ่ ง แสดงหลัก ธรรมในพระพุ ท ธศาสนาให้ เ ด่ น ชัด เพื อโน้ม น้า วจิ ต ใจให้เ กิ ด ศรั ท ธา เลือมใสในพระพุทธศาสนามากยิงขึน

42 6. มุ่งทีจะแสดงความเจริ ญรุ่ งเรื องของพระพุทธศาสนาและประวัติของพุทธศาสนสถาน สรุ ปได้วา่ วรรณกรรมพระพุทธศาสนามีจุดมุ่งหมายในการสอนมนุษย์ให้ทาํ ความดี สอน ให้มองโลกตามความเป็ นจริ งและตระหนักถึงความสู งส่ งของพระพุทธศาสนา 4.4 ไตรภูมิพระร่ วง ไตรภูมิพระร่ วง หรื อ เตมิ ภูมิกถาเป็ นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาของไทยเรื องแรกใน สมั ย สุ โขทั ย (ไตรภู มิ ก ถา 2528:10) ที มี ม าตั งแต่ ส มั ย สุ โขทั ย และตกทอดมาถึ ง ปั จจุ บ ั น คณะอนุกรรมการกิจการพิเศษ ศูนย์พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2547:47) กล่าวว่า เตภูมิกถาหรื อไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดี ทางพุทธศาสนาทีเก่าแก่และสําคัญเล่มหนึ งของไทย มี อายุกว่า 600 ปี พญาลิไทยเป็ นผูท้ รงพระราชนิพนธ์เรื องไตรภูมิพระร่ วงขึน ความมุ่งหมายที ทรงพระราชนิพนธ์คือใช้เทศนาโปรดพระมารดาและสังสอนประชาชน หนังสื อเรื องไตรภูมิพระร่ วงนีแต่งเป็ นร้อยแก้วสํานวนพรรณนา เมือสิ นสุ ดยุคสุ โขทัยและ อยุธยาหนังสื อเล่มนีได้สูญหายไป จนกระทังมีผไู้ ปพบอีกครังทีจังหวัดเพชรบุรี พระภิกษุรูปหนึ ง ชือพระมหาช่วยได้จารขึนใหม่จากฉบับเดิมทีเป็ นตัวอักษรขอมในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุ งธนบุรี มหาราชและได้รับการปริ วรรตเป็ นตัวอักษรไทยในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ (ศัก ดิ ศรี แย้มนัดดา 2543 : 47) เนือเรื องในไตรภูมิพระร่ วง พญาลิไทยทรงเก็บความมาจากคัมภีร์ต่างๆหลายคัมภีร์ ได้แก่ พระอรรถกถาจตุราคม อรรถกถาฎีกาพระอภิธรรมาวดาร พระอภิธรรมสังคห พระสุ มงั คลวิลาสิ นี พระปปั ญจสู ทนี พระสารัตถปกาสิ นี พระมโนรถปูรณี พระสี นัตถปกาสิ นี พระอรรถกถาฎีกา พระวินยั พระธรรมบท พระมหาวัคค์ พระธรรมมหากถา พระมธุ รัตถวิลาสิ นี พระธรรมชาตก พระชินาลังการ พระสารัตถทีปนี พระพุทธวงศ์ พระสารสังคหะ พระมิลินทปัญหา พระปาเลยยะ พระมหานิทาน พระอนาคตวงศ์ พระจริ ยาปิ ฎก พระโลกปั ญญัติ พระมหากัลป์ พระอรุ ณวตี พระสมันตปาสาทิกา พระวิสุทธิ มคั ค์ พระลักษณาภิธรรม พระอนุฎีกาหิ งธรรม พระสารี ริกพินิจ ฉัย พระโลกุปปัตติ พญาลิไทยทรงรวบรวมเนือความพระธรรมเหล่านีมาผสมผสานใหม่แล้วให้ชือ ว่า “ ไตรภูมิกถา ” (คณะทํางานโครงการวรรณกรรมอาเซียน 2528 : 6-8) เรื องไตรภูมิมีหลายสํานวนด้วยกัน ได้แก่ 1. ไตรภูมิพระร่ วง หรื อ เตภูมิกถาคือไตรภูมิพระร่ วงทีเชือกันว่าเป็ นหนังสื อทีพญาลิไทย พระมหากษัตริ ยร์ ัชกาลที 5 แห่ งกรุ งสุ โขทัยทรงพระราชนิพนธ์ขึนเมือประมาณ พ.ศ. 1888 เรื อง ไตรภู มิ พ ระร่ ว งสํ า นวนสุ โขทัย นี ไม่ป รากฏว่า มี ต้น ฉบับ เดิ ม ครั งสุ โขทัย ตกทอดมาถึ ง ปั จ จุ บ ัน ต้นฉบับทีใช้พิมพ์เผยแพร่ คือต้นฉบับทีพระมหาช่วยวัดปากนํา จังหวัดสมุทรปราการได้ตน้ ฉบับมา

43 จากจังหวัดเพชรบุรีจึงได้จารเรื องไตรภูมิพระร่ วงไว้ในใบลาน 30 ผูก เมือปี พ.ศ. 2321 และสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพโปรดให้นาํ ออกมาตีพิมพ์เผยแพร่ เป็ นครังแรก ต่อมานายธนิ ต อยูโ่ พธิ ได้แนะนําให้นางกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ จัดหาผูเ้ ชี ยวชาญตรวจสอบชําระ ข้อวิปลาสคลาดเคลื อน นางกุลทรัพย์ได้มอบหมายให้นายพิทูร มลิวลั ย์ ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้าน วรรณคดีพุทธศาสนาตรวจสอบชําระโดยรักษาของเดิมไว้ให้มากทีสุ ด เมือตรวจสอบชําระแล้วจึง ได้จดั พิมพ์เผยแพร่ 2.ไตรภู มิ โ ลกวินิ จ ฉัย คื อ ไตรภู มิ สํา นวนที พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ าจุ ฬ าโลก มหาราชโปรดเกล้าฯให้พระราชาคณะและราชบัณฑิ ตช่ วยกันแต่งขึนเมือ พ.ศ. 2326 แต่ยงั ไม่ สมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2345 โปรดให้พระยาธรรมปรี ชา (แก้ว) แต่งไตรภูมิโลกวินิจฉัยให้จบความ 3. หนังสื อภาพไตรภูมิ หนังสื อภาพไตรภูมินนมี ั อยูห่ ลายเล่มด้วยกัน เช่น ไตรภูมิภาษาเขมร แผนทีไตรภูมิโลกสัณฐานสมัยอยุธยา แผนทีไตรภูมิสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ สมุดภาพไตรภูมิฉบับ หลวงสมัยกรุ งธนบุรี แผนทีไตรภูมิโลกวินิจฉัย เป็ นต้น ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดี ทางพระพุทธศาสนาทีมีคุณค่าในด้านต่างๆนานัปการ มีผู้ กล่าวถึงคุณค่าของเรื องไตรภูมิพระร่ วงเอาไว้หลายท่าน เสฐียรโกเศศ (2509 : 9) กล่าวถึงคุณค่าของ วรรณคดี เรื องไตรภู มิ พ ระร่ ว งไว้ว่า เรื องไตรภูมิ พ ระร่ ว งมี คุณ ค่ า ในทางศาสนาที สอนคนที ยัง หมกมุ่นอยูด่ ว้ ยเรื องโลกให้รู้จกั พุทธศาสนาอันแท้จริ งโดยทางอ้อมด้วยวิธีหนามยอกเอาหนามบ่ง พระมหาณรงค์ พ่วงแดง กล่าวถึ งคุณค่าของเรื องไตรภูมิพระร่ วงในการจัดสัมมนา เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วงของกรมศิลปากร เมือวันที 20 ธันวาคม 2526 (2526:77-86) สรุ ปได้ดงั นี 1. คุ ณค่าด้านประวัติศาสตร์ จะเห็ นว่าพระพุทธศาสนาเข้าไปมีบ ทบาทอยู่ใ นราชสํานัก ตังแต่โบราณ เช่น การทีพญาลิไทยทรงนิ พนธ์ไตรภูมิพระร่ วง ถือได้วา่ ทรงนําพระพุทธศาสนาเข้า มาเป็ นเหตุ จูงใจประชาชนให้ทราบว่าการอยู่รวมกันต้อง มีอุดมการณ์ เดี ยวกัน เช่น ปฏิ บตั ิธรรม ร่ วมกัน เป็ นต้น 2. คุณค่าด้านการศึกษา การศึกษาในด้านการปฏิบตั ิธรรม 3.คุณค่าทางด้านวรรณกรรม ไตรภูมิพระร่ วงจัดได้วา่ เป็ นเส้นโลหิ ตแห่งวงการวรรณกรรม ไทยเพราะไตรภูมิพระร่ วงไม่ได้เป็ นเพียงวรรณคดีชินแรกของไทย แม้แต่ในพระพุทธศาสนาก็ใช้ ความรู้จากเรื องไตรภูมิพระร่ วงและแนวคิดจากเรื องไตรภูมิพระร่ วงก็เป็ นยังเป็ นแนวคิดทีมีอิทธิ พล ต่อวรรณคดีเรื องอืนๆ เช่น แนวคิดเรื องป่ าหิมพานต์ แนวคิดเรื องเขาพระสุ เมรุ ราช เป็ นต้น 4. คุณค่าด้านศาสนา ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นการเสนอความคิดด้านพระพุทธศาสนาให้คนรู้สึก เกรงกลัวบาปและมุ่งหาทางหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

44 5. คุณค่าด้านศิลปกรรมเป็ นคุณค่าทีไตรภูมิพระร่ วงมีอิทธิ พลต่องานด้านศิลปกรรมต่างๆ เช่น ภาพบนผนังโบสถ์ ฯลฯ 6. ด้านการปกครอง ไตรภูมิพระร่ วงได้เน้นคติเรื องธรรมของนักปกครอง เช่น การปกครอง ด้วยธรรมะของพระยาจักรพรรดิราช ฯลฯ ทวีศกั ดิ ญาณประทีป (2536 : 80-81) กล่าวว่า ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดีทีเป็ นแม่บทของวรรณกรรมไทยทังปวงและ มีอิทธิ พลต่ อวรรณกรรมในสมัยหลัง วรรณกรรมในสมัยหลังๆเกื อบทุกเรื องมี เรื องไตรภูมิแ ทรกอยู่หรื อ ไม่ ก็กล่ าวอ้า งถึ งสิ งต่ างๆที ปรากฏอยู่ในไตรภู มิ เช่ น เปรต อสุ รกาย ทิ วเขาสัตบริ ภ ัณฑ์ ปลาใหญ่ ครุ ฑ นาค ป่ าหิ มพานต์ ฯลฯ ทังนี เพราะความบันดาลใจของผูแ้ ต่งทีได้รับจากไตรภูมินนเอง ั

สํ า นัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขันพื นฐาน กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (2548:125-130) กล่าวถึงคุณค่าของเรื องไตรภูมิพระร่ วงไว้ สรุ ปได้ดงั นี 1. คุณค่าด้านวรรณคดีเป็ นหลักฐานทีแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จกั แต่งวรรณคดีมาตังแต่สมัย สุ โขทัย แม้จะใช้ภาษาเป็ นความเรี ยงแต่มีสัมผัสคล้องจองมีความเปรี ยบทีให้อารมณ์และภาพชัดเจน ทังภาพพจน์ชนิดอุปมาและภาษาจินตภาพ 2. คุ ณค่าด้านศาสนาเป็ นการนําเสนอคําสอนทีเป็ นปรัชญาทางพระพุทธศาสนาชี ให้เห็น แก่นแท้ของชีวติ อันจะนําให้มนุษยชาติหลุดพ้นจากวงจรของสังสารวัฏ 3. คุ ณค่าด้านจริ ยธรรม เป็ นการกําหนดกรอบความประพฤติปฏิบตั ิให้แก่คนในสังคมทัง ฝ่ ายผูป้ กครองและฝ่ ายผูถ้ ูกปกครอง ช่วยให้สังคมสงบสุ ข 4. คุณค่าด้านประเพณี และวัฒนธรรม ความเชื อทีปรากฏในวรรณคดีเรื องนี ตกทอดมาถึง ปั จจุบนั เช่ น การจัดเตรี ยมดอกไม้ธูปเทียนใส่ มือผูว้ ายชนม์ก่อนปิ ดฝาโลงเพือให้ผูว้ ายชนม์นาํ ไป สักการะพระจุ ฬามณี เจดี ย ์บนสวรรค์ดาวดึ ง ส์ ความคิ ดเรื องแผนภูมิจกั รวาลในไตรภูมิ พระร่ วง ก่อให้เกิดผลงานจิตรกรรมและสถาปั ตยกรรมเพราะมีการนําไปถ่ายทอดลงในงานจิตรกรรมและ สถาปั ตยกรรมต่างๆ ฯลฯ สรุ ปได้ว่าไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดี พระพุทธศาสนาทีเก่าแก่ และสําคัญของไทยเป็ น วรรณคดี ทีเป็ นแม่บทของวรรณคดี และวรรณกรรมในสมัย ต่อมา อี กทังยังมีคุณค่าด้านต่ างๆอี ก มากมาย

45 เรืองย่ อ ไตรภูมิพระร่ วง ไตรภูมิพระร่ วงแบ่งเป็ นกัณฑ์ต่างๆทังหมด 11 กัณฑ์ ได้แก่ ปฐมกัณฑ์ กล่าวถึง นรกภูมิ ทุ ติย กัณฑ์ กล่ าวถึ ง ดิ รัจฉานภู มิ ตติย กัณฑ์ กล่ าวถึ ง เปรตภูมิ จตุ ตถกัณฑ์ กล่า วถึ ง อสุ รกายภูมิ ปัญจมกัณฑ์ กล่าวถึง มนุสสภูมิ ฉัฎฐกัณฑ์ กล่าวถึง ฉกามาพจรภูมิ สัตตมกัณฑ์ กล่าวถึง รู ป าวจรภูมิ อัฏ ฐมกัณ ฑ์ กล่ า วถึ ง อรู ป าวจรภูมิ นวมกัณฑ์ กล่ า วถึ ง อวินิโ ภครู ป ทสมกัณ ฑ์ กล่าวถึง โอกาสมหากัลปสุ ญญตา กัลปวินาศและอุบตั ิ และเอกาทสมกัณฑ์ กล่าวถึง นิพพานกถา คือ วิธีปฏิบตั ิเพือบรรลุนิพพาน ไตรภูมิพระร่ วงกล่าวถึงภูมิทงสาม ั ได้แก่ กามภูมิ รู ปภูมิและอรู ปภูมิ ซึ งแต่ละภูมิจะมี เนือหาพรรณนาถึงทีอยู่ ทีตังและการเกิ ดของสัตว์ในภูมิต่างๆ เช่ น มนุ ษย์ สัตว์นรก เปรต อสุ รกาย และเทวดา เป็ นต้น ภูมิต่างๆเหล่านี มีเขาพระสุ เมรุ เป็ นแกนกลาง เขาพระสุ เมรุ เป็ นศู นย์กลางของ จักรวาล มีทิวเขา 7 ทิวเขา และทะเลล้อมรอบ ทิวเขาทัง 7 ทิวเขา ได้แก่ ทิวเขายุคุนธร อิสินธร กรวิก สุ ทศั นะ เนมินธร วินันตกะและอัสสกัณณะ ทิวเขาเหล่านี รวมเรี ยกว่า ทิวเขาสัตบริ ภณ ั ฑ์ ระหว่างทิวเขาแต่ละชันมีทะเลคันอยู่ เรี ยกว่า มหานทีสีทนั ดร ถัดจากทิวเขาอัสสกัณณะออกมาจะมี มหาสมุทรอยูท่ วทุ ั กด้านมีภูเขาเหล็กกันทะเลนีไว้โดยรอบเรี ยกว่า ขอบจักรวาล พ้นไปนอกนันเป็ น นอกขอบจักรวาล กามภูมิ คือ ภูมิทีเกียวข้องอยูก่ บั เรื องกามตัณหา มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ความอยาก ความรักใคร่ กามภูมิประกอบด้วยสุ คติภูมิและทุคติภูมิ สุ คติภูมิแบ่งออกเป็ น 7 ภูมิ คือ โลกมนุษย์และสวรรค์ฉกามาพจรภูมิ 6 ชัน ได้แก่ จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตตี รวมทังหมดเป็ น 7 ภูมิ สวรรค์ชนจาตุ ั มหาราชิ กาคือสวรรค์ชนแรกซึ ั งอยู่สูงจากโลกขึนไป จาตุมหาราชิ กาเป็ น แดนของท้าวมหาราชโลกบาลทัง 4 ทิศ สวรรค์ชนนี ั ตังอยูเ่ หนือทิวเขายุคุนธรอันเป็ นทิวเขาแรกที ล้อมรอบเขาพระสุ เมรุ โดยรอบเขาพระสุ เมรุ บนทิวเขายุคนธรทัง 4 ทิศ มีเมืองใหญ่ 4 เมือง เมือง ที อยู่ทางทิ ศตะวันออกของเขาพระสุ เมรุ มีท้าวธตรฐเป็ นเจ้า เมือง ท้าวธตรฐเป็ นใหญ่ในพวก คนธรรพ์ เมืองทีอยูท่ างทิศตะวันตกของเขาพระสุ เมรุ มีทา้ ววิรูปักษ์เป็ นเจ้าเมือง ท้าววิรูปักษ์เป็ น ใหญ่ในพวกนาค เมืองทีอยูท่ างทิศใต้ของเขาพระสุ เมรุ มีทา้ ววิรุฬหกเป็ นเจ้าเมือง ท้าววิรุฬหก เป็ น ใหญ่ใ นพวกกุมภัณ ฑ์และเมื องที อยู่ทางทิศเหนื อของเขาพระสุ เมรุ นันมี ท้าวไพศรพณ์ หรื อท้า ว เวสสุ วรรณ หรื อ ท้าวกุเวรเป็ นเจ้าเมือง ท้าวไพศรพณ์เป็ นใหญ่ในพวกยักษ์ มหาราชทัง 4 นีรวม เรี ยกว่า ท้าวจตุโลกบาลทัง 4 คือ ผูด้ ูแลรักษาโลกทัง 4 ทิศ สวรรค์ชนดาวดึ ั งส์เป็ นสวรรค์ชนที ั 2 อยูส่ ู งขึนไปจากสวรรค์ชนจาตุ ั มหาราชิกา สวรรค์ ชันดาวดึ งส์ ตงอยู ั ่เหนื อเขาพระสุ เมรุ มีนครไตรตรึ งษ์ สวรรค์ชนดาวดึ ั งส์ นีพระอินทร์ หรื อท้าว

46 สักกะเทวราชเป็ นใหญ่เหนือเทวดาทังหลาย เมืองของพระอินทร์ มีปรางค์ปราสาทแก้ว กําแพงแก้ว ประตูทองประดับด้วยแก้ว 7 ประการ เมือเปิ ดประตูออกจะได้ยินเสี ยงดนตรี ไพเราะ ในนคร ไตรตรึ งษ์มีปราสาททีประทับของพระอินทร์ หรื อทีเรี ยกว่าไพชยนต์มหาปราสาท เป็ นปราสาทที สวยงามมากประดับประดาด้วยแก้ว 7 ประการ ช้างทรงของพระอินทร์ คือ ช้างเอราวัณซึ งเป็ น เทวดาที แปลงกายมาเป็ นช้างทรงของพระอิ นทร์ เพราะบนสวรรค์ไ ม่ มี สัตว์ ช้า งเอราวัณ สู ง ถึ ง 1,200,000 วา มีเศียร 33 เศียร พระอินทร์ มีมเหสี 4 องค์ ชือ สุ ธรรมา สุ ชาดา สุ นนั ทา สุ จิตรา นอกจากพระอินทร์ แล้วสวรรค์ชนดาวดึ ั งส์ ยงั มีเทวดาอีก 32 องค์ ครองเมือง 32 เมืองอยู่รอบนคร ไตรตรึ งษ์ ทิศละ 8 องค์ ในแต่ละทิศของสวรรค์ชนดาวดึ ั งส์จะมีอุทยานทีสวยงามอยูแ่ ละในอุทยาน แต่ละอุทยานก็จะมีสระนําขนาดใหญ่ อุทยานทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของสวรรค์ชนดาวดึ ั งส์ ชือบุณฑริ กวันมีไม้ทองหลางต้นใหญ่ชือปาริ ชาติกลั ปพฤกษ์ ใต้ตน้ กัลปพฤกษ์มีแท่นศิลาแก้วสี แดงเข้มอ่อนนุ่ม มีชือว่า แท่นบัณฑุกมั พล ใกล้กนั มีศาลาสุ ธรรมเทพสภาเป็ นทีประชุมและฟังธรรม ของเหล่าเทวดา นอกนครไตรตรึ งษ์ออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีเจดียซ์ ึ งประดับด้วยทองและ แก้ว 7 ประการ มีกาํ แพงทอง 4 ด้าน เจดียน์ ี มีชือว่าจุฬามณี เป็ นเจดียท์ ีเหล่าเทวดาทังหลายเคารพ บูชาทีพระเจดียจ์ ุฬามณี นีจะมีเทวดาคอยประโคมดนตรี ถวายพระเจดียอ์ ยูเ่ สมอ สวรรค์ชนยามา ั เป็ นสวรรค์ชนที ั 3 อยูส่ ู งขึนไปจากสวรรค์ชนดาวดึ ั งส์ สวรรค์ชนยามา ั มี ท้าวสุ ยามเทวราชปกครองอยู่ เทวดาในสวรรค์ชนยามานี ั มีปริ มณฑลรัศมี 12 โยชน์ ทําให้สวรรค์ ชันนีสว่างไสวตลอดเวลา การดูวา่ เวลาใดเป็ นเวลากลางวันหรื อกลางคืนนันต้องสังเกตจากดอกไม้ ทิพย์ซึงจะบานในตอนกลางวันและหุ บในตอนกลางคืน เทวดาทีอยู่ในสวรรค์ชนนี ั มีปราสาทแก้ว ประสาททองและปราสาทเงินเป็ นวิมาน สวรรค์ชนดุ ั สิต เป็ นสวรรค์ชนที ั 4 อยูส่ ู งขึนไปจากสวรรค์ชนยามา ั มีทา้ วสันตุสิตเทวราช ปกครองอยู่ สวรรค์ชนดุ ั สิตนี เป็ นสถานทีทีพระโพธิ สัตว์ซึงกําลังรอเวลาทีจะเสด็จลงมาตรัสรู้เป็ น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตประทับอยู่ สวรรค์ชันนิ มมานรดี เป็ นสวรรค์ชันที 5 อยู่สู ง ขึ นไปจากสวรรค์ชันดุ สิต สวรรค์ชัน นิมมานรดีมีทา้ วนิ มมานรดีเทวราชปกครอง เทวดาทีอยู่ในสวรรค์ชนนี ั ปรารถนาสิ งใดก็สามารถ เนรมิตขึนมาได้ สวรรค์ชนปรนิ ั มมิตวสวัตตีเป็ นสวรรค์ชนที ั 6 ซึ งเป็ นสวรรค์ชนที ั สู งทีสุ ดของฉกามาพจร สวรรค์ชนปรนิ ั มมิตวสวัตตีอยู่สูงจากสวรรค์ชนนิ ั มมานรดีขึนไป มีทา้ วปรนิ มมิตวสวัตดีเทวราช เป็ นผูป้ กครอง เทวดาในสวรรค์ชนนี ั หากต้องการสิ งใดก็ให้เทวดาอืนเนรมิตให้ ทุคติภูมิหรื ออบายภูมิ มี 4 ภูมิ คือ นรกภูมิ เปรตภูมิ อสุ รกายภูมิและติรัจฉานภูมิ

47 นรกภูมิคือภูมิของสัตว์นรก นรกแปลว่าไม่มีความเจริ ญ นรกแบ่งออกเป็ นนรกขุมใหญ่ 8 ขุม คือ สัญชีพนรก กาฬสุ ตตนรก สังฆาฏนรก โรรุ วนรก มหาโรรุ วนรก ตาปนรก มหาตาปนรก และอเวจีมหานรก นอกจากนรกขุมใหญ่เหล่านี ก็ยงั มีนรกบริ วารอืนๆอีกมากมาย ยมบาลเป็ นผูด้ ูแล นรก มีพระยายมราชเป็ นใหญ่เหนือยมบาล หน้าทีของพระยายมราช คือ การสอบสวนบุญและบาป ของมนุษย์ทีตายไปแล้ว หากทําบุญก็จะได้ขึนสวรรค์ทาํ ถ้าบาปก็จะตกนรก สาเหตุทีทําให้สัตว์ตอ้ ง ไปเกิดในนรก มี 3 ประการ คือ ความโลภ ความโกรธและความหลง สาเหตุทงั 3 ประการนี ทําให้ สัตว์ทาํ ชัวทางกาย วาจา ใจ ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดคําหยาบ พูด ส่ อเสี ยดพูดเพ้อเจ้อ อยากได้ของของผูอ้ ืน ปองร้ายผูอ้ ืนและมีมิจฉาทิฐิ เห็นผิดทํานองคลองธรรม เปรตภูมิ คือ ภูมิของเปรต เปรตมีโอกาสดีกว่าสัตว์นรกเพราะสามารถมาขอบุญกุศลจาก การทําบุญของมนุ ษย์ได้ เปรตมีหลายประเภทแตกต่างกันออกไปตามผลกรรมทีเคยกระทําไว้ใน ไตรภูมิพระร่ วงบรรยายรู ปร่ างของเปรตไว้วา่ เปรตบางชนิดมีตวั ใหญ่ ปากเท่ารู เข็ม เปรตบางชนิด ทีตัวงามเป็ นทองแต่ปากเป็ นหมู เปรตบางชนิดไม่มีเนือหนังมังสา ตาลึกกลวง ร้องไห้อยูต่ ลอดเวลา ฯลฯ บาปกรรมทีทําให้ตอ้ งเกิดเป็ นเปรต มีดงั นี 1. อิจฉาริ ษยาคนรํารวยและดูถูกคนยากจน 2. ทําอุบายล่อลวงทรัพย์ของผูอ้ ืนมาเป็ นของตน 3. ตระหนีไม่บาํ เพ็ญทานและห้ามผูอ้ ืนไม่ให้ทาํ ทาน 4. ขโมยของสงฆ์มาเป็ นของตน 5. นินทากล่าวร้ายพระสงฆ์และครู อาจารย์ 6. ยุยงสงฆ์ให้แตกจากกัน 7. ให้ยาหญิงมีครรภ์เพือทําลายเด็กในครรภ์ 8. แช่งด่าสามีทีทําบุญแก่สงฆ์ 9. ค้าขายด้วยอุบายทุจริ ต ปนข้าวลีบในข้าวดีแล้วขาย 10. ทําร้ายบิดามารดา 11. ไม่ยอมให้ขา้ วเป็ นทานแล้วยังสบถว่าไม่มีขา้ ว 12. ลักเนือของคนอืนมากินแล้วสบถว่าไม่ได้ลกั 13. กลางวันเป็ นพราน กลางคืนจําศีล 14. เป็ นเจ้าเมืองชอบกินสิ นบน 15. ทําบุญด้วยของเหลือเดน 16. ถวายภัตตาหารพระสงฆ์ดว้ ยเนื อช้าง เนือหมาและเนือสัตว์มีเล็บ

48 17. ข่มเหงคนเข็ญใจ 18. เผาป่ าและทําให้สัตว์ถูกไฟไหม้ตาย อสุ รกายภูมิคือภูมิของอสุ รกาย อสุ รกาย แปลว่า อมนุษย์ทีเป็ นศัตรู ต่อเทวดา อสุ รกายเป็ น หมู่สัตว์ทีมีความเป็ นอยูอ่ ย่างทุกข์ตรมไร้ความสนุกสนาน ไตรภูมิพระร่ วงแบ่งอสุ รกายออกเป็ น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ กาลกัญชกาอสุ รกาย มีร่างกายสู งใหญ่ ผอมแห้ง ตาเล็ก มีปากเท่ารู เข็ม อยูก่ ลางกระหม่อม เวลาจะกินอาหารต้องเอาหัวปั กลงดินเอาเท้าชีขึนฟ้ า ประเภทที 2 คือ ทิพพอสุ รกายเป็ นอสุ รกายทีมีร่างกายใหญ่โต มีทีอยูล่ ึกลงไปจากโลกมนุษย์ มีพระยาอสู รปกครอง อยู่ บ้านเมืองงดงามไปด้วยทองและมีเมืองใหญ่อีก 4 เมือง มีพระยาอสู รปกครองทุกเมือง ติรัจฉานติภูมิ คือ ภูมิของติรัจฉาน ติรัจฉาน แปลว่า ผูไ้ ปตามขวางหรื อตามแนวนอน ตรงกันข้ามกับคนซึ งไปตัวตรงดังนันสัตว์เดรัจฉานก็หมายถึงสัตว์ทีไปไหนมาไหนต้องควําหน้าอก ลงขนานกับพืน ติรัจฉานอาศัยอยู่บนโลกมนุ ษย์ เราสามารถมองเห็นติรัจฉานได้ดว้ ยตาเนื อ เช่น นก ช้าง ปลา ฯลฯ สัตว์เดรัจฉานจะมีความเป็ นอยู่ 3 ประการ คือ รู้สืบพันธุ์ รู้กิน รู้ตาย เรี ยกว่า กามสัญญา อาหารสัญญาและมรณะสัญญา ติรัจฉานเหล่านีแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ 1. อปทติรัจฉาน คือ พวกทีไม่มีเท้า เช่น งู ปลา เป็ นต้น 2. ทวิปติรัจฉาน คือ พวกทีมี 2 เท้า เช่น เป็ ด ไก่ เป็ นต้น 3. จตุปทติรัจฉาน คือ พวกทีมี 4 เท้า เช่น วัว ควาย เป็ นต้น 4. พหุปทติรัจฉาน คือ พวกทีมีเท้ามากกว่า 4 เท้าขึนไป เช่น ตะขาบ กิงกือ เป็ นต้น รู ป ภูมิ คื อ แดนของพรหมมี รูป แดนที ไม่มี เรื องของกามเข้า มาปน ผูท้ ี เกิ ดในแดนนี คื อ พรหม พรหมจะมีแต่เพศชายเท่านัน การจะเกิดเป็ นพรหมได้นนจะต้ ั องเจริ ญฌานสมาบัติ การจะไป เกิดในพรหมโลกชันใดนันแบ่งตามรู ปฌานทัง 4 ทีเจริ ญได้ ได้แก่ ปฐมฌานภูมิ ทุติยฌานภูมิ ตติยฌานภูมิและจตุตถฌานภูมิ ปฐมฌานภูมิเป็ นแดนสําหรับผูส้ ําเร็ จฌานขันปฐมภูมิ มีณานอย่างหยาบ อย่างกลางและ อย่างละเอียด มี 3 ภูมิ คือ 1. พรหมปาริ สัชชาภูมิ 2. พรหมปุโรหิ ตาภูมิ 3. มหาพรหมาภูมิ ทุติยฌานภูมิเป็ นแดนสําหรับผูส้ ําเร็ จฌานขันที 2 มีณานอย่างหยาบ อย่างกลางและอย่าง ละเอียด มี 3 ภูมิ คือ 1. ปริ ตตาภาภูมิ 2. อัปปมาณาภาภูมิ

49 3. อาภัสสราภูมิ ตติยฌานแดนเป็ นภูมิสาํ หรับผูส้ าํ เร็ จฌานขันที 3 มีอย่างหยาบ อย่างกลางและอย่างละเอียด มี 3 ภูมิ คือ 1. ปริ ตตสุ ภาภูมิ 2. อัปปมาณสุ ภาภูมิ 3. สุ ภกิณหาภูมิ จตุตถฌานภูมิเป็ นแดนสําหรับผูส้ ําเร็ จฌานขันที 4 มี อย่างหยาบ อย่างกลางและอย่าง ละเอียด มี 7 ภูมิ คือ 1. เวหัปผลาภูมิ 2. อสัญญีสัตตภูมิ 3. อวิหาภูมิ 4. อตัปปาภูมิ 5. สุ ทสั สาภูมิ 6. สุ ทสั สี ภูมิ 7. อกนิฏฐาภูมิ พรหมทัง 16 ชันนี เรี ยกว่า พรหมโลก 16 ชัน หรื อ โสฬสพรหม อรู ปภูมิ คือ ภูมิของพรหมทีมีจิตไม่มีรูปแต่มีแสงสว่างไสว การทีจะเกิ ดเป็ นอรู ปพรหม นันจะต้องเจริ ญอรู ปกรรมฐาน คื อ การเจริ ญภาวนาโดยไม่ยึดถื อรู ปมาเป็ นอารมณ์ อรู ปภูมิ แบ่ง ออกเป็ น 4 แดน ได้แก่ 1. อากาสานัญจายตนภูมิเป็ นภูมิของผูส้ าํ เร็ จอากาสานัญจายตนฌาน 2. วิญญาณัญจายตนภูมิเป็ นภูมิของผูส้ าํ เร็ จวิญญาณัญจายตนฌาน 3. อากิญจัญญายตนพรหมเป็ นภูมิของผูส้ าํ เร็ จอากิญจัญญายตนฌาน 4. เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมเป็ นภูมิของผูส้ าํ เร็ จเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน การจะได้ไปเกิดเป็ นอรู ปพรหมชันใดในอรู ปภูมินนขึ ั นอยูก่ บั ขันของฌานสมาบัติทีเจริ ญได้ และในขณะเป็ นอรู ปพรหมนันหากเจริ ญภาวนาจนได้ฌานทีสู งขึนก็จะได้ไปเกิดในอรู ปภูมิในชันที สู งขึนอีกด้วย การทีสัตว์จะไปเกิดในภูมิใดนันย่อมขึนอยูก่ บั ผลกรรมทีได้กระทําไว้ สัตว์จะต้องไปเกิด ในภูมิใดภูมิหนึ งในไตรภูมิ อันได้แก่ กามภูมิ 11 รู ปภูมิ 16 อรู ปภูมิ 4 สัตว์ทีไปเกิดในภูมิทงั 3 นี จะเป็ นการตายแล้วเกิดต่อเนืองกัน เรี ยกว่า การปฏิสนธิ การเกิดแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ 1. อัณฑชะ คือ เกิดแต่ไข่ ได้แก่ พวกสัตว์ทีเกิดจากไข่ เช่น งู ปลา นก ฯลฯ

50 2. ชลามพุชะ คือ เกิดแต่ปุ่มเปื อกและมีรกห่อหุม้ เช่น คน ช้าง ม้า วัว ควาย ฯลฯ 3. สังเสทชะ คือ เกิดแต่ใบไม้ละอองดอกบัวหญ้าเน่า เนือเน่าและเหงือไคล เช่น แมลง หนอน บุง้ ริ น ยุง ฯลฯ 4. อุปปาติกะ คือ การเกิดขึนเอง คือ พอเกิดก็โตเต็มที เช่น พรหม เทวดา สัตว์นรกฯลฯ สัตว์ทงหลายในไตรภู ั มิย่อมต้องเวียนว่ายตายเกิดไม่มีทีสิ นสุ ด ความสุ ขต่างๆเป็ นสิ งทีไม่ ยังยืน การเข้าถึงโลกุตตรภูมิหรื อนิพพานนันเป็ นหนทางทีจะทําให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ในภูมิทงสาม ั เรืองย่ อไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ การเกิ ดของมนุ ษย์เป็ นการเกิ ดแบบชลามพุช ะ คื อ การเกิ ดในครรภ์มารดา การเกิ ดของ มนุษย์เริ มจากการปฏิสนธิ ในครรภ์มารดา รู ปแรกทีเกิดจากการปฏิสนธิ เรี ยกว่า กลละ กลละมีขนาด เล็กมาก มีขนาดเพียงเศษ 1 ส่ วน 256 ของเส้นผม เมือครบ 7 วัน นับจากทีปฏิสนธิ ในครรภ์มารดา กลละจะมีขนาดใหญ่ขึน เรี ยกว่า อัมพุทะ เมือครบ 14 วันจะเป็ นชิ นเนือเรี ยกว่า เปสิ เมือครบ 21 วัน เป็ นก้อนเนื อแข็งดังไข่ไก่ เรี ยกว่า ฆนะ เมือครบ 28 วัน ก้อนฆนะจะมีหูดงอกออกมา 5 แห่ง เรี ยกว่า เบญจสาขาหู ด ก้อนหูดห้าแห่งนีเป็ นหัวก้อนหนึ ง อีกสองก้อนเป็ นแขนและอีกสองก้อน เป็ นขา เมือครบ 35 วัน ทารกในครรภ์จะมีฝ่ามือและนิ วมือ เมือครอบ 42 วันจะ มีขน เล็บมือ เล็บ เท้า มีร่างกายเป็ นมนุษย์ เมือครบ 50 วัน ท่อนล่างของร่ างกายจะสมบูรณ์ เมือครบ 84 วันท่อนบน ของร่ างกายสมบูรณ์ เมือครบ 184 วันหรื อประมาณ 6 เดือน ทารกในครรภ์จะนังกลางครรภ์มารดา หากทารกอยูใ่ นครรภ์มารดาได้ 6 เดือนแล้วคลอดจะไม่รอดชีวิต หากอยูใ่ นครรภ์มารดาได้ 7 เดือน แล้วคลอด แม้หากทารกรอดชีวติ มาได้ร่างกายก็จะไม่แข็งแรง ทารกทีเป็ นผูม้ าจากสวรรค์เมือคลอด ออกมานันจะหัวเราะเพราะจิตใจนันนึ กถึ งความสุ ขบนสวรรค์แต่หากทารกเป็ นผูม้ าจากนรกเมือ คลอดออกมาจะร้องไห้เพราะนึกถึงความทุกข์ในนรก บุตรทีเกิดมานันสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ได้แก่ อภิชาติบุตรเป็ นบุตรทีเฉลียว ฉลาด มีเรี ยวแรง มีรูปงาม มีทรัพย์ มียศ มีความดีงามเหนือกว่าบิดามารดา อนุชาติบุตรเป็ นบุตรที มีความฉลาด มีเรี ยวแรง มีรูปงาม มีทรัพย์ มียศ เสมอกับบิดามารดา อวชาติบุตรเป็ นบุตรทีด้อย กว่าบิดามารดาทุกประการ มนุ ษย์สามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท ตามการกระทํา ประเภทที 1 ได้แก่ คนนรก คือ ผูท้ ี ทํา บาปฆ่ า สั ต ว์ต ัด ชี วิต เมื อบาปกรรมตามทัน ต้อ งถู ก ตัด ตี น ตัด มื อ ได้รั บ ความทุ ก ข์ท รมาน ประเภทที 2 ได้แก่ คนเปรต คื อ ผูท้ ีไม่เคยทําบุญในชาติก่อนจึงเกิ ดมายากจน อดอยาก ขีริ วขีเหร่ ประเภทที 3 ได้แก่ คนดิรัจฉาน คือ ผูท้ ีไม่รู้จกั บาปบุญคุณโทษ มีจิตใจแข็งกระด้างไม่ปรนนิบตั ิบิดา

51 มารดา ทําบาปอยู่เสมอ ประเภทสุ ดที 4 ได้แก่ คนมนุ ษย์ คือ มนุษย์ทีรู้ จกั ผิดชอบชัวดี รู้จกั บาปบุญ กลัวและละอายต่อบาป ยําเกรงบิดามารดา รู้จกั คุณแก้วสามประการ หากแบ่งมนุษย์ตามทวีปทังสี ทีอยูล่ อ้ มรอบเขาพระสุ เมรุ จะสามารถแบ่งมนุษย์ออกได้เป็ น สี พวก ได้แก่ 4 พวก ได้แก่ 1.พวกที เกิ ดและอยู่ในชมพูท วีป ซึ งตังอยู่ใ นมหาสมุ ทรทางทิ ศ ใต้ของเขาพระสุ เมรุ เป็ น แผ่นดินกว้าง 10,000 โยชน์ มีสัณฐานดุจดังดุมเกวียน มนุษย์มี ใบหน้ารู ปไข่ไก่ดุจดังดุมเกวียน อายุ ของคนในชมพูท วีป นันมี อายุไม่แน่ นอนหากเป็ นผูท้ ี เป็ นคนดี มีศี ลธรรมก็จะมี อายุยืน หากขาด ศีลธรรมก็จะอายุสัน 2. พวกทีเกิดและอยูใ่ นบุรพวิเทหทวีปซึ งตังอยูใ่ นมหาสมุทรทางทิศตะวันออกของเขาพระ สุ เมรุ เป็ นแผ่นดิ นกว้าง 7,000 โยชน์ มีสัณฐานเป็ นรู ปแว่นทีกลม มีเกาะล้อมรอบเป็ นบริ วาร 500 เกาะ มี แ ม่ นําเล็ ก ใหญ่ มี เ มื อ งใหญ่ เ มื อ งน้ อ ย คนในทวี ป นี หน้ า กลมดังเดื อ นเพ็ญ ทุ ก คนไม่ เบียดเบียนกันไม่ทาํ ชัว เมือตายแล้วจึงได้ขึนสวรรค์ทุกคนทําให้คนในทวีปนี ไม่กลัวตายและผูท้ ี อาศัยในทวีปนี ทุกคนมีอายุ 100 ปี เท่ากัน 3.พวกทีเกิ ดและอยู่ในอมรโคยานทวีป ตังอยู่ในมหาสมุ ทรทางทิ ศตะวันตกของเขาพระ สุ เมรุ เป็ นแผ่นดินกว้าง 9,000 โยชน์ มีสัณฐานเป็ นรู ปพระจันทร์ ครึ งดวง มีเกาะเล็กเกาะน้อยเป็ น บริ วารอยูโ่ ดยรอบ คนในทวีปนีมีไม่เบียดเบียนกันไม่ทาํ ชัวเมือตายแล้วจึงได้ขึนสวรรค์ทุกคนทําให้ คนในทวีปนีไม่กลัวตายและผูท้ ีอาศัยในทวีปนี ทุกคนมีอายุ 400 ปี เท่ากัน 4. พวกทีเกิดและอยูใ่ นอุตตรกุรุทวีปตังอยูใ่ นมหาสมุทรทางทิศเหนื อของเขาพระสุ เมรุ เป็ น แผ่นดินกว้าง8,000โยชน์ มีสัณฐานเป็ นรู ปสี เหลียม มีภูเขาทองล้อมรอบ มีเกาะล้อมรอบ 500 เกาะ คนมีรูปหน้าสี มุมดังท่านแกล้งถากให้เป็ นสี เหลียมกว้างและรี เท่ากัน รู ปร่ างสมส่ วน คนทีอยู่ใน ทวีปนีรักษาศีลจึงทําให้แผ่นดินราบเรี ยบ ต้นไม้ต่างก็ออกดอกส่ งกลินหอมขจรขจายไปทัวและเป็ น แผ่นดินทีไม่มีโรคภัยเบียดเบียน ในแผ่นดินอุตตรกุรุทวีปมีตน้ กัลปพฤกษ์ตน้ หนึ งสู ง 100 โยชน์ กว้าง 100 โยชน์ ผูใ้ ดปารถนาแก้วแหวนเงินทองหรื อสิ งใดก็ไปยืนนึ กทีใต้ตน้ กัลปพฤกษ์นี หญิง ชายมีความงามดังหนุ่มสาว ทุกคนไม่เบียดเบียนกันไม่ทาํ ชัวเมือตายแล้วจึงได้ขึนสวรรค์ทุกคนทํา ให้คนในทวีปนีไม่กลัวตายและผูท้ ีอาศัยในทวีปนี ทุกคนมีอายุ 1,000 ปี เท่ากัน มนุษย์ทีมีบุญบารมีทีปรากฏเป็ นตัวอย่างทีมีการกล่าวถึงในเรื องไตรภูมิพระร่ วง ได้แก่ พระยาจักรพรรดิราช พระเจ้าอโศกมหาราชและโชติกเศรษฐี พระยาจักรพรรดิราช พระยาจักรพรรดิราชเป็ นพระราชาทียิงใหญ่ยิงกว่าพระราชาทังปวง พระยาจักรพรรดิราช เมือชาติ ก่อนเป็ นคนธรรมดาแต่ทาํ บุญไว้มากเมือตายจึงไปเกิดในสวรรค์ พระยาจักรพรรดิ ราชมี

52 แก้ว 7 ประการ เกิดคู่บารมีมาด้วย ได้แก่ จักรแก้วหรื อจักรรัตน์เป็ นแก้วทีจมอยูใ่ นมหาสมุทรลึกได้ 84,000 โยชน์ เมือเกิดจักรพรรดิราชขึนในโลก จักรแก้วซึ งเป็ นคู่บุญบารมีและจมอยูใ่ นมหาสมุทรก็ จะผุดขึนมาจากท้องทะเล พุ่งขึนไปในอากาศเกิดเป็ นแสงส่ องอันงดงามมานอบน้อม เมือพระยา ผูป้ กครองเมืองนันทราบว่าพระองค์จะได้เป็ นพระยาจักรพรรดิราชปราบ ทัวจักรวาลเพราะพระองค์ ทรงมีจกั รแก้ว พระยาจักรพรรดิราชก็จะเสด็จปราบทวีปทัง 4 แล้วประทานโอวาทให้ประชาชนใน ทวีปเหล่านันประพฤติและตังอยูใ่ นคุณงามความดีแล้วจึงเสด็จกลับนคร ช้างแก้วหรื อหัสดีรัตน์คือ แก้วอย่างทีสอง ซึ งเป็ นช้างทีมีความงดงาม ตัวเป็ นสี ขาว ตีนและงวงสี แดง เหาะได้รวดเร็ ว ม้าแก้ว หรื ออัศวรัตน์คือแก้วอย่างทีสาม เป็ นม้าทีมีขนงามดังสี เมฆหมอก กีบเท้าและหน้าผากแดงดังนําครัง เหาะได้รวดเร็ วเช่นเดียวกับช้างแก้ว ดวงแก้วหรื อมณี รัตน์ คือแก้วอย่างทีสี เป็ นแก้วทีมีขนาดใหญ่ เมือมืดแก้วนีจะส่ องสว่างให้เห็นทุกหนแห่งดังเช่นเวลากลางวัน นางแก้วหรื ออิตถีรัตน์คือแก้วอย่าง ทีห้าเป็ นมเหสี คู่บารมีของพระยาจักรพรรดิราช นางแก้วเป็ นหญิงทีได้ทาํ บุญมาแต่ชาติก่อนและมา เกิดในแผ่นดินของพระยาจักรพรรดิ ราชในตระกูลกษัตริ ย ์ นางแก้วเป็ นหญิงทีมีลกั ษณะงดงามไป ทุกส่ วน ทําหน้าทีเป็ นมเหสี ทีดีของพระยาจักรพรรดิราช ขุนคลังแก้วคือแก้วอย่างทีหกทีเกิดขึนเพือ บุญแห่ งพระยาจักรพรรดิราช ขุนคลังแก้วเป็ นมหาเศรษฐี เมือเวลาพระยาจักรพรรดิราชต้องการ ทรัพย์สินสิ งใดขุนคลังก็จะนํามาถวาย ลูกแก้วหรื อขุนพลแก้วคือ แก้วประการสุ ดท้ายของพระยา จักรพรรดิราช ลูกแก้วเป็ นโอรสของพระยาจักรพรรดิราช มีรูปโฉมงดงาม กล้าหาญ เฉลียวฉลาด สามารถบริ หารกิจการบ้านเมืองได้ทุกประการ พระเจ้าอโศกมหาราช พระเจ้า อโศกมหาราช (จุ ล จัก รพรรดิ ) เป็ นกษัต ริ ย ์ที มี บุ ญ บารมี เ ที ย บเท่ า กับ พระยา จักรพรรดิราช จุลจักรพรรดิ เป็ นกษัตริ ยท์ ีมีบารมี นอกจากได้เสวยสมบัติในโลกมนุษย์แล้วยังได้ เสวยทิพย์สมบัติในสวรรค์ชนจาตุ ั มหาราชิกาและชันดาวดึงส์ดว้ ย โชติกเศรษฐี โชติก เศรษฐี เป็ นสามัญชนเกิ ด ในสมัย พระเจ้าพิ ม พิส าร เป็ นผูม้ ี บุญบารมีม าก มี ทรั พ ย์ สมบัติและข้าทาสบริ วารมากเทียบได้กบั พระราชาผูป้ ระเสริ ฐ โชติกเศรษฐี อยูใ่ นเมืองราชคฤห์ มี ปราสาทสู ง 7 ชัน ตกแต่งด้วยแก้ว 7 ประการ สมบัติมากมายชาวเมืองจึงทูลให้พระเจ้าพิมพิสารทรง ทราบ พระเจ้าพิม พิส ารจึ งทรงพระราชทานเศวตฉัตรและสถาปนาให้เป็ นเศรษฐี เมื องราชคฤห์ ต่อมา โชติกเศรษฐีได้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วบรรลุเป็ นพระอรหันต์ มีสมณฉายาว่าพระ โชติกเถระ การทีมนุษย์ทีเกิดมาทังหลายนันมีความแตกต่างกัน บางคนรํารวย บางคนยากจนเป็ นเพราะ เคยทําบุญต่างกันไว้ บุญในกามภูมิมีทงหมด ั 17,280 ประการ (คณะทํางานโครงการวรรณกรรม

53 อาเซี ยน 2528 : 134) บุญจําพวกแรกมีทงหมด ั 8 ประการ เรี ยกว่า มหากุศล 8 ได้แก่ ประการแรก คือ การรู้จกั บุญและบาป ทําบุญด้วยความยินดี ประการทีสอง คือ การรู้จกั บุญและบาปแต่ไม่ทาํ บุญ เมือมีคนชักชวนจึงทําบุญด้วยยินดี ประการทีสาม การไม่รู้จกั บุญและบาป ไม่มีความยินดีในการทํา บาปแต่ยินดีในการทําบุญ ประการทีสี คือการไม่รู้จกั บุญและบาปคนมาชวนทําบุญจึงทําบุญด้วย ความยินดี ประการทีห้า คือ การรู้จกั บุญและบาปและทําบุญด้วยความนึกคิดของตนเอง ประการที หก คือ การรู ้จกั บุญและบาป ไม่ปรารถนาทําบุญด้วยตนเอง เมือมีคนมาชักชวนจึงทําบุญ ประการที เจ็ด คือการไม่รู้จกั บุญและบาป ไม่มียนิ ดีในการทําบาปแต่ได้ทาํ บุญด้วยความรู้สึกนึกคิดของตนเอง ประการทีแปด คือการไม่รู้จกั บุญและบาป ไม่ยนิ ดีในการทําบุญ เมือเห็นผูอ้ ืนทําบุญก็ทาํ ตาม บุญอีกพวกหนึงได้แก่ บุญกิริยาวัตถุ 10 ได้แก่ ประการแรกคือ การให้ทาน ประการทีสอง คือ การรักษาศีล ประการทีสาม คือ การภาวนา ประการทีสี คือ การอุทิศบุญทีได้บาํ เพ็ญแก่เทวดา มนุ ษย์และสัตว์ทีมีคุณแก่ตน ประการทีห้า คือ การอนุ โมทนาหรื อการยินดีดว้ ยทานทีผูอ้ ืนกระทํา และมี ใ จยินดี ศ รั ท ธาต่ อ ทานนัน ประการที หก คื อ การปรนนิ บ ตั ิ รับ ใช้บิ ดามารดา ครู อ าจารย์ ประการทีเจ็ด คือ การเคารพยําเกรงบิดามารดา ผูอ้ าวุโส ครู อาจารย์ ประการทีแปด คือ การเทศนา สั งสอนบุ ค คลอื น ประการที เก้า คื อ การหมันฟั ง พระธรรมเทศนา หากไม่ เข้าใจก็ ถ ามผูร้ ู้ แ ละ ประการทีสิ บ คือ มีความเห็นถูกต้องตามทํานองครองธรรม เชือถือในพระรัตนตรัย บิดามารดา ครู อาจารย์ ผูอ้ าวุโส ผูอ้ ุปการะเลียงดูตนด้วยใจสุ จริ ต บุญกิ ริยาวัตถุ สิบประการดังกล่ าวแล้วนี ประกอบด้วยอารมณ์ 6 อย่างเป็ นเหตุให้ทาํ บุญ ได้แก่ รู ปะ คือ การเห็ นรู ปด้วยตา สัททะ คือ การได้ยินเสี ยงไพเราะด้วยหู คันธะ คือ การได้กลิน อันหอมด้วยจมูก รสะ คื อ การได้รับประทานอาหารสะอาดรู้รสอันโอชาด้วยลิ น โผฎฐัพพะ คือ การสัมผัสทางกายและธรรมหรื อธรรมารมณ์ คือ การคิดคํานึงในทางทีชอบทางธรรม อารมณ์ 6 มีบุญเป็ นเหตุจูงใจให้ทาํ บุญอันยิงใหญ่ คือ อธิ บดี 4 หรื อ อิทธิ บาท 4 คือ ฉันทะ คือ มีความพอใจตังมันแล้วจึงทําบุญ วิริยะ คือ มีความขวนขวายในบุญ จิตตะ คือ มีความเอาใจใส่ ในการทําบุญและ วิมงั สา คือ มีความพินิจพิจารณาในบุญ การทําบุญอันยิงใหญ่ 4 ประการ คือ อธิ บดี 4 ทีกล่าวมานันแต่ละอย่างเกิดกรรม 3 หรื อการ กระทํา 3 ทาง ได้แก่ ทางกาย (กายกรรม) วาจา (วจีกรรม)และใจ (มโนกรรม) การกระทํา 3 ทาง ประกอบด้วยการทําบุญด้วยความตังใจจริ ง 3 ประการ ได้แก่ ความตังใจอย่างตํา อย่างกลางและ อย่างแรงกล้า บุญทัง 17,820 ในกามภูมิ ได้จากการนํามหากุศล 8 ตังแล้วคูณหรื อเพิมพูนด้วยบุญกิ ริยา วัตถุ 10 คูณด้วยอารมณ์ 6 คูณด้วยอธิบดี 4 (อิทธิบาท 4) คูณด้วยกรรม 3 และคูณด้วยความตังใจจริ ง 3 ประการ ก็จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 17,820

54 5. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 5.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน นักการศึกษาด้านเทคโนโลยีและสื อการเรี ยนการสอนหลายท่านได้ให้ความหมายของ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหรื อ CAI (Computer Assisted Instruction) เอาไว้หลากหลาย ดังนี เอสเทอร์ อาร์ สเตลเบอร์ก ( Esther R. Steinberg 1991 : 2-3) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วย สอนเป็ นการสื อสารระหว่างผูเ้ รี ยนและระบบคอมพิวเตอร์ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ จะประกอบด้วย คําถาม การตอบสนองและการให้ขอ้ มูลย้อนกลับ ฟอร์เซียร์ (Forcier 1996 : 9) ได้กล่าวว่า บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การนําเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ลักษณะของบทเรี ยนจะเป็ นการโต้ตอบกัน ระหว่างนักเรี ยนกับคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์ จะทําหน้าทีเสนอเนื อหาต่างๆให้นกั เรี ยนได้ ศึกษาจนชํานาญและนักเรี ยนสามารถทีจะเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง บูรณะ สมชัย (2542:14) ได้ใ ห้ค วามหมายของ คอมพิ ว เตอร์ ช่ วยสอนโดยสรุ ป ว่า เป็ น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยทําหน้าทีเป็ นสื อการเรี ยนการสอนเพือให้ผเู้ รี ยนเข้าใจง่ายใน เวลาอันจํากัดและตรงตามวัตถุประสงค์ของบทเรี ยนนัน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2542 : 7) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนว่า บทเรี ยนคอมพิ วเตอร์ ช่ วยสอนเป็ นสื อการเรี ย นการสอนคอมพิ วเตอร์ รู ปแบบหนึงซึ งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ ในการนําเสนอสื อประสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ ง กราฟิ ก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลือนไหว วีดีทศั น์ และเสี ยง เพือ ถ่ายทอดเนื อหาบทเรี ยนหรื อองค์ความรู ้ในลักษณะทีใกล้เคียงกับการสอนจริ งใน ห้องเรี ยนมากทีสุ ดเพือดึงดูดความสนใจและกระตุน้ ผูเ้ รี ยนให้เกิ ดความต้องการที จะเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้จากการมีปฏิสมั พันธ์หรื อการโต้ตอบ พร้อมการได้รับข้อมูล ย้อนกลับ

จีรารัตน์ ชิรเวทย์ (2542 : 268) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นระบบการเรี ยนการสอนโดยใช้โปรแกรมชนิดหนึง ซึ งเกิดจากการมีปฎิสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับคอมพิวเตอร์ โดยผูเ้ รี ยนจะศึกษาเนือหา

55 บทเรี ยนผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ เนือหาอาจแสดงในรู ปแบบของ ตัวอักษร กราฟิ ก ภาพเคลือไหว เสี ยง เป็ นต้น หลังจากแสดงเนือหาในหัวเรื องหนึงคอมพิวเตอร์จะเสนอ แบบฝึ กหัดให้ผเู ้ รี ยนทบทวนความเข้าใจและสนองตอบต่อสิ งนันผ่านทางแป้ นพิมพ์ หลังจากนันคอมพิวเตอร์จะให้ขอ้ มูลย้อนกลับเพือให้ผเู ้ รี ยนทราบว่ากิจกรรมทีผูเ้ รี ยน ทําไปนันถูกหรื อผิดแล้วคอมพิวเตอร์จะเสนอเนือหากรอบต่อไป

กิดานันท์ มลิทอง (2543 : 242) ได้ให้ความหมายของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้วา่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นสื อการสอนรู ปแบบหนึงซึ งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ ใน การนําสื อประสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ ง ภาพเคลือนไหว กราฟิ ก แผนภูมิ กราฟ วีดิทศั น์และ เสี ยงเพือถ่ายทอดเนือหาบทเรี ยนหรื อองค์ความรู้ในลักษณะทีใกล้เคียงกับการสอนในห้องเรี ยนมาก ทีสุ ด บุญเกือ ควรหาเวช (2543 : 65) ให้ความหมายของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไว้วา่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง วิธีการสอนรายบุคคล โดยอาศัยความ สามารถของเครื องคอมพิวเตอร์ทีจะจัดหาประสบการณ์ทีมีความสัมพันธ์กนั มี การแสดงเนือหาตามลําดับทีต่างกันด้วยบทเรี ยนโปรแกรมทีเตรี ยมไว้อย่างเหมาะสม บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจึงเป็ นเครื องมือช่วยสอนอย่างหนึงทีนักเรี ยนเรี ยน ด้วยตนเองเป็ นผูท้ ีจะต้องปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ทีส่ งมาทางจอภาพ นักเรี ยนจะตอบ คําถามทางแป้ นพิมพ์แสดงออกมาทางจอภาพ มีทงรู ั ปภาพและตัวหนังสื อหรื อบางที อาจใช้ร่วมกันกับอุปกรณ์อย่างอืนด้วย เช่น สไลด์ เทป วีดิทศั น์ เป็ นต้น

วุฒิชยั ประสารสอย (2543 : 10) ได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนว่า คํ า ว่ า “บทเรี ยนคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน”โดยทั วไปมั ก จะเรี ยกว่ า “คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน” หรื อ “บทเรี ยนซี เอไอ” (Computer – Assisted Instruction; Computer – Aid Instruction : CAI ) มีความหมายว่าเป็ นการจัดโปรแกรมเพือ การเรี ยนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นสื อช่วยถ่ายโยงเนื อหาความรู ้ไปสู่ ผเู ้ รี ยน และปัจจุบนั ได้มีการบัญญัติศพั ท์ทีใช้เรี ยกสื อชนิดนีว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

56 จากความหมายข้างต้น สรุ ปได้ว่าคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน คื อ การนําคอมพิวเตอร์ มาเป็ น เครื องช่วยสอนโดยคอมพิวเตอร์ จะถูกบรรจุคาํ สอน เนื อหาต่างๆและแบบฝึ กหัดลงไป นักเรี ยน สามารถศึกษาและทบทวนเนือหาได้ดว้ ยตนเอง เป็ นการเรี ยนรู้ทีตอบสนองศักยภาพและ ความต้องการของผูเ้ รี ยนแต่ละคน 5.2 องค์ ประกอบของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กิดานันท์ มลิทอง (2543 : 45 – 46) ได้กล่าวว่าการสร้างและการนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมาใช้จะต้องมีองค์ประกอบพืนฐานดังนี 1. Hardware คือเครื องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ ได้แก่ อุปกรณ์สาํ หรับนํา ข้อมูลเข้า (Input device) เช่น keyboard , mouse , graphics , tablet , touch screen เป็ นต้น 1.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central processing unit : CPU) ทําหน้าทีสําคัญ ทีสุ ดทําหน้าทีคํานวณและควบคุมระบบทังหมด 1.2 อุปกรณ์แสดงผล (Output device) เช่นจอภาพ (Monitor) ข้อมูลพิมพ์ออกทาง เครื องพิมพ์ (Printer) เครื องฉายสไลด์ เครื องเล่นวีดีทศั น์ เครื องเล่นเทป แผงวงจรสร้างเสี ยงพูด (Voice card) 2. Software คือ โปรแกรมทีควบคุมการทํางานของเครื องคอมพิวเตอร์ ให้แสดงบทเรี ยนที จอภาพ หรื ออุปกรณ์แสดงผลลัพธ์อืนๆรวมทังควบคุมการโต้ตอบสื อสารกับผูใ้ ช้บทเรี ยน รวม คะแนน ประเมินผล เก็บบันทึกข้อมูลการใช้ของผูเ้ รี ยน Software จะเขียนขึนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ตามความถนัดของผูเ้ ขียน เช่น ภาษาเบสิ ก ภาษาปาสคาล เป็ นต้น นอกจากนียังมีโปรแกรมช่วย สร้างบทเรี ยน (Authoring software) เช่นโปรแกรม PC Pilot, PC Storyboard, Fantavision, Thaishow, Toolbook และ Authorware เป็ นต้น 3 .Courseware คือ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนซึ งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชาและผล การเรี ยน ช่ วยให้รู้ว่าจะจัดรู ปแบบบทเรี ยนอย่างไรจึงจะบรรลุวตั ถุประสงค์นนและจะประเมิ ั นผล อย่างไรในแต่ละวัตถุประสงค์และยังแบ่งเป็ นระดับของการเรี ยนรู้ ว่าต้องการให้ผูเ้ รี ยนบรรลุ ใน ระดับใดจาก ขันจํา (Recall) ขันเข้าใจ (Comprehension) ขันประยุกต์ใช้(Application) ขันวิเคราะห์ (Analysis) ขันสังเคราะห์ (Synthesis) และขันประเมินค่า (Evaluation) วัตถุประสงค์ทงั 6 ระดับนี เป็ นวัตถุประสงค์การเรี ยนรู้ดา้ นพุทธพิสัย (Cognitive Domain) 4. People ware คือบุคคลทีมีส่วนในการสร้าง CAI ซึ งต้องมีอย่างน้อย 2 ประเภท คือ ผูเ้ ขียนโปรแกรมและครู ผเู ้ ขียนเนือหาวิชา ในบางครังผูเ้ ขียนโปรแกรมและครู ผเู้ ขียนเนื อหาวิชาอาจ เป็ นบุคคลเดียวกันก็ได้

57 ถนอมพร เลาจรัสแสง (2541 ข : 45–49) ได้แบ่งลักษณะองค์ประกอบของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ ดังนี 1. เนื อหาสาระ (Information) หมายถึง เนือหาของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ทีใช้ทาํ ให้ผเู้ รี ยน เกิดการเรี ยนรู ้ อาจเป็ นการนําเสนอเนือหาแบบทางตรงหรื อทางอ้อมก็ได้ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการ ให้โอกาสผูเ้ รี ยนในการฝึ กทักษะต่างๆ เช่ น ทักษะของการอ่าน การจําและทําความเข้าใจเนื อหา ทักษะการฟัง การเขียน การคิดคํานวณ เป็ นบทเรี ยนประเภทสอน (Tutorial) แบบฝึ กหัด (Drill & Practic) แบบทดสอบ (Test) เกม(Game) หรื อสถานการณ์จาํ ลอง (Simulation) โดยออกแบบเพือให้ ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะการคิดหรื อการสํารวจสิ งต่าง ๆ รอบตัว เพือเป็ นการสร้างบรรยากาศ การเรี ยนรู้ที สนุกสนาน เพลิดเพลินและจูงใจให้มีความต้องการทีจะเรี ยนมากขึน 2. ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) คือ การโต้ตอบกันระหว่างผูเ้ รี ยนกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ การเรี ยนรู้จะมีประสิ ทธิภาพมากขึนเมือมนุ ษย์มีปฏิสัมพันธ์โดยเฉพาะปฏิสัมพันธ์กบั ผูส้ อน ดังนัน ผูส้ ร้ า งบทเรี ย นต้อ งออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นที ก่ อให้เ กิ ดปฏิ สั ม พัน ธ์ ที มี ค วามเกี ยวเนื องกับ บทเรี ยน มีความสมําเสมอทังบทเรี ยน และเอืออํานวยให้เกิดการเรี ยนรู้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) หมายถึ ง บุคคลแต่ละบุคคลมีความ แตกต่างกันในการเรี ยนรู ้ อาจเกิ ดจาก บุคลิ กภาพ สติปัญญา ความสนใจ พืนฐานความรู้ ฯลฯ ที แตกต่ า งกัน ไป ดัง นัน บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนที ดี ต้อ งออกแบบในลัก ษณะที สามารถ ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากทีสุ ดโดยให้ผเู้ รี ยนมีโอกาสควบคุมการเรี ยนรู้ของ ตนเอง ซึ งสามารถทําได้หลายลักษณะ ได้แก่ 3.1 การควบคุ มเนื อหา การเลือกทีจะเรี ยนส่ วนใดส่ วนหนึ งหรื อจะข้ามส่ วนใด ส่ วนหนึงการออกจากบทเรี ยนหรื อย้อนกลับ มาเรี ยนในส่ วนทียังไม่ได้เรี ยน เช่น มีเมนู หรื อรายการ ทีแยกเนือหาตามหัวข้ออย่างชัดเจน หรื อปุ่ มควบคุมต่างๆในการสื บไปในบทเรี ยน 3.2 การควบคุ มลําดับของการเรี ยน ส่ วนใดก่อนส่ วนใดหลังหรื อสร้างลําดับการ เรี ยนด้วยตนเอง เช่นลักษณะการเรี ยนเนือหาแบบโยงใย หรื อ Hypermedia ซึ งผูเ้ รี ยนสามารถเลือก ข้อมูลทีต้องการเรี ยนตามความสนใจ ตามความถนัดหรื อตามพืนฐานความรู้ของตนเอง 3.3 การควบคุ มการฝึ กปฏิบตั ิหรื อการทดสอบ ต้องการทีจะทําหรื อไม่มากน้อย เพียงใดเช่น มีปุ่มควบคุมทีจัดไว้ทุกหน้าทีจําเป็ น ได้แก่ ปุ่ มเลิก ปุ่ มกลับไปหน้าเดิม นอกจากนี จีรารัตน์ ชิรเวทย์ (2542 : 268-270) ยังกล่าวถึงองค์ประกอบทัวไปของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนว่าต้องประกอบด้วย 1. ข้อความ (Text) คือ ตัวอักษร ตัวเลข หรื อ เครื องหมายวรรคตอนทีพิมพ์ดว้ ยแป้ นพิมพ์มี ความหลากหลายของแบบ (Style) ตัวพิมพ์ (Font) ขนาด (Size) และสี (Color) รู ปแบบของตัวอักษร

58 แต่ละแบบสามารถส่ งเสริ มการแสดงข้อความ ขณะทีตัวอักษรรู ปแบบหนึงมีประสิ ทธิภาพในการใช้ เป็ นหัวเรื อง แต่ตวั อัก ษรอี ก รู ป แบบหนึ งจะมีป ระสิ ท ธิ ภาพในการอธิ บ ายเนื อหาเพราะอ่า นง่ า ย ชัดเจนและลดความเครี ยดของสายตาได้ ส่ วนเรื องของขนาด ตัวอักษรช่วยในการแบ่งหัวเรื องและ เนือหาออกจากกันอย่างชัดเจน 2. ภาพนิง (Still Picture) หมายถึง ภาพถ่ายและภาพลายเส้น ภาพนิงอาจมีขนาดใหญ่เต็มจอ หรื อเล็กกว่าก็ได้ เป็ นภาพขาวดํา ภาพสี หรื อเป็ นภาพ 2 มิติก็ได้ขึนอยูก่ บั คุณสมบัติของจอและ ความสามารถของเครื องคอมพิวเตอร์ ทีมีมนุษย์โดยทัวไปมีความถนัดการรับรู้ภาพ ดังนัน ภาพจึงมี อิ ท ธิ พ ลอย่า งมากในการนํา เสนอข้อ มู ล การแสดงผลบนหน้า จอคอมพิ ว เตอร์ ภาพนิ งจึ ง เป็ น องค์ประกอบทีสําคัญและจําเป็ นมาก ในการสร้างบทเรี ยนคอมพิ วเตอร์ ช่วยสอน บางโปรแกรมมี การสะสมภาพ กราฟิ ก ผูใ้ ช้สามารถเรี ยกมาใช้ได้ แต่ภาพนิงจะเปลืองหน่วยความจํามากกว่าข้อมูล ทีเป็ นตัวอักษรหลายเท่า 3. ภาพเคลือนไหว (Animated Picture) เป็ นสิ งทีส่ งเสริ มการเรี ยนรู้เกียวกับการเคลือนที เคลือนไหวในสิ งทียากแก่การอธิ บายด้วยภาพเพียงภาพเดียวหรื อหลายภาพ ภาพเคลือนไหวเป็ นสิ ง ทีช่วยดึงดูดความสนใจของผูเ้ รี ยน ไม่วา่ ภาพเคลือนไหว (Animation) ทีเปลียนตําแหน่งและรู ปทรง ของภาพหรื อการเคลือนที (Moving) ทีเปลี ยนเฉพาะตําแหน่งหน้าจอ แต่ไม่ได้เปลียนรู ปทรงของ ภาพ 4. เสี ยง (Sound) เสี ยงทีใช้ในคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมี 3 ชนิด คือ เสี ยง (Voice) ได้แก่ เสี ยง บรรยายเสี ยงบทสนทนาทีใช้ประกอบให้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เสี ยงดนตรี (Music) คือ เสี ยงเพลงหรื อเสี ยงทํานองดนตรี ต่างๆ เสี ยงพิเศษต่างๆ (Sound Effect) คือ เสี ยงประกอบอืนๆ เช่น เสี ยงเครื องบิน เสี ยงปรบมือ ฯลฯ เสี ยงบางเสี ยงสามารถช่วยให้ผเู้ รี ยนมีความเข้าใจเพิมมากขึน เช่น เสี ยงของสัตว์ต่างๆไม่สามารถทีจะอธิ บายด้วยตัวอักษรหรื อภาพประกอบชนิดต่าง ๆได้ 5. ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Links) หมายถึง ผูเ้ รี ยนใช้เมาส์ ชีแล้วกดทีส่ วนใดส่ วนหนึงของ หน้า เช่น ทีปุ่ ม ภาพนิ ง ภาพเคลือนไหวและบนตัวอักษร เป็ นต้น แล้วทําให้เกิดการตอบสนองใน ลักษณะใดลักษณะหนึง ตัวอย่างเช่น ผูเ้ รี ยนกดปุ่ มในบริ เวณทีมีเนือหาบนหน้าจอทีมีคาํ ว่าเสี ยงก็จะ ได้ยนิ เสี ยงร้อง หากกดปุ่ มบริ เวณภาพนิงก็จะได้ชมภาพการเคลือนไหวการปฏิสัมพันธ์นีเมือรวมเข้า กับข้อมูลทีโปรแกรมเชื อมโยงเรี ยกว่า Hypermedia หรื อเรี ยกเฉพาะเจาะจงว่า Hypertext หรื อ Hotword Hypergraphics & Hypersound ตามแต่ชนิ ดของข้อมูลทีโปรแกรมนันเชื อมโยง เช่ น Hypertext หรื อ Hotword จะมีขอ้ มูลอธิบายเพิมเติมเป็ นตัวอักษร ส่ วน Hypergraphic จะแสดงข้อมูล ทีอธิบายเพิมเติมเป็ นภาพ

59 องค์ประกอบส่ วนต่างๆของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนล้วนแต่มีความสําคัญทีทําให้ ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ ทีดี ในการเลือกใช้องค์ประกอบต่างๆย่อมมีผลต่อการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนทังสิ น ดัง นัน ในการเลื อ กใช้อ งค์ ป ระกอบต่ า งๆจึ ง ควรเลื อ กให้เ หมาะสมและพยายามให้ บ ทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีปฏิสัมพันธ์กบั ผูเ้ รี ยนมากทีสุ ด 5.3 ข้ อดีของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (2538 : 22) ทรงแสดงปาฐกถาถึงข้อดี ของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ไว้ดงั นี การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในฐานสื อการเรี ยนการสอนนันมีขอ้ ดี คือ ช่วยให้ผเู ้ รี ยน สามารถย้อนกลับเพือทบทวนบทเรี ยนหากไม่เข้าใจ และสามารถกํา หนเวลาเรี ยนของตนเองได้ นอกจากนี ยังสามารถเก็บข้อมูลการเรี ยน ของผูเ้ รี ยนแต่ ละคนไว้ดว้ ยเพือการปรับปรุ งแก้ไขในภายหลัง และทีสําคัญอีกประการหนึ งก็คือ มี การโต้ตอบทันทีระหว่างผูเ้ รี ยนกับคอมพิวเตอร์ ซึงเปรี ยบเสมือนครู ผสู ้ อน ช่วยให้ การเรี ยนรู ้ได้ผลมากขึน

วิชุดา รัตนเพียร สุ กรี รอดโพธิทอง และ อรจรี ย ์ ณ ตะกัวทุ่ง (2540: 16-17) ถนอมพร ตันพิพฒั น์ (2539 : 7-8) บุญชม ศรี สะอาด (2537 : 123-145) และวิไล กัลยาณวัจน์(2541:32-36) ได้กล่าวถึงข้อดีของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสําหรับผูเ้ รี ยนและครู ไว้สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี ข้ อดีสําหรับผู้เรียน 1. ผูเ้ รี ย นสามารถเรี ย นได้อ ย่า งเป็ นอิ ส ระ ผูเ้ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ต ามสติ ปั ญ ญาและ ความสามารถของตน ก้าวหน้าไปตามอัตราการเรี ยนรู้ของตนเองผูเ้ รี ยนทีมีอตั ราการเรี ยนรู้เร็ วก็ไม่ ต้องรอคนอืนด้วยความเบือหน่าย รําคาญ ผูเ้ รี ยนทีมีเรี ยนรู้ชา้ ก็ไม่ตอ้ งประสบกับปั ญหาเรี ยนไม่ทนั เพือน ไม่ตอ้ งกังวลต่อความรู ้สึกของคนอืนๆ เรี ยนไปได้ตามความสามารถของตนโดยสะดวกอย่าง ช้าๆโดยไม่ตอ้ งอายผูอ้ ืนและไม่ตอ้ งอายเครื องคอมพิวเตอร์ เมือตอบคําถามผิด บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามความถนัดและความสามารถของตนโดยไม่ตอ้ งกังวลใจ ผูเ้ รี ยนจึงเรี ยนรู ้ดว้ ยความรู ้สึกสบายใจ ไม่รู้สึกกดดันขณะเรี ยนหากเรี ยนรู้ไม่ทนั เพือน จึงส่ งผลทํา ให้การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนมีประสิ ทธิภาพสู งขึน 2. มีการให้ผลข้อมูลย้อนกลับทันทีดว้ ย ภาพ เสี ยง สี สันทีสวยงามทําให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความ สนุกสนาน ตืนเต้น ไม่เบือหน่ายต่อบทเรี ยน

60 3. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนได้ดีและรวดเร็ วกว่าการเรี ยนปกติ 4. สามารถประเมินผลการเรี ยนรู้ได้ทนั ทีทาํ ให้ผเู้ รี ยนได้รับข้อมู ลสะท้อนกลับทันทีซึงเป็ น การยําความเข้าใจและการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน 5. ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนคิดอย่างมีเหตุผล 6. ฝึ กนิสัยความรับผิดชอบให้ผเู้ รี ยน เนืองจากเป็ นการศึกษารายบุคคล ผูเ้ รี ยนต้อง รับผิดชอบการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง 7. ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนอย่างเต็มที 8. ผูเ้ รี ยนเลือกบทเรี ยนได้หลายแบบ ไม่ทาํ ให้เกิดความเบือหน่าย 9. สร้างแรงจูงใจให้แก่ผเู ้ รี ยน 10. ผูเ้ รี ย นสามารถเลื อกเวลาเรี ย นได้ต ามที ตนต้องการไม่ จาํ เป็ นที จะต้องกําหนดเวลา ตายตัว 11. ในบทเรี ยนทีสร้างขึนมาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยกบทเรี ยนทีมีความ เหมาะสมกับความต้องการและสอดคล้องกับระดับความสามารถของตน คอมพิวเตอร์ จะจดจํา คําตอบของผูเ้ รี ยน ให้คะแนนคําตอบ แล้วจัดให้ได้บทเรี ยนทีเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนคนนัน 12. สามารถใช้เทคนิคทีดึงดูดความสนใจได้หลายๆเทคนิคอย่างมีประสิ ทธิ ภาพไม่วา่ จะใช้ เทคนิ คเดียว หรื อหลายเทคนิ คร่ วมกัน เช่น การแสดงด้วยเส้นกราฟ ดนตรี การใช้ภาพเคลือนไหว เป็ นต้น 13. สามารถกระทํากิจกรรมทีซับซ้อน ลองสถานการณ์ ทําให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกทดลองกับข้อมูล หลายชนิด แก้ปัญหาทีซับซ้อนได้จึงช่วยให้เกิดการเรี ยนรู้อย่างกว้างขวาง 14. เหมาะสําหรับการสอนทักษะทีเป็ นงานเสี ยงอันตรายในระยะต้นๆของการฝึ กทักษะนัน เช่น การควบคุมการจราจร การขับเครื องบิน เป็ นต้น 15. เหมาะสมสําหรับการเรี ยนรู้ทีต้องการสิ งแวดล้อมทีไม่มีชีวติ จริ ง เช่น สภาวะไร้นาหนั ํ ก ความเฉือย ซึงสามารถใช้การจําลองสถานการณ์ เป็ นต้น 16. ความสามารถในการเก็ บ ข้อ มูล ของเครื องคอมพิ วเตอร์ ส ามารถทํา ให้นํา ไปใช้ใ น ลักษณะของการศึกษารายบุคคลได้เป็ นอย่างดี โดยสามารถกําหนดบทเรี ยนให้ผเู้ รี ยน แต่ละคนและ แสดงผลก้าวหน้าให้เห็นทันที 17.คอมพิวเตอร์ เสนอบทเรี ย นโดยไม่มี การแสดงอารมณ์ ความเหน็ดเหนื อยหรื อแสดง อาการเบือหน่าย

61 ข้ อดีสําหรับผู้สอน 1. ผูส้ อนมีเวลาในการดูแลเอาใจใส่ การเรี ยนของผูเ้ รี ยนมากขึน 2. ผูส้ อนมีเวลาในการศึกษาหาความรู้เพิมเติม เพือพัฒนาความสามารถและประสิ ทธิภาพ ในการสอนของตนให้ดีขึน 3. ช่วยลดเวลาในการสอนบทเรี ยนหนึงๆเพราะบทเรี ยนทีมีลกั ษณะเป็ นโปรแกรมสามารถ สอนเนือหาได้มากกว่าการสอนแบบอืนๆ โดยใช้เวลาน้อยกว่า ผูส้ อนจึงสามารถเพิมเติมเนือหาและ แบบฝึ กหัดได้อย่างเต็มทีตามความเหมาะสม 4. เป็ นเครื องมือสําหรับผูส้ อนในการใช้สาธิ ตเรื องทียากและซับซ้อนให้เข้าใจง่ายเพราะใน บทเรี ยนมีภาพ แสง สี เสี ยง และภาพเคลือนไหวต่างๆ 5. ผูส้ อนสามารถปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยนได้โดยง่าย โดยสามารถเพิมเติมเนือหาและ รายละเอียดของบทเรี ยนได้ตามต้องการ 6. ช่วยในเรื องของบันทึกการตอบคําถามและประเมินผลของผูเ้ รี ยน ผูส้ อนสามารถ ควบคุมคุณภาพของบทเรี ยนและผลสัมฤทธิของผูเ้ รี ยนได้ กิดานันท์ มลิทอง (2540 : 240) กล่าวถึ งประโยชน์ของการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือ การศึกษา สรุ ปได้วา่ 1. คอมพิวเตอร์ ช่วยเพิมแรงจูงใจในการเรี ยนของนักเรี ยน 2. บทเรี ยนทีมีการใช้สี มีภาพเคลือนไหว มีเสี ยงดนตรี เป็ นการเพิมความเหมือนจริ งและ เร้าใจให้นกั เรี ยนเกิดความอยากรู ้อยากเห็น 3. คอมพิ วเตอร์ ช่ วยบันทึ กคะแนนและพฤติก รรมต่ างๆของนัก เรี ย นไว้เพื อใช้วางแผน บทเรี ยนขันต่อไป 4. คอมพิวเตอร์ นาํ มาใช้ในลักษณะของการศึกษารายบุคคลได้เป็ นอย่างดี โดยการกําหนด บทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนแต่ละคนและแสดงผลความก้าวหน้าให้เห็นทันที 5. ลักษณะของโปรแกรมทีให้ความเป็ นส่ วนตัวแก่นักเรี ยน เป็ นการช่ วยให้ผูท้ ีเรี ยนรู้ ช้า สามารถเรี ยนได้โดยสะดวก 6. ช่วยให้ครู ควบคุมชันเรี ยนได้อย่างใกล้ชิด ข้ อจํากัดของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แม้วา่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจะมีประโยชน์ในด้านต่างๆมากเพียงใดแต่บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนก็ยงั คงมีขอ้ จํากัดอยูบ่ างประการ วิชุดา รัตนเพียร, สุ กรี รอดโพธิทอง และ

62 อรจรี ย ์ ณ ตะกัวทุ่ง (2540 : 17-18) และบุญชม ศรี สะอาด (2537 : 146) กล่าวถึงข้อจํากัดของ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ สามารถสรุ ปได้ ดังต่อไปนี 1. รู ปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับบทเรี ยนยังไม่ดีพอ การโต้ตอบมักถูก จํากัดเพียงแค่ให้ผเู ้ รี ยนเลือกตอบจากรายการทีกําหนดให้เท่านัน 2. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังมีลกั ษณะไม่ยดื หยุน่ เนือหาบทเรี ยนมีคาํ อธิ บายตายตัว และไม่สามารถตอบสนองลักษณะการเรี ยนรู้ในรู ปแบบต่างๆ ให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนได้ 3. ใช้วธิ ีการแสดงบทเรี ยนเหมือนตําราทัวไป ทังๆทีคอมพิวเตอร์มีความสามารถด้าน การมีปฏิสัมพันธ์และความไม่อยูน่ ิง 4. เน้นการสร้างความสนุกสนานมากเกินไปโดยไม่คาํ นึงถึงผลต่อการเรี ยนรู้ 5. การจัดทําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนยังไม่เป็ นไปตามขันตอนหรื อแนวทางการ พัฒนาบทเรี ยนและ แนวทางการสอนทีควรจะเป็ น 6. การจะเรี ยนบทเรี ยนจากคอมพิ ว เตอร์ จ ากคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ ผู้เ รี ยนจะต้อ งเรี ยนรู้ ส่ ว นประกอบต่ า งๆของเครื องคอมพิ ว เตอร์ เ พื อใช้ ใ ห้ ถู ก ต้อ งซึ งเป็ นสิ งที ผู้เ รี ยนในระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษายังไม่มีความพร้อมเท่าเทียมกันทังหมด 7. บทเรี ยนทีเป็ นภาษาไทยและมีคุณสมบัติครบตามข้อดีของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังมี น้อยมาก 8. บทเรี ยนบางอย่างไม่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ เช่น การเขียนเรี ยงความทีเป็ น การพัฒนาทักษะพิสัยและพัฒนาเจตคติและการสอนจริ ยธรรมก็ไม่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ ได้ เป็ นต้น นอกจากนี กรมการศึกษานอกโรงเรี ยน กระทรวงศึกษา (2541 : 22) ยังได้กล่าวถึงข้อจํากัด บางประการของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้ดงั นี 1. การออกแบบบทเรี ยนคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต้อ งใช้ เ วลาและ ความสามารถมาก ครู รู้เนือหาวิชาแต่ไม่สามารถสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้เอง ต้องให้ผู้ ที มี ค วามสามารถด้า นคอมพิ วเตอร์ ส ร้ า งให้ ในประเทศไทยบุ คลากรที มี ค วามรู้ ใ นการสร้ า ง บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังมีนอ้ ยทําให้เกิ ดอุปสรรคในการสรรหาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนทีมีประสิ ทธิภาพ 2.บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน มี ข ้อ จํา กัด ในการสอนให้ ผู้เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ใ น ระดับสู งๆในด้านพฤติกรรมการเรี ยนรู้ (cognitive domain) พฤติกรรมการเรี ยนรู้ดา้ นความรู้สึก (affective domain) และพฤติกรรมการเรี ยนรู้ดา้ นทักษะปฏิบตั ิ (psychomotor domain) รวมถึงไม่

63 ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิดพัฒนาการทางสังคมเนืองจากผูเ้ รี ยนจะใช้เวลาและทักษะการโต้ตอบกับเครื อง คอมพิวเตอร์ มากกว่ากับบุคคลอืนๆ 3. หากผูเ้ รี ย นได้ใ ช้บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนจนเกิ ด ความเคยชิ น จะทํา ให้ค วาม กระตือรื อร้นและแรงจูงใจทีจะใช้คอมพิวเตอร์นอ้ ยลง 4. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนส่ วนมากมีหลักการในการออกแบบให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ ไป ตามขันตอน ซึ งเป็ นการบังคับ ทําให้ผเู้ รี ยนบางประเภทโดยเฉพาะกลุ่มผูใ้ หญ่ไม่ชอบทีจะเรี ยนตาม ขันตอนของโปรแกรม 5. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน จําเป็ นต้องอาศัยสิ งแวดล้อมทีเหมาะสมกับการใช้เครื อง คอมพิวเตอร์ เช่น ห้องเรี ยน สถานทีและฐานข้อมูลต่างๆ ซึ งทําให้การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนมีขอ้ จํากัดใช้อยูเ่ ฉพาะในเขตตัวเมืองทีมีความพร้อม ไม่สามารถใช้กบั ชนบททีอยูห่ ่ างไกลทียัง ขาดปั จจัยด้านพืนฐานได้ เช่น ไม่มีไฟฟ้ า สายโทรศัพท์ เป็ นต้น 6. ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังไม่ค่อยมีความเป็ นกันเองต่อการใช้ถอ้ ยคําประเภทต่างๆ ในการสอนหรื อการแนะนํา มักจะเป็ นคํามาตรฐานทีตายตัว น่าเบือ 7. ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังไม่สามารถตรวจหาความหมายของคําถามของผูเ้ รี ยนได้ เท่าครู 8. การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ครู ผสู้ อนต้องมีความรู้ดา้ นคอมพิวเตอร์ พอสมควร เพือทีจะ ดูแลตัวเครื องให้ใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 9. ผูเ้ รี ยนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิงผูเ้ รี ยนทีเป็ นผูใ้ หญ่ไม่ชอบโปรแกรมทีเรี ยนตามขันตอน ทําให้เป็ นอุปสรรคต่อการเรี ยนรู ้ 10. ไม่สามารถใช้กบั การเรี ยนการสอนทีมีการอภิปรายร่ วมบทเรี ยนทีใช้ระบบเครื อข่าย อินเทอร์เนตได้ 11. ต้องใช้เวลาในการเตรี ยมบทเรี ยนมากในการวางแผนทางการเรี ยนและผลิตบทเรี ยน 12. เสี ยค่าใช้จ่ายเพิมขึนในระยะแรกเกียวกับฮาร์ ดแวร์การฝึ กอบรมและการบํารุ งรักษา สรุ ปได้วา่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีทงข้ ั อดีและข้อจํากัด ดังนันในการสร้างบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจึงต้องคํานึ งถึ งข้อดีและข้อจํากัดบางประการของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนด้วยเพือให้บทเรี ยนทีสร้างนันเกิดประโยชน์สูงสุ ด 5.4 คุณลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ถนอมพร เลาหจรั ส แสง(2541:8-10)ได้ ก ล่ า วถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะที สํ า คั ญ ของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ สามารถสรุ ปได้ ดังนี

64 คุณลักษณะของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี 4 ประการ ได้แก่ สารสนเทศ ความแตกต่างระหว่างบุคคล การโต้ตอบ และ การให้ผลตอบกลับโดยทันที 1. สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนือหาสาระทีได้รับการเรี ยบเรี ยงแล้วอย่างดี ทําให้นักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ หรื อได้รับทักษะอย่างหนึ งอย่างใด ตามทีผูส้ ร้ างบทเรี ยนได้กาํ หนด วัตถุประสงค์ไว้โดยการนําเสนอเนือหานีอาจจะเป็ นการนําเสนอในรู ปแบบต่างๆ 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลเป็ นคุณลักษณะสําคัญของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่าง กันในด้านของการเรี ยนรู ้ซึงเกิดจากบุคลิกภาพ สติปัญญา ความสนใจพืนฐาน ความรู้ทีแตกต่างกัน ไป บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนซึ งเป็ นสื อการเรี ยนการสอนรายบุคคลประเภทหนึ ง จําเป็ นต้อง ได้รับการออกแบบให้มีลกั ษณะทีสามารถตอบสนองต่อความแตกต่างส่ วนบุคคลให้มากทีสุ ด มี ความยืดหยุน่ มากพอทีจะให้นกั เรี ยนมีอิสระในการควบคุมการเรี ยน ไม่วา่ จะเป็ นการควบคุมเนือหา การควบคุมลําดับของการเรี ยน การควบคุมการฝึ กปฏิบตั ิหรื อการทดสอบ 3. การโต้ตอบ (Interaction) คือ การมีปฏิสัมพันธ์กนั ระหว่างนักเรี ยนกับบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้มีปฏิสัมพันธ์กบั ผูส้ อนได้มากทีสุ ด เพือให้เอือต่อ การเรี ยนรู้ 4. การให้ผลป้ อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลป้ อนกลับหรื อการให้คาํ ตอบ ถือเป็ นการเสริ มแรงอย่างหนึ งแก่นกั เรี ยน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถให้ผลป้ อนกลับ แก่นกั เรี ยนทันทีทาํ ให้นกั เรี ยนตรวจสอบการเรี ยนของตนเองได้ สรุ ปได้วา่ คุณลักษณะของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี 4 ประการ คือ สารสนเทศ ความแตกต่างระหว่างบุคคล การโต้ตอบ และการให้ผลตอบกลับโดยทันที 5.5 รู ปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ (2538 ข: 23-25)ได้กล่าวถึง ลักษณะการนําเสนอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนว่ามี 2 ลักษณะใหญ่ๆคือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบเส้นตรง (linear program) และบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบแตกกิง (branching program) 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบเส้นตรง (linear program) ประกอบด้วยกรอบ บทเรี ยนทีมีลาํ ดับการตอบสนองอย่างต่อเนือง เป็ นบทเรี ยนทีจัดให้อ่านแบบทางเดียว ประกอบด้วย กรอบเนือหาหรื อกรอบคําถามทีต่อเนื องกันจากง่ายไปหายาก แต่ไม่เป็ นทีนิยมเพราะจัดเรี ยงเนื อหา ตายตัว ผูเ้ รี ย นต้องเรี ย นเนื อหาเดี ยวกันหมดจึ งไม่ตอบสนองความแตกต่า งระหว่า งบุ คคล หาก บทเรี ยนตอบสนองผูเ้ รี ยนโดยแตกย่อยเป็ นขันตอนทีละเอียดก็อาจทําให้ผเู้ รี ยนทีเรี ยนเร็ วรู้สึกเบือจึง

65 ไม่เหมาะกับผูเ้ รี ยนทีมีความสามารถต่างกันเพราะทุกคนต้องเรี ยนผ่านกรอบบทเรี ยนทุกกรอบทีละ กรอบเหมือนกันทุกคน 2. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบแตกกิง (branching program) เป็ นบทเรี ยนทีสร้าง ขึนโดยคํานึ งถึ งความแตกต่างระหว่างบุคคล ทุ กคนต้องเรี ยนเรี ยงตามลําดับ บทเรี ยนแบ่งเป็ น หน่วยหลักเป็ นกรอบหลัก (home pages)และหน่วยย่อย หน่วยย่อยจะแตกแขนงออกไปเพือเสริ ม ความเข้าใจ เมือเรี ยนผ่านไปหน่วยแขนงแล้วจะย้อนกลับมายังหน่วยหลักอีก และจะเรี ยนต่อไปตาม ผลการตอบสนองการเรี ยนอย่างแท้จริ ง บทเรี ยนชนิดนีมีความซับซ้อนและยุง่ ยากกว่าแบบเส้นตรง แต่ได้รับความนิยมมากกว่าเพราะมีลกั ษณะทีท้าทายน่าสนใจและตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผูเ้ รี ยน โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบแตกกิง มีหลายรู ปแบบ ดังต่อไปนี 2.1 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบซํากรอบเดิม(linear format with repetition) มีโครงสร้างลักษณะคล้ายกับแบบเส้นตรง จะต่างกันทีมีคาํ ถามเดิมซําโครงสร้างแบบนีเหมาะกับ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภททบทวนความรู้ ฝึ กฝนและฝึ กหัด เกมประกอบการเรี ยนการ สอน สถานการณ์จาํ ลองและหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ 2.2 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบทดสอบก่อนข้ามกรอบ (pretest and skip format) จะมีการทดสอบความรู ้ของผูเ้ รี ยนก่อนเรี ยนเนือหา ถ้าสอบผ่านก็จะข้ามกรอบเนือหานัน ไปยังกรอบเนือหาอืน บทเรี ยนลักษณะนีจึงมีประสิ ทธิ ภาพในการตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลได้ดีเหมาะกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภททบทวนความรู้ ฝึ กฝนและฝึ กหัด เกม ประกอบการเรี ยนการสอน สถานการณ์จาํ ลองและหนังสื ออิเลคทรอนิกส์ 2.3 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบข้ามและย้อนกรอบ (gates frames) จะ กํา หนดให้ผูเ้ รี ย นไปยัง กรอบบทเรี ย นต่า งๆตามระดับ ความรู้ ความเข้า ใจเนื อหาของผูเ้ รี ย น มี ลักษณะโครงสร้างเหมือนกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบเส้นตรง ผูเ้ รี ยนอาจข้ามกรอบไป ได้หลายกรอบบทเรี ยนแต่ถา้ ผูเ้ รี ยนยังมีความเข้าใจคลาดเคลือนบทเรี ยนก็อาจส่ งผูเ้ รี ยนกลับมายัง กรอบทีผ่านมาแล้วเพือทบทวนเนือหาใหม่ โครงสร้างรู ปแบบนีเหมาะกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนประเภททบทวนความรู้ ฝึ กฝนและฝึ กหัด เกมประกอบการเรี ยนการสอน สถานการณ์จาํ ลอง และหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ 2.4 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบหลายทาง (secondary tracks) ประกอบ กรอบบทเรี ยนในเส้นทางเดินหลายระดับ ทางเดินระดับที 1 เป็ นเส้นทางเดินของกรอบบทเรี ยน เนือหาหลักทีไม่มีอธิบายละเอียดมากนัก ทางเดินระดับที 2และระดับที 3 เป็ นกรอบเนื อหาทีอธิ บาย รายละเอียดมากกว่ากรอบทีในทางเดินระดับที 1 นอกจากนี กรอบในทางเดินระดับ ที 2 และที 3 ยัง

66 มีเส้นทางเดินมากกว่า 1 เส้นทาง ขึนอยูก่ บั ว่าผูเ้ รี ยนสามารถเข้าใจเนื อหาในกรอบทางเดินระดับที 1 มากน้อยเพียงใด กรอบในทางเดินระดับที 2 และที 3 จะให้เนื อหารายละเอียดจากน้อยไปมาก ตามลําดับโดยเนือหา ในกรอบจะเป็ นเนือหาเรื องเดียวกันเพียงแต่ขยายความหมายของคําบางคําให้ ชัดเจน โครงสร้ า งนี เหมาะกับ บทเรี ย นคอมพิ วเตอร์ ช่ ว ยสอนประเภทหนัง สื ออิ เล็ก ทรอนิ ก ส์ ไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย 2.5 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบกรอบซ่อมเสริ มเดียว (single remedial branch) เป็ นบทเรี ยนทีให้ผูเ้ รี ยนเริ มต้นด้วยกรอบเนือหาและตามด้วยกรอบคําถาม หากผูเ้ รี ยนตอบ ถูกจะได้รับข้อมูลป้ อนกลับในทางบวกและเรี ยนเนื อหาในกรอบต่อไปแต่หากตอบผิดก็จะได้รับ การสอนซ่ อมเสริ มก่อนไปเรี ยนเนื อหากรอบต่อไป โครงสร้างรู ปแบบนี ต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภททบทวนความรู ้ฝึกฝนและฝึ กหัด 2.6 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมีห่วงกรอบซ่อมเสริ ม (remedial loops) มี ลักษณะคล้ายกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบกรอบซ่ อมเสริ มเดียว ต่างกันตรงลักษณะที ประกอบด้วยกรอบซ่อนเสริ มหลายกรอบประกอบกันเป็ นชุ ดบทเรี ยนย่อย 5-6 กรอบ เพือให้ความรู้ และข้อมู ล ที ผูเ้ รี ย นยังขาดอยู่ก่ อนที จะส่ ง ผูเ้ รี ย นกลับ มายังกรอบเนื อหาเดิ ม เหมาะต่อบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภททบทวนความรู้ฝึกฝนและฝึ กหัด 2.7 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบกิงคู่ (branching frame sequence) จะมี กรอบเนื อหาที แตกเป็ นกรอบซ่ อมเสริ ม 2 กรอบ ถ้าผูเ้ รี ยนตอบถูกจะได้รับข้อมูลป้ อนกลับใน เนื อหาของกรอบต่ อ ไป กรอบเนื อหาแต่ ล ะกรอบจะมี ข ้อ ความซึ งเป็ นข้อ มู ล ที ผู้เ รี ยนนํา มา ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์การแก้ปัญหาและการเลือกคําตอบทีมี ถ้าผูเ้ รี ยนเลือกคําตอบถูกจะได้ไป ยังเนื อหากรอบต่อไปแต่ถ้าตอบผิดต้องไปยังกรอบซ่ อมเสริ ม ก่อนแล้ว จึง ย้อนกลับ มายัง กรอบ เนือหาเดิมและตอบใหม่อีกครัง ดังนันการตอบสนองทีถูกต้องของผูเ้ รี ยนจึงขึนอยูก่ บั ความรู้ความ เข้าใจของเนื อหา กรอบเนื อหาจะมีขอ้ ความทีแสดงให้ผเู้ รี ยนทราบว่าผูเ้ รี ยนตอบถูกต้องและมีคาํ ชมเชย เช่ น ดี เยียมมาก เก่ง หรื อเก่งมาก เป็ นต้น ก่อนจะเริ มเข้าสู่ หน้าต่อไป ตามด้วยคําถามจาก สถานการณ์ทีเป็ นปัญหาพร้อมให้เลือกตอบจากตัวเลือก 3 ตัว กรอบซ่อมเสริ มมีขอ้ ความทีแสดงให้ ผูเ้ รี ยนทราบว่าตอบผิด เช่ น เกือบถูกแล้วพยายามอีกหน่อย เป็ นต้น มีคาํ อธิ บายว่าเหตุใดเขาจึงผิด และมี ข ้อความชี แนะว่า คํา ตอบที ถู ก ควรเป็ นเช่ น ไร บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนประเภทนี เหมาะสมกับการสร้างแบบทบทวนความรู้ แบบฝึ กฝน แบบฝึ กหัดและสถานการณ์จาํ ลอง 2.8 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบแตกกิงประกอบ (compound branches) มักใช้ในการเรี ยนเพือวินิจฉัยข้อบกพร่ องของผูเ้ รี ยนหรื อสถานการณ์ในการแก้ปัญหา คําถามจะเป็ น

67 คําถามทีมีคาํ ตอบว่าใช่หรื อไม่ใช่ กิงทีแยกจากกรอบคําถามจะแยกไปสู่ กรอบเนื อหาใหม่ตามพืน ฐานความรู ้ความเข้าใจและความสามารถทีแตกต่างกันระหว่างบุคคล สรุ ปได้วา่ รู ปแบบของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนัน ประกอบไปด้วยรู ปแบบใหญ่ 2 รู ปแบบคือ แบบเส้นทางเดียวและแบบแตกกิง การเลือกใช้รูปแบบใดนันต้องพิจารณาประเภทของ บทเรี ยนทีจะนําไปใช้และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน 5.6 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มี ผู ้เ ชี ยวชาญทางด้ า นบทเรี ยนคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนได้แ บ่ ง ประเภทของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเอาไว้หลากหลายประเภท ครรชิต มาลัยวงค์ (2532 :64-69) บูรณะ สมชัย (2539:28-32) กิดานันท์ มลิทอง (2543:245-248) ได้แบ่งประเภทของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ เอาไว้ สรุ ปได้ดงั นี 1.บทเรี ยนแบบสอนเนือหา (tutorial) บทเรี ยนประเภทนีมีลกั ษณะเป็ นกิจกรรมเสนอเนื อหา โดยเริ มจากบทนําซึ งเป็ นการกําหนดวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน เนือหาจะจัดโดยเรี ยงลําดับกันซึ ง ผูเ้ รี ยนสามารถทีจะเลือกเรี ยนเนื อหาส่ วนใดก่อนก็ได้ ส่ วนใหญ่จะมีแบบฝึ กหัดหรื อแบบทดสอบ เพือตรวจความเข้าใจของผูเ้ รี ยน สามารถให้ผเู้ รี ยนย้อนกลับไปเรี ยนเนือหาเดิมได้หรื อข้ามบทเรี ยน ทีผูเ้ รี ยนรู ้แล้ว บทเรี ยนประเภทนีนับเป็ นบทเรี ยนขันพืนฐานของการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนที เสนอบทเรี ย นในรู ปแบบของบทเรี ย นโปรแกรมแบบสาขา สามารถใช้ไ ด้ทุ ก วิช าตังแต่ มนุษยศาสตร์ไปจนถึงวิทยาศาสตร์ เป็ นบทเรี ยนทีเหมาะสมกับการนําเสนอเนือหาข้อมูลทีเกียวกับ ข้อเท็จจริ งเพือการเรี ยนรู ้ดา้ นกฎเกณฑ์หรื อด้านวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ 2. บทเรี ยนแบบสอนเนื อหาและแบบฝึ กหัด (drill and practice) เป็ นบทเรี ยนทีเรี ยงลําดับ ความยากง่ายของเนือหา ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกลําดับตามพัฒนาการของผูเ้ รี ยนได้และมีแบบทดสอบ ความสามารถ โดยมีการเสนอความรู้แก่ผเู้ รี ยนก่อนแต่จะมีคาํ ถามหรื อปั ญหานันซําๆแล้วให้ผเู้ รี ยน ตอบและมีการเฉลยเพือตรวจสอบหรื อให้แก้ไขแล้วให้คาํ ถามหรื อปั ญหาต่อไปอีก การใช้บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ เพือการฝึ กหัดนีผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องมีความคิดรวบยอดและมีความรู้ความเข้าใจในเรื องที เรี ยนมาก่อนจึงจะสามารถตอบคําถามหรื อแก้ปัญหาในบทเรี ยนได้ บทเรี ยนประเภทนีสามารถใช้ได้ หลายวิชา ทังภูมิศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น 3. บทเรี ยนแบบจําลองสถานการณ์ (simulation) บทเรี ยนประเภทนีมักจําลองความจริ ง หรื อนํา กิ จกรรมที ใกล้เคี ยงกับความเป็ นจริ งมาให้ผูเ้ รี ย นได้ศึก ษาทําให้ผูเ้ รี ย นได้เห็ นภาพหรื อ กิจกรรมทีใกล้เคียงกับความจริ ง ได้ฝึกทักษะและเรี ยนรู้โดยไม่ตอ้ งเสี ยงภัย ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายสู ง รู ปแบบของโปรแกรมบทเรี ยนสถานการณ์จาํ ลองนันจะประกอบด้วยการให้ความรู้แนะนําผูเ้ รี ยน

68 เกียวกับการฝึ กปฏิบตั ิเพือสร้างความชํานาญในการเรี ยนรู้ ในบทเรี ยนจะมีโปรแกรมย่อยๆแทรกอยู่ ได้แก่ โปรแกรมสาธิตการสอนโดยการนําเสนอสาธิตเนือหาความรู้แล้วให้ผเู้ รี ยนทํากิจกรรมต่างๆ 4. บทเรี ยนแบบเกม (games) การใช้เกมเพือการเรี ยนการสอนเป็ นการกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยน อยากรู ้ ได้ง่าย เกมสามารถใช้ในการสอนและเป็ นสื อที ให้ความรู้ แก่ผูเ้ รี ยนในเรื องของกฎเกณฑ์ แบบแผนของระบบ กระบวนการ ทัศนคติ รวมถึ งทักษะต่างๆ เกมช่ วยสร้ างบรรยากาศในการ เรี ยนรู ้ ให้ดีขึน ช่ วยกระตุ ้นผูเ้ รี ยนเนื องจากเกมมีก ารแข่ง ขัน ผูเ้ รี ยนจึ งตืนตัวอยู่เสมอ บทเรี ย น ประเภทนี คล้ายกับบทเรี ยนประเภทสถานการณ์ จาํ ลองแต่แตกต่างตรงการเพิมบทบาทของผูเ้ ข้า แข่งขันในลักษณะการเรี ยนรู ้ไปด้วย 5. บทเรี ยนแบบการค้นหาคําตอบ (discovery) เป็ นบทเรี ยนทีช่ วยให้ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้ จาก ประสบการณ์ ของตนเองโดยมีการเสนอปั ญหาให้ผูเ้ รี ยนได้แก้ไขโดยการลองผิดลองถูกหรื อโดย วิธีการจัดระบบเข้ามาช่ วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจะให้ขอ้ มูลแก่ผเู้ รี ยนเพือให้ผเู้ รี ยนได้ ศึกษาเพือช่วยในการค้นพบจนได้ขอ้ สรุ ปทีดีทีสุ ดต่อไป 6. บทเรี ยนแบบการแก้ปัญหา (problem solving)เป็ นบทเรี ยนทีให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกคิดแก้ปัญหา ฝึ กตัดสิ นใจโดยมีการกําหนดเกณฑ์แล้วให้ผเู้ รี ยนพิจารณาไปตามเกณฑ์นนั สามารถแบ่งโปรแกรม ออกได้เป็ น 2 ชนิ ด คื อ โปรแกรมที ผูเ้ รี ยนเขี ย นเอง ผูเ้ รี ย นจะเป็ นผูก้ าํ หนดปั ญหาและเขี ย น โปรแกรมสําหรับแก้ปัญหานันโดยคอมพิวเตอร์ จะช่วยในการคิดคํานวณหาคําตอบทีถูกต้อง อีก ชนิ ดหนึ งเป็ นโปรแกรมทีมีผเู้ ขียนไว้แล้ว คอมพิวเตอร์ จะคิดคํานวณในขณะทีผูเ้ รี ยนเป็ นผูจ้ ดั การ กับปัญหาเหล่านีเอง เช่น การแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น 7. บทเรี ยนแบบการทดสอบ (testing application) เป็ นบทเรี ยนทีใช้สําหรับทดสอบกับเรี ยน หลังจากเรี ยนเนื อหาหรื อฝึ กปฏิ บตั ิแล้ว โดยใส่ ขอ้ สอบไว้ล่วงหน้าในแผ่นโปรแกรม เมือถึงเวลา สอบก็แจกแผ่นโปรแกรมทีบรรจุขอ้ สอบให้นกั เรี ยนทําข้อสอบโดยป้ อนคําตอบทางแป้ นพิมพ์ การ ทดสอบแบบนี ทํา ให้ ผูเ้ รี ย นรู ้ สึ ก เป็ นอิ ส ระจากกฎเกณฑ์ต่า งๆเกี ยวกับ การทดสอบ ทํา ให้เ กิ ด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับคอมพิวเตอร์ เมือผูเ้ รี ยนตอบข้อสอบ คอมพิวเตอร์ จะรับคําตอบและ บันทึ กผล ประมวลผล ตรวจให้คะแนนและแสดงผลให้ผูเ้ รี ยนทราบทันทีที สอบเสร็ จ เป็ นการ สะท้อนความสามารถของผูเ้ รี ยนในทันที ถนอมพร (ตันพิพฒั น์)เลาหจรัสแสง (2541: 11) จําแนกประเภทของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ 5 ประเภท ดังนี 1. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทติวเตอร์ คือบทเรี ยนทีเสนอเนื อหาแก่ผูเ้ รี ยนไม่ว่าเป็ น เนือหาใหม่หรื อการทบทวนเนือหาเดิม มีแบบทดสอบหรื อแบบฝึ กหัดเพือทดสอบความเข้าใจ

69 2. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทแบบฝึ กหัด คือ มุ่งเน้นให้ผใู้ ช้ทาํ แบบฝึ กหัดจนสามารถ เข้าใจเนือหาในบทเรี ยนนันๆ 3. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทการจําลอง คือ การจําลองสถานการณ์ทีเหมือนจริ งแล้วให้ ผูเ้ รี ยนตัดสิ นใจแก้ปัญหาในบทเรี ยน 4. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทเกม คือ ทําให้ผเู้ รี ยนเพลิดเพลินจนลืมว่ากําลังเรี ยนอยู่ 5. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทแบบทดสอบจะใช้ในการสร้างแบบทดสอบ ใช้สําหรับ การจัดการสอบ การตรวจให้คะแนนและการคํานวณผลสอบ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีหลายประเภท ซึ งแต่ละประเภทก็เหมาะสมกับเนือหาและ จุดประสงค์ในการเรี ยนรู ้ทีแตกต่างกันออกไป ดังนันในการเลือกใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ประเภทใดนันย่อมต้องคํานึงถึงเนือหาของแต่ละวิชาและความสนใจของผูเ้ รี ยน 5.7 คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนื อหา (Tutorial) เป็ นบทเรี ยนทีนิ ยมใช้กนั มาก มีการแสดงกรอบสอนและกรอบคําถามให้ผเู้ รี ยนได้ตอบ การตอบทุกครังจะถูกประเมินและ กรอบสอนกรอบใหม่ทีเหมาะสมจะถูกแสดงออกมา โดยมี ขนพื ั นฐานอยู่บนการตอบสนองของ ผูเ้ รี ยน รู ปแบบโดยทัวไปจะมีการแสดงข้อสารสนเทศ (กรอบสอน) มีการถามคําถาม มีการตรวจ คําตอบและมีการให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ ถ้าผูเ้ รี ยนตอบถูกจะสอนกรอบต่อไป ถ้าตอบผิดก็จะมีการ ช่วยเหลือหรื อสอนซ่อมเสริ มเสี ยก่อนแล้วจึงกลับไปถามคําถามเดิม (Alessi and Trollip 1985 : 66) ซึ งมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างสู งในอนาคตทีจะมีการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบ Tutorial เพือ สอนเสริ ม สอนกึงทบทวนหรื อเพือให้ผเู้ รี ยนศึกษาหาความรู้ล่วงหน้าก่อนการเรี ยนในชันเรี ยนปกติ ผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนด้วยความสมัครใจหรื ออาจเป็ น Assignment จากผูส้ อนในหรื อนอกเวลาเรี ยนปกติ ตามแต่กรณี (สุ กรี รอดโพธิ ทอง 2531: 40-41) โครงสร้ างของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา วิภา อุตมฉันท์ (2544:88) ได้กล่าวถึงโครงสร้างของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภท เนือหาไว้วา่ โครงสร้างของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทเนือหาจะแบ่งโครงสร้างเนื อหา ของบทเรี ยนออกเป็ นหน่วยย่อยๆมีการลําดับเรื องราว ซึ งเริ มต้นทีการนําเข้าสู่ บทเรี ยนโดยเริ มต้น การแนะนํานักเรี ยนให้เข้าใจวัตถุประสงค์และลักษณะของบทเรี ยนทีกําลังจะเรี ยน จากนันวงจร การเรี ย นจะเริ มนํา เข้าสู่ ก ารเสนอเนื อหาบทเรี ยนโดยใช้เทคนิ คต่า งๆ ได้แก่ ตัวหนัง สื อ กราฟิ ก ภาพนิง ภาเคลือนไหว ฯลฯ มีการทดสอบก่อนเรี ยนเพือให้ผเู้ รี ยนทราบระดับความสามารถของตน

70 เมือผูเ้ รี ยนได้เรี ยนเนื อหาไปในระดับหนึ งคอมพิวเตอร์ จะมีการตังคําถามให้ผเู้ รี ยนตอบ ถ้าตอบถูก คอมพิวเตอร์ จะนําเสนอเนื อหาใหม่ให้เรี ยนต่อเป็ นการเริ มวงจรใหม่ต่อไป ถ้าตอบผิดก็สามารถ ย้อนกลับไปเรี ยนเนือหาเดิมได้ นําเข้าสู่บทเรี ยน

นําเสนอบทเรี ยน

คําถาม/คําตอบ

จบบทเรี ยน

ข้อมูลย้อนกลับหรื อ ข้อมูลซ่อมเสริ ม

เฉลยคําตอบ

แผนภูมิที 1 โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา องค์ ประกอบทีสํ าคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประเภทเนือหามีองค์ประกอบทีสําคัญ ดังต่อไปนี (วิภา อุตมฉันท์ 2544 : 89-92) 1. การนําเข้าสู่ บทเรี ยน องค์ประกอบส่ วนนีเป็ นการนําผูเ้ รี ยนเข้าสู่ บทเรี ยนจึงควรให้ความสําคัญกับเทคนิค การเร้าความสนใจให้มากเนือหาในส่ วนนีประกอบด้วย 1.1 ชือเรื องของบทเรี ยน (The Title Page) ประกอบไปด้วยชือเรื องและชือผูแ้ ต่ง แบบง่ายๆไปจนกระทังหน้าทีมีรายละเอียดทีประกอบด้วยภาพเคลือนไหวหลายๆสี เพือดึงดูดความ สนใจและการยอมรับของนักเรี ยนและแสดงให้ผเู้ รี ยนเห็นว่าบทเรี ยนนีเกียวข้องกับเรื องอะไร การ เริ มต้นด้วยความสนุกสนานครังแรกจะเป็ นการดี 1.2 เสนอวัตถุประสงค์ (Present of Objectives) หลังจากหน้าชือบทเรี ยนแล้วจะ เป็ นวัตถุประสงค์ของนักเรี ยน วัตถุประสงค์มีหน้าทีทีสําคัญคือกระตุน้ นักเรี ยนให้สนใจ เข้าใจตรง จุดตรงประเด็น มีความเชือมันและความพอใจ 1.3 คําชีแจงการใช้บทเรี ยน (Directions) เป็ นการแนะนําการใช้งานบทเรี ยน

71 คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน คําแนะนําการใช้งานบทเรี ยนมีความจําเป็ นต่อผลสัมฤทธิ ในการเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน คําแนะนําส่ วนมากจะเน้นให้ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิตามขันตอนคําแนะนํา อย่างเคร่ งครัด มิฉะนันการเรี ยนโดยวิธีนีจะไม่ได้ผลดีเท่าทีควร 1.4 กระตุน้ ความรู้เดิม (Stimulating Prior Knowledge) นักเรี ยนจะเรี ยนรู้ได้ดีถา้ เขาสามารถสร้างความสัมพันธ์ความรู้ใหม่กบั สิ งทีเขารู้อยูแ่ ล้ว ในบทเรี ยนประเภทสอนเนือหาไม่ ควรทบทวนความรู ้ ทีมีอยู่แล้วโดยละเอียดแต่อาจสรุ ปข้อมูลทีมีความสัมพันธ์กบั สิ งทีนักเรี ยนได้ เรี ยนรู ้มาก่อนแล้วอย่างสัน ถ้าเป็ นเนือหายาวๆควรอยูใ่ นบทเรี ยนหลัก 1.5 การทดสอบก่อนเรี ยน (Pretesting) ควรมีการทดสอบก่อนเรี ยนเพือให้แน่ใจว่า บทเรี ยนนี เหมาะสมสําหรับนักเรี ยน หรื อไม่ กล่าวคือ นักเรี ยนพร้อมสําหรับการเรี ย นบทเรี ยนนี หรื อไม่ หรื อนักเรี ยนมีความรู ้ในบทเรี ยนนีอยูแ่ ล้วและควรข้ามบทเรี ยนนีไปแต่ถา้ เป็ นบทเรี ยนทีให้ พืนความรู ้ก็ไม่ตอ้ งมีการทดสอบก่อนเรี ยน 2. การควบคุมบทเรี ยนโดยผูเ้ รี ยน การควบคุมบทเรี ยน หมายถึง การควบคุมลําดับการเรี ยนและเนือหาของบทเรี ยน การควบคุมบทเรี ยนเป็ นส่ วนทียุง่ ยากทีสุ ดเพราะต้องกําหนดว่าให้ผเู้ รี ยนควบคุมอย่างไรในขอบเขต มากน้อยเพียงใด บางคนเชือว่าผูเ้ รี ยนควบคุมบทเรี ยนได้ดีกว่าครู จึงออกแบบบทเรี ยนเพือให้สิทธิ กับผูเ้ รี ยนเต็มที เช่น จะทําแบบทดสอบเมือใดก็ได้ ไม่เรี ยนส่ วนไหนก็ได้ เป็ นต้น แต่จากการศึกษา พบว่า ผูเ้ รี ยนไม่ใช่ผตู ้ ดั สิ นได้ดีทีสุ ด ยิงให้สิทธิ การควบคุมบทเรี ยนกับผูเ้ รี ยนมาก การเรี ยนก็ยิงไม่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ การให้ สิ ท ธิ ผูเ้ รี ย นควบคุ ม บทเรี ย นจะเกิ ด ผลดี ก็ ต่ อ เมื อผูเ้ รี ย นเรี ย นเนื อหา ทํา แบบฝึ กหัด อ่านทําความเข้าใจข้อมูลย้อนกลับแล้วจากนันจึงตัดสิ นใจบนพืนฐานของคะแนนหรื อ ผลจากการทําแบบทดสอบ การควบคุมบทเรี ยนควรพิจารณาวิธีควบคุมให้ประสานการควบคุมจาก ฝ่ ายผูเ้ รี ยนและผูส้ อน หลักเกณฑ์ทวไปที ั ควรพิจารณาในการให้สิทธิผเู้ รี ยนควบคุมบทเรี ยนมีดงั นี 1.ให้สิทธิ แก่ผใู ้ หญ่มากกว่าเด็ก 2.ให้สิทธิในการเลือกเดินหน้าบทเรี ยนได้เสมอ 3.ให้สิทธิ ในการย้อนกลับไปทบทวนบทเรี ยนเก่าได้ตลอดเวลา 4.ให้สิทธิตดั สิ นใจออกจากบทเรี ยนได้ตลอดเวลา 3. การกระตุน้ ความสนใจ การกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนเป็ นสิ งสําคัญ การจูงใจจากภายในตัวบทเรี ยนจะมี ประสิ ทธิ ภาพมากกว่าแรงจูงใจภายนอกตัวบทเรี ยน เช่ น การให้รางวัลฯลฯ แรงจูงใจภายในตัว บทเรี ยน ได้แก่ การทําให้นกั เรี ยนรู้สึกสนุกกับการเรี ยน อาทิ ใช้เทคนิคการสอนด้วยเกม ใช้ภาษา เพือกระตุน้ ความสนใจให้ผเู ้ รี ยนเกิดความอยากรู้อยากเห็น ให้กาํ ลังใจแม้ผเู้ รี ยนจะตอบผิด

72 4. การนําเสนอเนือหา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสามารถนําเสนอได้ทงภาพ ั ตัวหนังสื อและเสี ยง การใช้ ตัวหนังสื อเป็ นรู ปแบบการนําเสนอทีใช้มากทีสุ ด อย่างไรก็ตามผูอ้ อกแบบควรสนใจประโยชน์จาก ข้อดีของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนซึงใช้สือประสมและพยายามใช้ศกั ยภาพในการนําเสนอด้วย รู ปภาพและวิธีการทีหลากหลายเพือให้บทเรี ยนน่าสนใจ ความยาวของเนื อหาเป็ นส่ วนสําคัญทีผูผ้ ลิตบทเรี ยนแบบสอนเนื อหาควรสนใจ ความ ยาวในทีนี หมายถึ ง ข้อมูลทีตัดเป็ นตอนๆและนําเสนอในระหว่างแบบทดสอบแต่ละชุด ข้อมูลแต่ ละตอนควรสันเพือให้มีการโต้ตอกับผูเ้ รี ยนได้บ่อย โดยเฉพาะอย่างยิงบทเรี ยนทีสลับซับซ้อนและ ิ าเป็ นต้องตัดบทตอนเรี ยนและพยายามเพิมกิจกรรมทีผูเ้ รี ยนได้โต้ตอบกับบทเรี ยนมากขึน ยากก็ยงจํ ความยาวของบทเรี ยนมักสัมพันธ์กบั ระดับความยากง่ายของเนือหาวิชาและวัยของผูเ้ รี ยนด้วย 5. คําถามและคําตอบ บทเรี ยนทีนําเสนอเนื อหาแต่ไม่ได้ให้ผเู้ รี ยนโต้ตอบด้วยถือว่ายังไม่ประสบผลสําเร็ จ วิธีการสร้ างความสัมพันธ์ในเชิ งโต้ตอบกับนักเรี ยนของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบสอน เนื อหาทําได้โดยการตังคําถามเกียวกับเนือหาให้นกั เรี ยนตอบทันที คําถามมีประโยชน์หลายอย่าง เช่น ช่วยจับความสนใจของผูเ้ รี ยนให้จดจ่ออยูก่ บั บทเรี ยน กระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนเกิดความต้องการทีจะ เรี ยนรู ้เนือหาทีลึกซึงลงไป ผูเ้ รี ยนได้ระเมินตัวเองทันทีวา่ เข้าใจเรื องทีเรี ยนไปเลวมากน้อยเพียงใด นอกจากนี คําถามยังใช้เป็ นข้อมูลพืนฐานในการกําหนดว่าบทเรี ยนควรจะดําเนิ นต่อไปอย่างไร กล่ าวได้ว่าบทเรี ย นจะเดิ นหน้าต่อไปอย่า งไรก็ ขึนอยู่กบั ความก้า วหน้า ของผูเ้ รี ยนซึ งตัดสิ นจาก แบบฝึ กหัดและการตอบคําถาม คําถามในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ นิยมใช้แบบเลือกตอบ เช่น แบบเลือกตอบโดยให้ผเู้ รี ยน เลื อกคําตอบทีถูกจากหลายๆตัวเลือก คําถามแบบนี เหมาะกว่าคําถามแบบให้เลือกตอบว่าผิดหรื อ ถูกเพราะผูเ้ รี ยนมีโอกาสเดาได้นอ้ ยกว่า อีกแบบหนึงคือ แบบจับคู่โดยใช้เมาส์ลากคําตอบทีถูกไป ใส่ ให้ถูกที เช่ น ลากชื อจังหวัดไปใส่ ให้ตรงแผนที เป็ นต้น ลักษณะของคําถามอีกแบบหนึ งคือให้ ผูเ้ รี ยนเขียนตอบเอง แต่ลกั ษณะของคําตอบทีเหมาะสมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ควรมีคาํ ตอบเดียว หรื อประโยคสันๆไม่เกินความสามารถทีโปรแกรมจะวิเคราะห์ได้ 6.การซ่อมเสริ ม การซ่ อมเสริ ม คื อ การนําเนื อหาเดิ ม มาพู ดซําอี ก ครั งแต่ใ ช้วิธี พูดใหม่ที เข้า ใจง่ า ยขึ น บางครังก็ให้รายละเอียดเพิมขึนกว่าเดิมให้ภาพประกอบมากขึน ข้อมูลในส่ วนของการซ่ อมเสริ ม เป็ นเนือหาเก่าทีได้นาํ เสนอมาแล้วก่อนการทําแบบฝึ กหัดแต่ผลทีได้รับในครังนี จะมากกว่าครังแรก เพราะครังนีผูเ้ รี ยนจะตังใจอ่านข้อมูลเพือหาเหตุผลให้กบั คําตอบทีตนตอบผิด

73 7. การลําดับบทเรี ยน 7.1 บทเรี ยนแบบเส้นตรง (linear lesson) เป็ นวิธีการลําดับบทเรี ยนทีง่ายทีสุ ด บทเรี ยนจะเดินหน้าไปเรื อยๆจากหัวข้อหนึ งสู่ หวั ข้อถัดไป ระหว่างหัวข้อผูเ้ รี ยนจะต้องตอบคําถาม 2-3 ข้อก่อน ผูเ้ รี ยนทุกคนต้องทําเหมือนกันหมดเพราะไม่มีคาํ สังเป็ นอย่างอืนไม่วา่ ผูเ้ รี ยนจะตอบถูก หรื อ ผิ ด ก็ ต าม ข้อ ด้อ ยของบทเรี ย นแบบนี คื อ ไม่ ส ามารถรั บ บทเรี ย นให้ เ หมาะกับ ผู้เ รี ย นเป็ น รายบุคคล การลําดับเรื องแบบเส้นตรงจึงไม่ได้รับความสนใจมากนัก 7.2 บทเรี ยนแบบแตกแขนง (Branching lesson) บทเรี ยนแบบแตกแขนงเป็ น การสร้างบทเรี ยนทีไม่ได้กาํ หนดเนือหาเป็ นเส้นตรงแต่แตกแขนงออกไปเพราะการตัดสิ นใจเลือก และการตอบคําถามของผูเ้ รี ยนโดยปกติแขนงจะเกิดขึนเมือผูเ้ รี ยนตอบคําถาม บางบทเรี ยนจะมีการ แตกแขนงทุกครังทีผูเ้ รี ยนตอบคําถามผิด บางบทเรี ยนจะเกิดการแตกแขนงขึนเมือมีการรวมคะแนน ในแต่ละช่วงคําถามแล้ว บางครั งจะให้ผูเ้ รี ยนเป็ นผูเ้ ลื อกการแตกแขนงเอง บางแขนงพาเนื อหา กระโดดข้ามลําดับทีจัดเรี ยงไว้ไปโดยผูเ้ รี ยนเลือกทีจะข้ามไปเรี ยนบทเรี ยนในหัวข้ออืนก่อน บาง แขนงพาผูเ้ รี ยนย้อนกลับไปหาบทเรี ยนเดิมเมือปรากฏว่าคําตอบของผูเ้ รี ยนแสดงให้เห็นว่าผูเ้ รี ยนยัง ไม่รู้ พอหลังจากศึกษาเนือหาเดิมแล้วผูเ้ รี ยนต้องกลับมาตอบคําถามซําข้อเก่าอีกครัง 8. สิ นสุ ดการเรี ยน บทเรี ยนอาจจบลงชัวคราวเมือผูเ้ รี ยนเลือกทีจะออกจากบทเรี ยนไปก่อน โปรแกรมทีดี ต้องออกแบบให้ผเู้ รี ยนสามารถเลื อกทีจะยุติการเรี ยนได้ตลอดเวลา ส่ วนการสิ นสุ ดบทเรี ยนอย่าง สมบูรณ์ หมายถึ ง ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนเนื อหาจนครบทุกเนื อหาในบทเรี ยนแล้ว อย่างไรก็ตาม การจบ อย่างบริ บูรณ์ ไม่ได้หมายความว่าผูเ้ รี ยนต้องปิ ดคอมพิวเตอร์ แต่ผเู้ รี ยนอาจจะยังคงสามารถกลับมา ทบทวนหรื อเลือกดูหวั ข้อใดหัวข้อหนึงได้ ดังนันจึงต้องออกแบบโปรแกรมให้ผเู้ รี ยนสามารถกลับ เข้ามาดูเนือหาในส่ วนทีต้องการใหม่ได้ ก่อนจบส่ วนสุ ดท้ายของบทเรี ยนบทเรี ยนควรช่ วยผูเ้ รี ยนสรุ ปเนื อหาสําคัญและแนะนํา การค้นคว้าความรู ้ เพิมเติมจากแหล่งข้อมูลอืนๆด้วย ควรสร้างโปรแกรมทีสามารถบันทึกคะแนน และประวัติการใช้บทเรี ยนทีผ่านมาเพือว่าเมือผูเ้ รี ยนกลับเข้ามาใหม่ผเู้ รี ยนคนเดิมจะได้เรี ยนต่อจาก ทีทําค้างไว้ในทันที อเลสซีและทรอลลิป (Alessi and Trollip 1985:66) ได้กล่าวได้กล่าวถึงลําดับขันตอนใน การจัดการเรี ยนการสอนของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทสอนเนือหา สรุ ปได้ดงั นี 1. การนําเข้าสู่ บทเรี ยน (Introduction) 1.1 สันกระชับ 1.2 บอกจุดประสงค์ของบทเรี ยน

74 1.3 บอกวิธีการเรี ยนบทเรี ยนทีแน่นอน 1.4 บอกให้รู้วา่ ก่อนการเรี ยนบทเรี ยนผูเ้ รี ยนต้องมีความรู้อะไรก่อนบ้าง 1.5 ให้ผเู้ รี ยนเลือกลําดับการเรี ยนเอง โดยเลือกจากรายการ (Menu) และกลับมาที รายการอีกเมือได้เรี ยนหน่วยทีได้เลือกไปเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว 1.6 แบบทดสอบก่อนเรี ยนควรแยกจากบทเรี ยน ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนเพือวัด ความรู ้ความเข้าใจของผูเ้ รี ยนทีจะต้องเรี ยนต่อไป 2. การเสนอเนื อหา (Presentation of Information) 2.1 เสนอเนือหาสันกระชับ 2.2 ออกแบบการเสนอเนือหาให้ดึงดูดความสนใจ 2.3 ไม่ใช่ตวั หนังสื อวิงจากบทลงล่างหรื อล่างขึนบน 2.4 เน้นส่ วนทีต้องการให้ผเู้ รี ยนทําความเข้าใจ เปรี ยบเทียบหรื อชี แนะด้วยการทํา highlight 2.5 ใช้สีเพือกระตุน้ หรื อเน้นส่ วนทีสําคัญ 2.6 หลักเลียงการใช้สีในเนือหาทัวไปทีใช่ส่วนสําคัญ 2.7 ตัวอักษรต้องอ่านง่าย 2.8 เน้นความแตกต่างระหว่างหัวข้อให้ชดั เจน 2.9 ใช้วธิ ีการสอนให้เหมาะสมกับเนือหา 2.10 จัดเตรี ยมกรอบการเรี ยนทีจะช่วยผูเ้ รี ยนในการใช้หรื อปฏิบตั ิตามได้ง่าย 3. คําถามคําตอบ (Question and Responses) 3.1 ให้คาํ ถามบ่อยๆโดยเฉพาะคําถามทีเกียวกับความเข้าใจ 3.2 หาทางให้ผเู ้ รี ยนตอบคําถามทางช่องทางอืนอย่าใช้เพียงการพิมพ์ 3.3 เครื องหมายทีแสดงให้ผเู้ รี ยนตอบคําถามควรอยูใ่ ต้คาํ ถามใกล้ทางซ้ายมือของ หน้าจอ 3.4 คําถามควรอยูใ่ นลักษณะทีช่วยสนับสนุนให้ตอบคําถามได้ถูกต้อง 3.5 ถามคําถามทีจุดสําคัญๆของเนื อหา 3.6 ยอมให้ผเู ้ รี ยนตอบคําถามได้มากกว่า 1 ครัง ใน 1 คําถาม 3.7 การเขียนคําตอบแบบเลือกตอบทําได้ยากแต่ง่ายในการตรวจ ผูเ้ รี ยนอาจเดา คําตอบได้ 3.8 คําถามแบบเขียนตอบนันทําได้ง่ายและป้ องกันการเดาได้แต่ตรวจยาก

75 3.9 ต้องรู ้วา่ จะทดสอบความจําหรื อความเข้าใจและเลือกชนิดของคําถามให้ เหมาะสม 3.10 ภาษาทีใช้ในบทเรี ยนควรมีความยากง่ายเหมาะสมกับระดับของผูเ้ รี ยน 3.11 หลีกเลียงการใช้คาํ ถามแบบย่อหรื อในทางปฏิเสธ 3.12 คําถามไม่ควรเป็ นตัวหนังสื อเลือนจากบนลงล่างหรื อล่างขึนบน 3.13 คําถามจะแสดงบนจอมอนิเตอร์ เมือเสนอเนือหาจบแล้วและอยูใ่ ต้เนือหานัน 4. การตรวจคําตอบ (Judging Responses) 4.1 การตรวจคําตอบเกียวกับเชาว์ปัญญา ครู ตอ้ งยอมรับคําบางคําทีมีความหมาย ใกล้เคียงกัน สะกดเหมือนกันหรื อคําพิเศษต่างๆ 4.2 จะต้องพิจารณาทังคําตอบทีถูกและคําตอบทีผิด 4.3 ให้เวลาผูเ้ รี ยนในการตอบคําถาม 4.4 ให้ผเู ้ รี ยนได้รับการช่วยเหลือจนสามารถผ่านไปได้ 5. การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับสําหรับคําถาม (Providing Feedback about Responses) 5.1 ถ้ารู ปแบบคําตอบผิดให้บอกว่ารู ปแบบคําตอบนันผิดแล้วให้บอกรู ปแบบ คําตอบทีถูกและให้ตอบคําถามอีก 5.2 ถ้าเนือหาของคําตอบถูก ให้ยนื ยันคําตอบอีกครังหนึง 5.3 ถ้าเนือหาของคําตอบผิด ให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพือการแก้ไข 6. การให้เนื อหาเสริ ม (Remediation) ให้เนือหาเสริ มสําหรับผูเ้ รี ยนทีเรี ยนได้ไม่ดี โดยให้กลับไปเรี ยนบทเรี ยนใหม่หรื อเรี ยน จากผูส้ อน 7. ลําดับการเรี ยนบทเรี ยน (Sequencing Lesson Segments) 7.1 เสนอบทเรี ยนไปตามลําดับขันจากง่ายไปยาก 7.2 หลีกเลียงการใช้ Linear Tutorial ควรใช้ Branching Tutorial 7.3 ให้ผเู ้ รี ยนควบคุมการเรี ยนโดยใช้แป้ นพิมพ์ ไม่ควรใช้เวลา ในการควบคุม บทเรี ยน 7.4 จัดทําบทเรี ยนให้สามารถกลับไปเริ มต้นบทเรี ยนได้ใหม่ 8. การจบบทเรี ยน (Closing) 8.1 เก็บข้อมูลไว้สาํ หรับการกลับมาเรี ยนใหม่ 8.2 ลบข้อมูลบนจอมอนิเตอร์ 8.3 บอกให้ทราบถึงการจบบทเรี ยนด้วยข้อมูลทีสันและแจ่มชัด

76 5. 8 ขันตอนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หลักการในการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือให้เกิ ดการเรี ยนรู้ ทีดี นันได้ ประยุกต์มาจากกระบวนการเรี ยนการสอน 9 ขัน ของกาเย่ (Gagné and Wagner 1988:21-31, อ้างถึง ในสุ กรี รอดโพธิทอง 2531:75-89) ขันที 1 การเร้าความสนใจ การเร้าความสนใจให้พร้อมทีจะเรี ยนก่อนเริ มเรี ยนเป็ นสิ งจําเป็ น ผูเ้ รี ยนควรจะ ได้รับแรงจูงใจและแรงกระตุน้ ทีทําให้ อยากทีเรี ยนรู้ บทเรี ยนจึงควรเริ มด้วยลักษณะของการใช้ ภาพสี และเสี ยงหรื อการประกอบกันหลายๆอย่างโดยสิ งที สร้ างขึนมานันต้องเกียวข้องกับเนื อหา ของบทเรี ย นและน่ าสนใจเพราะมี ผลต่อการเร้ าความสนใจของผูเ้ รี ยน โดยผูอ้ อกแบบบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนควรคํานึงถึงหลักดังนี 1. ใช้ภาพกราฟิ กทีเกียวข้องกับเนือหาและควรมีขนาดใหญ่ เข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน 2. ใช้ภาพเคลือนไหวหรื อเทคนิคอืนๆทีสันและง่ายแสดงการเคลือนไหว 3. ใช้สีเข้าช่วย โดยเฉพาะสี เขียว สี แดงและนําเงิน หรื อสี เข้มๆทีตัดกับสี พนชั ื ดเจน 4. ใช้เสี ยงให้สอดคล้องกับกราฟิ ก 5. กราฟิ กควรบอกชือเรื องของบทเรี ยน 6. ควรใช้เทคนิคการเขียนกราฟิ กทีแสดงบนจอได้เร็ ว 7. กราฟิ กต้องเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยนด้วย ขันที 2 บอกวัตถุประสงค์ การบอกวัตถุประสงค์ของการเรี ยนในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์นนนอกจากจะทํ ั าให้ ผูเ้ รี ยนรู้ประเด็นสําคัญของเนื อหาล่วงหน้าแล้ว ยังเป็ นการบอกผูเ้ รี ยนทราบถึงเค้าโครงของเนือหา อีกด้วย การทีผูเ้ รี ยนทราบถึงโครงร่ างของเนือหาอย่างกว้างๆจะช่วยให้ผเู้ รี ยนสามารถผสมผสาน แนวคิดในรายละเอียดหรื อส่ วนย่อยของเนื อหาให้สอดคล้องและสัมพันธ์กบั เนือหาในส่ วนใหญ่ได้ ในการบอกวัตถุประสงค์ผอู ้ อกแบบควรคํานึงถึงหลักเกณฑ์ ดังนี 1. ใช้คาํ สันๆเข้าใจง่าย 2. หลีกเลียงคําทียังไม่เป็ นทีรู้จกั และไม่เป็ นทีเข้าใจโดยทัวไป 3. ไม่ควรกําหนดวัตถุประสงค์หลายข้อจนเกินไป 4.ผูเ้ รี ย นควรมี โอกาสทราบว่า หลังจากเรี ย นแล้วจะได้อะไรจากบทเรี ย นและ นําไปใช้ทาํ อะไรได้บา้ ง 5. หากบทเรี ยนประกอบด้วยบทเรี ยนย่อยๆควรบอกวัตถุประสงค์กว้างๆก่อนแล้ว ควรตามด้วยเมนูให้เลือกเรี ยนบทเรี ยน หลักจากนันจึงเป็ นวัตถุประสงค์เฉพาะของเนือหาย่อยๆนัน

77 6. การนําเทคนิ คมาช่ วยเพือให้วตั ถุ ประสงค์ขึนมาทีละข้อเป็ นเทคนิ คทีดี แต่ควร คํานึ งถึงเวลาทีใช้ในการอ่านด้วยหรื อควรให้ผเู้ รี ยนควบคุมเองโดยการกดแป้ นพิมพ์เพือให้ปรากฏ วัตถุประสงค์ทีละข้อ 7. เพือให้วตั ถุประสงค์น่าสนใจอาจใช้กราฟิ กเข้ามาช่วยแต่การใช้ภาพเคลือนไหว ยังไม่มีความจําเป็ น ขันที 3 ทวนความรู้เดิม ก่อนทีจะให้ความรู้ใหม่แก่ผเู้ รี ยน ผูเ้ รี ยนอาจจะไม่มีความรู้พืนฐานมาก่อน ดังนัน การออกแบบโปรแกรมจึงควรหาวิธีประเมิ นความรู้ เดิ มในส่ วนทีจําเป็ นก่อนที จะรับความรู้ ใหม่ ทังนีนอกจากเพือเป็ นการเตรี ยมผูเ้ รี ยนให้พร้อมสําหรับการรับความรู้ใหม่แล้ว สําหรับผูท้ ีมีพืนฐาน มาแล้วยังเป็ นการทบทวนหรื อให้ผูเ้ รี ยนได้ยอ้ นไปคิดในสิ งทีตนรู้มาก่อนเพือช่วยในการเรี ยนรู้สิง ใหม่อีก ด้วย ในขันทบทวนความรู้ เดิ ม นี ไม่ จาํ เป็ นว่า จะต้องเป็ นการทดสอบเสมอไป ในการ ออกแบบการทบทวนความรู ้เดิม ควรคํานึงหลักเกณฑ์ต่างๆดังต่อไปนี 1. ไม่ควรคาดเดาเอาว่าผูเ้ รี ยนมีพืนฐานเท่ากัน ควรมีการทดสอบเพือประเมิน ความรู ้เดิมและทบทวนผูเ้ รี ยนให้เตรี ยมพร้อมทีจะรับความรู้ใหม่ 2. การทบทวนความรู้เดิมควรกระชับและตรงจุด 3.ควรเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ย นออกจากเนื อหาใหม่ ห รื อ ออกจากแบบทดสอบได้ ตลอดเวลาเพือกลับไปศึกษาทบทวนความรู้เดิม 4. หากไม่มีการทบทวนความรู้เดิม ควรมีการกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนได้นึกย้อนถึงสิ งที ผูเ้ รี ยนเคยเรี ยนหรื อมีประสบการณ์มาแล้ว 5. การกระตุน้ ความคิดด้วยภาพประกอบคําพูดจะทําให้บทเรี ยนมีความน่าสนใจ มากขึน ขันที 4 การเสนอเนือหาใหม่ การเสนอภาพทีเกียวข้องกับเนือหาประกอบคําพูดทีสัน ง่ายและได้ใจความเป็ น หัวใจสําคัญของการเรี ยนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้ภาพประกอบช่วยให้ผเู้ รี ยนเข้าใจเนือหา ได้ง่ายขึนและมีความคงทนในการจําดีกว่า การใช้คาํ พูด (การอ่าน) เพียงอย่างเดียว ในการนําเสนอ เนือหาใหม่ให้น่าสนใจควรคํานึงถึงหลักเกณฑ์ต่าง ๆดังนี 1. ใช้ภาพประกอบเนือหา โดยเฉพาะในส่ วนทีเป็ นเนือหาสําคัญ 2. ใช้แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ สัญลักษณ์ หรื อภาพเปรี ยบเทียบ 3. ในการเสนอเนื อหาทียากและซับซ้อนควรใช้ตวั ชีแนะในส่ วนของข้อความ สําคัญ เช่น การขีดเส้นใต้ การกระพริ บ เป็ นต้น

78 4. ไม่ควรใช้กราฟิ กทีเข้าใจยาก 5. จัดรู ปแบบของคําอ่านให้น่าอ่าน หากเนื อหายาวควรจัดแบ่งกลุ่มคําอ่านให้เป็ น ตอนๆ 6. ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่าย 7. ถ้าการนําเสนอกราฟิ กช้าควรนําเสนอแต่กราฟิ กทีสําคัญ 8.ในแต่ละเฟรมควรใช้สีไม่เกิน 3 สี รวมทังสี ของพืนด้วยและไม่ควรเปลียนสี ไป มาโดยเฉพาะสี หลักของตัวอักษร 9. คําทีใช้ควรเป็ นคําทีผูเ้ รี ยนในระดับนันๆคุน้ เคยและเข้าใจตรงกัน 10. ควรให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสเปลียนการมีปฏิสัมพันธ์กบั บทเรี ยน ขันที 5 ชีแนวทางการเรี ยนรู้ ผูเ้ รี ยนจะจําได้ดีหากมีการจัดระบบการเสนอเนือหาทีดีและสัมพันธ์กบั ความรู้หรื อ ประสบการณ์เดิมของผูเ้ รี ยน การเรี ยนรู้ทีกระจ่างชัดนันเกิดขึนได้เพราะผูเ้ รี ยนวิเคราะห์และตีความ ในเนื อหาใหม่บนพืนฐานของความรู้และประสบการณ์เดิ มรวมกันเป็ นความรู้ใหม่ ดังนันในการ ออกแบบการสอนในลักษณะการชีแนวทางการเรี ยนรู้จึงควรคํานึงถึงสิ งต่างๆ ดังต่อไปนี 1. แสดงให้ผเู ้ รี ยนได้เห็นถึงความสัมพันธ์ของสิ งใหม่กบั สิ งทีผูเ้ รี ยนมีความรู้หรื อ ประสบการณ์มาแล้ว 2.แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข องเนื อหาและชี ให้ เ ห็ น ว่ า สิ งย่ อ ยนั นมี ความสัมพันธ์กบั สิ งใหญ่อย่างไร 3. พยายามให้ตวั อย่างทีแตกต่างเพือช่วยอธิ บายความรู้ใหม่ให้ชดั เจนขึน 4. ให้ตวั อย่างทีไม่ใช่สิงทีถูกต้องเพือใช้ในการเปรี ยบเทียบสิ งทีถูกต้อง 5. สําหรับเนือหาทียากควรนําเสนอตัวอย่างจากรู ปธรรมไปนามธรรม ส่ วนเนื อหา ทีไม่ยากนักควรนําเสนอตัวอย่างจากนามธรรมไปรู ปธรรม 6. กระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนระลึกถึงความรู้และประสบการณ์เดิม ขันที 6 กระตุน้ การตอบสนอง การเรี ยนรู ้จะมีประสิ ทธิ ภาพมากน้อยเพียงใดนันเกียวข้องกับระดับและขันตอนใน การประมวลข้อมูล หากผูเ้ รี ยนมีโอกาสร่ วมคิดและร่ วมกิจกรรมในส่ วนทีเกียวกับเนื อหา การถาม คําถามและการตอบตอบย่อมทํา ให้มีค วามจํา ในเรื องนันๆได้ดีก ว่าผูท้ ี เรี ยนโดยการวิธ๊อ่านหรื อ วิธีการคัดลอกข้อความจากผูอ้ ืนเพียงอย่างเดียว

79 ขันที 7 ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะกระตุน้ ความสนใจจากผูเ้ รี ยนมากขึนถ้าบทเรี ยน นันมีความท้าทาย บอกจุดหมายทีชัดเจนและให้ผลย้อนกลับเพือบอกว่าขณะนันผูเ้ รี ยนอยูต่ รงไหน ห่างจากเป้ าหมายเท่าใด ขันที 8 ทดสอบความรู้ การทดสอบความรู้นนสามารถทํ ั าได้ทงระหว่ ั างเรี ยนและหลังเรี ยนโดยเป็ นวิธี ประเมินการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนและมีผลต่อความจําระยะยาว หลักในการออกแบบเพือทดสอบทีควร คํานึงถึงได้แก่ 1. ข้อสอบทีใช้วดั ต้องตรงตามวัตถุประสงค์ 2. ใช้ภาพประกอบในคําถามบ้าง 3. บอกผูเ้ รี ยนให้ชดั เจนว่าควรตอบคําถามด้วยวิธีใด ถ้าคําตอบไม่ชดั เจนควรให้ ผูเ้ รี ยนตอบใหม่และไม่ควรบอกว่าตอบผิด ขันที 9 จําและนําไปใช้ ในขันตอนนีเป็ นขันตอนของการให้คาํ แนะนําการนําความรู้ใหม่ไปใช้หรื อศึกษา เพิมเติม กิจกรรมในขันนีเป็ นกิจกรรมทีสรุ ปเฉพาะประเด็นสําคัญ รวมทังข้อเสนอแนะต่างๆเพือให้ ผูเ้ รี ยนได้มีโอกาสทบทวนหรื อซักถามปั ญหาก่อนจบบทเรี ยน ในการออกแบบควรบอกผูเ้ รี ยนว่า ความรู ้ ใหม่สัมพันธ์กบั ความรู ้ หรื อประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนคุน้ เคยอย่างไร ทบทวนโดยการสรุ ป แนวคิดทีสําคัญ บอกถึงแหล่งข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ให้กบั ผูเ้ รี ยน พร้อมทังเสนอแนะสถานการณ์ที สามารถนําความรู ้ใหม่ไปใช้ประโยชน์ได้ ในการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนควรคํานึ งถึ งหลักการทัง 9 โดยประยุกต์ ให้เข้ากับเนือหาทีจะสอนและพยายามออกแบบให้สอดคล้องกับกลุ่มผูเ้ รี ยนให้มากทีสุ ด 5.9 ขันตอนในการออกแบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มีผกู ้ ล่าวถึงหลักการและขันตอนการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้หลายท่าน ดังนี รอมมิสซอสกี (Romiszowski 1986: 271-272) ได้เสนอขันตอนในการพัฒนาบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 7 ขันคือ 1. การกําหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ 2. วิเคราะห์พฤติกรรม เป้ าหมายของผูเ้ รี ยนทีต้องการและกฎเกณฑ์เพือสร้างรู ปแบบ บทเรี ยน 3. ออกแบบบทเรี ยน

80 4. สร้างบทเรี ยนตามทีออกแบบไว้ 5. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดว้ ยภาษาทีเหมาะสม 6. การทดลองเพือพัฒนาบทเรี ยน 7. ประเมินผลความเทียงตรงทังด้านเทคนิคคอมพิวเตอร์และด้านการสอน สําหรับประเทศไทยนัน นักการศึกษาของไทยหลายท่านได้กล่าวถึงขันตอนในการพัฒนา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย ไว้ดงั นี อรพันธุ์ ประสิ ทธิรัตน์ (2530:144) กล่าวถึงขันตอนการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สรุ ปได้ดงั นีคือ 1. เลือกเนื อหาและกําหนดจุดมุ่งหมายทัวไป 2. วิเคราะห์ผเู้ รี ยน 3. กําหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม 4. วิเคราะห์เนื อหาแยกเป็ นหน่วยย่อย 5. ออกแบบบทเรี ยนโปรแกรม 6. สร้างบทเรี ยนโปรแกรมตามแบบ 7. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 8. ป้ อนเข้าเครื องคอมพิวเตอร์ 9. ทดลองหาประสิ ทธิภาพ 10. นําไปใช้ 11. ประเมินผลและปรับปรุ งแก้ไข ช่วงโชติ พันธุเวช (2535 : 51-61 )ได้กาํ หนดขันตอนการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ไว้ดงั นี 1. การออกแบบบทเรี ยน การออกแบบเรี ยนจะประกอบด้วยขันตอนต่างๆ ได้แก่ 1.1 การวิเคราะห์หลักสู ตรและเนือหา ผูอ้ อกแบบต้องวิเคราะห์รายวิชาและเนือหาของหลักสู ตร รวมไปถึงแผนการ จัดการเรี ยนรู ้ คําอธิ บายรายวิชา หนังสื อ ตํารา และเอกสารประกอบในการสอนแต่ละวิชา หลักจาก ได้รายละเอียดของเนื อหา จึงนํามาปฏิบตั ิตามขันตอนต่อไปนี 1.1.1 กําหนดวัตถุประสงค์ทวไป ั 1.1.2 จัดลําดับเนือหาให้มีความสัมพันธ์ต่อเนื องกัน 1.1.3 เขียนหัวข้อเรื องตามลําดับเนือหา

81 1.1.4 เลือกหัวเรื องและเขียนหัวข้อย่อย 1.1.5 เลือกเรื องทีจะนํามาสร้างบทเรี ยน 1.1.6 นําเรื องทีเลือกมาแยกเป็ นหัวข้อย่อยแล้วจัดลําดับความต่อเรื องและ ความสัมพันธ์ในหัวข้อย่อยของเนื อหาทีนํามา 1.2 การกําหนดจุดประสงค์ของบทเรี ยน การกําหนดจุดประสงค์จะเป็ นแนวทางแก่ผอู้ อกแบบบทเรี ยนให้ทราบว่า ผูเ้ รี ยนหลังจากเรี ยนจบแล้วจะบรรลุตามจุดประสงค์มากน้อยแค่ไหนการกําหนดจุดประสงค์จึง กําหนดได้ทวไปและเชิ ั งพฤติกรรม สําหรับการกําหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องคํานึงถึง 1.2.1 ผูเ้ รี ยน (Audience) ว่ามีพืนฐานความรู้เพียงใด 1.2.2 พฤติกรรม (Behavior) เป็ นการคาดหวังเพือทีจะให้ผเู้ รี ยนบรรลุ เป้ าหมายการวัดพฤติกรรมทําได้โดยสังเกต คํานวณ นับ แยกแยะ แต่งประโยค 1.2.3 เงือนไข (Condition) เป็ นการกําหนดสภาวะทีพฤติกรรมของ ผูเ้ รี ยนจะเกิดขึน เช่น เมือนักเรี ยนดูภาพแล้วจะต้องวาดภาพนันส่ งครู เป็ นต้น 1.2.4 ปริ มาณ (Degree) เป็ นการกําหนดมาตรฐานทียอมรับว่าผูเ้ รี ยน บรรลุจุดประสงค์แล้ว เช่น อ่านคําควบกลําได้ถูกต้อง 20 คํา จาก 25 คํา เป็ นต้น 1.3 การวิเคราะห์เนือหาและกิจกรรม การวิเคราะห์เนือหาเป็ นขันตอนทีสําคัญโดยต้องย่อยเนือหาเป็ นเนือหาเล็กๆมี การเรี ยบลําดับจากง่ายไปหายาก มีการวิเคราะห์วา่ จะเริ มต้นตรงไหนและดําเนินการไปทางใด โดยมีขนตอนดั ั งนี 1.3.1 กําหนดเนือหาสันกิจกรรมการเรี ยน และมโนทัศน์ทีคาดหวังว่าจะ ให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ 1.3.2 เขียนเนือหาสันๆทุกหัวข้อย่อยให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม 1.3.3 เขียนมโนทัศน์ทุกหัวข้อย่อย จากนันนํามา 1.3.3.1 นํามาจัดลําดับเนือหา ได้แก่ บทนํา ระดับของเนือหาและกิจกรรม ลําดับความสําคัญของเนือหาก่อนหลัง ความต่อเนืองของเนือหาแต่ละเฟรม ความยากง่ายของเนือหา

82 เลือกและกําหนดสื อทีจะช่วยให้เกิดการเรี ยนรู้ 1.3.3.2 เขียนผังงาน (layout content) เช่น แสดงการเริ มต้นและจุดจบของเนือหา แสดงการเชือมต่อและความสัมพันธ์การเชือมโยงของ บทเรี ยน แสดงการปฏิสัมพันธ์ของเฟรมต่าง ๆ ของบทเรี ยน แสดงเนือหา จะใช้แบบสาขาแตกขยายหรื อเชิงเส้น การเลือนไหลของวิธีการนําเสนอเนื อหาและกิจกรรม 1.3.3.4 การออกแบบจอภาพและการแสดงผล เช่น บทนําและวิธีการใช้โปรแกรม การจัดเฟรมหรื อแต่ละหน้าจอ การให้สี แสง ภาพ และกราฟิ กต่าง ๆ แบบของตัวอักษร การตอบสนองและการโต้ตอบ การแสดงผลจอภาพและเครื องพิมพ์ การจัดตําแหน่งและขนาดของเนือหา การออกแบบและการแสดงภาพและกราฟิ กบนจอ การออกแบบเฟรมต่าง ๆ ของบทเรี ยน และการนําเสนอ การออกแบบการวัดผลและประเมินผล เช่น การจับคู่ เติมคําแบบเลือกตอบ เป็ นต้น 1.4 การกําหนดขอบข่ายบทเรี ยนโดยการจัดลําดับเนือหาและกิจกรรมใน การนําเสนอ 2. การสร้างบทเรี ยน ในการสร้างบทเรี ยนมีขนตอน ั ดังต่อไปนี 2.1 การใส่ เนือหาและกิจกรรมโดยคํานึงถึงข้อมูลทีจะแสดงบนจอ สิ งทีคาดหวัง และการตอบสนองและข้อมูลสําหรับการควบคุมการตอบสนอง 2.2 การใส่ ขอ้ มูลและบันทึกการสอน 2.3 การผลิตบทเรี ยน โดยการใช้โปรแกรมสําหรับการสร้างบทเรี ยนโดยเฉพาะ หรื อใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึง โดยมีการตรวจข้อผิดพลาดต่างๆ

83 2.4 การทดสอบการทํางาน โดยเป็ นการทดสอบโปรแกรมทีสร้าง นําไปให้ครู สอนเนื อหา ตรวจดูความถูกต้องบนจอภาพ อาจมีการแก้ไขบางส่ วน และนําไปทดสอบกับผูเ้ รี ยน ในสภาพการใช้งานจริ ง เพือทดสอบการทํางานของโปรแกรมและหาข้อบกพร่ องทีคาดไม่ถึงเพือนํา ข้อมูลเหล่านันกลับมาปรับปรุ งแก้ไขโปรแกรม เพือนําไปใช้ต่อไป 3. การประเมินผลบทเรี ยน การตรวจสอบและประเมินผลบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ก่อนทีจะนําไปใช้ในการ เรี ยนการสอนเป็ นสิ งทีจําเป็ นโดยการตรวจสอบนันจะต้องทําตลอดเวลา ในแต่ละขันตอนของการ ออกแบบบทเรี ยน และมีการทดสอบก่อนนําไปใช้งาน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541 : 31-39) ได้กล่าวถึงขันตอนในการการออกแบบบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ 7 ขันตอน สรุ ปได้ดงั นี ขันตอนที 1 ขันตอนการเตรี ยม (Preparation) ในขันการเตรี ยมจะต้องศึกษาพืนฐานของผูเ้ รี ยนทีเป็ นกลุ่มเป้ าหมายเพราะ ความรู ้พืนฐานของผูเ้ รี ยนเพือกําหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ (Determine Goals and Objectives) หลังจากนันผูอ้ อกแบบเตรี ยมรวบรวมข้อมูล (Collect Resources) โดยการเตรี ยมด้านส่ วนเนือหา การพัฒนาและการออกแบบบทเรี ย นและสร้ างสื อบทเรี ย นคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน นอกจากนี ผูอ้ อกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจะต้องเรี ยนรู้เนื อหา (Learn Content) โดยการเรี ยนรู้ เนื อหาในหลายลักษณะ เช่น การสัมภาษณ์ ผูเ้ ชี ยวชาญ การอ่านหนังสื อและเอกสารต่างๆที เกี ยวเนื องกับเนื อหาของบทเรี ยน จากนันสร้างความคิด (Generate Ideas) โดยกระตุน้ ให้เกิ ด ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างบทเรี ยนต่อไป ขันตอนที 2 ขันตอนการออกแบบบทเรี ยน(Design Instruction) ขันตอนนีเป็ นขันตอนของการวิเคราะห์เนือหาและแนวคิดในการออกแบบ บทเรี ยนขันแรกและการประเมินและแก้ไขการออกแบบ ขันตอนการออกแบบบทเรี ยนเป็ นขันตอน ทีสําคัญทีสุ ดเพราะเป็ นขันตอนทีกําหนดว่าบทเรี ยนจะออกมารู ปแบบใด ขันตอนที 3 ขันตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) การเขียนผังงาน คือ การเขียนชุดของลักษณ์ต่างๆซึงอธิ บายลําดับขันตอนใน การทํางานของโปรแกรมซึ งคอมพิวเตอร์ทีดีวา่ ต้องมีปฏิสัมพันธ์อย่างสมําเสมอกับผูเ้ รี ยนและ ปฏิสัมพันธ์นีจะถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างชัดเจนทีสุ ดในรู ปของสัญลักษณ์ทีแสดงกรอบ การตัดสิ นใจและกรอบเหตุการณ์ ในการเขียนผังงานจะไม่นาํ เสนอรายละเอียดของหน้าจอเหมือน กับการสร้างสตอรี บอร์ดแต่จะนําเสนอเป็ นลําดับขันตอนเท่านัน

84 ขันตอนที 4 ขันตอนการสร้างสตอรี บอร์ ด (Create Storyboard) การสร้างสตอรี บอร์ดเป็ นขันตอนของการนําเสนอข้อความ ภาพและสื อใน รู ปแบบมัลติมีเดียต่างๆลงบนกระดาษ การสร้างสตอรี บอร์ดควรมีการประเมินและทบทวนแก้ไข บทเรี ยนจากสตอรี บอร์ ดก่อนนําไปสร้างเป็ นบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อไป ขันตอนที 5 ขันตอนเขียนโปรแกรม (Program Lesson) ขันตอนการเขียนโปรแกรมเป็ นกระบวนการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน ผูอ้ อกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะต้องเลือกใช้โปรแกรมทีเหมาะสม ขันตอนที 6 ขันตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรี ยน (Produce Supporting) เอกสารประกอบการสอนบทเรี ยนเป็ นสิ งทีจําเป็ นเพราะทําให้ผใู้ ช้ใช้บทเรี ยน ได้อย่างถูกต้องตามลําดับขันตอน เอกสารประกอบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท คือ คู่มือการใช้ของผูเ้ รี ยน คู่มือการใช้ของผูส้ อน คู่มือสําหรับแก้ปัญหาเทคนิ คต่างๆ และ เอกสารประกอบเพิมเติมทัวๆ ไป ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนย่อมต้องมีความต้องการทีแตกต่างกันไป ดังนัน คู่มือสําหรับผูเ้ รี ยนและผูส้ อนจึงไม่เหมือนกัน ขันตอนที 7 ขันตอนการประเมินและแก้ไขบทเรี ยน (Evaluate and Revise) ในขันตอนนีเป็ นขันตอนของการประเมินบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ เอกสารประกอบทังหมดโดยเฉพาะการประเมิ นในส่ วนของการนํา เสนอและการทํา งานของ บทเรี ย น ในส่ วนของการนําเสนอนันผูท้ ี ควรจะทํา การประเมิ นก็ คื อผูท้ ี มี ป ระสบการณ์ ใ นการ ออกแบบมาก่ อน ในการประเมิ นการทํางานของบทเรี ย นนัน ผูอ้ อกแบบควรทีจะทํา การสัง เกต พฤติกรรมของผูเ้ รี ยนในขณะทีใช้บทเรี ยนหรื อสัมภาษณ์ผเู้ รี ยนหลังการใช้บทเรี ยน นอกจากนี ยัง อาจทดสอบความรู ้ ผเู ้ รี ยนหลังจากการทีได้ทาํ การเรี ยนจากคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแล้ว โดยผูเ้ รี ยน จะต้องมาจากผูเ้ รี ยนในกลุ่มเป้ าหมาย ขันตอนนี อาจครอบคลุมการทดสอบนําร่ องและการประเมิน จากผูเ้ ชียวชาญได้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ (2537:18-20) กล่าวถึงกระบวนการใน การสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไว้ มีขนตอนดั ั งต่อไปนี 1. การออกแบบและพัฒนาบทเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยขันตอนต่างๆ คือ การวิเคราะห์ กระบวนการวิชา (Course Analysis) การกําหนดวัตถุประสงค์บทเรี ยน (Tutorial Objectives) การวิเคราะห์เนื อหาและกิ จกรรม (Content and Activities Analysis) การกําหนดขอบข่ายของ บทเรี ยน และการกําหนดวิธีการนําเสนอ (Presentation) 2. การเขียนแผนภูมิโครงร่ างของบทเรี ยน (Storyboard) หมายถึง เรื องราวของบทเรี ยนที ประกอบด้วยเนือหาทีแบ่งเป็ นกรอบเนือหาย่อย (Frame) ตามวัตถุประสงค์และการนําเสนอ โดยร่ าง

85 แต่ละกรอบเนื อหาเรี ยงลําดับไว้ตงแต่ ั กรอบที 1 จนถึงสุ ดท้าย นอกจากนีแล้วยังต้องระบุภาพทีใช้ แต่ละกรอบเนื อหาย่อยพร้อมเงือนไขต่างๆทีเกียวข้อง เช่น ลักษณะของภาพ เสี ยงประกอบแผนภูมิ โครงร่ างนี จะเป็ นแนวทางการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนต่อไป ดังนันการสร้างแผนภูมิ โครงร่ าง ทีละเอียดและสมบูรณ์มากเท่าใดก็จะทําให้การสร้างบทเรี ยนเป็ นระบบมากขึน 3. การสร้างบทเรี ยน (Courseware Construction) หมายถึง การดําเนิ นการตาม แผนภูมิ โครงร่ างทีวางไว้ทงหมด ั นับตังแต่การออกแบบกรอบเนื อหาเปล่าหน้าจอ การกําหนดสี ทีจะใช้งาน จริ ง รู ปแบบของอักษรทีจะใช้ ขนาดของตัวอักษรสี พืนและสี ของตัวอักษร นอกจากนันแล้วยังมี ข้อมูลต่างๆทีเกียวข้อง เช่น การใส่ เนือหาและกิจกรรม ซึงประกอบด้วย ข้อมูลทีจะแสดงบนจอสิ งที คาดหวังและการตอบสนอง ข้อมูลสําหรับการควบคุมการตอบสนอง การใส่ ขอ้ มูลบันทึกการสอน การสร้างบทเรี ยนนันส่ วนใหญ่แล้วผูส้ ร้างจะสร้างโดยใช้ Authoring System ได้แก่ การสร้างภาพ เช่น ภาพลายเส้น ภาพนิง ภาพเคลือนไหว การบันทึกเสี ยง ฯลฯ การสร้างเงือนไขของบทเรี ยน เช่น การโต้ตอบ การย้อนกลับ ฯลฯ 3. การตรวจสอบและประเมินผล ในขันสุ ดท้ายของการนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนไปใช้ ง านจํา เป็ นอย่ า งยิ งที จะต้อ งผ่ า นกระบวนการตรวจสอบและประเมิ น การเรี ยน (Courseware Testing and Evaluating) ก่อนเพือประเมินผลบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนในขัน แรกว่ามี คุณภาพอย่างไร การตรวจสอบนันจะต้องทําตลอดเวลา หมายถึงการตรวจสอบในแต่ละ ขันตอนของการออกแบบบทเรี ย น การตรวจสอบการใช้งานบทเรี ย น โปรแกรมบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจําเป็ นต้องมีการทดสอบบทเรี ยนก่อนทีจะนําไปใช้งาน เพือตรวจสอบความ ถูกต้องในการใช้งานของบทเรี ยน การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ครรชิต มาลัยวงศ์ (2535 : 17) แนะนําว่าควรประเมินบทเรี ยนโดยพิจารณาสิ งต่อไปนี 1. ความถูกต้องของเนื อหา 2. ข้อกําหนดด้านการสอน 3. การใช้หลักการเรี ยนการสอน กลวิธีการสอน 4. การออกแบบบทเรี ยน 5. การออกแบบหน้าจอ 6. การใช้บทเรี ยน 7. การจัดเอกสาร 8. เครื องมือช่วยการเรี ยน

86 วชิระ อินทร์ อุดม (2539:41-42) ได้กล่าวถึงขันตอนการประเมินบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน 6 ขันตอน คือ 1. การประเมินคุณภาพโดยผูส้ อนและผูเ้ ชี ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือพิจารณา ความถูกต้องด้านเนือหา ด้านโปรแกรมตามทีออกแบบไว้ 2. นํา ข้อบกพร่ อ งที พบและข้อ เสนอแนะจากผูส้ อนและผูเ้ ชี ยวชาญมาแก้ไ ขปรั บ ปรุ ง บทเรี ยนและโปรแกรม 3. นําบทเรี ยนทีแก้ไขแล้วไปทดลองใช้เพือดูปฎิกิริยาของนักเรี ยนกับบทเรี ยน ดูอตั ราการ ตอบผิด ความก้าวหน้าของลําดับการเรี ยนและการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบทเรี ยน ผลการทดสอบ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน นําข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ 4. ปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยน แล้วนําไปให้ผสู้ อนและผูเ้ ชียวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทํา การประเมินโดยใช้แบบประเมินบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือพิจารณาความสมบูรณ์ดา้ นการ ออกแบบการสอน การบันทึกและการจัดการเกียวกับนักเรี ยน 5. ปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยอาศัยข้อมูลและข้อเสนอแนะ 6. นําบทเรี ยนทีแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างโดยจัดให้มีการทดสอบก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือหาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนและปรับปรุ ง แก้ไขข้อบกพร่ องต่อไป อย่างไรก็ตาม ขันตอนในการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีกล่าวมาทังหมดนี เป็ นหลักเกณฑ์ซึงสามารถยืดหยุน่ ได้ตามความจําเป็ น ในงานวิจยั นีผูว้ ิจยั ได้ใช้ขนตอนในการสร้ ั าง บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทังหมด 7 ขันตอน คือ ขันเตรี ยมการ ขันออกแบบบทเรี ยน ขันเขียน ผังงาน ขันสร้างสตอรี บอร์ ด ขันเขียนโปรแกรม ขันการผลิตเอกสารประกอบบทเรี ยนและขัน ประเมินและแก้ไขบทเรี ยน 5.10 ทฤษฎีทางจิตวิทยาทีเกียวข้ องกับคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ทฤษฎีทางจิตวิทยาหลายทฤษฎีสามารถนํามาประยุกต์ใช้เป็ นแนวทางในการสร้างบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ ในทีนีจะยกมากล่าวเพียงบางทฤษฎีทีมีความสําคัญ (สุ รางค์ โค้วตระกูล 2541:355-360) ทฤษฎีการเรียนรู้ พฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรี ยนรู้พฤติกรรมนิ ยม (behaviorism) มีแนวคิดว่า พฤติกรรมทุกอย่างเกิ ดขึนได้ โดยการเรี ยนรู ้ และสามารถสังเกตได้ พฤติกรรมแต่ละชนิ ดเป็ นผลรวมของการเรี ยนที เป็ นอิสระ หลายอย่างและแรงเสริ ม จะช่วยทําให้พฤติกรรมเกิดขึนได้และได้เสนอวิธีการสอนโดยใช้เครื องมือ

87 ช่วยสอน หรื อการสอนแบบโปรแกรมขึน ซึ งเชือว่าเป็ นการช่วยครู ได้ อย่างมากและผลก็คือจะทํา ให้นกั เรี ยนทุกคนเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ทีตังไว้ โดยมีหลักการดังนี 1. แบ่งบทเรี ยนแต่ละบทออกเป็ นหน่วยย่อยเป็ นขันๆ เรี ยกว่า กรอบ (frame) ประกอบด้วย ความคิดรวบยอด (concept) ทีต้องการจะให้นกั เรี ยนเรี ยนรู้ทีละอย่างเพือให้แน่ใจว่าผูเ้ รี ยนตอบและ จําได้ 2.การจัดลําดับกรอบต้องจัดตามลําดับจากง่ายไปหายาก จึงจะช่วยผูเ้ รี ยนให้เรี ยนรู้เป็ นขันๆ ตามหลัก shaping ของสกินเนอร์ 3. ผูเ้ รี ยนจะต้องตอบคําถามในทุกๆกรอบตามลําดับ 4.ทุกครังที ผูเ้ รี ยนให้คาํ ตอบจะได้รับผลย้อนกลับ ให้ทราบทันทีว่าตอบถูกหรื อผิดซึ งจะ ช่วยเสริ มแรงให้ผเู ้ รี ยนอยากเรี ยนรู ้ ทฤษฎีการวางเงือนไขการกระทํา สกินเนอร์ (Skinner) เป็ นผูค้ ิดทฤษฎีการวางเงือนไขการกระทําทีเน้น การกระทําของผูร้ ับ การทดลองหรื อผูท้ ีเรี ยนรู ้มากกว่าสิ งเร้าทีผูท้ ดลองหรื อผูส้ อนกําหนดโดยทฤษฎีนีเชือว่าถ้าต้องการ ให้พ ฤติ ก รรมคงอยู่หรื อ ลดลงจะต้องให้แ รงเสริ ม ตอบสนองต่ อ การกระทํา นัน ถ้า แรงเสริ ม ที ตอบสนองต่อพฤติกรรมนันเป็ นสิ งทีผูเ้ รี ยนพึงปรารถนาพฤติกรรมนันก็จะเพิมขึนแต่ถา้ แรงเสริ มที ได้รับเป็ นสิ งทีผูเ้ รี ยนไม่พึงพอใจก็จะลดพฤติกรรมนันไปเอง แรงเสริ มแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท 1. แรงเสริ มทางบวก เป็ นสิ งทีช่วยเพิมพฤติกรรมทีพึงปรารถนาหรื อรางวัลทีได้รับ เช่ น ของขวัญ คําชม คะแนนสะสม เป็ นต้น เมือผูเ้ รี ยนได้รับสิ งต่างๆเหล่านี พฤติกรรมทีทําให้ได้รางวัล มาก็จะเพิมความถีขึน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไม่สามารถให้แรงเสริ มประเภทสิ งของได้แต่ จะกล่าวชมเชยหลังจากทีผูเ้ รี ยนสามารถตอบสนองเงือนไขของบทเรี ยนได้ถูกต้อง 2. แรงเสริ มทางลบเป็ นแรงเสริ มทีไม่พึงปรารถนา ไม่ตอ้ งการให้เกิดขึนเพราะเป็ นเสมือน การทําโทษ เช่น การถูกหักคะแนน การให้กลับไปเรี ยนทบเก่าซําจนกว่าจะเข้าใจหรื อตัดโอกาสการ เล่นเกม วิธีการเสริ มแรง 1. ให้เสริ มแรงทุกครังอย่างต่อเนือง ถ้าผูเ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมถึงปรารถนาก็จะให้แรงเสริ ม ทางบวกแต่ถา้ ผูเ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมทีไม่พึงปรารถนาก็จะให้แรงเสริ มทางลบ สําหรับการพัฒนา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การให้แรงเสริ มแบบนีจะทําได้โดยง่ายเนื องจากมีเงือนไขทีแน่นอน จัดทําได้ง่าย

88 2. ให้แรงเสริ มเป็ นครังคราว การให้แรงเสริ มแบบนี จะทําเป็ นครังคราว แม้วา่ ผูใ้ ช้บทเรี ยน จะแสดงพฤติกรรมได้ถูกต้อง บางครังก็จะไม่ได้รับรางวัล การให้เสริ มแรงแบบนีจะมีประสิ ทธิ ภาพ ดี กว่าแบบแรก แต่การสร้ างบทเรี ยนทําได้ยากกว่า เนื องจากต้องตรวจสอบเงือนไขในโปรแกรม มากกว่า ข้อ เสนอแนะการประยุ ก ต์ใ ช้ท ฤษฎี ก ารวางเงื อนไขการกระทํา ในการผลิ ต บทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สรุ ปได้ดงั นี 1. ตังพฤติกรรมเป้ าหมายหรื อพฤติ กรรมทีต้องการให้ชัดเจน เช่ น ถ้าต้องการให้ผูเ้ รี ย น สามารถบวกและลบเลขได้อย่า งถู ก ต้อง ควรแยกบทเรี ยนให้ชัดเจน เช่ น ถ้า ต้องการให้ผูเ้ รี ย น ออกเป็ นหน่วยย่อยๆอย่างน้อย 2 หน่วยคือหน่วยสําหรับเสนอบทเรี ยนเรื องการบวกและการลบออก จากกัน 2. เลือกแบบการนําเสนอบทเรี ยน หรื อการเลือกวิธีสอนตามกลวิธีการสอนทีใช้ในบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 3. เลือกวิธีการเสริ มแรงสําหรับใช้ในบทเรี ยนในหน่วยย่อยนันหลายๆรู ปแบบ 4. จัดลําดับขันตอนของพฤติกรรม โดยกําหนดเรื องทีผูเ้ รี ยนเรี ยนรู้เป็ นฐานความรู้สําหรับที จะศึกษาในหน่วยทีสู งขึน เช่น ถ้าต้องการเสนอเนือหาเรื องการบวก ลบ คูณ หาร ควรจะเสนอเรื อง การบวกและการลบก่ อนโดยให้ก ารเสริ มแรงเป็ นระยะแล้วค่อยลดลง จากนันจึ งเสนอเนื อหา ํ บแบบแรก เป็ นต้น เกียวกับการคูณและการหารและให้การเสริ มแรงทีไม่ซากั ทฤษฎีการสร้ างแรงจูงใจ ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ ของมาสโลว์ (Maslow) เป็ นทฤษฎีทีเน้นการสร้างบรรยากาศที สนองความสนใจของนักเรี ยน การจัดประสบการณ์ ให้นกั เรี ยนได้ลิมรสความสําเร็ จในสิ งทีเรี ยน เป็ นเบืองต้นทุกคน ซึ งจะนําไปสู่ ความสําเร็ จในระดับสู งต่อไป (จีรารัตน์ ชิ รเวทย์ 2542 : 44-45) ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจมีแนวคิด 2 ประการคือ 1.แรงจู ง ใจ (motivation) ซึ งเกิ ด จากความต้อ งการอัน จะไปกระตุ ้น ให้ บุ ค คลแสดง พฤติกรรมหรื อปฏิบตั ิให้บรรลุการตอบสนองความต้องการจนครบถ้วน 2. ความต้องการ ซึ งเป็ นมนุ ษย์มีความต้องการอยู่ 5 ขัน คือ ความต้องการทางกาย ความ ต้องการความมันคงปลอดภัย ความต้องการความรักและความอบอุ่นและการยอมรับของหมู่คณะ ความต้องการเกียรติยศชือเสี ยงและขันสุ ดท้ายคือความต้องการประสบความสําเร็ จในการเป็ นมนุ ษย์ ทีสมบูรณ์

89 จากทฤษฎีดงั กล่าว สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ คือ การให้นัก เรี ย นเรี ย นรู้ จากสิ งที รู้ ไปหาสิ งที ไม่รู้ สิ งง่ า ยไปหาสิ งยาก ทํา ให้นัก เรี ย นประสบ ผลสําเร็ จในการเรี ยนและไม่เกิดความเบือหน่าย ทฤษฎีการเรียนรู้ ปัญญานิยม ทฤษฎี การเรี ยนรู ้ กลุ่มปั ญญานิ ยม (cognitivism) เป็ นทฤษฎี ทีเกิ ดจากแนวคิดของชอมสกี (Chomsky) เน้นการรับรู ้โดยส่ วนรวมมากกว่าการเน้นทีส่ วนย่อยๆ กลุ่ มทฤษฎี การเรี ยนรู้ปัญญา นิยม กล่าวว่าการเรี ยนรู ้ เกิดจากการรับรู้เป็ นส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อยรวมกันและประสบการณ์ก็มี ส่ วนสําคัญในเรื องของการเรี ยนรู ้ ซึ งเป็ นหลักการเรี ยนรู้ของกลุ่มนี แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. การหยังเห็น (insight) เป็ นความเข้าใจทีเกิดขึนโดยเข้าใจขันตอนในการแก้ปัญหาว่าจะ แก้ตรงจุดใดก่อนหลัง การหยังเห็นเป็ นความเข้าใจทีเกิดขึนหลังจากทีมีการคิดแก้ปัญหาด้วยการคิด วิธีอืนมาก่อนระยะหนึงแล้วในลักษณะของการลองผิดลองถูกซึ งในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน นันสามารถให้ผเู้ รี ยนเรี ยนด้วยตนเองได้ 2. การรับรู้ (perception) หมายถึ ง การะบวนการแปลความหมายของสิ งเร้ า ทีมากระทบ ประสาทสัมผัสทังห้า เป็ นการสร้ างความหมายเกียวกับสิ งนันๆ การรับรู้มีความสําคัญอย่างมากต่อ การเรี ยนการสอน ในการเรี ยนรู ้ผเู ้ รี ยนจะต้องรับก่อนทีจะเรี ยนจึงจะทําให้เกิดการเรี ยนรู้ หลักการและแนวคิดของทฤษฎี ปั ญญานิ ย ม สามารถนํา มาใช้ในการออกแบบบทเรี ย น บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ได้ดงั นี (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 ข : 42-43) 1. ใช้เทคนิคเพือสร้างความสนใจแก่ผเู้ รี ยนก่อนเริ มเรี ยน โดยการผสมผสานข้อมูลและการ ออกแบบชือเรื องทีเร้าความสนใจ 2. ควรสร้ างความน่ าสนใจในการศึกษาบทเรี ยนอย่างต่อเนื อง ด้วยวิธีการและรู ปแบบที แตกต่างกันออกไป 3. ใช้ภาพและกราฟิ กประกอบการสอนควรต้องคํานึงถึงความสอดคล้องกับเนือหา 4. คํานึ งถึงความแตกต่างของผูเ้ รี ยนในแง่ของการเลื อกเนื อหาการเรี ยนการเลือกกิจกรรม การเรี ยน การควบคุมการศึกษาบทเรี ยน การใช้ภาษา การใช้กราฟิ กประกอบบทเรี ยน 5. ผูเ้ รี ยนควรได้รับการชี แนะในรู ปแบบที เหมาะสม หากเนื อหาทีศึ กษามี ความซับซ้อน หรื อมีโครงสร้างเนือหาทีเป็ นหมวดหมู่และสัมพันธ์กนั 6. ควรเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ย นทบทวนความรู้ เดิ ม ที สัม พัน ธ์ ก ับ ความรู้ ใ หม่ ใ นรู ป แบบที เหมาะสม

90 7. กิจกรรมการสอนควรผสมผสานการให้ความรู้ การให้คาํ ถามเพือให้ผเู้ รี ยนคิดวิเคราะห์ หาคําตอบ 8. สร้างแรงจูงใจโดยเน้นความพึงพอใจทีเกิดขึนจากความสําเร็ จในการเรี ยนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสั งคม กลุ่มทฤษฎีการเรี ยนรู ้ทางสังคม มีแนวคิดทีว่า การเรี ยนรู้ ของมนุ ษย์เกิดขึนจากการสังเกต หรื อการเลียนแบบจากตัวแบบซึ งอาจจะเป็ นรู ปภาพ การ์ ตูน โทรทัศน์ หนังสื อ หรื อสัญลักษณ์ เรา สามารถนําสิ งเหล่านีมาเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญในการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ กระบวนการทีสําคัญในการเรี ยนรู ้โดยการสังเกตนีมี 4 อย่าง ได้แก่ 1. กระบวนการความใส่ ใจใส่ (attention) 2. กระบวนการจดจํา (retention) 3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง (reproduction) 4. กระบวนการจูงใจ (motivation) ผูเ้ รี ยนจะมีแรงจูงใจทีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบเพราะคาดหวังว่าการเลียนแบบจะ นํา ประโยชน์ ม าให้ เช่ น บทเรี ย นคอมพิ วเตอร์ ช่ ว ยสอนแบบเกมอาจจูง ใจให้ผูเ้ รี ย นอยากที จะ เอาชนะเพือจะได้รับรางวัลในตอนท้ายหรื ออาจจะให้ขอ้ มูลย้อนกลับว่าผูเ้ รี ยนไปถึงระดับใดของ บทเรี ยน เช่น อาจจะมีระบบการเก็บคะแนนและบอกคะแนนให้ผเู้ รี ยนทราบว่าผูเ้ รี ยนทําคะแนนได้ เท่ า ใด สิ งเหล่ า นี สามารถนํ า เสนอผ่ า นองค์ ป ระกอบที น่ า สนใจ เช่ น มี ภ าพกราฟิ กหรื อ ภาพเคลือนไหว เป็ นต้น ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบต่ อเนือง ธอร์ นไดค์ (Thorndike) เป็ นนัก การศึ ก ษาและนัก จิ ตวิท ยาที ให้ก าํ เนิ ด ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ แบบต่อเนื องหรื อทฤษฎี การเรี ยนรู้ทีเน้นความสัมพันธ์เชื อมโยงระหว่างสิ งเร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎี นีมีแนวคิดว่า การลองผิดลองถูกจะทําให้เกิดการเชือมโยงระหว่างสิ งเร้ ากับการตอบสนอง และการเรี ยนรู ้ก็คือการทีมีการเชื อมโยงระหว่างสองสิ งนีเข้าด้วยกันซึ งเชือว่าการลองผิดลองถูกจะ นําไปสู่ การเรี ยนรู ้เพราะเมือมีสิงเร้ามากระตุน้ ผูเ้ รี ยนจะพยายามตอบสนองสิ งเร้านันหลายๆแบบ ั งการเรี ยนรู้ขึนมา 3 กฎ ดังนี จนกว่าจะพบวิธีทีดีทีสุ ด ธอร์นไดค์ ได้ตงกฎแห่ 1. กฎแห่ งเหตุและผล กล่าวว่าการเชือมโยงกันระหว่างสิ งเร้ากับการตอบสนองจะดียงขึ ิ น เมือผูเ้ รี ยนแน่ใจว่าพฤติกรรมตอบสนองของตนถูกต้องการให้รางวัลจะส่ งเสริ มการแสดงพฤติกรรม นันๆให้เพิมขึนอีก

91 2. กฎแห่งการฝึ กหัด กล่าวว่าการได้มีโอกาสได้ทาํ พฤติกรรมใดๆซําๆจะทําให้พฤติกรรม นันสมบูรณ์ยงขึ ิ น 3. กฎแห่งความพร้อม กล่าวว่าเมือผูเ้ รี ยนมีความพร้อมทีจะตอบสนองหรื อแสดงพฤติกรรม ใดๆ ถ้ามีโอกาสได้กระทําย่อมเป็ นทีพึงพอใจ แต่ถา้ ไม่พร้อมทีจะตอบสนองหรื อแสดงพฤติกรรม การตอบสนองหรื อมีการบังคับให้กระทําย่อมทําให้เกิดทัศนคติทางลบ ข้อ เสนอแนะการประยุ ก ต์ ใ ช้ ท ฤษฎี ก ารเรี ยนรู้ แ บบต่ อ เนื องในการผลิ ต บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สรุ ปได้ดงั นี 1. เนือหาของบทเรี ยนควรมีเกียวข้องและมีความต่อเนืองกัน 2. ในส่ วนย่อยของเนือหาควรมีทางเลือกสําหรับการตอบสนองหลายๆแบบโดยแต่ละแบบ ไม่ควรมีลกั ษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจนเกินไป 3. ไม่ควรเข้าสู่ เนือหาของแต่ละบทเร็ วเกินไปแต่ควรมีกิจกรรมในลักษณะของการนําเข้าสู่ บทเรี ยนเพือให้ผเู ้ รี ยนเกิดความพร้อมในการเรี ยน 4. ควรมีการชีทางออกให้กบั ผูเ้ รี ยน เมือมีการแสดงพฤติกรรมทีมากเกินไป เช่น เมือผูเ้ รี ยน ตอบคําถามหลายครังแต่ไม่ถูกต้องจะเกิดความเบือหน่าย ควรมีบทเรี ยนชีแนะทางออกทีง่ายกว่าเดิม แล้วคอยเพิมความซับซ้อนขึน สรุ ปได้วา่ ทฤษฎีและหลักจิตวิทยาต่างๆทีเกี ยวข้องกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนันมี อยู่หลากหลาย ในการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนควรคํานึ งถึ งทฤษฎีและหลักจิตวิทยา ต่างๆ อย่างไรก็ตาม ไม่จาํ เป็ นต้องยึดถือทฤษฎีหรื อหลักจิตวิทยาอย่างใดอย่างหนึ งเพียงอย่างเดียว แต่ควรนําทฤษฎี และหลักจิ ตวิทยาต่างๆมาผสมผสานกันให้เหมาะสมกับเนื อหาวิชาและผูเ้ รี ย น เพือให้บทเรี ยนมีมีคุณภาพสู งสุ ด 5.11 การหาประสิ ทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ความจําเป็ นของการหาประสิ ทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กนก จันทร์ ทอง (2544:70) กล่าวว่าการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพต้อง ใช้เนือหาทีผ่านการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็ นขันตอน ผ่านการเลือกสรรจากครู ผสู้ อนและนักวิชาการ มาใช้อย่างเหมาะสมในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ศิริณา จิตต์จรัส (2541:15) กล่าวว่าการหาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นสิ งทีมีความจําเป็ น ดังนี

92 1. การหาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นการประกันคุ ณภาพของ บทเรี ย นคอมพิ วเตอร์ ช่วยสอนว่า อยู่ในขันสู งเหมาะสมกับ การที จะลงทุ นผลิ ต หากไม่มี การหา ประสิ ทธิ ภาพก่อน หากผลิตออกมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ก็ตอ้ งทําใหม่เป็ นการสิ นเปลืองเวลา แรงงาน และเงิน 2. สื อการสอนทําหน้าทีสอนโดยสร้ างภาพการเรี ยนรู้ ให้ผูเ้ รี ยนเปลี ยนพฤติกรรมตามที มุ่งหวัง บางครังต้องช่วยครู สอน บางครังต้องสอนแทนครู ดังนัน ก่อนนําสื อการสอนไปใช้ครู ตอ้ ง มันใจว่า สื อการสอนนันมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ ที แท้จ ริ ง การหา ประสิ ทธิ ภาพตามลําดับขันจะช่วยให้เราได้สือการสอนทีมีคุณค่าทางการสอนตามเกณฑ์ทีกําหนด 3. การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพทํา ให้ผู้ผ ลิ ต มันใจว่า เนื อหาที บรรจุ ใ นสื อที สร้ า งขึ นนัน เหมาะสม เข้าใจง่าย เป็ นการประหยัดสมอง แรงงาน เวลาและเงินในการเตรี ยมต้นฉบับ สรุ ปได้วา่ ในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนันจําเป็ นต้องมีการหาประสิ ทธิ ภาพ ของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนก่อนทีจะนําไปใช้จริ งเพือจะได้ทราบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนนันมีประสิ ทธิ ภาพมากน้อยเพียงใดและมีขอ้ บกพร่ องในส่ วนใดบ้างเพือทีจะได้ทาํ การแก้ไข ให้เป็ นบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นบทเรี ยนทีมีคุณภาพก่อนนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่างทีแท้จริ ง การกําหนดเกณฑ์ ประสิ ทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพ หมายถึง ระดับประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีจะ ช่ วยให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ เป็ นระดับทีผูผ้ ลิตบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจะพึงพอใจว่า หาก บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีประสิ ทธิ ภาพถึงระดับนันแล้ว แสดงว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนนันมีคุณค่าทีจะนําไปสอนนักเรี ยน (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 ข : 162) การกําหนดเกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนันทําโดยการประเมิน พฤติกรรมของผูเ้ รี ยน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุ ดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกําหนดค่าประสิ ทธิ ภาพเป็ น E1 (ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิ ทธิ ภาพ ของผลลัพธ์) ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกําหนดเป็ นเกณฑ์ทีผูส้ อนคาดหมาย ว่า นัก เรี ยนจะเปลี ยนแปลงพฤติ ก รรมเป็ นที พอใจ โดยกําหนดเป็ นค่ าเฉลี ย คิ ดเป็ นร้ อยละของ คะแนนทีได้จากการทําแบบทดสอบหลังเรี ยน การทีกําหนดเกณฑ์ผสู้ อนจะเป็ นผูพ้ ิจารณาโดยปกติ เนื อหาทีเกี ยวกับความรู ้ความจํามักตังไว้ที 80/80,85/85 หรื อ 90/90 ส่ วนเนื อหาทีเป็ นทักษะ หรื อ เจตคติอาจตังไว้ 70/70, 75/75 หากค่าประสิ ทธิภาพตํากว่าหรื อสู งกว่าเกณฑ์ทีตังไว้ไม่เกิน 5.00 ถือ ว่าค่าประสิ ทธิ ภาพเป็ นไปตามเกณฑ์ทีกําหนด (กระทรวงศึกษาธิ การ,กรมวิชาการ 2544 ข : 162-

93 163) สํ า หรั บ ขันตอนการทดลองหาประสิ ท ธิ ภ าพบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนมี ข ันตอน ดังต่อไปนี 1.ทดลองแบบหนึ งต่อหนึ ง โดยนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีสร้างขันไปทดลองกับ นักเรี ยนจํานวน 3 คน โดยเลือกจากนักเรี ยนทีมีระดับผลการเรี ยนสู ง ปานกลางและตํา ระดับละ 1 คนเพือดู ว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีความเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนอย่างไรและมีขอ้ บกพร่ อง อย่างไรเพือนําไปปรังปรุ งแก้ไข 2. ทดลองแบบกลุ่มเล็ก โดยนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีปรับปรุ งแก้ไขแล้วจาก การทดลองแบบหนึงต่อหนึงไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนโดยเลือกจากระดับผลการเรี ยนสู ง ปานกลาง และตํา ระดับละ 3 คน รวม 9 คน หลังจากนันปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องอีกครังหนึง 3. ทดลองแบบภาคสนาม โดยนําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีทดสอบกับกลุ่มเล็กและ ปรับปรุ งแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนจํานวน 30 คน แล้วนําผลทีได้มาหาค่าประสิ ทธิ ภาพ และค่าดัชนี ประสิ ทธิ ผลเพือตรวจสอบหาประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนว่าเหมาะสม เพียงใด โดยใช้วธิ ี การคํานวณหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้สูตร E 1/ E 2 (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ง : 63-64) E1 =

¦& 1 u 100 $

E2 =

¦F 1 u 100 %

เมือ

E1 E2 ¦& ¦F

N

แทน ค่าเฉลียของคะแนนแบบทดสอบระหว่างเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แทน ค่าเฉลียของคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แทน คะแนนรวมของนักเรี ยนจากการทําแบบทดสอบ ระหว่างเรี ยน แทน คะแนนรวมของนักเรี ยนจากการทําแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหลังเรี ยน แทน จํานวนนักเรี ยน

94 A B

แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบระหว่างเรี ยน แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน หลังเรี ยน 6. งานวิจัยทีเกียวข้ อง

6.1 งานวิจัยในประเทศ ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษางานวิจยั ในปะเทศทีเกียวกับการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ดังต่อไปนี จรรยา บุญปล้อง (2541 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือการ อ่านอย่างมีวจิ ารณญาณสําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจยั พบว่า คะแนนหลังเรี ยน ของกลุ่มตัวอย่างสู งกว่าคะแนนก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 กลุ่มตัวอย่างทีมี ความสามารถในการเรี ยนต่างกันมีคะแนนเฉลียหลังเรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05 กลุ่มตัวอย่างทีเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีความเห็นว่า การเรี ยนด้วยบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนน่าสนใจและพอใจการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สมศักดิ อัมพรวิสิทธิ โสภา (2548 : บทคัดย่อ) พัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื อง รามเกียรติ ตอน ศึกไมยราพ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2548 โรงเรี ยนประมุขวิทยา จํานวน 30 คน ผลการวิจยั พบว่า บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน เรื อง รามเกียรติ ตอน ศึกไมยราพ มีค่าประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 80.00/90.35 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ทีกําหนดไว้ ค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 หลัง เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 นักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 ส่ วนใหญ่ มีความคิดเห็นต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับมากทีสุ ด ปารณี ย ์ โชติมนเศรษฐ์ ั (2550 : 58) สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนวิชาภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง สําหรับนักเรี ยนช่วงชันที 4 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ปี การศึกษา 2550 โรงเรี ยนปริ นส์รอยแยลส์วิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 30 คน ผลการศึกษา พบว่า ได้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน อุตรกุรุทวีป สําหรับนักเรี ยนช่วงชันที 4 มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 88.67/94.50 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ มาตรฐานทีกําหนดไว้ 80/80 ทรงฤทธิ ฉิ มโหมด (2553:บทคัดย่อ) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีเรี ยนด้วยวิธีสอนแบบหมวก

95 หกใบร่ วมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกับวิธีการสอนแบบปกติร่วมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน กลุ่มตัวอย่างคื อ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนอํานวยศิลป์ ผลการวิจยั พบว่า ผลสัม ฤทธิ ทางการเรี ย นของนัก เรี ยนกลุ่ มที เรี ยนด้วยวิธีสอนแบบหมวกหกใบร่ วมกับ บทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่ากลุ่มทีเรี ยนด้วยวิธีการสอนแบบปกติร่วมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนของนักเรี ยนทีเรี ยนด้วยวิธีสอนแบบหมวกหกใบร่ วมกับ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและเรี ยนด้วยวิธีการสอนแบบปกติร่วมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนแตกต่างกันอย่างมีนบั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ทังสองกลุ่ม โดยผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของ ทังสองกลุ่ ม สู ง กว่าก่อนเรี ย น นักเรี ยนมีค วามคิ ดเห็ นต่อการเรี ยนด้วยวิธีสอนแบบหมวกหกใบ ร่ วมกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนอยูใ่ นระดับดี จากการศึกษางานวิจยั ในประเทศเกี ยวกับการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยทีกล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็ นว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนช่วยให้ ผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นของนัก เรี ย นสู ง ขึ นและนัก เรี ย นมี เ จตคติ ที ดี ต่อการเรี ย นด้ว ยบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 6.2 งานวิจัยต่ างประเทศ ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษางานวิจยั ต่างประเทศทีเกียวข้องกับการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ดังต่อไปนี เมอร์ วาเรซและคณะ(Mervarech and others 1991 : Abstract) ได้ทาํ การศึกษาการเรี ยนด้วย คอมพิวเตอร์ในกลุ่มเล็ก : ด้านความรู้และเจตคติ ผลของการเรี ยนเป็ นกลุ่มและสอนตัวต่อตัวโดยใช้ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศอิสราเอล ผลการวิเคราะห์ ปรากฏว่านักเรี ยนทีเรี ยนด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นกลุ่มและคู่ มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนรู้สูง กว่านักเรี ยนทีเรี ยนด้วยวิธีสอนแบบปกติ และนักเรี ยนทีเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมี ความสนใจในการเรี ยนรู้ในระดับดี แมนซู เรี ย น (Mansurian1988:1999–A) ได้ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกับการเปลียนแปลงเจตคติทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ผลการศึกษา พบว่า นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีเจตคติทีดีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเนืองจากได้เรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง และมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ เมอร์ ริ ท (Merrit1983:34-35)ได้ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ยนโดยการใช้แ ละไม่ ใ ช้ คอมพิ วเตอร์ ช่ วยสอน โดยกํา หนดให้นัก เรี ย นกลุ่ ม ที เรี ย นด้ว ยคอมพิว เตอร์ ช่ วยสอนเป็ นกลุ่ ม

96 ทดลองและกลุ่มทีเรี ยนด้วยการสอนแบบปกติเป็ นกลุ่มควบคุม ผลปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ ทางการ เรี ยนของกลุ่มทดลองสู งกว่ากลุ่มควบคุมทังด้านการอ่านและการคํานวณ คลีเมนท์ (Clement 1981:28)ได้ศึกษาความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน พบว่า ผูเ้ รี ยนโดยทัวไปมีทศั นคติทีดี ต่อการเรี ยนด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เนื องจาก ผูเ้ รี ยนสามารถควบคุมอัตราความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง ผูเ้ รี ยนไม่รู้สึกอายเวลาตอบ คําถามผิดเพราะไม่มีใครรู ้ ผูเ้ รี ยนได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันทีทนั ใดและผูเ้ รี ยนมี ความรู้สึกว่า เรี ยนได้ดีกว่าวิธีธรรมดา จากการศึกษางานวิจยั ต่างประเทศเกียวกับการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนพบว่า นักเรี ยนทีเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนสู งกว่าการเรี ยนโดยไม่ ใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

97

บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจยั เรื อง การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ เป็ นการวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Designs) มีวตั ถุประสงค์เพือ 1)พัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ก่อน และหลัง การใช้บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนและ 3) ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของนัก เรี ย นที มี ต่ อ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน โดยใช้รูปแบบกลุ่มตัวอย่างเดี ยวมีการทดสอบก่อนและหลังเรี ยน (One Group Pretest - Posttest Design) (นิคม ตังคะพิภพ 2543 : 310 ) รู ปแบบของการวิจัย การวิจยั ครังนีเป็ นการวิจยั รู ปแบบการวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Designs) แบบกลุ่ม ตัวอย่างเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest - Posttest Design) (นิคม ตังคะพิภพ 2543 : 310 – 311) ซึ งมีรูปแบบดังนี Ο1 X Ο 2 เมือ

แทน การทดสอบก่อนเรี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทาง การเรี ยนก่อนเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ X แทน การเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ Ο 2 แทน การทดสอบหลังเรี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทาง การเรี ยนหลังเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ Ο1

97

98 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรทีใช้ในการศึกษาครังนีเป็ นนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ในภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 5 ห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนทังหมด 151 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ในภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 1 ห้องได้จากการสุ่ มอย่างง่าย (Simple random sampling) จากห้องเรี ยนทังหมด 5 ห้องเรี ยน ด้วยวิธีการจับสลากห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนจํานวน 30 คน ตัวแปรทีศึกษา 1. ตัวแปรต้ น การเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2. ตัวแปรตาม 2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2.2 ความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ เครืองมือทีใช้ ในการวิจัย เครื องมือทีใช้ในการวิจยั ครังนีมีดงั นี 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2.แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภู มิ พ ระร่ ว ง ตอน มนุ ส สภู มิ ประกอบด้ว ยแบบทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลัง เรี ย นด้ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน แบบ เลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ

99 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นแบบสอบถาม ชนิดมาตราส่ วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ จํานวน 20 ข้อ ขันตอนดําเนินการวิจัย ผูว้ จิ ยั ดําเนิ นการตามขันตอนต่างๆดังนี ขันตอนที 1 การเตรี ยมการวิจยั ขันตอนที 2 การสร้างและพัฒนาเครื องมือ ขันตอนที 3 การทดลอง ขันตอนที 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ขันตอนการสร้ างและหาประสิ ทธิภาพเครืองมือในการวิจัย ขันตอนที 1 การเตรียมการวิจัย 1. ศึกษาค้นคว้าหนังสื อ เอกสาร ตําราและงานวิจยั ทีเกียวข้องตามลําดับ ดังนี 1.1 ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย 1.1 ศึกษาหนังสื อ ตํารา เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวกับเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 1.2 ศึกษาหนังสื อ ตํารา เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้องกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 1.3 ศึกษาหนังสื อ ตํารา เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้องกับการวัดผลประเมินผล และการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็น ขันตอนที 2 การสร้ างและพัฒนาเครืองมือ 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิมีขนตอนใน ั การสร้างและตรวจสอบคุณภาพ ดังนี 1.1 ศึกษาสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย จาก หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยเพือทําความเข้าใจเกียวกับวัตถุประสงค์ เนื อหาและการวัด และประเมินผล 1.2 ศึกษาเนือหาของวรรณคดีเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ จากหนังสื อ

100 สาระการเรี ยนรู ้พืนฐาน วรรณคดีวิจกั ษณ์ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 1.3 แบ่งเนือหาเป็ นหัวข้อต่างๆโดยยึดหนังสื อสาระการเรี ยนรู้พืนฐาน วรรณคดี วิจกั ษณ์ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ตามหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 ของกระทรวงศึกษาธิ การเป็ นเอกสารหลัก แล้วนําเสนอต่ออาจารย์ทีปรึ กษา วิทยานิ พนธ์ และผูเ้ ชี ยวชาญด้านเนื อหาจํานวน 3 ท่านซึ งเป็ นอาจารย์ผูส้ อนวิชาภาษาไทยเพื อ พิจารณาความถูกต้องและแก้ไขปรับปรุ งการจัดลําดับเนือหาตามข้อเสนอแนะ 1.4 ศึกษาหลักการ วิธีการและรายละเอียดทีเกียวข้องกับการสร้างบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจากตํารา เอกสารงานวิจยั ต่างๆ 1.5 สร้างสตอรี บอร์ด (Story Board) ในขันตอนนี ผูว้ จิ ยั นําเสนอสื อในรู ปแบบ ต่ า งๆลงบนกระดาษเพื อให้ ก ารนํา เสนอเป็ นไปอย่า งเหมาะสมบนหน้า จอคอมพิ วเตอร์ ต่อ ไป จากนันนํา ไปให้อาจารย์ที ปรึ ก ษาวิท ยานิ พ นธ์ แ ละผูเ้ ชี ยวชาญด้า นการสร้ า งและการออกแบบ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจํานวน 3 ท่าน ซึ งเป็ นอาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาและ อาจารย์ประจําวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศพิจารณาความเหมาะสมของการนําเสนอ เนือหาแล้วแก้ไขปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะ โดยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิมีโครงสร้างดังปรากฏในแผนภูมิที 2 เริ ม

เลือก

คําแนะนํา

จุดประสงค์

ทดสอบก่อนเรี ยน

อ้างอิง

เลือก

กลับไปเลือกรายการ A

แผนภูมิที 2 โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ

ผูจ้ ดั ทํา

101

A

เลือกเนือหา

1

2

เนือหา

เนือหา

แบบฝึ กหัด

แบบฝึ กหัด

4

5

6

เนือหา

เนือหา

กรอบ 1 ดูหน้า102

เนือหา

แบบฝึ กหัด

แบบฝึ กหัด

3

ต้องการศึกษาเนือหาใหม่

แบบฝึ กหัด

7 กรอบ 2 ดูหน้า102

8

9

เนือหา

เนือหา

แบบฝึ กหัด

เลือก

ทดสอบหลังเรี ยน ไม่ผา่ น ผ่าน จบ หมายเหตุ 1 คือ ประวัติความเป็ นมา 2 คือ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 3 คือ ผูป้ ระพันธ์ 4 คือ ลักษณะคําประพันธ์ 5 คือ ไตรภูมิ

6 คือ การเกิดและการล้างโลก 7 คือ มนุสสภูมิ 8 คือ วรรณศิลป์ ทีปรากฏ 9 คือ คําศัพท์ 10 คือ คุณค่าด้านต่างๆ

แผนภูมิที 3 โครงสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิ

แบบฝึ กหัด

10

กรอบ 3 ดูหน้า103

102

เลือกเนื อหา

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

แบบฝึ กหัด

หมายเหตุ 5.1 5.2 5.3 5.4

คือ กามภูมิ 5.5 คือ การตายในไตรภูมิ คือ รู ปภูมิ 5.6 คือ แผนผังไตรภูมิ คือ อรู ปภูมิ 5.7 คือ โครงสร้างจักรวาล คือ การเกิดในไตรภูมิ

แผนภูมิที 4 โครงสร้างกรอบที 1

เลือกเนื อหา

7.1

7.2

แบบฝึ กหัด

หมายเหตุ 7.1 คือ เนือหา ตอน มนุสสภูมิ 7.2 คือ วีดิทศั น์ ตอน มนุสสภูมิ

แผนภูมิที 5 โครงสร้างกรอบที 2

5.6

5.7

103

เลือกเนื อหา

10.1

10.2

10.3

แบบฝึ กหัด

หมายเหตุ 10.1 คือ คุณค่าด้านภาษา 10.2 คือ คุณค่าด้านวรรณคดี 10.3 คือ คุณค่าด้านสังคม

แผนภูมิที 6 โครงสร้างกรอบที 3 1.6 นําสตอรี บอร์ด (Story Board) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีตรวจสอบแล้ว มาสร้างเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีสร้างขึนในการวิจยั ครังนีเป็ นประเภทสอนเนือหา 1.7 ศึกษาการสร้างคู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจากตําราและ เอกสารต่างๆ 1.8 ออกแบบคู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยเขียนลงใน กระดาษ จากนันนําไปให้อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ตรวจแก้ไขภาษาและเนือหาแล้วนํากลับมา แก้ไขตามคําแนะนํา 1.9 นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและคู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิไปให้อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิ พนธ์พิจารณาความ ถู ก ต้อ งเหมาะสมของโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนและตรวจแก้ไ ข จากนันนํา บทเรี ย น คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนและคู่ มื อ การใช้ ง านบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนมาปรั บ ปรุ ง แก้ไ ข ข้อบกพร่ อง 1.10 นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและคู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ที แก้ไขแล้วนําเสนอผูเ้ ชียวชาญทางด้านเนือหาจํานวน 3 ท่าน และผูเ้ ชียวชาญทางด้านการสร้างและ

104 การออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจํานวน 3 ท่าน เพือพิจารณาความถูกต้องเหมาะสมโดย ใช้ แ บบประเมิ น คุ ณ ภาพสื อมัล ติ มี เ ดี ย เพื อการศึ ก ษาประเภทคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนของ กระทรวงศึกษาธิการเป็ นเครื องมือประเมิน (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 278) แบ่งเป็ น 3 ส่ วน ส่ วนที 1 คือ ข้อมูลพืนฐาน ส่ วนที 2 คือ รายการประเมินคุณภาพสื อมัลติมีเดียเพือการศึกษาองค์ประกอบ หลัก ได้แก่ ส่ วนนําของบทเรี ยน เนือหาของบทเรี ยน การใช้ภาษา การออกแบบระบบการเรี ยน การสอน ส่ วนประกอบด้านมัลติมีเดียและการออกแบบปฏิสัมพันธ์ ระดับการประเมิน กําหนด ระดับคุณภาพการประเมินเป็ น 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากทีสุ ด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และ เหมาะสมน้อยที สุ ด โดยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที ดี ค วรนําเสนอได้ สมบูรณ์ทุกองค์ประกอบ ตรงตามวัตถุประสงค์ของโปรแกรม ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ได้ดีมาก ทําให้ ผูเ้ รี ยนเกิดทักษะการเรี ยนรู ้ได้อย่างดี ตลอดจนมีเจตคติทีดีมากต่อวิชาทีเรี ยน ส่ วนที 3 คือ การสรุ ปผลการตรวจประเมินในเชิงคุณภาพ เกณฑ์ในการพิจารณาให้ผา่ น คือ ในส่ วนขององค์ประกอบด้านส่ วนเนือหาของ บทเรี ยนคือความถูกต้องตามหลักวิชา ไม่ขดั ต่อความมันคงของชาติและคุณธรรม จริ ยธรรมและใช้ ภาษาถูกต้องเหมาะสมต้องได้รับการประเมินในระดับเหมาะสมมาก โดยพิจารณาค่าเฉลียไม่ตากว่ ํ า 3.50 และไม่มี ขอ้ ผิดพลาดที มีผลต่อการใช้โปรแกรม โดยได้ค่า เฉลี ยเท่ ากับ 4.38 ค่า เบี ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.38 (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 284) ผูเ้ ชี ยวชาญให้ขอ้ แนะนํา ต่างๆในการ ปรับปรุ ง ดังต่อไปนี 1) แนะนําให้ปรับปรุ งในด้านการเลื อกใช้เสี ยงเพลงประกอบในการนําเข้าสู่ บทเรี ยน โดยให้ใช้เพลงทีมีจงั หวะสนุกสนานเพือเร้าความสนใจ 2) แนะนําให้เพิมภาพประกอบ และ 3) แนะนําให้ปรับปรุ งการจัดวางหน้าจอ 1.11 นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ทีแก้ไขแล้วไปทดสอบประสิ ทธิ ภาพ 2 ครังโดย ทดสอบแบบหนึ งต่อหนึ งและทดสอบกลุ่มเล็กเพือหาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน ดังนี 1.11.1 ทดสอบแบบหนึงต่อหนึง (One to One Testing) โดยทดลองกับ นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมทีไม่เคยเรี ยนเนื อหาเรื องนี มาก่อน จํานวน 3 คน โดยเลือกนักเรี ยนทีมีระดับผลการเรี ยนสู ง 1 คน ปานกลาง 1 คน และตํา 1 คนให้ ทดลองใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือหาข้อบกพร่ องของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแล้ว นําไปแก้ไขปรับปรุ ง พร้อมทังหาประสิ ทธิ ภาพของสื อตามเกณฑ์ 70/70 โดยคิดจากคะแนนการทํา แบบทดสอบระหว่ า งเรี ย นและทํา แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นหลัง เรี ย นเพื อหา

105 ข้อบกพร่ อง ซึ งค่ าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนในขันทดสอบหนึ งต่อหนึ งเท่ากับ 71.67/72.22 ดัง ปรากฏในตารางที 8 ตารางที 8 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ในการทดสอบแบบหนึงต่อหนึง

ระหว่างเรี ยน (กระบวนการ) หลังเรี ยน (ผลลัพธ์)

จํานวน นักเรี ยน 3

คะแนนเต็ม

คะแนนเฉลีย 14.33

ส่ วนเบียงเบน มาตรฐาน 2.08

ประสิ ทธิภาพ E1/E2 71.67

20

3

30

21.66

1.00

72.22

จากตารางที 8 พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยนมีคะแนนเฉลี ยร้อยละ 71.67 และ ทดสอบหลังเรี ยนมีคะแนนเฉลียร้อยละ 72.22 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีประสิ ทธิ ภาพ 71.67/72.22 ซึ งเป็ นไปตามเกณฑ์ 70/70 ทีกําหนด (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 286) นอกจากนี จากการสังเกตและการสอบถาม พบว่า นักเรี ยนมีความกระตือรื อร้นทีจะเรี ยนรู้ ในส่ วนของแบบฝึ กหัดนักเรี ยนรู้สึกพอใจทีได้รับ ข้อมูลย้อนกลับทันทีทนั ใดในการทําแบบฝึ กหัด นักเรี ยนรู้สึกเป็ นอิสระขณะเรี ยนเพราะสามารถ เรี ยนรู้และเข้าใจในบทเรี ยนได้ดว้ ยตนเอง ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนครังนี ผูว้ ิจยั ได้หาข้อบกพร่ องของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและสอบถามนักเรี ยนเกียวกับปัญหาทีเกิดจากการใช้บทเรี ยน จากนันผูว้ ิจยั ได้ นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมาปรับปรุ ง ดังนี

106 ตารางที 9 การแก้ไขปรับปรุ งบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการทดสอบประสิ ทธิภาพ แบบหนึงต่อหนึง ปั ญหาทีเกิดขึน 1. มีเสี ยงบรรยายบางคําทีออกเสี ยง ร ล และ คําควบกลําไม่ชดั เจน 2. บทเรี ยนมี เนื อหามากทํา ให้นักเรี ยนไม่มี เวลาทบทวนเนื อหาที ตนเองยัง ไม่ เ ข้ า ใจ เนือหาของบทเรี ยนในบางเรื องมีความซําซ้อน 3. หู ฟั งซึ งเป็ นอุปกรณ์ ประกอบการใช้งาน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไม่สามารถใช้ งานได้ 4. นัก เรี ย นไม่ เ ข้า ใจเนื อหาเกี ยวกับ เรื อง วรรณศิลป์ ทีปรากฏเนืองจากในบทเรี ยนไม่ได้ ยกตัวอย่างวรรณศิลป์ ไว้

การแก้ไขปรับปรุ ง 1. ปรับแก้ไขเสี ยงให้มีความหมายชัดเจน 2. ปรับเนื อหาให้มีความกระชับมากยิงขึนโดย ตัดเนือหาทีซําซ้อนกันออกและไม่ใช้คาํ ฟุ่ มเฟื อย 3. ตรวจสอบอุ ปกรณ์ ก่อนใช้งานทุก ครั งและ เตรี ย มอุ ป กรณ์ ใ ห้ ม ากกว่ า จํา นวนนัก เรี ย นใน กรณี ทีอุปกรณ์มีปัญหาขณะใช้งาน 4. เพิมคําอธิ บายและยกตัวอย่างวรรณศิลป์ ต่างๆ เพิมเติม

1.11.2 ทดสอบกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) ทดลองกับนักเรี ยน ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคมทีไม่เคยเรี ยนเนือหานีมาก่อน จํานวน 9 คน โดยเลือกนักเรี ยนทีมีผลการเรี ยนจากกลุ่มคะแนนสู ง ปานกลางและตํา กลุ่มละ 3 คน แล้วทดลองใช้ บทเรี ย นคอมพิ วเตอร์ ช่วยสอนเพือหาข้อบกพร่ องและพิจารณาว่า กรอบใดของโปรแกรมทียัง มี ข้อบกพร่ องอยู่และปรับปรุ งให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 80/80 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนใน การทดสอบกลุ่มเล็กเท่ากับ 76.67/80.84 ซึ งมีค่าตามเกณฑ์ 80/80 ทีกําหนด คือ สู งหรื อตํากว่า ร้อยละ 80 ไม่เกินร้อยละ 5 ดังปรากฏในตารางที 10

107 ตารางที 10 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ในการทดสอบกลุ่มเล็ก

ระหว่างเรี ยน (กระบวนการ) หลังเรี ยน (ผลลัพธ์)

จํานวน นักเรี ยน 9

คะแนนเต็ม

คะแนนเฉลีย 15.33

ส่ วนเบียงเบน มาตรฐาน 2.17

ประสิ ทธิภาพ E1/E2 76.67

20

9

30

23.88

1.98

80.74

จากตารางที 10 พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยนมีคะแนนเฉลี ยร้ อยละ 76.67 และ ทดสอบหลังเรี ยนมีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.74 แสดงว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิมีประสิ ทธิ ภาพ 76.67/80.74 ซึ งเป็ นไปตาม เกณฑ์ 80/80 ทีกําหนดไว้ (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 287) ในการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นครั งนี ผูว้ ิ จ ัย ได้ห าข้อ บกพร่ องของบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและสอบถามนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาทีเกิ ดจากการใช้บทเรี ยนและปรับปรุ ง แก้ไขปั ญหาต่างๆ ดังนี ตารางที 11 การแก้ไขปรับปรุ งบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการทดสอบประสิ ทธิภาพแบบ กลุ่มเล็ก ปัญหาทีเกิดขึน 1. มีแบบฝึ กหัดบางข้อทีข้อคําถามกํากวม 2. ในหน้าจอแบบฝึ กหัดขาดปุ่ มเมนูยอ้ นกลับ และออกจากบทเรี ยน

การแก้ ไขปรับปรุ ง 1. ตัดข้อคําถามในแบบฝึ กหัดข้อทีกํากวมออก และสร้างข้อคําถามใหม่ทีมีความชัดเจน 2. เพิมปุ่ มเมนูยอ้ นกลับและเมนูออกจากบทเรี ยน ในหน้าแบบฝึ กหัด

ผูว้ ิจยั ได้นาํ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมาปรับปรุ งแก้ไขให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ ของสื อ 80/80 เพือเตรี ยมใช้กบั กลุ่มตัวอย่างต่อไป

108 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีขนตอน ั ในการสร้างและการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี 2.1 ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย 2.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนจากหนังสื อการวัดและ ประเมินผลของอนันต์ ศรี โสภา (2524:78-139) 2.3 ศึกษาเนือหาเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2.4 วิเคราะห์เนือหาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรี ยนทีสร้างขึน แล้ว สร้างตารางวิเคราะห์ขอ้ สอบ ตารางที 12 ตารางวิเคราะห์ขอ้ สอบ เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ พฤติกรรม เนือหา ประวัติความเป็ นมา ประวัติผปู้ ระพันธ์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง ลักษณะคําประพันธ์ เนือเรื อง วรรณศิลป์ คําศัพท์ คุณค่า รวม

ความรู้ความจํา 1 2

ความเข้าใจ

นําไปใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า

รวม

1 2 4

1

1 8

3 4

2 2 1 1 8 7 4 5 30

1 1

2 1 6

3 1 2 8

1 1 1 1 4

109 2.5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ เป็ นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือกจํานวน 1 ฉบับ 60 ข้อ 2.6 นําแบบทดสอบทีสร้างเสร็ จแล้วเสนอต่ออาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์เพือ ตรวจสอบการใช้ภาษาและความถูกต้องเหมาะสมของเนือหาแล้วนํามาปรับปรุ งแก้ไข 2.7 นําแบบทดสอบทีปรับปรุ งแล้วไปให้ผเู้ ชียวชาญด้านเนือหาจํานวน 2 ท่าน ซึงเป็ นอาจารย์ผสู้ อนวิชาภาษาไทยและผูเ้ ชียวชาญด้านการวัดและประเมินผลจํานวน 1 ท่าน ซึ งเป็ น อาจารย์ประจําวิชาการวัดและประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื อหาและด้านการวัดและ ประเมินผล โดยใช้เกณฑ์กาํ หนดคะแนนความคิดเห็นของ พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2538 : 117) ดังนี คะแนน + 1 หมายถึง ข้อคําถามทีแน่ใจว่าวัดตรงวัตถุประสงค์ขอ้ นัน คะแนน 0 หมายถึง ข้อคําถามทีไม่แน่ใจว่าวัดตรงวัตถุประสงค์ขอ้ นันหรื อไม่ คะแนน - 1 หมายถึง ข้อคําถามทีแน่ใจว่าวัดไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ขอ้ นัน จากนันบันทึ กผลการพิจารณาของผูเ้ ชี ยวชาญในแต่ ละข้อแล้วนํา ไปคํานวณหาค่าดัช นี ความสอดคล้อง (IOC) ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเฉลีย เท่ากับ 0.76 (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 290) แล้วคัดเลือกข้อสอบทีมีค่าดัชนีความสอดคล้องตังแต่ 0.50 เก็บไว้และปรับปรุ งข้อสอบทีมีค่า ดัชนี ความสอดคล้องตํากว่า 0.50 ให้มีความถูกต้องแล้วนําไปให้ผเู้ ชียวชาญประเมินอีกครังหนึ ง เพือให้ได้ขอ้ สอบทีสมบูรณ์ 2.8 นําแบบทดสอบทีปรับปรุ งแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ซึ งเคยเรี ยนเนื อหาเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิมาแล้ว ทีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 30 คน 2.9 นําคะแนนทีได้มาวิเคราะห์หาค่าความยาก (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ของ แบบทดสอบเป็ นรายข้อเพือเลือกข้อสอบให้ได้จาํ นวน 30 ข้อ ได้ค่าความยาก (p) ระหว่าง 0.210.79 ได้ค่าอํานาจจําแนก (r) ระหว่าง 0.21 - 0.65 โดยผูว้ จิ ยั พิจารณาเลือกข้อสอบทีมีค่าความยาก (p) ระหว่าง 0.20 – 0.80 และค่าอํานาจจําแนก (r) ทีมีค่าตังแต่ 0.20 ขึนไป (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 295) 2.10 หาค่าความเชือมัน (Riability) ของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR. – 20 ของ Kuder – Richardson ได้ค่าความเชือมันเท่ากับ 0.87 (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 296) 2.11 จัดทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนให้สมบูรณ์เพือใช้เป็ น แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนเพือนําไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่างต่อไป 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีขนตอนการสร้ ั างและการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี

110 2.3 ศึกษาเอกสาร วิธีการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่ วน ประมาณค่า (rating scale) จากหนังสื อเรื องการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ของ พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543 : 107-108) 3.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ โดยแบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านการออกแบบบทเรี ยนด้าน เนือหาบทเรี ยนและด้านความพึงพอใจในการเรี ยนโดยการกําหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วง คะแนนและความหมาย ตามแนวคิดของลิเคิร์ท จํานวน 20 ข้อ เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากทีสุ ด หมายถึง เห็นด้วยมากทีสุ ด มาก หมายถึง เห็นด้วยมาก ปานกลาง หมายถึง เห็น ด้วยปานกลาง น้อย หมายถึง เห็นด้วยน้อยและ น้อยทีสุ ด หมายถึง เห็นด้วยน้อยทีสุ ด 1.3 นําแบบสอบถามความคิดเห็นทีสร้างขึนจํานวน 20 ข้อ เสนอต่ออาจารย์ที ปรึ กษาวิทยานิพนธ์เพือตรวจสอบความถูกต้องของเนือหาและภาษา 1.4 นําแบบสอบถามความคิดเห็นทีปรับปรุ งแก้ไขตามคําแนะนําของอาจารย์ ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์แล้วเสนอผูเ้ ชียวชาญด้านเนือหา จํานวน 2 ท่านและผูเ้ ชียวชาญด้านการวัดและ ประเมินผลจํานวน 1 ท่านเพือตรวจดูความถูกต้อง แก้ไขภาษาและหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อ คําถามโดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาดังนี คะแนน +1 หมายถึง ข้อคําถามทีแน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม คะแนน 0 หมายถึง ข้อคําถามทีไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม คะแนน -1 หมายถึง ข้อคําถามทีแน่ใจว่าไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม แล้วนํามาหาค่าเฉลียของข้อคําถามโดยพิจารณาข้อคําถามทีมีดชั นีค่าความสอดคล้องมากกว่าหรื อ เท่ากับ 0.5 ขึนไป ถื อว่าเป็ นข้อคําถามทีมีความสอดคล้องและเป็ นไปตามจุดประสงค์ ได้ค่าพิสัย ตําสุ ดเท่ากับ 0.67 สู งสุ ดเท่ากับ 1.00 ดัชนีความสอดคล้องเฉลียเท่ากับ 0.98 (รายละเอียด ภาคผนวก หน้า 297) 1.5 ปรับปรุ งแบบสอบถามตามคําแนะนําของผูเ้ ชียวชาญเพือนําไปใช้กบั กลุ่ม ตัวอย่างต่อไป ขันตอนที 3 การทดลอง ผูว้ จิ ยั ดําเนินการทดลองตามขันตอน ดังนี 1. ติดต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรเพือขอหนังสื อขออนุญาตทดลองเครื องมือ วิจยั กับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม ปี การศึกษา 2553

111 2. กลุ่มตัวอย่างทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยน (pretest) จํานวน 30 ข้อ จากนันตรวจและบันทึกคะแนนของนักเรี ยนแต่ละคน 3. อธิบายและแนะนําวิธีการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแก่นกั เรี ยนกลุ่มตัวอย่าง 4. กลุ่มตัวอย่างศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ พร้อมทังทําแบบฝึ กหัดระหว่างเรี ยน 5. กลุ่มตัวอย่างทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (posttest) จํานวน 30 ข้อ ซึ งเป็ นแบบทดสอบชุ ด เดิ ม กั บ แบบทดสอบก่ อ นเรี ยน นํ า คะแนนที ได้ ไ ปคํา นวณหา ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของกลุ่มตัวอย่าง 6. กลุ่มตัวอย่างทําแบบสอบถามความคิดเห็นทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 7.นํา ข้อ มู ล ที ได้ม าวิ เ คราะห์ ห าประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนและ ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ขันตอนที 4 การวิเคราะห์ ข้อมูล ผูว้ ิจยั นําข้อมูลทังหมดมาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทางสถิติ โดยใช้สูตรสถิติต่างๆตามลําดับ ดังนี 1.วิเคราะห์หาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิโดยใช้ค่าเฉลีย ร้อยละและคํานวณจากสู ตรการหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนE 1 / E 2 (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ง : 63-64 ) ¦& จากสู ตร E1 = 1 u 100 $

E2

=

¦F 1 u 100 %

เมือ

E1

แทน ค่าเฉลียของคะแนนทดสอบระหว่างเรี ยนด้วยบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

112 E2

¦& ¦F

N A B

แทน ค่าเฉลียของคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหลังเรี ยน ด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ แทน คะแนนรวมของนักเรี ยนจากการทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยน แทน คะแนนรวมของนักเรี ยนจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน แทน จํานวนนักเรี ยน แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบระหว่างเรี ยน แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหลัง เรี ยน

2.วิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิเป็ นรายข้อเพือหาค่าความยาก (p) และหาค่า อํานาจจําแนก (r) ดังนี สู ตรการหาค่าระดับความยาก (Difficulty) จากสู ตร เมือ

R N

p=

R N

แทน จํานวนผูเ้ รี ยนทีตอบข้อถูก แทน จํานวนผูเ้ รี ยนทังหมด

สู ตรการวิเคราะห์หาค่าอํานาจจําแนก (Discrimination) จากสู ตร เมือ

r H L nH

r

H L nH

หรื อ

r

H L nL

แทน ค่าอํานาจจําแนก แทน จํานวนผูเ้ รี ยนในกลุ่มคะแนนสู งทีตอบถูก แทน จํานวนผูเ้ รี ยนในกลุ่มคะแนนตําทีตอบถูก แทน จํานวนผูเ้ รี ยนในกลุ่มคะแนนสู ง

113 3.วิเคราะห์หาค่าความเชือมันของแบบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนและแบบประเมินผล ใช้สูตรของคูเดอร์ ริ ชาร์ดสัน KR – 20 (กัญจนา ลินทรัตนศิริกุล 2538: 65) จากสู ตร rtt เมือ

rtt K p q

pq n ^1  ¦ 2 n 1 st

`

แทน แทน แทน แทน

ค่าความเทียงของแบบทดสอบ จํานวนข้อคําถามในแบบทดสอบ สัดส่ วนของผูส้ อบทีตอบแต่ละข้อคํา ถามถูก สัดส่ วนของผูส้ อบทีตอบแต่ละข้อคําถามไม่ถูกซึงมีค่าเท่ากับ 1–p แทน ความแปรปรวนของคะแนนทังหมด

s2

4. วิเคราะห์ เปรี ย บเที ย บพัฒ นาการทางการเรี ย น ก่ อนและหลังเรี ย นด้วยบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ t – test dependent sample จากสู ตร t =

เมือ

t N

หมายถึง หมายถึง หมายถึง ¦D ¦ D หมายถึง ¦ D หมายถึง 2

2

6D 1 ¦ D 2  ¦ D 1 1

2

ค่า t- test จํานวนนักเรี ยนในกลุ่มตัวอย่าง ผลรวมของผลต่างของคะแนนของนักเรี ยนแต่ละคน ผลรวมของผลต่างของคะแนนของนักเรี ยนยกกําลัง ผลรวมของผลต่างของคะแนนของนักเรี ยนทังหมด ยกกําลัง

5. วิเคราะห์ความคิดเห็ นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ โดยนําค่ามาตราส่ วนประมาณค่าระดับทีได้มาหาค่าเฉลีย ( X ) และ ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) การหาค่าเฉลีย ใช้สูตรดังนี (บุญชม ศรี สะอาด 2545: 105)

114 จากสู ตร เมือ

X ¦x

N

&

& = ¦

แทน แทน แทน

1

ค่าเฉลีย ผลรวมของคะแนนทังหมด จํานวนคะแนนในกลุ่ม

การหาค่าเบียงเบนมาตรฐานใช้สูตร ดังนี (บุญชม ศรี สะอาด. 2545: 106) จากสู ตร เมือ

S.D. =

S.D. แทน X แทน แทน X N แทน แทน ¦

1 ¦ & 2  ¦ &

2

1 1  1

ค่าเบียงเบนมาตรฐาน คะแนนแต่ละคน ค่าเฉลีย จํานวนคนในกลุ่ม ผลรวม

จากนันนําค่าเฉลียความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาเทียบกับเกณฑ์ ดังนี ค่าเฉลียคะแนนระหว่าง 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อยทีสุ ด ค่าเฉลียคะแนนระหว่าง 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อย หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง ค่าเฉลียคะแนนระหว่าง 2.51 - 3.50 ค่าเฉลียคะแนนระหว่าง 3.51- 4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลียคะแนนระหว่าง 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมากทีสุ ด

115

บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิจยั เรื อง การพัฒนาบทเรี ย นคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ผูว้ ิจยั ได้นาํ เสนอผล การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยแบ่งเป็ น 3 ตอน ดังต่อไปนี ตอนที 1 ผลการพัฒนาและหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 ตอนที 2 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับ นักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 ตอนที 3 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคม ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 โดยมีรายละเอียดในแต่ละตอน ดังนี ตอนที 1 ผลการพัฒนาและหาประสิ ทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับนักเรียนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการ ดังนี นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างจํานวน 30 คน จากนัน วิเคราะห์หาค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน โดยหาค่าร้อยละของคะแนนจาก การทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยนและแบบทดสอบหลังเรี ยน ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางที 13 ดังนี

115

116 ตอนที 1 ผลการพัฒนาและหาประสิ ทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรั บนักเรียนชั น มัธยมศึกษาปี ที 6 ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการ ดังนี นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างจํานวน 30 คน จากนัน วิเคราะห์หาค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน โดยหาค่าร้อยละของคะแนนจาก การทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยนและแบบทดสอบหลังเรี ยน ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางที 13 ดังนี ตารางที 13 ค่าประสิ ทธิภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจากการทดสอบประสิ ทธิ ภาพกลุ่ม ตัวอย่าง

ระหว่างเรี ยน (กระบวนการ) หลังเรี ยน (ผลลัพธ์)

จํานวน นักเรี ยน 30

คะแนนเต็ม

30

30

20

คะแนนเฉลีย ส่ วนเบียงเบน ประสิ ทธิภาพ มาตรฐาน 15.97 1.75 80.33 25.70

1.88

83.67

จากตารางที 13 ผลการทดสอบระหว่างเรี ยนมีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.33 และทดสอบหลัง เรี ยนมีคะแนนเฉลียร้อยละ 83.67 แสดงว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ มีประสิ ทธิ ภาพ 80.33/83.67 ซึ งเป็ นไปตามเกณฑ์ 80/80 ทีกําหนดไว้ (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 289) ตอนที 2 ผลการเปรียบเทียบผลสั มฤทธิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้ วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ผูว้ จิ ยั ได้ทดสอบเพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของนักเรี ยนทีเรี ยนด้วยบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ก่อนเรี ยน (pretest)และหลังเรี ยน(posttest) แล้วนําข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ ปรากฏผลดังตารางที 14

117 ตารางที 14 ผลการเปรี ยบเทียบผลการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของกลุ่มตัวอย่าง

ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

คะแนนเต็ม 30 30

คะแนนเฉลีย ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน t 15.97 1.75 -27.39 25.70 1.88

p .00

จากตารางที 14 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่าคะแนนเฉลียของผลการเรี ยนรู้ เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ของกลุ่มตัวอย่าง ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทาง สถิติทีระดับ .01 โดยค่าเฉลียของคะแนนหลังการทดลองเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เท่ากับ 25.70 คะแนนและส่ วนเบียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.88 ซึ งสู งกว่าคะแนนเฉลียของคะแนน ก่อนการทดลองใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีมีค่าเท่ากับ 15.97 คะแนนและส่ วนเบียงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 1.75 (รายละเอียด ภาคผนวกหน้า 300) ตอนที 3 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ชั นมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรี พิทยาคมทีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรือง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับนักเรียนชั น มัธยมศึกษาปี ที 6 ผูว้ จิ ยั ได้ให้กลุ่มตัวอย่างทัง 30 คน ทําแบบสอบถามความคิดเห็นทีมีต่อบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจํานวน 20 ข้อ หลังการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากนันนําค่าระดับ ทีได้มาหาค่าเฉลีย ( & ) และส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนําไปแปลความหมายค่าระดับตาม เกณฑ์ทีกําหนดไว้ ปรากฎผลดังตารางที 15 ดังต่อไปนี

118 ตารางที 15 ค่าระดับเฉลีย ( & ) และส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน รายการประเมิน ด้ านเนือหา 1.การนําเข้าสู่ บทเรี ยนมีความน่าสนใจ 2.บทเรี ยนมีการออกแบบให้ใช้ง่าย เมนูไม่สับสน 3.มีการแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้ผเู้ รี ยนทราบ 4.คําแนะนําในการใช้งานบทเรี ยนเข้าใจง่าย 5. เนือหาสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ 6.บทเรี ยนมีความยากง่ายเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน 7.บทเรี ยนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมตลอดการเรี ยน 8. การใช้ภาษาสามารถสื อความหมายได้ชดั เจน 9. บทเรี ยนการยกตัวอย่างในปริ มาณและโอกาสทีเหมาะสม 10. บทเรี ยนมีการสรุ ปเนือหาในแต่ละตอนอย่างเหมาะสม 11.ความเหมาะสมของจํานวนข้อสอบ เฉลียด้ านเนือหา ด้ านกราฟิ กและการออกแบบ 12. การออกแบบหน้าจอภาพโดยรวม 13. รู ปภาพประกอบสามารถสื อความหมายและมีความ สอดคล้องกับเนื อหา 14.ขนาดและตัวอักษรทีใช้มีความเหมาะสม 15. ความเหมาะสมในการใช้ภาพ เสี ยงและเสี ยงบรรยาย 16.ความเหมาะสมของการใช้สีในการออกแบบจอภาพ 17.คุณภาพของกราฟิ กทีใช้ประกอบการเรี ยน เฉลียด้ านกราฟิ กและการออกแบบ ด้ านประโยชน์ ทได้ ี รับ 18.มีความรู ้ความเข้าใจเรื องไตรภูมิพระร่ วงมากขึน

X

S.D.

ค่าระดับ

ลําดับที

3.37 4.07 4.50 4.63 4.33 4.27 4.47 3.87 3.87 2.77 3.83 3.98

0.49 0.52 0.57 0.56 0.55 0.64 0.51 0.51 0.68 0.43 0.65 0.21

มาก มาก มาก มากทีสุ ด มาก มาก มาก มาก มาก ปานกลาง มาก มาก

9 6 2 1 4 5 3 7 7 10 8 3

4.40

0.56

มาก

5

4.60 4.77 4.30 4.67 4.57 4.55

0.56 0.43 0.54 0.48 0.50 0.25

มากทีสุ ด มากทีสุ ด มาก มากทีสุ ด มากทีสุ ด มากทีสุ ด

3 1 6 2 4 1

4.37

0.56

มาก

3

119 ตารางที 15 (ต่อ) รายการประเมิน 19. เกิดความกระตือรื อร้นและมีความสนุกในการเรี ยน 20. รู ้สึกว่าการเรี ยนวรรณคดีไม่น่าเบือ เฉลียด้ านประโยชน์ ทได้ ี รับ เฉลียทุกด้าน

X

4.43 4.57 4.46 4.22

S.D. ค่ าระดับ ลําดับที 0.50 มาก 2 0.63 มากทีสุ ด 1 0.41 มาก 2 0.15 มาก

จากตารางที 15 ความคิดเห็ นต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิในภาพรวมทังหมด พบว่า อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.22,S.D. = 0.15) จึงสรุ ปได้วา่ นักเรี ยน มีความคิดเห็นทีดีมากต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและจากการศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยน ที มี ต่ อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนในด้า นเนื อหา ด้า นกราฟิ กและการออกแบบ และด้า น ประโยชน์ทีได้รับ ผลการวิเคราะห์ พบว่า ด้านกราฟิ กและการออกแบบ นักเรี ยนมีความคิดเห็นอยู่ ในระดับมากทีสุ ด ( X = 4.55, S.D.=0.25) รองลงมาคือด้านประโยชน์ทีได้รับมีความคิดเห็นอยูใ่ น ระดับมาก ( X =4.46, S.D.=0.41)และด้านทีมีระดับความคิดเห็ นตําทีสุ ด คือ ด้านเนื อหา มีความ คิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก ( X =3.98, S.D.=0.21) เมือพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านที 1 ด้านเนื อหา อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.98,S.D = 0.21) เมือวิเคราะห์รายข้อพบว่า ลําดับที 1 คําแนะนําในการใช้งานบทเรี ยนเข้าใจง่าย อยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.63,S.D = 0.56) ลําดับที 2 มีการแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ใ ห้ผเู้ รี ยนทราบ อยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.50 ,S.D = 0.57) ลําดับที 3 บทเรี ยนเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมตลอดการเรี ยนอยู่ในระดับมาก ( X = 4.47,S.D = 0.51) ลําดับที 4 เนือหาสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.33, S.D = 0.55) ลําดับที 5 บทเรี ยนมีความยากง่ายเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนอยู่ในระดับมากทีสุ ด ( X = 4.27,S.D = 0.64) ลําดับที 6 บทเรี ยนมีการออกแบบให้ใช้ง่าย เมนูไม่สับสนอยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.07,S.D = 0.52) ลําดับที 7 การใช้ภาษาสามารถสื อความหมายได้ชัดเจนและบทเรี ยนมีการ ยกตัวอย่างในปริ มาณและโอกาสทีเหมาะสม อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.87,S.D = 0.51) ลําดับที 8 ความเหมาะสมของจํานวนข้อสอบอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.83,S.D = 0.65) ลําดับที 9 การนําเข้าสู่ บทเรี ยนมีความน่าสนใจ อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.37, S.D = 0.49) และลําดับที 10 บทเรี ยนมีการ สรุ ปเนือหาในแต่ละตอนอย่างเหมาะสม อยูใ่ นระดับปานกลาง ( X = 2.77, S.D = 0.43)

120 ด้านที 2 ด้านกราฟิ กและการออกแบบอยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.55,S.D = 0.25) เมือ วิเคราะห์ รายข้อพบว่า ลําดับที 1 ขนาดและตัวอักษรที ใช้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีสุ ด ( X = 4.77,S.D = 0.43) ลําดับที 2 ความเหมาะสมของการใช้สีในการออกแบบจอภาพ อยูใ่ นระดับ มากทีสุ ด ( X = 4.67,S.D = 0.48) ลําดับที 3 รู ปภาพประกอบสามารถสื อความหมายและมีความ สอดคล้องกับเนือหา อยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.60,S.D = 0.56) ลําดับที 4 คุณภาพของกราฟิ กที ใช้ประกอบการเรี ยนอยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X =4.57,S.D=0.50) ลําดับที 5 การออกแบบหน้าจอภาพ โดยรวม อยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.40,S.D = 0.56) ลําดับที 6 ความเหมาะสมในการใช้ภาพ เสี ยง และเสี ยงบรรยาย อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.30,S.D = 0.54) ด้านที 3 ด้านประโยชน์ทีได้รับ อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.46 ,S.D = 0.41) เมือวิเคราะห์ราย ข้อพบว่า ลําดับที 1 รู ้สึกว่าการเรี ยนวรรณคดีไม่น่าเบือ อยูใ่ นระดับมากทีสุ ด ( X = 4.57, S.D = 0.63) ลําดับที 2 เกิดความกระตือรื อร้นและมีความสนุ กในการเรี ยน อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.43,S.D = 0.50) ลําดับที 3 มีความรู้ความเข้าใจเรื องไตรภูมิพระร่ วง อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.37,S.D = 0.56) จากผลการวิเคราะห์ตารางที แสดงให้เห็ นว่าโดยภาพรวมแล้วนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างทีได้ เรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีความคิดเห็นต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยเฉลีย รวมอยูใ่ นระดับมาก จึงสรุ ปได้วา่ นักเรี ยนมีความคิดเห็นทีดีต่อบทเรี ยนซึงเป็ นไปตามสมมติฐาน นอกจากนีจากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนและการสอบถามนักเรี ยน พบว่า นักเรี ยน มีความพึงพอใจในการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รู้สึกมีอิสระทีได้เรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง และมีความสุ ขในการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

121

บทที 5 สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ

การวิจยั เรื อง การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาที 6 เป็ นการวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Designs) มีวตั ถุประสงค์เพือ 1) พัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนนนทบุรีพิ ทยาคมให้มีป ระสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพือเปรี ยบเที ย บผลสัม ฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของนักเรี ยนและ 3) เพือศึกษา ความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ในภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม จังหวัดนนทบุรี ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่ มอย่างง่าย (Simple random sampling) ด้วย วิธีการจับสลากห้องเรี ยน ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 30 คน เครื องมือทีใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย 1) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สส ภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน จํานวน 30 ข้อ และ 3)แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน ผูว้ ิจยั ได้ดาํ เนินการทดลองเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชัวโมงรวมทังหมด 4 ชัวโมง การวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล และทดสอบสมมุ ติ ฐ าน ผูว้ ิ จ ัย วิเ คราะห์ ข้อ มู ล โดยใช้วิธี ก ารทางสถิ ติ เ พื อ ตรวจสอบสมมติฐานการวิจยั กล่าวคือ หาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยใช้ สู ตร E 1/ E 2 เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนโดยใช้สถิติที (t-test dependent) และวิเคราะห์ความคิดเห็ นของกลุ่มตัวอย่างทีมีต่อบทเรี ยน คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนโดยหาค่ า เฉลี ย ( & )และส่ ว นเบี ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) แล้ว นํา ไปแปล ความหมายค่าระดับตามเกณฑ์ทีกําหนดไว้

121

122 สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูล สามารถสรุ ปผลการวิจยั ได้ดงั นี 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพ ระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 80.33/83.67 แสดงว่า บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีสร้างขึนมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ทีกําหนดไว้ คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอม มนุ สสภูมิ สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญ ทางสถิติทีระดับ .01 ซึ งสอดคล้องกับสมมุติฐานการวิจยั ทีกําหนดไว้ 3. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ โดยภาพรวม พบว่า นักเรี ยนมี ความคิดเห็นต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยูใ่ นระดับเห็นด้วยอย่างมาก การอภิปรายผล การวิจยั ครังนี เป็ นการวิจยั เพือพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ผลการวิจยั เป็ นไปตามสมมติฐานทีตังไว้ สามารถอภิปรายผลการวิจยั ได้ดงั นี 1.ประสิ ทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจากผลการทดลองหาประสิ ทธิภาพของ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ซึ งผูว้ ิจยั ได้ตงสมมุ ั ติฐานไว้ 80/80 ผลปรากฏว่า บทเรี ยนมีประสิ ทธิ ภาพ 80.33/83.67 เป็ นไปตามสมมุติฐานการวิจยั ข้อที 1 ที กําหนดไว้หมายความว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ ช่วย ให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ระหว่างเรี ยนคิ ดเป็ นร้ อยละ 80.33 และทําคะแนนจากการทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคิดเป็ นร้อยละ 83.67 ทังนีเนืองมาจากเหตุผลดังต่อไปนี 1.1 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาอย่างเป็ นระบบตามขันตอน คือ ได้มีการศึกษาและมี การวิเคราะห์เนือหาของบทเรี ยน ผ่านการประเมินคุณภาพจากผูเ้ ชียวชาญทังในด้านเนือหาและด้าน สื อและมี การทดลองตามลําดับขันตอน ผูว้ ิจยั ได้ปฏิ บตั ิ ตามแนวคิดด้านการประเมิ นบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 6 ขันตอน ของวชิระ อินทร์ อุดม (2539:41-42) คือ 1) การประเมินคุณภาพ โดยผูส้ อนและผูเ้ ชี ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือพิจารณาความถูกต้องด้านเนื อหา ด้าน โปรแกรมตามทีออกแบบไว้ 2) นําข้อบกพร่ องทีพบและข้อเสนอแนะจากผูส้ อนและผูเ้ ชี ยวชาญมา

123 แก้ไขปรับปรุ งบทเรี ยนและโปรแกรม 3) นําบทเรี ยนทีแก้ไขแล้วไปทดลองใช้เพือดูปฏิกิริยาของ นัก เรี ย นกับ บทเรี ย น ดู อ ัต ราการตอบผิ ด ความก้ า วหน้ า ของลํา ดับ การเรี ย นและการบรรลุ วัตถุ ประสงค์ของบทเรี ยน ผลการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน นําข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าทาง สถิติ 4) ปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยนแล้วนําไปให้ผสู้ อนและผูเ้ ชี ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทํา การประเมินโดยใช้แบบประเมินบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือพิจารณาความสมบูรณ์ดา้ นการ ออกแบบการสอน การบัน ทึ ก และการจัด การเกี ยวกับ นัก เรี ยน 5) ปรั บ ปรุ งแก้ ไ ขบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยอาศัยข้อมูลและข้อเสนอแนะ 6) นําบทเรี ยนทีแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างโดยจัดให้มีการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือ หาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนและปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆต่อไป สอดคล้องกับขันตอนใน การทดลองหาประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ (2544 ข : 162-163) ดังนี 1) ทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบหนึงต่อหนึ ง 2) ทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบ กลุ่มเล็ก และ 3) ทดสอบประสิ ทธิ ภาพกลุ่มตัวอย่าง สอดคล้องกับงานวิจยั ของกนก จันทร์ ทอง (2544:70) ที กล่ า วว่ า การพัฒ นาบทเรี ยนคอมพิ ว เตอร์ ใ ห้มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต้อ งใช้เ นื อหาที ผ่า น การศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็ นขันตอน ผ่านการเลื อกสรรจากครู ผูส้ อนและนักวิชาการมาใช้อย่า ง เหมาะสมในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 1.2 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ถูกพัฒนาขึนโดยอาศัยแนวคิดด้านคุ ณลักษณะ ของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของถนอมพร(ตันพิพฒั น์) เลาหจรัสแสง (2541: 8-10) ทีกล่าวว่า คุณลักษณะของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมี 4 ประการ ได้แก่ 1) สารสนเทศ 2) ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล 3) การโต้ตอบ และ 4) การให้ผลตอบกลับโดยทันที โดยมีรายละเอียดดังนี 1) ด้าน สารสนเทศ ในการนําเสนอเนื อหาผูว้ ิจยั ได้แบ่งเนื อหาออกเป็ นตอนๆทําให้นกั เรี ยนสามารถทํา ความเข้าใจได้ง่าย ไม่สับสน 2) ความแตกต่างระหว่างบุคคล ในการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอนผูว้ ิจยั ได้คาํ นึ งถึ งความแตกต่างระหว่างบุ คคลของผูเ้ รี ยนโดยให้นักเรี ยนมีอิสระในการ ควบคุมลําดับของการเรี ยนเนือหา สามารถเลือกเรี ยนเนื อหาใดก่อนหลัง เลือกทีจะข้ามเนือหาส่ วน ใดก็ได้และสามารถทบทวนเนื อหาบทเรี ยนซําได้จนกว่าจะเข้าใจ นักเรี ยนสามารถควบคุมการทํา แบบฝึ กหัดด้วย 3) การโต้ตอบ ผูว้ ิจยั ออกแบบบทเรี ย นคอมพิ วเตอร์ ช่ วยสอนให้ส ามารถมี ปฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ นัก เรี ย นโดยการโต้ต อบขณะทํา กิ จ กรรมระหว่า งเรี ย น ทํา แบบฝึ กหัด และทํา แบบทดสอบ ทําให้นกั เรี ยนรู ้ สึกสนุ กสนานและสนใจบทเรี ยนอยู่ตลอดเวลา และ 4) การให้ผล ย้อนกลับโดยทันที ผูว้ ิจยั ได้ออกแบบให้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสามารถแจ้งผลย้อนกลับ ให้กบั นักเรี ยนทีทํากิจกรรมระหว่างเรี ยน โดยการเฉลยแบบฝึ กหัด สรุ ปผลคะแนนให้นกั เรี ยนได้ ทราบ ให้คาํ ชมเชยหากนักเรี ยนทําคะแนนได้ผา่ นเกณฑ์และให้คาํ แนะนําให้นกั เรี ยนกลับไปศึกษา

124 เนือหาบทเรี ยนอีกครังหากนักเรี ยนทําคะแนนได้ตากว่ ํ าเกณฑ์ ทําให้นกั เรี ยนสามารถตรวจสอบและ ประเมินผลงานของตนเองได้ในทันทีเป็ นการเสริ มแรงให้นกั เรี ยนมีกาํ ลังใจในการเรี ยนมากขึน 2. การเปรียบเทียบผลสั มฤทธิทางการเรี ยนก่ อนเรียนและหลังเรี ยนด้ วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน จากผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหลังเรี ยน สู งกว่าก่อนเรี ยนและมีความแตกต่างอย่างมีนยั ทีสําคัญทางสถิติทีระดับ .01 ทังนีเนืองมาจาก 2.1 การเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นการเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเองเมือ นักเรี ยนได้เรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ทาํ ให้รู้จกั คิดและปฏิ บ ตั ิ เป็ นขันตอน ได้ลงมื อปฎิ บ ตั ิด้วย ตนเองตามความสนใจ สามารถควบคุมบทเรี ยนและลําดับขันตอน ได้เรี ยนตามความสามารถของ แต่ละบุคคลซึ งสอดคล้องกับทฤษฎีปัญญานิ ยม ตามแนวคิดของ Chomsky (กระทรวงศึกษาธิ การ, กรมวิชาการ 2544 ข : 41) ทีกล่าวว่าการออกแบบการเรี ยนการสอนควรคํานึงถึงความแตกต่างด้าน ความคิด ความรู้สึกและโครงสร้างการรับรู้ดว้ ยเนื องจากนักเรี ยนแต่ละคนมีความสามารถในการ เรี ยนรู ้ทีต่างกันสอดคล้องกับที ถนอมพร(ตันพิพฒั น์) เลาหจรัสแสง(2541:48) กล่าวว่า สื อบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีดีตอ้ งออกแบบในลักษณะทีสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้มากทีสุ ด ให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสควบคุมการเรี ยนรู้ของตนเองตามความต้องการ สอดคล้องกับ ความคิดเห็นของกิ ดานันท์ มลิทอง (2540 : 240) ทีกล่าวว่าคอมพิวเตอร์ นาํ มาใช้ในลักษณะของ การศึกษารายบุคคลได้เป็ นอย่างดี ลักษณะของโปรแกรมทีให้ความเป็ นส่ วนตัวแก่นกั เรี ยนช่วยให้ผู้ ทีเรี ยนรู้ชา้ สามารถเรี ยนได้โดยสะดวก สอดคล้องกับความคิดเห็นของ วิไล กัลยาณวัจน์ (2541:3236) ทีกล่าวว่า บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสามารถจัดสภาพการณ์ให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ตาม สติปัญญาและความสามารถของตนเอง บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนช่วยส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนได้ เรี ยนตามความถนัดและความสามารถของตนโดยไม่ตอ้ งกังวลใจ ดังนัน นักเรี ยนจึงเรี ยนรู้ ด้วย ความสบายใจ ไม่ รู้ สึ กกดดั น หากเรี ยนไม่ ท ัน เพื อนส่ ง ผลทํา ให้ ก ารเรี ยนรู้ ข องนั ก เรี ยนมี ประสิ ทธิภาพสู งขึน 2.2 การใช้สือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนช่วยเร้ าความสนใจของผูเ้ รี ยน การนําเสนอ เนื อหาในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมินีผูว้ ิจยั ได้ใช้วิธีใน การนํา เสนอที หลากหลายรู ป แบบ เช่ น ข้อ ความ ภาพนิ ง ภาพเคลื อนไหว แผนภู มิ กราฟิ ก เสี ยงเพลง เสี ยงบรรยายประกอบและเทคนิ คการใช้เสี ยงต่างๆ ใช้กิจกรรมทีหลากหลายในการทํา แบบฝึ กหัด ฯลฯ ซึ งตัวกระตุน้ ต่างๆเหล่านีทําให้บทเรี ยนน่าสนใจ ช่วยให้นกั เรี ยนเรี ยนรู้ได้ดียิงขึน นักเรี ยนเรี ยนด้วยความเพลิดเพลิน สอดคล้องกับความคิดเห็นของกิดานันท์ มลิทอง (2540 : 240)

125 ทีกล่าวว่าบทเรี ยนทีมีการใช้สี มีภาพเคลือนไหว มีเสี ยงดนตรี เป็ นการเพิมความเหมือนจริ งและ ช่ ว ยเร้ า ความสนใจให้นัก เรี ยนอยากรู้ อยากเห็ น สอดคล้องกับงานวิจยั เรื องการสร้ า งมัล ติมี เดี ย สําหรับห้องสมุดวิชาการของกระทรวงศึกษาธิการ (2544 ข : 42-43) ทีได้กล่าวถึงหลักการออกแบบ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ดังนี 1) ใช้เทคนิคเพือสร้างความสนใจแก่ผเู้ รี ยนก่อนเริ มเรี ยนโดย การผสมผสานข้อมูลและการออกแบบชือเรื องทีเร้าความสนใจ 2) สร้างความน่าสนใจในการศึกษา บทเรี ย นอย่ า งต่ อ เนื อง ด้ว ยวิ ธี ก ารและรู ป แบบที แตกต่ า งกัน ออกไป 3)ใช้ ภ าพและกราฟิ ก ประกอบการทีสอดคล้องกับเนือหา 4) คํานึงถึงความแตกต่างของผูเ้ รี ยนในแง่ของการเลือกเนือหา การเรี ย นการเลื อกกิ จกรรมการเรี ยน การควบคุ มการศึ กษาบทเรี ย น การใช้ภาษา การใช้กราฟิ ก ประกอบบทเรี ยน 5) ผูเ้ รี ยนควรได้รับการชี แนะในรู ปแบบทีเหมาะสมหากเนื อหาที ศึ กษานันมี ความซับ ซ้อนหรื อมี โครงสร้ างเนื อหาที เป็ นหมวดหมู่แ ละสัม พันธ์ก ัน 6) เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ย น ทบทวนความรู ้ เดิ มที สัม พันธ์ กบั ความรู้ ใ หม่ในรู ปแบบที เหมาะสม 7) กิ จกรรมการสอนควรจะ ผสมผสานการให้ความรู้ การให้คาํ ถามเพือให้ผเู้ รี ยนคิดวิเคราะห์หาคําตอบ และ 8) สร้างแรงจูงใจ โดยเน้นความพึงพอใจทีเกิดขึนจากความสําเร็ จในการเรี ยนรู้ สอดคล้องกับการอภิปรายผลการวิจยั ของปารณี ย ์ โชติมนเศรษฐ์ ั (2550 : 59) ทีได้พฒั นาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน อุตตรกุรุทวีป สําหรับนักเรี ยนช่วงชันที 4 ทีกล่าวว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมี ความน่ าสนใจ สามารถกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความกระตื อรื อร้ น อยากรู้ อยากเรี ยน มีความสุ ข สนุกสนานและตืนตาตืนใจในขณะเรี ยน 3. ความคิดเห็นของนักเรียนทีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน จากผลการวิจยั พบว่าผูเ้ รี ยนมีความคิดเห็นเฉลียต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ในระดับมาก ( X = 4.37,S.D. = 0.15) ทังนีเกิดจากเหตุผลดังนี 3.1 ค่าเฉลียของความคิดเห็นของนักเรี ยนด้านทีมากทีสุ ด คือ ด้านกราฟิ กและการออกแบบ โดยข้อทีนักเรี ยนมีความเห็นมากทีสุ ด 3 อันดับแรก คือ 1) ขนาดและตัวอักษรทีใช้มีความเหมาะสม 2)ความเหมาะสมของการใช้สี ใ นการออกแบบจอภาพ และ 3)รู ป ภาพประกอบสามารถสื อ ความหมายและมีความสอดคล้องกับเนือหา ทังนีเพราะ 1) ขนาดและตัวอักษรทีใช้มีความเหมาะสม ในการนําเสนอเนื อหาในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีผูว้ ิจยั สร้างขึนนัน ใช้ขนาดตัวอักษรทีมี ขนาดเหมาะสมกับหน้าจอซึ งทําให้ผเู้ รี ยนมองเห็นชัดเจน มีการใช้ขนาดตัวอักษรทีแตกต่างกันใน ส่ วนของตัวอักษรทีเป็ นหัวข้อและและส่ วนของตัวอักษรทีเป็ นข้อความอธิ บาย สี ของตัวอักษรเป็ น สี ทีมองเห็นได้ชดั เจนและไม่สะท้อนแสงซึงสอดคล้องกับความคิดของอเลสซี และทรอลลิป (Alessi and Trollip 1985:66) ทีกล่าวว่า ตัวอักษรต้องอ่านง่ายและเน้นความแตกต่างระหว่างหัวข้อให้

126 ชัดเจน สอดคล้องกับความคิดของจีรารัตน์ ชิรเวทย์ (2542:268-270)ทีกล่าวว่ารู ปแบบของตัวอักษร แต่ละแบบสามารถส่ งเสริ มในการแสดงข้อความ ขณะทีตัวอักษรรู ปแบบหนึ งมีประสิ ทธิ ภาพใน การใช้เป็ นหัวเรื องแต่ตวั อักษรอีกรู ปแบบหนึงจะมีประสิ ทธิ ภาพในการอธิบายเนื อหาเพราะอ่านง่าย ชัดเจนและลดความเครี ยดของสายตาได้ ส่ วนเรื องของขนาด ตัวอักษรช่วยในการแบ่งหัวเรื องและ เนื อหาออกจากกันอย่างชัดเจน 2) ความเหมาะสมของการใช้สีในการออกแบบจอภาพ ผูว้ ิจยั ออกแบบบทเรี ยนให้เนือหาแต่ละเรื องมีสีของจอภาพพืนหลังแตกต่างกันเพือให้ผเู้ รี ยนไม่สับสนว่า กําลังศึกษาหัวข้อใดอยู่ เนืองจากบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีเนื อหามากและมีหลายหัวข้อ การใช้สีของจอภาพทีแตกต่างกันในแต่ละเนื อหาจะช่ วยให้ผเู้ รี ยน สามารถแยกได้วา่ ขณะนี ตนศึกษาเนื อหาเรื องใดจบไปแล้วและกําลังเริ มศึกษาเนื อหาเรื องใหม่ 3) รู ปภาพประกอบสามารถสื อความหมายและมีความสอดคล้องกับเนือหา ผูว้ จิ ยั เลือกใช้ภาพประกอบ ทีสวยงามหลากหลายและสอดคล้องกับเนือหาในแต่ละหน้าจอ สอดคล้องกับแนวคิดของ จีรารัตน์ ชิรเวทย์ (2542 : 268) ทีกล่าวว่า มนุ ษย์โดยทัวไปมีความถนัดการรับรู้ภาพ ดังนัน ภาพจึงมีอิทธิ พล อย่างมากในการนําเสนอข้อมูล การแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ภาพจึงเป็ นองค์ประกอบที สําคัญและจําเป็ นมาก ในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3.2 จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนและจากการสอบถามนักเรี ยนทําให้ทราบว่า นัก เรี ย นมี ค วามสนใจและความกระตื อรื อ ร้ น ในการเรี ย นด้ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน เนืองจากนักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ตามความสามารถของตนเอง นักเรี ยนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กบั บทเรี ยนได้ เช่ น การพิมพ์ชือของนักเรี ยนในการเข้าสู่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การคลิกปุ่ ม ต่างๆเพือเลือกเรี ยนเนื อหา การทําแบบฝึ กหัด ฯลฯ ทําให้ผูเ้ รี ยนสามารถควบคุมบทเรี ยนได้ดว้ ย ตนเองจึ งรู ้ สึกสนุ กและมีความสุ ขกับการเรี ย น รู้ สึก เป็ นอิส ระมากกว่าการเรี ยนโดยวิธี การปกติ เพราะสามารถควบคุมการเรี ยนได้ดว้ ยตนเอง ไม่ตอ้ งอายเพือนเมือตอบคําถามผิด มีความมันใจใน การเรี ยนมากยิงขึน ดังนันผูเ้ รี ยนจึงมีทศั นคติทีดี ต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และนักเรี ยนส่ วนใหญ่ชอบการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สอดคล้องกับผลการสํารวจ งานวิจยั ทีเกียวกับการศึกษาทัศนคติของผูเ้ รี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ของคลีเมนท์ (Clement 1981 : 28)ซึ งพบว่า ผูเ้ รี ยนโดยทัวไปมีทศั นคติทีดีต่อการเรี ยนด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เนื องจากสาเหตุดงั นี 1) ผูเ้ รี ยนสามารถควบคุมอัตราความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ ได้ดว้ ยตนเอง 2) ผูเ้ รี ยนไม่รู้สึกอายเวลาตอบคําถามผิดเพราะไม่มีใครรู้ 3) การได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันทีทนั ใด และ 4) ผูเ้ รี ย นมี ค วามรู ้ สึก ว่าเรี ย นได้ดีก ว่า วิธี ธ รรมดา นอกจากนี ยังสอดคล้องกับ งานวิจยั ของ จรรยา บุญปล้อง (2541 : บทคัดย่อ) ทีได้ศึกษาพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพือการอ่าน อย่างมีวิจารณญาณสําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจยั พบว่ากลุ่มตัวอย่างทีเรี ยน

127 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีความเห็นว่า การเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนน่าสนใจ และพอใจการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ตรงกับผลการวิจยั ของจริ ยาพร ต๊ะโพธิ (2545:บทคัดย่อ) ทีได้ศึกษาการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื องชนิ ดของคํา สําหรับนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 2 ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนส่ วนใหญ่ให้ความสนใจในระดับมากและมีความ คงทนในการจํา สอดคล้องกับงานวิจยั ของศิริสุดา ไกรวิจิตร (2548 : บทคัดย่อ) ทีได้พฒั นา บทเรี ย นคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอนเรื อง “การผันวรรณยุก ต์” สํา หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1 โรงเรี ยนสตรี นนทบุรี ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็นทีดีมากต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอนและสอดคล้องกับผลการวิจยั ของสมศักดิ อัมพรวิสิทธิ โสภา (2548 : บทคัดย่อ) ทีได้พฒั นา บทเรี ยนคอมพิ วเตอร์ ช่วยสอนเรื องรามเกี ยรติ ตอน ศึ กไมยราพ ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนชัน ประถมศึกษาปี ที 6 ส่ วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับมากทีสุ ด ข้ อเสนอแนะ จากการวิจยั การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภุมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ตามทีได้เสนอไปแล้วข้างต้น ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะดังต่อไปนี ข้ อเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช้ 1. ไม่ควรจํากัดเวลาในการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยน ตามความต้องการและความสามารถของตน 2. ควรจัดให้มีการทํากิจกรรมเสริ มต่างๆหลังการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เช่ น การค้นคว้า ความรู ้ เพิมเติ ม จากห้อ งสมุ ด การทํา รายงานกลุ่ ม เป็ นต้น เพราะการเรี ยนด้ว ย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพียงอย่างเดียวทําให้นกั เรี ยนไม่มีอากาสแลกเปลียนความคิดเห็นกับ เพือนนักเรี ยนด้วยกัน ข้ อเสนอแนะการวิจัยครังต่ อไป 1. ควรมีการทําวิจยั เพือพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทีมีเนื อหาเกี ยวกับวรรณคดี เรื องอืนๆเพิมเติม 2. ควรทําการวิจยั เพือศึกษาผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเรื องไตรภูมิพระร่ วงทีจัดการเรี ยนรู้ดว้ ย เทคนิควิธีอืนๆ เช่น เทคนิคการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นต้น

128 บรรณานุกรม กนก จันทร์ทอง. “บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.” วิทยบริการ 12,1(มกราคม-เมษายน 2544) : 66-75. กระทรวงศึกษาธิการ,กรมวิชาการ. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยใน หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2544. กรุ งเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การรับส่ งสิ นค้าและ พัสดุภณั ฑ์, 2544. ______ . สถาบันภาษาไทย. คู่มือการใช้ ภาพประกอบการสอนวรรณกรรมสํ าหรับเด็ก ระดับมัธยมศึกษา. กรุ งเทพมหานคร :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , 2540. ______ . หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุ งเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การรับส่ ง สิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์, 2544. ______ . คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรุ งเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การรับส่ ง สิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์, 2551. ______ . หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การรับส่ ง สิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์,2551. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, รายงานการทดสอบ O-NET 2550. นนทบุรี: สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, 2551. ______ . รายงานการทดสอบ O-NET 2551. นนทบุรี: สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, 2552. ______ . รายงานการทดสอบ O-NET 2552. นนทบุรี: สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานนทบุรี เขต 1, 2553. กัญจนา ลินทรัตนศิริกุล “ หน่วยที 1 การรวบรวมข้อมูลการวิจยั ” ประมวลสาระชุ ดวิชา วิทยานิพนธ์ 2. นนทบุรี: บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย สุ โขทัยธรรมาธิราช, 2538. กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาร่ วมสมัย. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531. _____ . เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุ งเทพฯ: อรุ ณการพิมพ์, 2543. คณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 . กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2542.

129 คณะทํางานโครงการวรรณกรรมอาเซียน. ไตรภูมิกถา. กรุ งเทพฯ: อัมริ นทร์ พริ นติง , 2528. คณะอนุกรรมการกิจการพิเศษ ศูนย์พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ไตรภูมิพระร่ วง [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ 2 เมษายน 2553 เข้าถึงได้จาก http://pirun.ku.ac.th/~fagisvtc/buddhism.DhramaKasetA.html (2548). คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา. กรุ งเทพฯ: นวสาส์นการพิมพ์, 2551. จรรยา บุญปล้อง. “ การพัฒนารู ปแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพือสอนการอ่านอย่างมี วิจารณญาณ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้น.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. จริ ยาพร ต๊ะโพธิ . “ การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ชนิดของคําสําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 2.” วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย เชียงใหม่, 2542. จีรารัตน์ ชิรเวทย์. บทเรียนสํ าเร็จรูป. นครปฐม. ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ สถาบันราชฏักนครปฐม, 2542. ฉันแข อ่องลํายอง. “การพัฒนาบทเรี ยนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้คอมพิวเตอร์ .” วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535. ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ. “ การสอนทักษะเพือการสื อสารระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ” เอกสาร การสอนชุ ดวิชา การสอนภาษาไทย หน่ วยที 1-8. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุ โขทัยธรรมาธิราช, 2525. ______ . “ บันไดเก้าขันเพือจรรโลงภาษาไทย ” สื อเทคโนโลยีเพือการพัฒนาทียังยืน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2539. ฐะปะนีย ์ ทาครทรรพ และคณะ. การสอนภาษาไทย ขันพืนฐาน ระดับมัธยมศึกษา. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการจํากัด, 2545. ดวงใจ ไทยอุบุญ. ภาษาไทย 1. พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. “คอมพิวเตอร์เพือการศึกษา.” วารสารครุศาสตร์ 10,36 (มกราคม – มีนาคม 2539): 1-11. ______ . คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. กรุ งเทพฯ : วงศ์กมล โปรดักชัน, 2541. ______ . คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2541.

130 ถนอมพร เลาหจรัสแสง. ก “แนวโน้มและบทบาทของเทคโนโลยีทางการศึกษาในอนาคต.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2,1 (มกราคม –เมษายน 2541) : 42-43. ______ . ข คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544. ทวีศกั ดิ ญาณประทีป. วรรณกรรมศาสนา. พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคําแหง, 2536. ทักษิณา สวนานนท์. “ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” คอมพิวเตอร์ รีววิ 23,7 ( กันยายน 2529) : 51-61. เทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี , สมเด็จพระ. การศึกษากับการพัฒนาประเทศ. กรุ งเทพฯ: ม.ป.ท. , 2538. ธัญญา ตันติชวลิต. “ การสร้างบทเรี ยนมัลติมีเดีย เรื อง กาพย์ยานี 11 สําหรับนักเรี ยนชันประถม ศึกษาปี ที 5.” วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2541. นิคม ตังคะพิภพ. สถิติเพือการวิจัยทางการศึกษา: มโนทัศน์ และการประยุกต์ . นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. นิตยา เอกบาง. “ การสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพือพัฒนาทักษะการฟัง สําหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลําปาง.” วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551. บํารุ ง กลัดเจริ ญและฉวีวรรณ กินาวงศ์. วิธีสอนทัวไป. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, 2527. บุญชม ศรี สะอาด. วิธีการสร้ างสถิติสําหรับการวิจัย. พิมพ์ครังที 6. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น, 2454. ________ . การพัฒนาการสอน. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น, 2537. บุญเกือ ควรหาเวช. นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครังที5. กรุ งเทพมหานคร: เอสอาพริ นติงเฮาส์, 2546. บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ, ม.ล. ภาษาไทยวิชาทีถูกลืม. กรุ งเทพฯ : บรรณกิจ, 2533. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. “ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์” ในเอกสารประกอบการประชุ มอบรมสั มมนา ศึกษานิเทศก์ , 25-36, สถาบันส่ งเสริ มการสอบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2538. บูรณะ สมชัย. การสร้ าง CAI - Multimedia ด้ วยAuthorware 4.0 . กรุ งเทพฯ : ซี เอ็ดยูเคชัน, 2542. ผดุง อารยะวิญ ู. ไมโครคอมพิวเตอร์ เพือการศึกษา. กรุ งเทพฯ : ซี เอ็ดยูเคชัน, 2527. ฝ่ ายวิชาการโรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม.หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทบุรีพทิ ยาคม. นนทบุรี: โรงเรี ยนนนทบุรีพิทยาคม, 2553. ฝ่ ายศึกษาค้นคว้าและวิจยั ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดนครปฐม วิทยาลัยครู นครปฐม.วรรณคดีสมุดไทย. พิมพ์ครังที 1. นครปฐม:วิทยาลัยครู นครปฐม , 2533.

131 พยุง ญาณโกมุท. วิธีสอนภาษาไทย. อยุธยา : วิทยาลัยครู พระนครศรี อยุธยา, 2518. พรสวัสดิ จงสวัสดิ. “ ผลของแบบปฏิสัมพันธ์ในการเรี ยนจากบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ จากบทเรี ยนโปรแกรมทีมีต่อผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2534. พระพานิช ญาณชีโว และคณะ. ไตรภูมิพระร่ วงฉบับย่อความ. กรุ งเทพฯ: ตรงหัว, 2542. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์ . พิมพ์ครังที 6, กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2538. ______ . การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ . กรุ งเทพฯ : ศูนย์หนังสื อจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543. พิทกั ษ์ ศีลรัตนา. “ CAI เบืองหลังการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.” คอมพิวเตอร์ 26, 5 ( กรกฎาคม 2531) : 20-25. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . “กระแสพระราชดํารัสในการประชุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 29 กรกฎาคม 2505. ” ในพระบรมราโชวาท ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. หน้า 179-180. กรุ งเทพฯ: กรุ งไทยการพิมพ์. ม.ป.ป., 2505. มยุรี หินคํา. “ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื องอักษรล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545. ยืน ภู่วรวรรณ. เทคโนโลยีฮาร์ ดแวร์ IBM PC. กรุ งเทพฯ : ซี เอ็ดยูเคชัน, 2533. รัตน์เรขา ฤทธิศร. “การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง การสนทนาภาษาไทยสําหรับ ผูเ้ รี ยนภาษาไทยเป็ นภาษาต่างประเทศ.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาการสอน ภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546. ราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต),พระ . ไตรภูมิพระร่ วง: อิทธิพลต่ อสั งคมไทย. พิมพ์ครังที 4 กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2542. ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. เทคนิคการสร้ างและเขียนข้ อสอบความถนัดทางการเรียน. พิมพ์ครังที 3. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น, 2541.

132 ลํายอง แดงวานิชกุล. “ ผลของการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีมีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เสริ มหลักภาษาไทยของนักเรี ยนชันปี ที 1 ระดับประกาศนียบัตรในวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. ลิไทย, พระญา. ไตรภูมิพระร่ วง. กรุ งเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2504. วชิระ วิชชุวรนันท์. คู่มือการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. กําแพงเพชร : คณะครุ ศาสตร์ สถาบันราชภัฏกําแพงเพชร, 2542. วชิระ อินทร์ อุดม. “ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน : ทฤษฎี หลักการและการออกแบบ.” เอกสาร ประกอบการบรรยายเรือง คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539. วรเวทพิสิฐ,พระ. วรรณคดีไทย . กรุ งเทพฯ : ศูนย์ภาษาและวรรณคดีไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536. วัชรา เล่าเรี ยนดี. เทคนิคและยุทธวิธีพฒ ั นาทักษะการคิด การจัดการเรียนรู้ ทเน้ ี นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ. นครปฐม. มหาวิทยาลัยศิลปากร,2550. วิภา อุตมฉันท์. การผลิตสื อโทรทัศน์ และสื อคอมพิวเตอร์ : กระบวนการสร้ างสรรค์ และเทคนิค การผลิต. พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ : บุค๊ พอยท์. 2544. วิโรจน์ อินทนนท์. ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในประเทศไทย.เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, 2549. วิไล กัลยาวัจน์. “การศึกษาผลการใช้ทบเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียเรื องมืองไทย ของเรา.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,2541. วุฒิชยั ประสารสอย. บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน : นวัตกรรมเพือการศึกษา. กรุ งเทพฯ : ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด วี. เจ. พริ นติง, 2543. ศศิธร ธัญลักษณานันท์. พฤติกรรมการสอนภาษาไทยในชันมัธยมศึกษา. นครราชสี มา : สถาบัน ราชภัฏนครราชสี มา, 2542. ศักดิศรี แย้มนัดดา. วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย. กรุ งเทพฯ : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543. ศิริชยั สงวนแก้ว. แนวทางการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. คอมพิวเตอร์ รีววิ 78 (กุมภาพันธ์ 2534 ) : 173-179.

133 ศิริณา จิตต์จรัส. การสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรืองสั ตว์ป่าและการอนุรักษ์ สัตว์ป่า กลุ่มวิจยั และพัฒนา สํานักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 1, 2541. ศิริสุดา ไกรวิจิตร. “การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื อง “การผันวรรณยุกต์” สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 โรงเรี ยนสตรี นนทบุรี.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. ศิลปากร,กรม. สรุ ปผลการสั มมนาเรืองไตรภูมิพระร่ วง. กรุ งเทพฯ :กรมศิลปากร, 2526. ________. กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ . วรรณกรรมสมัยรัตนโกสิ นทร์ เล่ม 2 (ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถา), กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร, 2535. ศุภชัย อุดมผล. ไตรภูมิพระร่ วง. [ระบบออนไลน์]. เข้าถึงเมือ 20 พฤษภาคม 2553. เข้าถึงได้จาก www.uniserv.buu.ac.th/article/reports4titles/ humen/2543/44.doc . ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ. แผนแม่ บทเชิงกลยุทธด้ านเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ คมนาคมและสารสนเทศ พ.ศ. 2543-2552. พิมพ์ครังที 3. กรุ งเทพฯ : ม.ป.ท, ม.ป.ป. สนิท ตังทวี. วรรณคดีและวรรณกรรมศาสนา. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2527. สมถวิล วิเศษสมบัติ. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครู สวนสุ นนั ทา, 2525. ______. การเรียน. พิมพ์ครังที 3. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น, 2541. สมพร มันตะสู ตร. การสอนภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : พีระพัธนา, 2526. สมรรัตน์ พันธุ์เจริ ญ. พืนฐานวรรณคดีไทย. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร, 2542. สมศักดิ อัมพรวิสิทธิ โสภา. “การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทยชันประถมศึกษาปี ที 6 เรื อง รามเกียรติ ตอน ศึกไมยราพ.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสื อเรียนสาระการเรียนรู้ พืนฐานวรรณคดีวจิ ักษ์ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสู ตร การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2550. สุ กรี รอดโพธิ ทอง. คอมพิวเตอร์ ดีกว่าตําราตรงไหน. กรุ งเทพฯ : คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531. ______. การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน. กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2535.

134 สุ กรี รอดโพธิทอง ,อรจรี ย ์ ณ ตะกัวทุ่ง และวิชุดา รัตนเพียร. รายงานผลการวิจัยเรืองการวิเคราะห์ โปรแกรมช่ วยสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน.กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. สุ จริ ต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. การพัฒนาการสอนภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2531. ______. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา.พิมพ์ครังที 3. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538. สุ รางค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา.พิมพ์ครังที 4 . กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2541. อนันต์ ศรี โสภา. การวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2524. อนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเศศ), พระยา, รู้ไว้. นครหลวง: คลังวิทยา, 2509. อรพันธุ์ ประสิ ทธิรัตน์. พืนฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร : สถานสงเคราะห์ หญิงปากเกร็ ด, 2530. อัจจิมา เกิดผล. จะสอนภาษาไทยให้ สนุกได้ อย่ างไร . กรุ งเทพฯ :สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2539. ภาษาต่างประเทศ Alessi S.M. and S. Trollip. Computer Based Instruction Method and Development. New Jersey :Prentice-Hall , 1985. Clement, F.J. “ Affective Considerations in Computer-Based Education.” Education Technology. 4 (March 1981) : 28-32. Forcier, R.C. The Computer as a Productivity Tool in Education. New Jersey: Prentice – Hall Inc,1996. Galavis, B “Computer and the EFL Class : Their Advantages and a Possible Outcome the Autunomous Learner,” English Teaching Forum 2,3 (October-December 1999):27-29. Hentrel , Bobbie K. , and Linda Harper. Computer in Education. Michigan : University of Michigan Press, 1985. Liu , Hsi-Chiu. “Computer Assisted in Teaching College Physics.” Dissertation Abstracts International 75,18 ( 1975) : 237-A.

135 Mervarech, Zemira R. and others. “ Learning with Computers in Small Groups : cognitive and Affective Outcomes.” Journal of educational Computing Research (CD-ROM).1991. Abstract from ERIC Item : EJ 430224. Oden, R.E. “An Assessment of the Effectiveness of Computer Assisted Instruction on Altering Teacher Behavior and the Achievement and Attitudes of Ninth Grade Pre-Algebra Mathematics Students.” Dissertation Abstracts International 25, 4 (1982) : 335-A. Romiszowski, A. J. Developing Auto-Instructional Materials: From Programmed Texts to CAL and Interacting Video. London: Kogan Page, 1986.

136

ภาคผนวก

137

ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชียวชาญ

138 รายนามผู้เชียวชาญ ผู้เชี ยวชาญด้ านการสร้ างสื อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 1.อาจารย์ ดร. นํามนต์ เรื องฤทธิ อาจารย์ประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2.อาจารย์มณฑิรา พันธุ์อน้ อาจารย์พิเศษภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3.อาจารย์กิตติศกั ดิ ณ สงขลา อาจารย์ประจําวิชาภาษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาหลักสู ตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้เชี ยวชาญด้ านเนือหา 1.นางสาวดารณี สมบูรณ์อนุกลู อาจารย์ประจํากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย โรงเรี ยนนนทบุรีวทิ ยาคม 2. นางพิสมัย ภูริคมั ภีร์ อาจารย์ประจํากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย โรงเรี ยนนนทบุรีวทิ ยาคม 3. พระครู สังฆรักษ์กิตติพงศ์ สิ ริวฑฺฒโน หัวหน้าภาควิชาหลักสู ตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้เชียวชาญด้ านการวัดและประเมินผล 1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน กาญจนวณิ ชย์กุล อาจารย์ประจําวิชาการวัดและประเมินผล ภาควิชาหลักสู ตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

139

ภาคผนวก ข เครื องมือทีใช้ในการวิจยั - บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ - แบบความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

140

บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

141

คู่มือครูในการใช้ งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

142 คํานํา คู่มือครู ในการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ นี จัดทําขึนเพือให้เป็ นคู่มือสําหรับครู ผสู้ อนในการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องนี เพือให้ครู ผสู้ อนเข้าใจลําดับขันตอนและวิธีการใช้งาน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนและได้มีการเตรี ยมความพร้อมก่อนนําไปใช้งานจริ ง ข้าพเจ้าหวังเป็ นอย่างยิงว่าคู่มือครู ในการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรี ย นรู้ ภ าษาไทย เรื อง ไตรภู มิ พ ระร่ ว ง ตอน มนุ ส สภู มิ เ ล่ ม นี จะทํา การใช้ ง านบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นไปอย่างราบรื นและเกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูเ้ รี ยน

พิมณิ ชา พรหมมานต ผูจ้ ดั ทํา

143 สารบัญ เรือง

หน้ า

วัตถุประสงค์ของการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทบาทของครู ผสู้ อน คําแนะนําในการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขันตอนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ การเปิ ดและการศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แนะนําปุ่ มต่างๆในการใช้งานบทเรี ยน

๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๗ ๒๔

144 วัตถุประสงค์ ของการใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ๑. เพือให้นกั เรี ยนได้ฝึกการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง ๒. เพือใช้แทนครู ผสู ้ อนประจําวิชาในพืนทีทีขาดแคลนครู ๓. เพือให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ตามความสามารถของตนเอง บทบาทของครูผ้ สู อน ๑. มีทกั ษะพืนฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์เบืองต้น ๒. สามารถใช้งานโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ ๓. ศึกษาเนือหาของวรรณคดีไทยเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิให้เข้าใจ ๔. ศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้เข้าใจก่อนจัดการเรี ยนรู้จริ ง เพือให้สามารถ ช่วยนักเรี ยนแก้ไขปั ญหาหรื อข้อสงสัยทีอาจพบขณะเรี ยนบทเรี ยน

145 คําแนะนําในการใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ นีบรรจุอยูใ่ นแผ่นดีวีดี (DVD-ROM) ในการใช้บทเรี ยนนี ครู ผสู้ อนควรตรวจสอบและเตรี ยมความพร้อม ดังนี ๑. ศึ ก ษาคู่ มื อ ครู ใ นการใช้ง านบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ เล่มนี อย่างละเอียดก่อนจัดการเรี ยนรู้จริ งเพือให้ เข้าใจขันตอนในการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและเพือให้การเรี ยนเป็ นไปอย่างราบรื น ๒. เตรี ยมอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม ได้แก่ ๒.๑ เครื องคอมพิวเตอร์ จะต้องมีเครื องอ่านแผ่นดีวดี ี (DVD-ROM) เพือใช้ใน การอ่านแผ่นซี ดีสือบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยต้องให้อยูใ่ นสภาพดี สามารถอ่านแผ่นดีวีดี ได้อย่างรวดเร็ ว ต้องมี Sound Card เพือให้สามารถฟังเสี ยงได้ ควรให้นกั เรี ยนมีคอมพิวเตอร์ ๑ คน ต่อ ๑ เครื อง ๒.๒ หูฟัง เนืองจากบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีเสี ยงบรรยายประกอบควรให้ นักเรี ยนทุกคนมีหูฟังเพือไม่ให้เสี ยงรบกวนผูอ้ ืน ๓. แผ่นดีวดี ี (DVD) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ต้องให้อยู่ในสภาพดี ไม่มีรอยขีดข่วน ควรมีแผ่นสํารองให้มากกว่าจํานวนนักเรี ยนสําหรับกรณี ที แผ่นดีวดี ีบางแผ่นมีปัญหา ๔. ควรกํากับดูแลให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนือหาด้วยตนเองตามขันตอนต่างๆทีกําหนดไว้ ส่ งเสริ ม ให้ผเู้ รี ยนศึกษาบทเรี ยนให้ครบทุกบทและทําแบบฝึ กหัดทุกบท

146 ขันตอนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ในการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ครู ควรกํากับให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมตาม ขันตอนให้ครบทัง ๔ ขันตอน ดังต่อไปนี ขันที ๑ ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนแบบปรนัยชนิด เลือกตอบจํานวน ๓๐ ข้อ ขันที ๒ ศึกษาบทเรี ยน นักเรี ยนศึกษาเนือหาสาระในบทเรี ยน ขันที ๓ ทําแบบฝึ กหัด นักเรี ยนทําแบบฝึ กหัดและตรวจคําตอบ ขันที ๔ ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนแบบปรนัยชนิด เลือกตอบจํานวน ๓๐ ข้อ

147 แผนการจัดการเรียนรู้ เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ชันมัธยมศึกษาปี ที ๖ ผู้สอน นางสาวพิมณิชา พรหมมานต

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เวลา ๔ ชั วโมง โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม

๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรี ยนรู้ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง ๒. สาระสํ าคัญ ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดี ทางพระพุทธศาสนาของไทยและเป็ นวรรณคดีทีเป็ นแม่บท ของวรรณคดีไทยเรื องอืนๆ ไตรภูมิพระร่ วงมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ คุณค่าด้านภาษา ด้านวรรณคดี ด้านศาสนาและ จริ ย ธรรมและด้านประเพณี และวัฒนธรรม ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิเป็ น ตอนทีมีเนื อหาเกียวกับโลกทีเราอาศัยอยู่และการเกิดของมนุ ษย์ การทีนักเรี ยนจะสามารถเข้าใจ เรื องราวในไตรภูมิพระร่ วงและคุ ณค่าในด้านต่างๆได้นนั นักเรี ยนจําเป็ นต้องศึกษาความเป็ นมา ประวัติผปู ้ ระพันธ์ เนือเรื องและคุณค่าด้านต่างๆของเรื องไตรภูมิพระร่ วงเพือให้เกิดองค์ความรู้และ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวันได้ ๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑. นักเรี ยนตอบคําถามเกียวกับประวัติความเป็ นมาและประวัติผปู้ ระพันธ์ เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วงได้ ๒. นักเรี ยนตอบคําถามเกียวกับเนือเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิได้ ๓. นักเรี ยนวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าด้านต่างๆของ เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสภูมิได้ ๔. นักเรี ยนประเมินค่าของเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิได้ ๔.สาระการเรียนรู้ ๑. ประวัติความเป็ นมาของเรื องไตรภูมิพระร่ วง ๒. ประวัติผปู ้ ระพันธ์เรื องไตรภูมิพระร่ วง

148 ๓. ๔. ๕. ๖.

ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ วรรณศิลป์ ทีปรากฏ คุณค่าด้านต่างๆของเรื องไตรภูมิพระร่ วง คําศัพท์จากเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

๕. คุณลักษณะทีพึงประสงค์ ๑. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๒. รักความเป็ นไทย ๓. มีมารยาทในชันเรี ยน ๖. ชินงาน/ภาระงาน ๑. แบบฝึ กหัด ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ครู ตกลงกับนักเรี ยนเรื องทีจะจัดการการเรี ยนรู้เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ๒. ครู แจกคู่มือการใช้งานคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้นกั เรี ยนและอธิบายเรื องการใช้งาน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ๓. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ๔. ครู บนั ทึกคะแนนการทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนของนักเรี ยนทุกคน ๕. ครู ให้นกั เรี ยนศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยตนเองและทําแบบฝึ กหัด ๖. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน ๗. ครู บนั ทึกคะแนนการทําแบบทดสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนทุกคน ๘. สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ ๑. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที ๖

149 ๙. การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผล ๑. บันทึกเปรี ยบเทียบคะแนนการทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบฝึ กหัดและ แบบทดสอบหลังเรี ยน เครืองมือวัดและประเมินผล ๑. แบบทดสอบก่อนเรี ยน ๒. แบบฝึ กหัดระหว่างเรี ยน ๓. แบบทดสอบหลังเรี ยน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

150 การเปิ ดและการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ๑. นําแผ่นดีวดี ี (DVD) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ใส่ ใน DVD-Rom ของเครื องคอมพิวเตอร์ จากนันแผ่นโปรแกรมจะแสดงหน้าจอบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่ ว ยสอนโดยอัตโนมัติ แต่ ห ากเครื องคอมพิวเตอร์ ของนัก เรี ยนไม่ส ามารถแสดง หน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยอัตโนมัติให้ปฏิบตั ิตามขันตอน ดังต่อไปนี ๑.๑ ดับเบิลคลิกที My Computer บนหน้าจอของเครื องคอมพิวเตอร์

๑.๒ ดับเบิลคลิกที DVD–ROM มนุสสภูมิ บทเรี ยนก็จะปรากฏขึน ในกรณี ที บทเรี ยนยังไม่ปรากฏขึนให้ลองเปลียนแผ่นดีวดี ีใหม่

151 ๑.๓ เมือพิมพ์ชือเข้าสู่ บทเรี ยนแล้วจะปรากฏหน้าจอเมนูหลักหากต้องการอ่านคําแนะนําการใช้ งานให้คลิกทีปุ่ ม แนะนําการใช้งาน หน้าจอเมนูหลังประกอบด้วยเมนูต่างๆ ดังต่อไปนี ๑. คําแนะนําการใช้งานบทเรี ยน ๒. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ๓. แบบทดสอบก่อนเรี ยน ๔. เข้าสู่ บทเรี ยน ๕.แบบทดสอบหลังเรี ยน ๖. อ้างอิง ๗. ผูจ้ ดั ทํา

หากต้องการศึกษาหัวข้อใดให้คลิกเลือกทีหัวข้อนัน หากต้องการเข้าสู่ บทเรี ยนให้คลิกปุ่ ม เข้าสู่ บทเรี ยน

152 ๑.๔ หน้าจอเมนูบทเรี ยนจะประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ๆ ดังต่อไปนี ๑.ประวัติความเป็ นมา ๒.จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๓.ผูป้ ระพันธ์ ๔.ลักษณะคําประพันธ์ ๕.ไตรภูมิ ๖.การเกิดและการล้างโลก ๗.มนุสสภูมิ ๘.วรรณศิลป์ ทีปรากฎ ๙.คําศัพท์ ๑๐.คุณค่าด้านต่างๆ

เนือหาในแต่ละหัวข้อใหญ่ประกอบด้วยรายละเอียด ดังต่อไปนี

153 ๑ . ประวัติความเป็ นมา

ไตรภูมิพระร่ วงเป็ นวรรณคดีพระพุทธศาสนาทีแต่งในสมัยสุ โขทัย เดิ มชือว่า “เตภูมิกถา” ภายหลังสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงเปลียนชือเป็ นไตรภูมิพระร่ วง เพือเฉลิมพระเกียรติผปู ้ ระพันธ์และเพือให้คู่กบั สุ ภาษิตพระร่ วง ต้นฉบับทีจัดพิมพ์เป็ นหนังสื อ ไตรภู มิพ ระร่ วงในปั จจุ บ นั เป็ นฉบับ ทีพระมหาช่ วยวัดปากนํา จัง หวัดสมุท รปราการ ได้มาจาก จังหวัดเพชรบุรี เป็ นใบลานจํานวน ๑๐ ผูก จารด้วยอักษรขอม หอพระสมุดวชิ รญาณถอดความ เป็ นอักษรไทยโดยไม่แก้ไขถ้อยคําจากต้นฉบับเดิม จัดพิมพ์เป็ นหนังสื อเผยแพร่ ครังแรกเมือพ.ศ. ๒๔๕๕

154 ๒. จุดมุ่งหมายในการแต่ ง

๑. เพือเทศนาโปรดพระมารดา ๒. เพือใช้สงสอนประชาชนให้ ั มีคุณธรรม ๓. เพือชีให้เห็นอนิจจลักษณะ เพือบอกว่าภูมิทงสามนั ั นไม่น่าอยูเ่ พราะไม่ยงยื ั น แต่ดินแดนทีน่าอยู่ คือ แดนนิพพานนิพพานซึ งอยูเ่ หนือการเวียนว่ายตายเกิด

155 ๓. ผู้ประพันธ์

พญาลิ ไทยทรงพระราชนิพนธ์เรื องไตรภูมิพระร่ วง พญาลิไทยทรงเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ แห่งกรุ งสุ โขทัยและเป็ น พระองค์ทรงเลือมใสในพระพุทธศาสนามาก ได้ทรงอาราธนาพระเถระ ชาวลังกาเข้ามาเป็ นสังฆราชในกรุ งสุ โขทัย ทรงสร้างและบูรณะวัดหลายแห่ง ทรงแบ่งพระสงฆ์ ออกเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายคามวาสี และฝ่ ายอรัญวาสี หลังจากขึนครองราชย์ได้ประมาณ ๖ ปี โดย พระองค์ทรงรวบรวมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากว่า ๓๐ คัมภีร์เพือทรงประพันธ์ไตรภูมิพระร่ วง ดังนันไตรภูมิพระร่ วงจึงถือได้วา่ เป็ นวิทยานิพนธ์เล่มแรก

156 ๔. ลักษณะคําประพันธ์

ไตรภูมิพระร่ วงแต่งเป็ นร้อยแก้ว ประเภทความเรี ยงสํานวนพรรณนา แต่แม้จะเป็ น ความเรี ยงก็มีการใช้คาํ ทีสัมผัสคล้องจองอยูเ่ สมอ

157 ๕. ไตรภูมิ

ไตรภูมิ ประกอบด้วย กามภูมิ รู ปภูมิและอรู ปภูมิ กามภูมิแบ่งออกเป็ นสุ คติภูมิและทุคติภูมิ สุ ค ติ ภูมิ ไ ด้แก่ สวรรค์ ๖ ชันและโลกมนุ ษ ย์ ทุ ค ติ ภูมิ ได้แก่ นรกภูมิ เปรตภู มิ อสุ รกายภูมิ และ ดิรัจฉานภูมิ รู ปภูมิ คือ ภูมิของพรหมทีมีรูป และอรู ปภูมิคือภูมิของพรหมทีมีแต่จิตแต่ไม่มีรูป

158 ๖. การเกิดและการล้างโลก

เดิมนันมนุษย์เป็ นพรหมลงมาจากพรหมชันอาภัสสราเมือตอนทีโลกเกิดขึนใหม่ๆ มนุษย์มี ผิวผ่องใส กายสว่างไสวจึงมองเห็นโดยไม่ตอ้ งอาศัยแสงสว่างจากภายนอกในสมัยนันจึงยังไม่มีดวง อาทิตย์และดวงจันทร์ มนุษย์ไม่มีเพศ เหาะได้ อยูไ่ ด้โดยไม่ตอ้ งกินอาหาร ต่อมามนุษย์ได้กินง้วนดินซึงเป็ นธาตุหยาบ มนุ ษย์และสิ งแวดล้อมจึงเปลียนแปลง มนุษย์ มีผิวหยาบและเกิดเพศหญิงเพศชาย ต้องลงมาอยู่บนพืนดิ นเพราะเหาะไม่ได้ เกิดดวงอาทิตย์และ ดวงจันทร์ ขึนเพือให้แสงสว่างเพราะแสงสว่างจากกายมนุ ษย์หายไป เกิดดวงดาว ฤดูกาล มนุ ษย์ อาศัยอยู่บนโลกเรื อยมาและมีจิตใจเสื อมลงเพราะความโลภ โกรธ หลง ง้วนดินทีเคยอุดสมบูรณ์ และมีรสอร่ อยค่อยๆหมดไป มีขา้ วสาลีเกิดขึนมาแทน ข้าวสาลีนนเดิ ั มมีลาํ ต้นสู งเมล็ดใหญ่ ไม่มี เปลือกรสอร่ อย เมือเก็บเกียวแล้วก็งอกออกมาดังเดิม ต่อมามนุ ษย์เกียจคร้าน ข้าวสาลีจึงมีเปลือกมีเมล็ดและต้นเล็กลง เมือเก็บไปก็ไม่กลับงอก ขึนมาได้ดงั เดิม มนุ ษย์จึงจับจองเขตของตนเพือปลูกข้าวกินเป็ นอาหาร มนุษย์ตอ้ งทํางานหนัก และไม่ได้สบายเหมือนในตอนทีโลกเกิดมาใหม่ๆอีกต่อไป ต่อมาโลกถูกทําลายล้างด้วยไฟ นําและลมนําเพราะคนทําความชัว ไม่รู้จกั บาปบุญ เมือ มนุ ษย์มีจิตใจตํา ไม่รู้จกั บาปบุ ญ ฝนจึ งไม่ตก ดวงอาทิ ตย์เพิมจํานวนขึนเรื อยๆ เมือดวงอาทิตย์ เพิมขึนถึง ๗ ดวง ปลาใหญ่ทงั ๗ ตัวในแม่นาสี ํ ทนั ดรก็กลายเป็ นนํามันไหลเข้าไหม้เขาอัสสกัณณะ ตลอดจนชมพูทวีปทีเราอาศัยอยู่ ไฟไหม้ อบายภูมิทงั ๔ ไปจนถึงพรหมโลกชันมหาพรหมแล้วก็

159 หยุดเพียงเท่านัน เมือไฟไหม้เทวดาและพรหมก็หนี ขึนสู่ ชนที ั ไฟไหม้ไม่ถึงและอยูอ่ ย่างแออัดยัด เยียดกัน ไฟนีเรี ยกว่าไฟประลัยกัลป์ ไหม้อยูน่ าน ๑ อสงไขย ต่อมามีฝนตกลงมาจนนําท่วมแผ่นดิน จนถึ ง ชันมหาพรหมแล้วฝนก็ หยุ ด ตกนําจึ ง ท่ ว มอยู่เ พีย งเท่า นัน นําที ท่ ว มนันไม่ ล้น ออกนอก จักรวาลเพราะลมพัดเวียนไม่ให้นาไหลออกไปได้ ํ นําท่วมอยู่ ๑ อสงไขยก็แห้งไป จากนันลมก็พดั ให้เกิ ดภูมิต่างๆขึนดังเก่าก่อนมา ไฟล้างโลกล้างกัลป์ นันจะล้างโลก ๗ ครังจึงมีนามาล้ ํ างโลก ๑ ํ างโลก ๘ ครัง จึงมีลมมาล้างโลก ๑ ครัง โลกและภูมิต่างๆที ครัง เมือไฟล้างโลก ๕๖ครัง มีนามาล้ ไฟไหม้ถึงนันจะต้องถูกทําลายและเกิดใหม่หมุนเวียนเช่นนีตลอดไปไม่มีทีสิ นสุ ด

160 ๗. มนุสสภูมิ

ในทิศทังสี ทิศรอบเขาพระสุ เมรุ ราชมีพืนดินลอยอยูใ่ นอากาศในระดับเดียวกับไหล่เขา พระสุ เมรุ ราช ดิ นแดนทังสี เรี ยกว่า ทวีป ทวีปทังสี คือ มนุ สสภูมิ ซึ งเป็ นดินแดนทีเป็ นทีอยู่ของ มนุษย์ ทวีปทางด้านทิศเหนือมีชือว่าอุตตรกุรุทวีป แผ่นดินของทวีปนีเป็ นรู ปสี เหลียม มนุษย์ทวีป นี มีรูปงาม ใบหน้ารู ปสี เหลี ยม ผูค้ นในทวีปนี มีศีลธรรม อุตตรกุรุทวีปถือเป็ นดินแดนในอุดมคติ ของคนในซี กโลกตะวันออก มนุ ษย์ของทวีปนีมีอายุยืน 1000 ปี ทวีปทีตังอยู่ทางทิศตะวันออก ของเขาพระสุ เมรุ มีชือว่าบุพพวิเทหทวีป มนุ ษย์ในทวีปนีมีใบหน้ากลมเหมือนดวงจันทร์ มนุษย์มี อายุขยั 100 ปี ทวีปทีตังอยูท่ างทิศตะวันตกของเขาพระสุ เมรุ มีชือว่าอมรโคยานทวีป แผ่นดินของ ทวีปนีเป็ นรู ปครึ งวงกลม มนุ ษย์ในทวีปนีมีใบหน้าเหมือนพระจันทร์ ครึ งซี ก มนุษย์มีอายุขยั 400 ปี อายุของมนุษย์ในทวีปทังสามทีกล่าวมาแล้วนันจะไม่เพิมขึนหรื อลดลงเพราะมนุ ษย์เหล่านันตังมัน ในเบญจศีลตลอดชีวิต ทวีปทางด้านทิศใต้ของเขาพระสุ เมรุ มีชือว่า ชมพูทวีป ชมพูทวีปคือโลกที พวกเราอาศัยอยู่ มนุ ษย์ในทวีปนี มีใบหน้ารู ปไข่ มนุ ษย์มีอายุขยั เฉลีย ประมาณ ๑๐๐ ปี แต่อายุ ั ษย์ทีมีศีลธรรมและมนุ ษย์ทีขาดศีลธรรม มนุษย์ได้ชือ ของชาวชมพูทวีปไม่แน่นอนเพราะมีทงมนุ ว่าเป็ นผูม้ ีใจสู ง

161 การจะเกิดเป็ นมนุษย์นนต้ ั องรักษาศีล ๕ มนุษย์แบ่งเป็ น ๔ ประเภท ประเภทที ๑ คือ คนนรก คนนรกเป็ นผูท้ ีมี จิตใจชัวช้า มีนิสัยโหดร้ าย ประเภทที ๒ คือ คนเปรต คนเปรตมีชีวิต ความเป็ นอยู่ทียากลําบากพยายามหาทรัพย์มาเท่าไหร่ ก็ไม่พอกินพอใช้ มีแต่ความอดอยากเหมือน ผุดมาจากเปรตภูมิ ประเภทที ๓ คือ คนดิรัจฉานเป็ นคนทีจิตใจหยาบกระด้าง ไม่รู้จกั ปรนนิบตั ิบิดา มารดา ทําบาปทุกเมือเหมือนผุดมาจากติรัจฉานภูมิ ประเภทที ๔ คือคนมนุ ษย์ เป็ นมนุ ษย์ทีรู้จกั บาปบุญคุณโทษ ประพฤติตนอยูใ่ นความดี รักษาศีล ๕ ไม่กล้าทําชัว มีจิตใจสู ง บําเพ็ญ บุญกุศลอยู่ เสมอมนุษย์ประเภทนีเปรี ยบประดุจเทพบุตรเทพธิดาทีจุติลงมายังโลกมนุษย์ การเกิดของมนุษย์เป็ นการเกิดแบบชลามพุชะ คือ การเกิดในครรภ์มารดา มนุษย์นนไม่ ั ว่า จะเกิดเป็ นผูช้ ายหรื อผูห้ ญิงจะเริ มจากรู ปแรกทีปฏิสนธิ ในครรภ์มารดาในช่วงสัปดาห์แรก เรี ยกว่า กลละซึ งมีขนาดเล็กมากเปรี ยบได้กบั เอาผมคนมาผ่า ๘ ครัง แล้วจุ่มลงในนํามันงาทีใสมาก นํามา สลัดเจ็ดครังนํามันงาทีเหลือติดอยูท่ ีปลายผมยังใหญ่กว่ากลละ กลละนันค่อยๆใหญ่ขึนในแต่ละวัน เมือเวลาผ่านไป ๗ วัน จะเป็ นดังนําล้างเนือเรี ยกว่าอัมพุทะ อัมพุทะนันใหญ่ขึนทุกวัน เมือครบ ๗ วัน จะข้นขึนเหมือนตะกัวทีเชือมอยูใ่ นหม้อเรี ยกว่า เปสิ เปสิ จะใหญ่มากขึนทุกวันๆครันถึง ๗วัน จะแข็งเป็ นก้อนดังไข่ไก่เรี ยกว่า ฆนะ ฆนะค่อยๆใหญ่ขึนทุกวันๆ เมือถึง ๗ วันเกิดเป็ นตุ่ม ๕ แห่ ง เหมือนหู ด เรี ยกว่า เบญจสาขาหู ด เบญจสาขานันเป็ นหัวก้อนหนึ ง อีกสองก้อนเป็ นเท้า อีกสอง ก้อนเป็ นมือ ๗ วันหลังจากนันจะเริ มเป็ นฝ่ ามือ นิ วมือ เมือครบ ๔๒ วันนับตังแต่เริ มปฏิสนธิ ใน ครรภ์มารดาก้อนเนื อนันจะพัฒนาจนมีร่างกายเป็ นมนุ ษย์มีขน เล็บมือ เล็บเท้า เมือครบ ๕๐วัน ท่อนล่า งของร่ ายกายจะสมบูรณ์ และเมื อครบ ๘๔ วันท่อนบนของร่ า งกายจะสมบู รณ์ เมือครบ ๑๘๔ วัน หรื อประมาณ ๖ เดื อน ทารกจะมีร่างกายสมบูรณ์ เหมือนมนุ ษย์นงอยู ั ่กลางครรภ์มารดา เอาหลังชนครรภ์มารดา อาหารทีมารดากินนันจะอยู่บนหัวทารก ทารกได้รับอาหารผ่านทางสาย สะดือซึ งติดอยูก่ บั ท้องของมารดา ทารกต้องอยูใ่ นครรภ์อย่างอึดอัดและคับแคบ ชืนและเหม็น มีฝงู พยาธิ อยู่รอบๆตัว เมือเวลาผ่านไปก็จะถึงกําหนดคลอด เมือถึง ๙เดือนทารกจะเอาหัวลงข้างล่าง เพราะกรรมกลายเป็ นลมเรี ยกว่า ลมกรรมชวาต พัดให้ตวั ทารกขึนข้างบนเอาหัวลงข้างล่าง เมือเวลา คลอดนัน ทารกจะเจ็บเนื อเจ็บตัวมากเหมือนเข็นช้างให้ออกจากรู กุญแจอันคับแคบ หากทารกอยู่ ในครรภ์มารดาได้ ๖ เดือนแล้วคลอด ทารกจะไม่รอดชี วิตเลยสักคน หากทารกอยูใ่ นครรภ์มารดา ได้ ๗ เดือนแล้วคลอด หากแม้ทารกนันรอดชีวติ ไปได้ร่างกายก็จะไม่แข็งแรง หากทารกนันเป็ นผูม้ า จากสวรรค์เมือคลอดร่ างกายจะเย็นเนือเย็นใจ เมืออยูใ่ นครรภ์มารดา อยูใ่ นครรภ์มารดาก็เป็ นสุ ขใจ เนือของมารดาก็พลอยเย็นไปด้วย เมือเวลาคลอดทารกยังสํานึ กถึงความสุ ขบนสวรรค์ก็จะหัวเราะ หากทารกนันเป็ นผูม้ าจากนรกภูมิ หรื อเปรตภูมิ จะยังนึกถึงความลําบากเมืออยูใ่ นนรกภูมิเมือคลอด ออกมานันจึ ง ร้ อ งไห้ ช่ วงเวลาในการกําเนิ ดของทารกนันแบ่ งเป็ น ๓ กาล กาลที ๑ คื อ ตอน

162 ปฏิสนธิในครรภ์มารดา การที ๒ คือ ตอนอยูใ่ นครรภ์มารดา กาลที ๓ คือ ตอนคลอด หากทารกที เกิดมานันเป็ นพระปัจเจกโพธิ เจ้า พระอรหันตาขีณาสพหรื อพระอัครสาวกเจ้า นันจะมีสติจาํ กาลที ๑ และ ๒ ได้แต่จาํ กาลที ๓ ไม่ได้แต่ทารกทัวไปนันจะไม่สามารถจํากาลทัง ๓ ได้เลย บุตรทีเกิดมานันแบ่งออกได้เป็ น ๓ ประเภท ประเภททีหนึ ง เรี ยกว่า อนุชาติบุตรเป็ นบุตรที มีคุณสมบัติเสมอด้วยบิดามารดา ประพฤติตามอย่างบิดามารดา มีคุณธรรมเสมอบิดามารดา บุตร ประเภทที ๒ เรี ย กว่า อภิ ช าติ บุ ตร เป็ นบุ ตรที มี คุ ณสมบัติสู ง กว่า บิ ด ามารดา มี คุ ณธรรมความดี เหนือกว่าบิดามารดา บุตรประเภทสุ ดท้ายคือ อวชาติบุตร เป็ นบุตรทีมีคุณสมบัติตากว่ ํ าบิดามารดา มีคุณธรรมความดี ความประพฤติดอ้ ยกว่าบิดามารดา

163 ๘. วรรณศิลป์ ทีปรากฏ

ในเรื องไตรภูมิพระร่ วงมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ ทีปรากฎมากมาย เช่น การใช้คาํ สัมผัสสระ สัมผัสอักษร การซําคํา การใช้คาํ ทีเป็ นจังหวะน่าฟัง ทําให้เกิดความไพเราะ เด่นในด้าน การพรรณนาโดยใช้ภาพพจน์อุปมา เป็ นต้น

164 ๙. คําศัพท์

คําศัพท์ กระหนกกระหาย กลละ

ข้าวนําชําปลาอาหาร คนกัน ครัง ฆนะ จตุราบาย จะงอยไส้เดือน จึงอย่า เซา

คําแปล ทุรนทุราย รู ปแรกทีเริ มปฎิสนธิ ในครรภ์มารดาช่วงสัปดาห์แรกเปรี ยบได้กบั เอาคน มาผ่า ๘ ครัง (๑/๒๕๖) แล้วเอาจุ่มลงในนํามันงาทีใสมากและสลัด ๗ ครัง แล้วถือไว้ นํามันทีติดปลายผมยังขนาดใหญ่กว่ากลละ ข้าวปลาอาหาร ปนกัน เพลียหอยชนิดหนึงทีผลิตสารสี แดงเรี ยกว่าขีครัง ใช้ยอ้ ม สี วสั ดุหรื อปิ ดผนึกเอกสารสําคัญต่างๆ ก้อน แท่ง อบายภูมิ ๔ ปลายสายสะดือ จึงหยุด เหงา

165 คําศัพท์ ตืด ทีเร่ ว เทียร นะแน่ง บ่เริ ม เบญจสาขาหูด ประตูลกั ษณ์ เปสิ เพือ ฟักข้าว เมือหน้า เริ ม ลมกรรมชวาต สะหน่อย สัด โสด หลักขาดดี ห่อน หีบ เหง อยูธ่ รห้อย อรหันตาขีณาสพ อวินิโภครู ป อัมพุทะ อุตุกาล เอือน แอ่นยัน

คําแปล พยาธิ ป่ าช้า ย่อม ยิงนัก แม้แต่ ก้อนเนือทีมีปุ่มเกิด ๕ ปุ่ ม คือ หัว ๑ ปุ่ ม แขน ๒ ปุ่ ม ขา ๒ ปุ่ ม รู กุญแจ ชินเนือในครรภ์มารดา เพราะ ไม้เถาชนิดหนึง ผลมีหนามสันๆกินได้และใช้ทาํ ยาได้ ต่อไปภายหน้า ไชชอน ดุน ลมทีเกิดในเวลาทีจะคลอดบุตร สักหน่อย สักเล็กน้อย มาตราตวงโบราณ หนึงสัดมี ๒๕ ทะนาน แสนสัด หมายถึง จํานวนมาก อีกส่ วนหนึง ความมันคง เคย หนีบ ทับ โคลงเคลงไปมา ทรงตัวไม่ได้ พระอรหันต์ รู ปทีแบ่งออกไม่ได้ รู ปของการก่อกําเนิดมนุษย์ในช่วงสัปดาห์ที ๒ ของการตังครรภ์ ฤดูกาล พยาธิ คดเพราะถูกกดดันด้วยลมกรรมชวาต

166 ๑๐. คุณค่ าด้ านต่ างๆ

คุณค่ าด้ านภาษา คุณค่าด้านภาษา คือ คุณค่าซึ งแสดงให้เห็นถึง วัฒนธรรมและวิวฒั นาการด้านภาษาของชาติ ทีมีภาษาเป็ นของตนเอง มีทงในด้ ั านความ สละสลวย สวยงามและความไพเราะ ควรอนุรักษ์และ สื บทอด คุณค่ าด้ านวรรณคดี ไตรภูมิพระร่ วงมีคุณค่าในด้านวรรณคดีเนื องจากทําให้คนรุ่ นใหม่รู้วา่ คนไทยรู้จกั แต่ง วรรณคดีมาตังแต่ในอดีตและไตรภูมิพระร่ วงยังมีคุณค่าต่อวรรณคดีเรื องอีกด้วย อาทิ ขุนช้าง ขุนแผน กากีคาํ กลอน รามเกียรติ เป็ นต้น คุณค่ าด้ านสั งคม ศาสนาและจริ ยธรรม คุณค่าด้านศาสนา คือ คุณค่าในด้านการเป็ นสื อถ่ายทอดคําสอนและปรัชญาของศาสนาสู่ ประชาชน ทําให้ประชาชนมีได้ขอ้ คิด เข้าใจแก่นแท้ของศาสนาและมีแนวทางในการดํารงชีวติ ประพฤติตน เป็ นคนดีของสังคม

167 ด้านประเพณี และวัฒนธรรม คุณค่าด้านประเพณี และวัฒนธรรม คือ คุณค่าทีแสดงประเพณี และวัฒนธรรมของสังคม ทําให้ทราบถึงชีวติ ความเป็ นอยู่ ค่านิยมและภูมิปัญญาของสังคม ก่อให้เกิดความหวงแหนและมุ่ง อนุรักษ์สิงเหล่านี

168 แนะนําปุ่ มต่ างๆในการใช้ งานบทเรียน ๑.ปุ่ มก่อนหน้า คลิกเมือต้องการกลับไปหน้าทีผ่านมา

๒.ปุ่ มถัดไป คลิกเมือต้องการไปหน้าถัดไป

๓.ปุ่ มกลับเมนู คลิกเมือต้องการกลับสู่ หน้าเมนูหลัก

๔. ปุ่ มปิ ดเปิ ดเสี ยง คลิกต้องการปิ ดหรื อเปิ ดเสี ยง

๕.ปุ่ มออกจากบทเรี ยน คลิกเมือต้องการออกจากโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

๖.ปุ่ มเข้าทําแบบฝึ กหัด คลิกเมือต้องการเข้าไปทําแบบฝึ กหัด

๗. ปุ่ มยืนยันคําตอบ คลิกเมือต้องการยืนยันคําตอบในการทําแบบฝึ กหัด

169

คู่มือนักเรียนในการใช้ งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรือง ไตรภูมพิ ระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

170 คํานํา คู่มือนักเรี ยนในการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ เล่มนี จัดทําขึนเพือให้นกั เรี ยนทีใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องนีได้เข้าใจลําดับขันตอนและวิธีการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ข้าพเจ้าหวังเป็ นอย่างยิงว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุ สสภูมิ นี จะช่วยให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ ความเข้าใจเรื องไตรภูมิพระร่ วง มากยิงขึน รวมทังตระหนักถึงคุณค่าของงานวรรณคดีไทยและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย

พิมณิ ชา พรหมมานต ผูจ้ ดั ทํา

171 สารบัญ เรือง

หน้ า

การเตรี ยมตัวของผูเ้ รี ยน บทบาทของผูเ้ รี ยน การเปิ ดบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ขันตอนการเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แนะนําปุ่ มต่างๆในการใช้งานบทเรี ยน

๑ ๑ ๓ ๕ ๑๔

172 การเตรียมตัวของผู้เรียน ในการศึกษาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ นักเรี ยนควรเตรี ยมตัวดังต่อไปนี ๑. ศึกษาคู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ อย่างละเอียดก่อนทีจะใช้งานบทเรี ยนจริ งเพือให้นกั เรี ยนเรี ยนได้ ถูกต้องตามลําดับขันตอน การเรี ยนเป็ นไปอย่างราบรื น เข้าใจเนือหาสาระและเกิดประโยชน์สูงสุ ด ในการเรี ยนรู้ ๒. เตรี ยมหูฟังหรื ออุปกรณ์ในการฟังเพือใช้ในการเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีเสี ยงบรรยายประกอบ หากนักเรี ยนไม่มีอุปกรณ์ดงั กล่าวให้ แจ้งให้ครู ผสู ้ อนทราบล่วงหน้าก่อนวันทีจะเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทบาทของผู้เรียน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ควรมีทกั ษะพืนฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ เบืองต้น ศึกษาเนือหาในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างตังใจ ปฏิบตั ิตามขันตอนทีกําหนดในการเรี ยนบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนอย่างตังใจและซือสัตย์ ปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างมีสมาธิและไม่รบกวนสมาธิการเรี ยนของเพือนนักเรี ยนคนอืนๆ

173 การเปิ ดบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ๑. นําแผ่นซี ดี (DVD) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ใส่ ใน DVD-Rom ของเครื องคอมพิวเตอร์ แผ่นโปรแกรมจะแสดงหน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยอัตโนมัติแต่หากเครื องคอมพิวเตอร์ของนักเรี ยนไม่สามารถแสดงหน้าจอบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยอัตโนมัติให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขันตอน ดังต่อไปนี ๑.๑ ดับเบิลคลิกที My Computer บนหน้าจอของเครื องคอมพิวเตอร์

๑.๒ ดับเบิลคลิกที DVD–ROM มนุสสภูมิ บทเรี ยนก็จะปรากฏขึน ในกรณี ที บทเรี ยนยังไม่ปรากฏขึนให้นกั เรี ยนแจ้งครู ผสู้ อนเพือเปลียนแผ่นซีดีใหม่

174 ๑.๓ เมือเข้าสู่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้วให้นกั เรี ยนพิมพ์ชือและนามสกุล ของตนเองลงไปในช่องว่างแล้วกด Enter

๑.๔ บทเรี ยนจะนํานักเรี ยนเข้าสู่ หน้าเมนูหลักซึงประกอบด้วยเมนูต่างๆ ดังต่อไปนี

๑. คําแนะนําการใช้งาน ๒. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ๓. แบบทดสอบก่อนเรี ยน ๔. เข้าสู่ บทเรี ยน ๕.แบบทดสอบหลังเรี ยน ๖. อ้างอิง ๗. ผูจ้ ดั ทํา

175 ให้นกั เรี ยนคลิกอ่านคําแนะนําการใช้งานบทเรี ยนก่อนหากนักเรี ยนเพิงเคยเข้ามาศึกษา บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิเป็ นครังแรก แต่หากนักเรี ยนเคย เข้ามาศึกษาบทเรี ยนนีแล้วและเข้าใจขันตอนการใช้งานบทเรี ยนแล้วก็ไม่จาํ เป็ นต้องเข้าไปอ่าน คําแนะนําการใช้งานบทเรี ยนอีก ให้นกั เรี ยนคลิกเลือกหัวข้ออืนๆได้ตามต้องการ ขันตอนการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ในการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรี ยนต้องทํากิจกรรมตามขันตอนให้ ครบทัง ๔ ขันตอน ดังต่อไปนี ขันที ๑ ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนแบบปรนัยชนิด เลือกตอบจํานวน ๓๐ ข้อ ขันที ๒ ศึกษาบทเรี ยน นักเรี ยนศึกษาเนื อหาสาระในบทเรี ยน ขันที ๓ ทําแบบฝึ กหัด นักเรี ยนทําแบบฝึ กหัดระหว่างเรี ยนในแบบฝึ กปฏิบตั ิและตรวจ คําตอบ ขันที ๔ ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนแบบปรนัยชนิด เลือกตอบจํานวน ๓๐ ข้อ ขันที ๑ ทําแบบทดสอบก่อนเรียน ๑.๑ ให้นัก เรี ย นคลิ ก เลื อกปุ่ มแบบทดสอบก่ อนเรี ยน ในหน้าเมนู หลัก เพื อเข้า ไปทํา แบบทดสอบก่อนเรี ยนสําหรับนักเรี ยนทีเข้ามาเรี ยนเนื อหาเรื องนีเป็ นครังแรกแต่หากนักเรี ยนเคย เข้ามาเรี ยนเนือหาเรื องนีแล้วไม่ตอ้ งทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนซําอีก

176 แบบทดสอบก่อนเรี ยนเป็ นแบบทดสอบปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๓๐ ข้อ ข้อสอบจะ ปรากฏขึนบนหน้าจอครังละ ๑ ข้อ ให้นกั เรี ยนกดเลื อกลงในช่องหน้าคําตอบทีคิดว่าถูกต้องทีสุ ด เพียงข้อเดี ยว เมือเลื อกคํา ตอบแล้วให้คลิกปุ่ ม ข้อต่อไปเพือทําแบบทดสอบข้อต่อไป ในการทํา แบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยนนักเรี ยนต้องมีความซื อสัตย์หา้ มเปิ ดดูเนือหาหรื อคําตอบ ๑.๒ เมือนักเรี ยนทําข้อสอบครบทัง ๓๐ ข้อ คอมพิวเตอร์ จะแจ้งผลคะแนนให้นกั เรี ยน ทราบในทันที ๑.๓ เมือทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนเสร็ จให้นกั เรี ยนคลิก กลับเมนู เพือกลับไปหน้าเมนูหลัก ขันตอนที ๒ ศึกษาบทเรียน ๒.๑ นักเรี ยนคลิกเลือก เข้าสู่ บทเรี ยน จากหน้าเมนูหลัก

177 ๒.๒ เนื อหาบทเรี ยนโดยในหน้าเมนูหลักของเนื อหาจะประกอบด้วยเมนเนือหาย่อยต่างๆ ดังต่อไปนี ได้แก่ ๑. ประวัติความเป็ นมา ๖. จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๒. จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๗. มนุสสภูมิ ๓. ผูป้ ระพันธ์ ๘. วรรณศิลป์ ทีปรากฏ ๔. ลักษณะคําประพันธ์ ๙. การเกิดและการล้างโลก ๕. ไตรภูมิ ๑๐. คุณค่าด้านต่างๆ

ให้นกั เรี ยนเลือกศึกษาหัวข้อใดก่อนหลังก็ได้ตามความสนใจของนักเรี ยนโดยคลิกเลือกที หัวข้อนัน นักเรี ยนก็จะได้เข้าไปศึกษาเนือหาเรื องนันๆ

178 ๒.๓ เมือนักเรี ยนเข้าไปเรี ยนเนือหา หากหน้านันๆมีปุ่มให้คลิกเลือกเพือเข้าไปเรี ยนเนือหา ย่อยต่างๆให้นกั เรี ยนคลิกซ้ายทีปุ่ มเพือเข้าไปเรี ยนเนือหาตามหัวข้อทีปรากฏบนปุ่ มต่างๆ

๒.๔ ในหน้าเนื อหา หากมีขอ้ ความหรื อคําทีขีดเส้นใต้และเมือเอาเมาส์ไปวางทับปรากฏ เป็ นรู ปมือและข้อความคลิกเพืออ่านเพิมเติม นักเรี ยนสามารถคลิกข้อความหรื อคํานันเพือเข้าไป ศึกษาข้อมูลเพิมเติมทีเกียวข้องกับคํานันๆได้โดยใช้เมาส์คลิกซ้ายทีข้อความหรื อคํานันๆ

179 ขันตอนที ๓ ทําแบบฝึ กหัด ๓.๑ เมื อศึ ก ษาเนื อหาในแต่ ล ะเรื องเสร็ จ จะมี แ บบฝึ กหัด ท้า ยเรื อง ให้ นั ก เรี ย นคลิ ก แบบฝึ กหัดเพือเข้าไปทําแบบฝึ กหัดต่างๆโดยแบบฝึ กหัดมีประเภทถูกผิด โยงคํา เลือกตอบ โดยใน แต่ละแบบฝึ กหัดจะมีคาํ อธิ บายวิธีทาํ ไว้ให้ แบบฝึ กหัดมีหลากหลายประเภท ดังต่อไปนี

แบบฝึ กหัดประเภทเลือกคําตอบจะมีคาํ ตอบให้เลือก ๒ ข้อ ให้คลิกเลือกข้อทีถูกต้องเพียงข้อเดียว

180 แบบฝึ กหัดแบบเลือกตอบ จาก 4 ตัวเลือก ให้เลือกคลิกคําตอบทีคิดว่าถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว

แบบฝึ กหัดแบบเลือกภาพทีสัมพันธ์กบั ข้อความทีให้มา

181 แบบฝึ กหัดแบบโยงเส้นจับคู่ โยงเส้นภาพกับคําทีสัมพันธ์กนั

เมือทําแบบฝึ กหัดเสร็ จในแต่ละแบบฝึ กหัดจะมีการเฉลยว่านักเรี ยนตอบผิดหรื อถูกกีข้อ ๓.๓ หลังทําแบบฝึ กหัดเสร็ จหากต้องการกลับไปหน้าเมนูหลักให้คลิกปุ่ ม กลับเมนูเพือจะได้เลือก เข้าไปศึกษาเนือหาเรื องอืนๆตามความสนใจต่อไป

182 ขันตอนที ๔ ทําแบบทดสอบหลังเรียน ๔.๑ เมือนักเรี ยนศึกษาเนือหาครบทุกเรื องให้นกั เรี ยนกลับไปทีหน้าจอเมนูหลัก แล้วคลิก เลือกทําแบบทดสอบหลังเรี ยน

แบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นแบบทดสอบปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๓๐ ข้อ ข้อสอบจะปรากฏขึนบน หน้าจอครังละ ๑ ข้อ ให้นกั เรี ยนกดเลือกลงในช่องหน้าคําตอบทีคิดว่าถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว เมือ เลือกคําตอบแล้วให้คลิก ปุ่ ม ทําข้อสอบหน้าถัดไป เช่นเดียวกับการทําข้อสอบก่อนเรี ยน ๔.๒ เมือทําข้อสอบครบทุกข้อระบบคอมพิวเตอร์จะประมวลผลคะแนนสอบออกมาให้ นักเรี ยนทราบ

183 แนะนําปุ่ มต่ างๆในการใช้ งานบทเรียน ๑.ปุ่ มก่อนหน้า คลิกเมือต้องการกลับไปหน้าทีผ่านมา

๒.ปุ่ มถัดไป คลิกเมือต้องการไปหน้าถัดไป

๓.ปุ่ มกลับเมนู คลิกเมือต้องการกลับสู่ หน้าเมนูหลัก

๔. ปุ่ มปิ ดเปิ ดเสี ยง คลิกต้องการปิ ดหรื อเปิ ดเสี ยง

๕.ปุ่ มออกจากบทเรี ยน คลิกเมือต้องการออกจากโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

๖.ปุ่ มเข้าทําแบบฝึ กหัด คลิกเมือต้องการเข้าไปทําแบบฝึ กหัด

๗. ปุ่ มยืนยันคําตอบ คลิกเมือต้องการยืนยันคําตอบในการทําแบบฝึ กหัด

184

ตัวอย่างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

185

186

187

188

189

190

191

192

193

194

195

196

197

198

199

200

201

202

203

204

205

206

207

208

209

210

211

212

213

214

215

216

217

218

219

220

221

222

223

224

225

226

227

228

229

230

231

232

233

234

235

236

237

238

239

240

241

242

243

244

245

246

247

248

249

250

251

252

253

254

255

256

257

258

259

260

261

262

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

263 แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิทางการเรี ยน เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ คําชีแจง

ข้อสอบฉบับนีเป็ นข้อสอบปรนัย มีขอ้ สอบทังหมด จํานวน 30 ข้อ

คําสั ง จงเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงคําตอบเดียวแล้วเขียนเครื องหมาย กากบาท (X) ลงใน กระดาษคําตอบ 1. ใครเป็ นผูเ้ ปลียนชือเตภูมิกถาเป็ นไตรภูมิพระร่ วง ก. พระมหาช่วย วัดปากนํา ข. พระมหานาค วัดท่าทราย ค. สมเด็จฯกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ง. สมเด็จฯกรมพระยานริ ศรานุวตั ิวงศ์ 2. ไตรภูมิพระร่ วงมีลกั ษณะการแต่งพิเศษอย่างไรทีแตกต่างไปจากวรรณคดีเรื องอืนๆในสมัย เดียวกัน ก. บอกปี ทีแต่ง ข. บอกชือผูแ้ ต่ง ค. บอกจุดมุ่งหมายในการแต่ง ง. บอกชือคัมภีร์ทีใช้ประกอบในการแต่ง 3. ใครคือผูแ้ ต่งเรื องไตรภูมิพระร่ วง ก. พระยาลิไทย ข. พระยาลือไทย ค. พ่อขุนศรี อินทราทิตย์ ง. พ่อขุนรามคําแหงมหาราช

264 4. ข้อใดคือกล่าวไม่ถูกต้องเกียวกับพระราชกรณี ยกิจของผูแ้ ต่งเรื องไตรภูมิพระร่ วง ก. ทรงสร้างพระพุทธชินราช ข. ทรงสร้างศิลาจารึ กหลักที 1 ค. ทรงอาราธนาพระเถระชาวลังกาเข้ามาเป็ นสังฆราชในกรุ งสุ โขทัย ง. ทรงแบ่งพระสงฆ์ออกเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายคามวาสี และฝ่ ายอรัญวาสี 5. การทีผูแ้ ต่งต้องการให้สังคมสงบสุ ขจึงแต่งเรื องไตรภูมิพระร่ วงขึนตรงกับจุดประสงค์การแต่งใน ข้อใด ก. เทศโปรดพระมารดา ข. สังสอนประชาชนให้ตงมั ั นในศีลธรรม ค. จัดทําเป็ นกฎหมายให้ประชาชนปฏิบตั ิ ง. แสดงให้เห็นอุตตรกุรุทวีปว่าเป็ นทวีปทีน่าอยู่ 6. “ ท้องคนทังหลายอันมีผมู ้ าเกิดเอาปฏิสนธิมีดงั นี หญิงทังหลายอันยังหนุ่มแลจะควรมีลูกนันทีใต้ ท้องน้อยภายในแห่งคนแร่ งมาเกิดนัน ” จากข้อความข้างต้นกล่าวได้วา่ เรื องไตรภูมิพระร่ วงมี ลักษณะการแต่งแบบใด ก. ร่ าย ข. กาพย์ ค. โคลง ง. ความเรี ยง 7. บุคคลทีอยูอ่ ย่างลําบาก หาทรัพย์ได้ก็ไม่พอเลียงชีพคือบุคคลประเภทใด ก. คนนรก ข. คนเปรต ค. คนดิรัจฉาน ง. คนอสุ รกาย

265 8. ข้อใดหมายถึง“ กาลทัง 3” ก. อดีต ปั จจุบนั อนาคต ข. นรก โลกมนุษย์ สวรรค์ ค. กามภูมิ รู ปภูมิ อรู ปภูมิ ง. ตอนปฏิสนธิ ตอนอยูใ่ นครรภ์ ตอนคลอด 9. หากพระอินทร์ ลงมาทีโลกมนุษย์แล้วต้องการเหาะกลับไปสวรรค์ชนดาวดึ ั งส์จะต้องเหาะ ผ่านสวรรค์ชนใดก่ ั อน ก. ดุสิต ข. ยามา ค. จาตุมหาราชิกา ง. ปรนิมมิตวัสวัตตี 10. ข้อใดเรี ยงลําดับพัฒนาการของทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง ก. กลละ อัมพุทะ เปสิ ฆนะ ข. อัมพุทะ กลละ ฆนะ เปสิ ค. ฆนะ เปสิ อัมพุทะ กลละ ง. เปสิ ฆนะ กลละ อัมพุทะ 11. มนุษย์เกิดในครรภ์มารดาเพราะฉะนันมนุษย์มีการเกิดแบบใด ก. แบบอุปปาติกะ ข. แบบชลามพุชะ ค. แบบอัณฑชะ ง. แบบสังเสทชะ

266 12. หากเพือนคนหนึงมีปัญหาชีวติ แล้วมาบอกนักเรี ยนว่าอยากฆ่าตัวตาย นักเรี ยนจะนําข้อคิดทีได้ จากเรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิไปเตือนสติเพือนไม่ให้คิดสันอย่างไร ก. เตือนว่าคิดฆ่าตัวตายและการฆ่าตัวตายนันเป็ นสิ งทีบาปและไม่ควรทําอย่างยิง ข. เตือนว่ากว่าทีเราจะเกิดเป็ นมนุษย์ได้นนแสนลํ ั าบากจึงควรเห็นคุณค่าและหวงแหนชีวติ ของตนเอง ค. เตือนว่าควรหมันทําบุญในชาตินีเพือชาติหน้าจะได้ไปเกิดในสวรรค์และไม่ตอ้ งเสี ยใจ เหมือนในชาตินี ง. เตือนว่าควรหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์โดยการออกบวชเพือหาทางหลุดพ้นจากการ เวียนว่ายตายเกิด 13. “ อันว่าฝูงคนทังหลายในโลกนีบ่มิเทียงบ่มิแท้ แลแปรปรวนไปมาดังกล่าวมานีแล ลางปางเป็ น ดีแล้วเป็ นร้าย เป็ นร้ายแล้วเป็ นดี บ่ห่อนเทียงสักคาบเลย อันว่าคนในโลกนีบ่มิเทียงเลย ” จากข้อความนีกวีตอ้ งการให้ผอู ้ ่านเรื องไตรภูมิพระร่ วงเข้าใจสิ งใด ก. ศีลธรรมอันดีงาม ข. ข้อควรปฏิบตั ิของมนุษย์ ค. ลักษณะพิเศษของโลกมนุษย์ ง. ความแปรปรวนของสรรพสิ ง 14. ข้อใดกล่าวถึงไตรภูมิพระร่ วงไม่ถูกต้อง ก. ชีให้เห็นว่ามนุษย์ควรมุ่งทําบุญเพือทีตายไปจะได้ขึนสวรรค์ ข. ชีให้เห็นว่าความสุ ขในอุตตรกุรุทวีปเป็ นความสุ ขทีเป็ นอมตะ ค. ชีให้เห็นความน่าเบือของการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ในภูมิต่างๆ ง. ชีให้เห็นว่าอนิ จจลักษณะคือความเป็ นอนิ จจังของสรรพสิ งในโลก 15. “ สี ดงนํ ั าล้างเนือ” จากข้อความนีเป็ นการเปรี ยบเทียบสี วา่ เหมือนสี ของนําล้างเนือโดยใช้คาํ ว่า ดังในการเปรี ยบ ดังนันข้อความนีมีการใช้ภาพพจน์ชนิดใด ก. อุปมา ข. นามนัย ค. สัทพจน์ ง. สัญลักษณ์

267 16. หากนักเรี ยนนอนหลับแล้วฝันเห็นนางฟ้ า เมือตืนมานักเรี ยนต้องการจะเขียนบรรยายลักษณะ ของนางฟ้ าทีเห็นในความฝันให้เพือนของนักเรี ยนอ่าน นักเรี ยนจะเลือกใช้โวหารประเภทใดใน การเขียนเพือให้เพือนเกิดจินตภาพมากทีสุ ด ก. บรรยายโวหาร ข. สาธกโวหาร ค. เทศนาโวหาร ง. พรรณนาโวหาร 17. “ ตืดแลเอือนฝูงนันเริ มตัวกุมารนันไสร้ ดุจดังหนอนอันอยูใ่ นปลาเน่าแลหนอนอันอยูใ่ นอาจม นันแล ” จากข้อความข้างต้นแสดงการใช้ความเปรี ยบชนิดใดเด่นชัดทีสุ ด ก. อุปมา ข. อติพจน์ ค. อวพจน์ ง. อุปลักษณ์ 18. “ แลกุมารนันอยูเ่ หนื ออาหารนัน เบืองหลังกุมารนันต่อหลังท้องแม่แลนังยองอยูใ่ นท้องแม่ แลกํามือทังสอง คูต้ วั ต่อหัวเข้าทังสองเอาหัวไว้เหนือหัวเข่า เมือนังอยูด่ งั นันเลือดแล นําเหลืองย้อยลงเต็มตนหยดทุกเมือแลทุกเมือ” ข้อความข้างต้นเด่นในด้านใดมากทีสุ ด ก. ด้านการใช้ความเปรี ยบ ข. ด้านการใช้คาํ ภาษาโบราณได้ดี ค. ด้านการพรรณนาภาพได้ชดั เจน ง. ด้านการเลือกสรรคําทีเป็ นจังหวะน่าฟัง 19. “ แลคับแคบแอ่นยันหนักหนา ” คําทีขีดเส้นใต้แสดงคุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ ในข้อใด เด่นชัดทีสุ ด ก. ซําคํา ข. เล่นคํา ค. สัมผัสสระ ง. สัมผัสอักษร

268 20. “ อยูธ่ รห้อยผิบ่มิดุจดังคนอันเมาเหล้า ผิบม่ ิดุจดังลูกงูอนั หมองูเอาไปเล่นนันแล ” จากข้อความข้างต้นมีการใช้ภาพพจน์ในด้านใดทีเด่นเป็ นพิเศษ ก. มีการใช้บุคลาธิษฐาน ข. มีการใช้ความเปรี ยบซ้อนกัน ค. มีการใช้อธิบายโวหารเด่นชัด ง. มีการใช้คาํ ทีมีความหมายตรงกันข้าม 21. เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ ในด้านใดเด่นชัดทีสุ ด ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. อติพจน์ ง. อวพจน์ 22. ข้อใดหมายถึงชินเนือในครรภ์มารดา ก. ครัง ข. กลละ ค. เปสิ ง. นะแน่ง 23. “ ฝูงทีอันมาเกิดเป็ นพระปั จเจกโพธิ เจ้าก็ดี แลเป็ นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี แลมาเป็ น พระองค์อรรคสาวกเจ้าก็ดี เมือ ธ แรกมาเอาปฏิสนธินนก็ ั ดี เมือ ธ อยูใ่ นท้องแม่นนก็ ั ดีแล” คําว่า ธ ทีขีดเส้นใต้หมายถึงใคร ก. พระพุทธเจ้า ข. พระองค์อรรคสาวกเจ้า ค. พระปั จเจกโพธิเจ้าและพระอรหันตาขีณาสพเจ้า ง. พระปัจเจกโพธิเจ้า พระอรหันตาขีณาสพเจ้าและพระองค์อรรคสาวกเจ้า

269 24. “ คนผูใ้ ดอยูใ่ นท้องแม่ 6 เดือนแลคลอดนัน บ่มิได้สักคาบ” ข้อใดคือความหมายของข้อความข้างต้น ก. หากแม่ทอ้ ง 6 เดือนแล้วคลอดลูกจะคลอดยาก ข. หากแม่ทอ้ ง 6 เดือนแล้วคลอดลูกจะไม่แข็งแรง ค. หากแม่ทอ้ ง 6 เดือนแล้วคลอดลูกจะไม่รอดชีวติ ง. หากแม่ทอ้ ง 6 เดือนแล้วคลอดลูก ลูกจะป่ วยตลอดชีวติ 25. “ มนุษย์เป็ นสัตว์ประเสริ ฐ” จากข้อความนีคําทีขีดเส้นใต้สามารถแทนทีได้ดว้ ยคําใด ก. ผูม้ ีศีล ข. ผูม้ ีปัญญา ค. ผูม้ ีจิตใจสู ง ง. ผูม้ ีพรอันเป็ นเลิศ 26. หากนักเรี ยนเป็ นจิตรกรแล้วมีคนขอร้องให้วาดภาพสัตว์ป่าหิมพานต์ให้นกั เรี ยนควรวาดสัตว์ ในข้อใดต่อไปนี ก. พญาครุ ฑ ข. ม้านิลมังกร ค. สิ งโตคาบแก้ว ง. นางพญาผึงหลวง 27. ข้อใดคือคุณค่าด้านศาสนาจากเรื องไตรภูมิทีสัมพันธ์กบั คุณค่าด้านศิลปะ ก. ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังเกียวกับนรกสวรรค์ไว้ทีจูงใจให้คนทําดีละเว้นความชัว ข. การใส่ ดอกไม้ธูปเทียนในมือผูว้ ายชนม์เพราะเชือว่าจะนําไปไหว้พระธาตุจุฬามณี ค. ไตรภูมิพระร่ วงทําให้ความเชือเรื องป่ าหิ มพานต์แพร่ หลายไปสู่ วรรณคดีเรื องอืนๆ ง. ไตรภูมิพระร่ วงผสานความเชือเทพเจ้ากับความเชือทางพระพุทธศาสนาไว้ดว้ ยกัน

270 28. “ เขาสุ เมรุ เอนเอียงอ่อนละมุน อานนท์หนุนนานสะท้านสะเทือน ” จากบทพระราชนิพนธ์เรื องรามเกียรติข้างต้นแสดงให้เห็นถึงคุณค่าในด้านใดของเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ก. ด้านศาสนา ข. ด้านวรรณคดี ค. ด้านจริ ยธรรม ง. ด้านประเพณี และวัฒนธรรม 29. ไตรภูมิพระร่ วงมีคุณค่าด้านวรรณคดีในข้อใด ก. มีคาํ ศัพท์โบราณปรากฏอยูจ่ าํ นวนมาก ข. ทําให้คนเกรงกลัวต่อการทําความชัวและหมันทําความดี ค. มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมและจิตรกรรม ง. เป็ นหลักฐานทีแสดงว่าคนไทยรู้จดั แต่งวรรณคดีมาตังแต่สมัยโบราณ 30.ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ทีได้รับจากการศึกษาเรื องไตรภูมิพระร่ วง ก. ได้เรี ยนรู้ความหมายของคําศัพท์โบราณ ข. ได้เรี ยนรู ้คาํ ศัพท์ทางพระพุทธศาสนาเพิมมากขึน ค. ได้เรี ยนรู ้ความแตกต่างระหว่างคําโบราณกับคําทีใช้ในปัจจุบนั ง. ได้เรี ยนรู ้คาํ ศัพท์ทีมีรากศัพท์มาจากภาษาตะวันตกมายิงขึน

271

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

272 แบบสอบถามความคิดเห็น เรือง ความคิดเห็นของนักเรียนทีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรือง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สํ าหรับนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปี ที 6 คําชีแจง 1. คําตอบของนักเรี ยนไม่มีผลต่อการเรี ยนของนักเรี ยน 2. ขอให้นกั เรี ยนตอบคําถามทุกข้อตามความคิดเห็นหรื อสภาพทีเป็ นจริ งเนืองจากคําตอบของ นักเรี ยนจะเป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุ งสื อการสอนต่อไป 3. แบบสอบถามความคิดเห็นมี 1 ตอน จํานวน 20 ข้อ ตอนที 1 ความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

พิมณิ ชา พรหมมานต นักศึกษาปริ ญญาโท สาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

273 ตอนที 1

ความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

คําชีแจง

ตัวเลขในช่องระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนด้านขวามือของแบบสอบถามเป็ น เกณฑ์สาํ หรับการพิจารณาข้อความทีกําหนดให้ มีความหมายดังต่อไปนี ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

นักเรี ยนเห็นด้วยมากทีสุ ด นักเรี ยนเห็นด้วยมาก นักเรี ยนเห็นด้วยปานกลาง นักเรี ยนเห็นด้วยน้อย นักเรี ยนเห็นด้วยน้อยทีสุ ด

ตัวอย่าง

รายการ

มาก ทีสุ ด 5

ระดับความคิดเห็น มาก ปานกลาง น้ อย 4

3

2

น้ อย ทีสุ ด 1

ด้ านเนือหา ส่ วนนํา 1.นักเรี ยนชอบเรี ยนภาษาไทย 2.นักเรี ยนชอบเรี ยนด้วยสื อบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

/

/ ข้อ 1 หมายความว่านักเรี ยนเห็นด้วยในระดับมาก กับข้อความ “นักเรี ยนชอบเรี ยนภาษาไทย” ข้อ 2 หมายความว่านักเรี ยนเห็นด้วยในระดับปานกลาง กับข้อความ “ นักเรี ยนชอบเรี ยนด้วยสื อ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน”

274 คําอธิบาย โปรดอ่านข้อความแต่ละข้ออย่างละเอียดแล้วพิจารณาว่าเมือนักเรี ยนเรี ยนเรื อง ไตรภูมิ พระร่ วง ตอน มนุสสภูมิดว้ ยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อ ข้อความเหล่านันในระดับใด จากนันให้นกั เรี ยนทําเครื องหมายถูก ( / ) ลงในช่องให้ ตรงกับความคิดเห็นทีแท้จริ ง

รายการ

ด้ านเนือหา ส่ วนนํา 1.การนําเข้าสู่ บทเรี ยนมีความน่าสนใจ 2.บทเรี ยนมีการออกแบบให้ใช้ง่าย เมนูไม่สับสน 3.มีการแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้ ผูเ้ รี ยนทราบ 4.คําแนะนําในการใช้งานบทเรี ยนเข้าใจ ง่าย ส่ วนเนือหา 5. เนือหาสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 6.บทเรี ยนมีความยากง่ายเหมาะสมกับ ผูเ้ รี ยน 7.บทเรี ยนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วม ตลอดการเรี ยน 8. การใช้ภาษาสามารถสื อความหมายได้ ชัดเจน 9. บทเรี ยนการยกตัวอย่างในปริ มาณและ โอกาสทีเหมาะสม

มาก ทีสุ ด 5

ระดับความคิดเห็น มาก ปานกลาง น้ อย 4

3

2

น้ อย ทีสุ ด 1

275

คําถาม ส่ วนสรุป 10. บทเรี ยนมีการสรุ ปเนือหาในแต่ละ ตอนอย่างเหมาะสม 11.ความเหมาะสมของจํานวนข้อสอบ ด้ านกราฟิ กและการออกแบบ 12.การออกแบบหน้าจอภาพโดยรวม 13. รู ปภาพประกอบสามารถสื อ ความหมายและมีความสอดคล้องกับ เนือหา 14.ขนาดและตัวอักษรทีใช้มีความ เหมาะสม 15. ความเหมาะสมในการใช้ภาพ เสี ยง และเสี ยงบรรยาย 16.ความเหมาะสมของการใช้สีในการ ออกแบบจอภาพ 17.คุณภาพของกราฟิ กทีใช้ประกอบการ เรี ยน ด้ านประโยชน์ ทได้ ี รับ 18.มีความรู้ความเข้าใจเรื องไตรภูมิ พระร่ วงมากขึน 19. เกิดความกระตือรื อร้นและมีความสนุก ในการเรี ยน 20. รู ้สึกว่าการเรี ยนวรรณคดีไม่น่าเบือ

มากทีสุ ด

ระดับความเป็ นคิดเห็น มาก ปานกลาง น้ อย

น้ อย ทีสุ ด

276 ข้ อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

277

ภาคผนวก ค การตรวจสอบคุณภาพเครื องมือทีใช้ในการวิจยั -บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วงตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยนชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 -แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วงตอน มนุสสภูมิ -แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ

278 1.บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วงตอน มนุสสภูมิ สําหรับนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 1.1แบบประเมินคุณภาพสื อมัลติมีเดียเพือการศึกษาประเภทบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนของกระทรวงศึกษาธิการ

แบบประเมินคุณภาพสื อมัลติมีเดียเพือการศึกษา ประเภทคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กระทรวงศึกษาธิการ คําชีแจง แบบประเมินนีใช้สาํ หรับการตรวจประเมินคุณภาพสื อมัลติมีเดียเพือการศึกษา ประเภท บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ของกระทรวงศึกษาธิการ แบ่งเป็ น 3 ส่ วน ดังนี ส่ วนที 1 ส่ วนที 2

ส่ วนที 3

ข้อมูลพืนฐาน รายการประเมินคุณภาพสื อมัลติมีเดีย เพือการศึกษา ให้พิจารณาตามองค์ประกอบ ดังนี 1) ส่ วนนําของบทเรี ยน 2) เนื อหาของบทเรี ยน 3) การใช้ภาษา 4) การออกแบบระบบการเรี ยนการสอน 5) ส่ วนประกอบด้านมัลติมีเดีย 6) การออกแบบปฏิสัมพันธ์ สรุ ปผลการตรวจประเมินเชิงคุณภาพ

279 ระดับการประเมิน แบ่งเป็ น 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากทีสุ ด หมายถึง นําเสนอได้สมบูรณ์ทุกองค์ประกอบ ตรงตาม วัตถุประสงค์ของโปรแกรม ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ได้ดีมาก ทําให้ผเู้ รี ยนเกิดทักษะการเรี ยนรู้ได้ อย่างดี ตลอดจนมีเจตคติทีดีมากต่อวิชาทีเรี ยน เหมาะสมมาก หมายถึง นําเสนอได้ตามองค์ประกอบ ตรงตาม วัตถุประสงค์ของโปรแกรม ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ได้ดี ผูเ้ รี ยนเกิดทักษะการเรี ยนรู้ ตลอดจนมีเจต คติทีดีต่อวิชาทีเรี ยน เหมาะสม หมายถึง นําเสนอได้ตามองค์ประกอบ ตรงตาม วัตถุประสงค์ของโปรแกรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ สร้างเจตคติทีดี มีขอ้ บกพร่ องบ้างแต่ไม่เป็ น ประเด็นสําคัญและไม่มีผลเสี ยต่อการเรี ยนรู้ของ ผูเ้ รี ยน เหมาะสมน้อย หมายถึง นําเสนอได้ตามองค์ประกอบแต่ยงั ไม่สมบูรณ์ ครบถ้ว นและมี ข ้อบกพร่ องที มี ผลเสี ย ต่อ การ เรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน เหมาะสมน้อย หมายถึง ไม่ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ตามวัตถุประสงค์ของ โปรแกรมจําเป็ นต้องปรับปรุ งแก้ไข เงือนไขการประเมิน 1.ส่ วนเนือหาสาระของบทเรี ยน องค์ประกอบย่อยของรายการประเมินทีต้องได้รับ การประเมินในระดับเหมาะสมมากหรื อเหมาะสมมากทีสุ ด คือ 1.1. ความถูกต้องตามหลักวิชา 1.2. ไม่ขดั ต่อความมันคงของชาติ และคุณธรรมจริ ยธรรม 1.3. การใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม 2. องค์ประกอบย่อยของแต่ละองค์ประกอบ ยกเว้นข้อ 1 ต้องได้รับการประเมิน เหมาะสม เหมาะสมมาก หรื อเหมาะสมมากทีสุ ดอย่างใดอย่างหนึง 3. หากพบว่ามีขอ้ ผิดพลาด (bug) ทีมีผลต่อการใช้โปรแกรมจะไม่พิจารณาให้ผา่ น การประเมิน

280 ส่ วนที 1 ข้ อมูลพืนฐาน 1. ชือสื อ............................................................................................................................... 2. วิชา..............................................................................ระดับชัน...................................... 3. ลักษณะสื อทีใช้เก็บบทเรี ยน CD-ROM DISKETTE จํานวน .......... แผ่น 4. เนือหาสาระ สื อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามหลักสู ตร อิงหลักสู ตร 5. เอกสารประกอบ..........................................ชิน คือ คู่มือการใช้โปรแกรม คู่มือประกอบการเรี ยนการสอน อืน ๆ ................ 6. อุปกรณ์ประกอบการนําเสนอบทเรี ยน ( ไมโครโฟน, หูฟัง ฯลฯ) ..........................ชิน คือ ……………………………………………………………………………………………. 7. ระบบคอมพิวเตอร์ทีจําเป็ น เครื อง PC Macintosh CPU รุ่ น..........................................RAM ตังแต่ ................................................MB อุปกรณ์อืน ๆ ............................................................................................................. 8. ประเภทของบทเรี ยน ……………………………………………………………………. 9. เนือหาโดยย่อ....................................................................................................................... 11. คุณค่าและประโยชน์ทีผูเ้ รี ยนและผูส้ อนได้รับ.................................................................... 12. องค์ประกอบทัวไป - การติดตังโปรแกรม ยาก ง่ายสะดวก ไม่เหมาะสม อืน ๆ ............ - ความเหมาะสมกับ Hardware ปัจจุบนั เหมาะสม ไม่เหมาะสม อืน ๆ ............ - ความเหมาะสมของข้อมูลทีจําเป็ น (โครงสร้างบทเรี ยน วัตถุประสงค์การใช้บทเรี ยน การ ติดตังโปรแกรม ฯลฯ ทีกําหนดใน Help, Read Me เอกสารประกอบ หรื อส่ วนนําของบทเรี ยน ) เหมาะสม ไม่เหมาะสม อืน ๆ ............

281 ส่ วนที 2 รายการประเมินคุณภาพ คําชีแจง โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านโดยทําเครื องหมาย / ลงในช่องระดับ การประเมินความคิดเห็น ตามระดับประมาณค่าของสื อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนซึงกําหนดเป็ นเกณฑ์ตดั สิ นคุณภาพ เป็ น 5 ระดับ ดังนี ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

เหมาะสมมากทีสุ ด เหมาะสมมาก เหมาะสม เหมาะสมน้อย เหมาะสมน้อยทีสุ ด

รายการประเมิน 5 1. ส่ วนนําของบทเรียน เร้าความสนใจ , ให้ขอ้ มูลพืนฐานทีจําเป็ น (วัตถุประสงค์, เมนูหลัก ฯลฯ) 2. เนือหาของบทเรียน 2.1 โครงสร้างเนื อหาชัดเจน มีความกว้าง ลึก ความเชือมโยงความรู้ เดิมกับความรู ้ใหม่ 2.2 มีความถูกต้องตามมาตรฐานหลักสู ตร 2.3 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2.4 สอดคล้องกับการประยุกต์ใช้กบั การเรี ยนการสอน มีความสัมพันธ์ต่อเนือง 2.5 ความยากง่ายเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน 2.6 ไม่ขดั ต่อความมันคงของชาติ และคุณธรรมจริ ยธรรม 3. การใช้ ภาษา ใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน สื อความหมายได้ชดั เจน เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1

282 รายการประเมิน 5 4. การออกแบบระบบการเรียนการสอน 4.1 ออกแบบด้วยระบบตรรกะทีดี เนือหามีความสัมพันธ์ต่อเนือง 4.2 ส่ งเสริ มการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 4.3 มีความยืดหยุน่ สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ควบคุมลําดับ เนือหา ลําดับการเรี ยนและแบบฝึ กได้ 4.4 ความยาวของการนําเสนอแต่ละหน่วย แต่ละตอนเหมาะสม 4.5 มีการประเมินผลให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ได้เหมาะสม มีความ หลากหลายและปริ มาณเพียงพอทีสามารถตรวจสอบความเข้าใจ บทเรี ยนด้วยตนเอง 4.6 มีกลยุทธ์การประเมินผลให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ให้เหมาะสม มีความหลากหลายและประมาณทีเพียงพอทีสามารถตรวจสอบ ความเข้าใจบทเรี ยนด้วยตนเอง 5. ส่ วนประกอบด้ าน Multimedia 5.1 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม ง่ายต่อการใช้ สัดส่ วนเหมาะสม สวยงาม 5.2 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษรชัดเจน สวยงาม อ่านง่าย เหมาะกับ ระดับของผูเ้ รี ยน 5.3 ภาพกราฟิ กเหมาะสม ชัดเจนสอดคล้องกับเนือหาและมี ความสวยงาม มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ 5.4 คุณภาพการใช้เสี ยง ประกอบบทเรี ยนเหมาะสม ชัดเจน น่าสนใจ 6. การออกแบบปฏิสัมพันธ์ 6.1 ออกแบบปฏิสัมพันธ์ให้ใช้บทเรี ยนง่าย สะดวก ควบคุมเส้นทาง การเดินของบทเรี ยนชัดเจน และสามารถย้อนกลับหรื อออกจาก บทเรี ยนได้ง่าย 6.2 การให้ผลป้ อนกลับ เสริ มแรงเหมาะสมตามความจําเป็ น

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1

283 ส่ วนที 3 สรุ ปผลการตรวจประเมินในเชิ งคุณภาพ สรุ ปผลการพิจารณาในเชิงคุณภาพ โดยให้เหตุผลพร้อมตัวอย่างตามองค์ประกอบการ ประเมิน ระบุขอ้ ดี ข้อเสี ย และข้อเสนอแนะเพือปรับปรุ งและพัฒนาโปรแกรม ตามประเด็นหลัก หรื อองค์ประกอบของรายการประเมิน คือ 1. ส่ วนนําของบทเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2.เนือหาสาระของบทเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3.การใช้ภาษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4.การออกแบบระบบการเรี ยนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………..………………..................................................................... 5.ส่ วนประกอบด้านมัลติมีเดีย ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………...……………….................................................................................. 6.การออกแบบด้านปฏิสัมพันธ์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ผลการตัดสิ น

ผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ลงชือ ................................................ (…….………….……..) ผูเ้ ชียวชาญ

284 1.2 ผลการประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผูเ้ ชียวชาญด้านเนือหาและ ด้านสื อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ตารางที 16 ผลการประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน รายการประเมิน 1. ส่ วนนําของบทเรียน เร้าความสนใจ , ให้ขอ้ มูลพืนฐานทีจําเป็ น ( วัตถุประสงค์ ,เมนูหลัก ฯลฯ) รวม 2. เนือหาของบทเรียน 2.1 โครงสร้างเนื อหาชัดเจน มีความกว้าง ลึก ความ เชือมโยงความรู ้เดิมกับความรู ้ใหม่ 2.2 มีความถูกต้องตามมาตรฐานหลักสู ตร 2.3 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2.4 สอดคล้องกับการประยุกต์ใช้กบั การเรี ยนการสอนมี ความสัมพันธ์ต่อเนือง 2.5 ความยากง่ายเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน 2.6 ไม่ขดั ต่อความมันคงของชาติ และคุณธรรมจริ ยธรรม รวม 3. การใช้ ภาษา ใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน สื อความหมาย ได้ชดั เจนเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน รวม

X

S.D

ค่ าระดับ

4.00

0.00

มาก

4.67 5.00 5.00

0.58 0.00 0.00

มากทีสุ ด มากทีสุ ด มากทีสุ ด

5.00 5.00 5.00 4.94

0.00 0.00 0.00 0.10

มากทีสุ ด มากทีสุ ด มากทีสุ ด มากทีสุ ด

4.00 4.00

0.00 0.00

มาก มาก

ลําดับที

2 1 1 1 1 1

1

285 ตารางที 16 (ต่อ) รายการประเมิน 5. ส่ วนประกอบด้ าน Multimedia 5.1 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม ง่ายต่อการใช้ สัดส่ วน เหมาะสม สวยงาม 5.2 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อ่านง่าย เหมาะกับระดับของผูเ้ รี ยน 5.3 ภาพกราฟิ กเหมาะสม ชัดเจน สอดคล้องกับเนือหา และมี ความสวยงาม มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ 5.4 คุณภาพการใช้เสี ยง ประกอบบทเรี ยนเหมาะสม ชัดเจน น่าสนใจ 5.5 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อ่านง่าย เหมาะกับระดับของผูเ้ รี ยน รวม 6. การออกแบบปฏิสัมพันธ์ 6.1 ออกแบบปฏิสัมพันธ์ให้ใช้บทเรี ยนง่าย สะดวก ควบคุม เส้นทาง การเดินของบทเรี ยนชัดเจน และสามารถย้อนกลับหรื อออก จากบทเรี ยนได้ง่าย 6.2 การให้ผลป้ อนกลับ เสริ มแรงเหมาะสมตามความจําเป็ น รวม รวมทุกด้าน

X

S.D

ค่ าระดับ

ลําดับที

3.67

0.58

มาก

4

4.33

0.58

มาก

2

4.67 4.67

0.58 0.58

มากทีสุ ด มากทีสุ ด

1 1

4.00 4.27

1.00 0.58

มาก มาก

3

4.00

1.00

มาก

2

4.33 4.17 4.38

1.16 1.04 0.38

มาก มาก มาก

1

286 1.3 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นําบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไปทดลอง (try-out) เพือหาประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 โดยกําหนดค่าประสิ ทธิ ภาพเป็ น E 1 (คะแนนเฉลียคิดเป็ นร้อยละจากการทําแบบทดสอบ ระหว่างเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน) E 2 (คะแนนเฉลียคิดเป็ นร้อยละจากการทํา แบบทดสอบหลังเรี ยนจบบทเรี ยนทังหมด) ขันที 1 ทดลองแบบหนึงต่อหนึง ตารางที 17 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดสอบแบบหนึงต่อหนึง นักเรี ยน

1 2 3 รวม

คะแนนทดสอบ ระหว่างเรี ยน (คะแนนเต็ม 20คะแนน) 16 13 14 43

ร้อยละ

80 65 70 71.67

ได้ค่าประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยน (E 1/ E 2) = 71.67/72.22

คะแนนทดสอบ หลังเรี ยน (คะแนนเต็ม 30คะแนน) 20 22 23 65

ร้อยละ

66.67 73.33 76.67 72.22

287 ขันที 2 การทดลองกลุ่มเล็กเพือหาประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตารางที 18 ค่าประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดสอบกลุ่มเล็ก นักเรี ยน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 รวม

คะแนนทดสอบ ระหว่างเรี ยน (คะแนนเต็ม 20คะแนน) 14 16 17 12 12 18 16 17 16 138

ร้อยละ

70 80 85 60 60 90 80 85 80 76.67

ได้ค่าประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยน (E 1/ E 2) = 76.67/80.74

คะแนนทดสอบ หลังเรี ยน (คะแนนเต็ม 30คะแนน) 24 26 24 23 20 25 24 27 25 218

ร้อยละ

80 86.67 80 76.67 66.67 83.33 80 90 83.33 80.74

288 ขันที 3 การทดลองภาคสนามเพือหาประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตารางที 19 ค่าประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของการทดลองกลุ่มตัวอย่าง นักเรี ยน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

คะแนนทดสอบ ระหว่างเรี ยน (คะแนนเต็ม 20คะแนน) 16 12 14 16 17 19 15 18 15 15 17 15 16 18 14 17 18 16 15 15 18 17 17

ร้อยละ

80 60 70 80 85 95 75 90 75 75 85 74 80 90 70 85 90 80 75 75 90 85 85

คะแนนทดสอบ หลังเรี ยน (คะแนนเต็ม 30คะแนน) 22 25 26 23 28 29 20 24 25 26 24 27 26 22 26 27 29 24 19 22 27 25 26

ร้อยละ

73.33 83.33 86.67 76.67 93.33 96.67 66.67 80 83.33 86.67 80 90 86.67 73.33 86.67 90 96.67 80 63.33 73.33 90 83.33 86.67

289 ตารางที 19 (ต่อ) นักเรี ยน

24 25 26 27 28 29 30 รวม

คะแนนทดสอบ ระหว่างเรี ยน (คะแนนเต็ม 20คะแนน) 16 18 14 17 13 15 19 482

ร้อยละ

80 90 70 85 65 75 95 80.33

ได้ค่าประสิ ทธิภาพบทเรี ยน (E 1/ E 2) = 80.33/83.67

คะแนนทดสอบ หลังเรี ยน (คะแนนเต็ม 30คะแนน) 27 26 23 28 26 23 28 753

ร้อยละ

90 86.67 76.67 93.33 86.67 76.67 93.33 83.67

290 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ 2.1 ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบทดสอบโดยหา ค่าดัชนีความสอดคล้อง ( IOC :Index of Item Objective Congruence) มีเกณฑ์พิจารณา ดังนี คะแนน + 1 คะแนน 0 คะแนน - 1

สําหรับคําถามทีแน่ใจว่าวัดตรงตามจุดประสงค์ขอ้ นัน สําหรับคําถามทีแน่ไม่ใจว่าวัดตรงตามจุดประสงค์ขอ้ นันหรื อไม่ สําหรับคําถามทีแน่ใจว่าวัดไม่ตรงกับจุดประสงค์ขอ้ นัน

ตารางที 20 ค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบทดสอบ จํานวน 60 ข้อ เนือหา ประวัติความเป็ นมาของเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง

ประวัติผปู้ ระพันธ์

จุดมุ่งหมายในการแต่ง ลักษณะคําประพันธ์ เนือเรื อง

ประเภท รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ เข้าใจ รู้-จํา รู้-จํา รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ เข้าใจ วิเคราะห์ วิเคราะห์ รู้-จํา รู้-จํา รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ

ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

1 +1 +1 +1 +1 +1 0 -1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 0 +1 +1 -1 +1 +1

IOC 3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.67 0.67 0.67 1.00 0.67 0.67 0.67 1.00 1.00 -0.33 1.00 1.00

291 ตารางที 20 (ต่อ) เนือหา

วรรณศิลป์

ประเภท เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ นําไปใช้ นําไปใช้ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ เข้าใจ เข้าใจ นําไปใช้ นําไปใช้ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ ประเมินค่า ประเมินค่า

ข้อ 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42

1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 +1 +1 -1 +1 -1 +1 +1 +1 +1 0

IOC 3 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 0 +1 +1

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.33 0.67 1.00 0.67 1.00 1.00 0.67 1.00 0.33 0.67 1.00 1.00 0.33 1.00 -0.33 1.00 1.00 0.67 0.33 0.67

292 ตารางที 20 (ต่อ) เนือหา คําศัพท์

คุณค่า

ประเภท รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ นําไปใช้ นําไปใช้ นําไปใช้ นําไปใช้ วิเคราะห์ วิเคราะห์ ประเมินค่า ประเมินค่า ประเมินค่า ประเมินค่า ประเมินค่า ประเมินค่า

ค่าดัชนีความสอดคล้องโดยรวม = 0.76

ข้อ 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

+1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 +1 -1 0 0 -1 -1

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 +1 -1 +1 +1 +1 +1

IOC 3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 -1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.67 0.33 1.00 0.33 1.00 0.33 0.67 0.67 0.33 0.33

293 ตารางที 21 ค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบทดสอบ จํานวน 30 ข้อ เนือหา ประวัติความเป็ นมาของเรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ประวัติผปู้ ระพันธ์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง ลักษณะคําประพันธ์ เนือเรื อง

วรรณศิลป์

คําศัพท์

ประเภท รู้-จํา เข้าใจ รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ วิเคราะห์ รู้-จํา รู้-จํา เข้าใจ เข้าใจ เข้าใจ นําไปใช้ วิเคราะห์ วิเคราะห์ เข้าใจ วิเคราะห์ ประเมินค่า นําไปใช้ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ รู้-จํา เข้าใจ เข้าใจ นําไปใช้

ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1

IOC 3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

1.00 1.00 0.67 0.67 1.00 0.67 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.67 1.00 1.00 1.00 0.67 1.00 1.00 1.00 1.00 0.67 1.00 1.00 1.00 1.00

294 ตารางที 21 (ต่อ) เนือหา คุณค่า

ประเภท นําไปใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า ประเมินค่า ประเมินค่า

ค่าดัชนีความสอดคล้องโดยรวม = 0.90

ข้อ 26 27 28 29 30

ผูเ้ ชียวชาญ 1 2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1

IOC 3 0 +1 +1 +1 +1

0.67 1.00 1.00 0.67 0.67

295 2.2 วิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังเรี ยนเป็ นรายข้อเพือหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ตารางที 22 ค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทาง การเรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ฉบับนําไปใช้ try-out จํานวน 60 ข้อ ข้อที

p

r

ข้อ p r ที 1* 0.793 0.319 21* 0.207 0.389 2 0.690 0.319 22* 0.759 0.556 3* 0.759 0.319 23* 0.690 0.417 4 0.172 0.264 24* 0.310 0.278 5 0.690 -0.042 25* 0.276 0.500 6* 0.690 0.431 26* 0.241 0.389 7 0.103 0.375 27* 0.414 0.639 8* 0.517 0.417 28* 0.276 0.264 9* 0.690 0.431 29 0.897 0.097 10* 0.414 0.639 30* 0.793 0.319 11* 0.241 0.514 31 0.724 -0.042 12* 0.345 0.528 32* 0.241 0.514 13* 0.241 0.625 33* 0.793 0.319 14* 0.759 0.208 34* 0.483 0.431 15* 0.276 0.639 35 0.655 0.069 16* 0.241 0.403 36* 0.379 0.653 17* 0.310 0.528 37* 0.655 0.194 18* 0.690 0.542 38* 0.207 0.389 19* 0.310 0.292 39* 0.448 0.403 20* 0.310 0.514 40* 0.379 0.514 * หมายถึงข้อทีมีค่าความยากง่ายพอเหมาะสามารถนําไปใช้ได้ KR20 (Alpha) = 0.87

ข้อที

p

r

41* 42* 43* 44* 45* 46* 47* 48* 49* 50* 51* 52* 53* 54 55* 56* 57* 58* 59* 60

0.655 0.621 0.414 0.379 0.690 0.414 0.724 0.379 0.207 0.310 0.552 0.345 0.655 0.828 0.414 0.276 0.345 0.552 0.310 0.172

0.306 0.306 0.653 0.764 0.319 0.403 0.319 0.306 0.264 0.278 0.306 0.042 0.306 0.208 0.403 0.750 0.264 0.292 0.500 -0.208

296 ตารางที 23 ค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการ เรี ยน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ฉบับนําไปใช้จริ ง จํานวน 30 ข้อ ข้ อที 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

p 0.793 0.759 0.690 0.517 0.690 0.241 0.241 0.759 0.310 0.310 0.207 0.310 0.414 0.276 0.793

r 0.319 0.319 0.431 0.417 0.431 0.514 0.625 0.208 0.292 0.514 0.389 0.278 0.639 0.264 0.319

KR20 (Alpha) = 0.87

ข้ อที 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

p 0.241 0.483 0.207 0.448 0.379 0.621 0.414 0.414 0.379 0.310 0.552 0.655 0.414 0.345 0.552

r 0.514 0.431 0.389 0.403 0.514 0.306 0.653 0.403 0.306 0.278 0.306 0.306 0.403 0.264 0.292

297 3.แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ วิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคําถามกับจุดประสงค์ในการถาม (IOC : Index of Item Objective Congruence) พิจารณาตามเกณฑ์การประเมินผล ดังนี คะแนน + 1 คะแนน 0 คะแนน -1

สําหรับคําถามทีแน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม สําหรับคําถามทีไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม สําหรับคําถามทีแน่ใจว่าไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ในการถาม

ตารางที 24 ค่าความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์และข้อคําถามของแบบสอบถามความคิดเห็น ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

ผูเ้ ชียวชาญ 1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

ค่า IOC 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.67 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

298 ตารางที 24 (ต่อ) ข้อ 18 19 20

ผูเ้ ชียวชาญ 1 +1 +1 +1

ค่าดัชนีความสอดคล้อง = 0.98

ผูเ้ ชียวชาญ 2 +1 +1 +1

ผูเ้ ชียวชาญ 3 +1 +1 +1

ค่า IOC 1.00 1.00 1.00

299

ภาคผนวก ง ผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ระหว่างเรี ยนและหลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6

300 ตารางที 25 ผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื องไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ก่อนและหลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 คนที 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

คะแนนเต็ม 30 ก่อน หลัง 11 22 9 25 8 26 7 23 14 28 12 29 10 20 14 24 22 25 15 26 20 24 12 27 18 26 15 22 14 26

ผลต่าง

คนที

11 16 18 16 14 17 10 10 3 11 4 15 8 7 12

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

คะแนนเต็ม 30 ก่อน หลัง 19 27 12 29 8 24 17 19 20 22 18 27 17 25 16 26 18 27 20 26 5 23 21 28 12 26 22 23 19 28

ผลต่าง 8 17 16 2 2 9 8 10 9 6 18 7 14 1 9

301 ประวัติผ้วู จิ ัย

ชือ-สกุล

นางสาวพิมณิ ชา พรหมมานต

ทีอยู่

139/1 หมู่ 6 ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม 75120

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2550

ศศ.บ (สาขาวิชาภาษาฝรังเศส) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

พ.ศ. 2553

ศศ.บ (สาขาวิชาภาษาไทย) จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง

พ.ศ. 2553

ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ปัจจุบนั

ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF