ตำราพิชัยสงคราม.pdf

February 19, 2018 | Author: Warinporn Potiwanna | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download ตำราพิชัยสงคราม.pdf...

Description

ËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËË

ตําราพิชัยสงคราม สิบสามบท ของ ซุนวู เรียบเรียงจาก “ตําราพิชัยสงคราม ของ ซุนจู และ เงาคี้” ฉบับแปลโดย พิชัย วาศนาสง -- มีนาคม ๒๕๓๑ ËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËËË

ส า ร บ า ญ ๑. การประมาณสถานการณ ๒. การทําศึก ๓. ยุทธศาสตรการรบรุก ๔. ทาที ๕. กําลังพล ๖. ความออนแอและความเขมแข็ง ๗. การดําเนินกลยุทธ ๘. สิ่งซึ่งแปรผันไดเกาประการ ๙. การเดินทัพ ๑๐. ภูมิประเทศ ๑๑. พื้นที่ตางกันเกาอยาง ๑๒. ไฟ ๑๓. สายลับ

[[[[[[[[[[[[

-2-

๑. การประมาณสถานการณ ซุนจูกลาววา ¥ สงครามเปนเรื่องสําคัญที่สุดของบานเมือง

เปนเรื่องถึงเปนถึงตาย เปนหนทางเพื่อความอยูรอด หรือความพินาศฉิบหาย จึงเปนอาณัติที่จะตองศึกษาใหถองแท. ¥ ฉนั้น

จงวางกําหนดขีดความสามารถดวยหลักมูลฐานสําคัญ ๕ ประการ และเปรียบเทียบองคประกอบอีก ๗ ประการที่จะกลาวถึงตอไป แลวทานจะประเมินความจําเปนและความสําคัญไดถูกตอง. ¥ หลักมูลฐานสําคัญ

ประการแรก เกี่ยวกับ ขวัญ ประการที่สอง เกี่ยวกับ ลมฟาอากาศ ประการที่สาม เกี่ยวกับ ภูมิประเทศ ประการที่สี่ เกี่ยวกับ การบังคับบัญชา ประการที่หา เกี่ยวกับ ฟา(กฎเกณฑและวิธีการ). ¥ ขวัญนั้น

ขาพเจาหมายถึง สิ่งที่จะทําใหประชาชนมีความกลมเกลียวเปนอันหนึ่งอันเดียวกับผูนํา ประชาชนยอมรวมทางกับผูนํา แมจะตองไปก็ไมกลัวอันตราย ไมเสียดายแมแตชีวิต. ¥ ลมฟาอากาศนั้น

ขาพเจาหมายถึง ภาวะความเปลี่ยนแปลง อันเนื่องมาจากอิทธิพลของธรรมชาติ ผลของความเยือกเย็นในฤดูหนาว ความรอนระอุของฤดูรอน และปฏิบัติการทางทหารที่จะใหเกิดความเหมาะสมกับฤดูกาล. ¥ ยุทธภูมินั้น

ขาพเจาหมายถึง -3-

ระยะทาง ความยากงายของพื้นที่ที่จะตองเดินทัพขาม เปนพื้นที่เปด หรือพื้นที่ปดลอม และโอกาสของความเปนความตาย. ¥ การบังคับบัญชานั้น

ขาพเจาหมายถึง คุณสมบัติของแมทัพ อันจะตองประกอบดวย ความมีสติปญญา ความมีมนุษยธรรม มีความมานะพยายาม และมีความเครงครัด. ¥ ฟา

(กฎเกณฑและวิธีการ) นั้น ขาพเจาหมายถึง การจัดขบวนทัพ การควบคุม การมอบหมายงานใหเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่ของผูอยูใตบังคับบัญชา การวางเสนทางลําเลียงอาหารไดสม่ําเสมอ และการจัดหายุทโธปกรณสําคัญที่กองทัพมีความจําเปนตองใช. ¥ ไมมีแมทัพคนใดที่ไมเคยไมไดยินสาระสําคัญทั้ง

๕ ประการนี้ ใครที่เคยปฏิบัติไดดีครบถวนทุกอยางยอมเปนผูชนะ ใครที่ปฏิบัติมิไดยอมพายแพ. ¥ ฉนั้น

ในการวางแผนจึงตองเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ตอไปนี้ ดวยการประมาณคุณคาอยางระมัดระวังที่สุดเสียกอน. ¥ ถาทานจะถามผูปกครองคนใด

ที่มีอิทธิพลตอขวัญของผูคน ผูบังคับบัญชาคนใด มีความสามารถเหนือกวากองทัพ อยางไหนที่จะไดเปรียบ ในการใชภูมิประเทศและธรรมชาติ กฎเกณฑและคําสั่งอยางไร ที่ปฏิบัติแลวจะดีกวา ขบวนศึกอยางไร จะเขมแข็งกวา. ¥ ผูใดที่มีนายทหารและไพรพลที่ไดรับการฝกหัดมาดีกวา

ปูนบําเหน็จรางวัลและลงโทษอยางไรไดผลดีกวากัน ขาพเจาสามารถพยากรณไดวา ฝายใดจะมีชัยชนะ และฝายใดจะพายแพ.

¥ ถาไดตัวแมทัพที่เอาใจใสยุทธศาสตรของขาพเจา

ก็แนใจไดวาตองเปนผูชนะ

-4-

รักษาแมทัพผูนั้นไว ถาไดตัวแมทัพปฏิเสธ ไมเชื่อฟงยุทธศาสตรของขาพเจา ก็แนใจไดวาตองพายแพ ปลดแมทัพนั้นเสีย. ¥ เมื่อเอาใจใส

และมองเห็นความไดเปรียบจากแผนของขาพเจาแลว แมทัพจะตองสราง ”สถานการณ” อันจะอํานวยใหเกิดผลดีในทางปฏิบัต.ิ ¥ คําวา

“สถานการณ” นั้น ขาพเจา หมายถึง แมทัพจะตองปฏิบัติตามความเหมาะสมใหสอดคลองไปกับจังหวะที่ไดเปรียบ และสามารถควบคุมใหเกิดความสมดุลได. ¥ สงครามทุกรูปแบบ ¥ เมื่อมีความสามารถ ¥ เมื่อคลองตัว

ตั้งอยูบนพื้นฐานของกลอุบาย ฉนั้น… จงทําเสมือน ไรความสามารถ.

จงแสรงทําเปน ไมคลองตัว.

¥ เมื่อเขาใกล

ทําใหปรากฏเหมือนดัง ยังอยูไกล.

¥ เมื่ออยูไกล

จงทําประหนึ่ง อยูใกล.

¥ วางเหยื่อลอขาศึก

แสรงทําสับสนอลหมาน แลวโจมตีขาศึก.

¥ เมื่อขาศึกรวมพลไวหนาแนนเตรียมสู ¥ ทําใหแมทัพของขาศึกเกิดความโมโห ¥ แสรงทําเปนออนแอกวา

หรือที่ใดของขาศึกเขมแข็ง ใหหลีกเลี่ยงเสีย. และหัวหมุนวุนวายใจ.

แลวยั่วยุใหขาศึกเกิดความหยิ่งยโส.

¥ ทําใหแมทัพของขาศึกตองเครงเครียดอยูเสมอ ¥ เมื่อขาศึกรวมตัวกันติด

ใหแยกกันเสีย.

¥ โจมตีที่จุดซึ่งขาศึกมิไดเตรียมการปองกัน -5-

และทําใหออนกําลัง.

ใชความฉับไวโจมตี ในขณะที่ขาศึกมิไดคาดคิด. ¥ สิ่งเหลานี้คือ

กุญแจอันจะนําไปสูชัยชนะของนักยุทธศาสตร เปนเรื่องยากแกการนํามาพิจารณากอนหนานี.้ [[[[[[[[[[[[

-6-

๒. การทําศึก ซุนจูกลาววา ¥ โดยทั่วไปปฏิบัติการศึกจะตองมี

รถมาศึกเทียบมาสี่ฝตีนดี หนึ่งพันคัน เกวียนเกราะหนังเทียมมาสี่ หนึ่งพันคัน และทหารสวมเสื้อเกราะ หนึ่งแสนคน. ¥ ชัยชนะเปนความมุงหมายใหญที่สุดในการทําสงคราม

ถาการทําสงครามถูกหนวงเหนี่ยวใหลาชาเพียงใด อาวุธจะสิ้นคม จิตใจของทหารจะหดหู เมื่อยกกําลังเขาตีเมือง กําลังของทหารจะสิ้นไป. ¥ เมื่อกองทัพจําเปนตองทําศึกเรื้อรัง

ทรัพยสินในทองพระคลังจะไมเพียงพอ. ¥ เมื่ออาวุธสิ้นคม

เสื้อเกราะเปยกชื้น กําลังทหารอิดโรย ทรัพยสินก็ใชจายหมดสิ้น ผูครองอาณาจักรขางเคียงจะฉวยโอกาส ที่ทานเพลีย่ งพล้ํา ซ้ําเติมทาน และแมทานจะมีคณะที่ปรึกษาสามารถเพียงใด ก็จะไมมีผูใดสามารถวางแผนที่ดีสําหรับอนาคตใหได. ¥ ดวยเหตุนี้

เราจึงไดยินแต การทําสงครามที่รวดเร็วและฉับพลัน เราไมเคยเห็น ปฏิบัติการสงครามที่ฉลาดครั้งใด กระทําโดยยืดเยื้อ. ¥ ไมปรากฏวา

ประเทศใดเคยไดรับประโยชนจาก การทําสงครามยืดเยื้อ.

¥ ดวยเหตุนี้

ผูที่ไมสามารถเขาใจอันตราย อันเกิดจากใชกําลังทหารฉันใด ยอมไมสามารถเขาใจถึงความไดเปรียบของ การใชกําลังทหารไดฉันนั้น. ¥ ผูชํานาญการศึก

ไมตองการกําลังหนุนสวนที่สอง และไมตองการ เสบียงอาหารเกินกวาครั้งเดียว. -7-

¥ กองทัพขนยุทโธปกรณ

ไปจากบานเมืองของตน และอาศัยเสบียงอาหาร ของขาศึก ดวยเหตุนี้กองทัพจึงมีเสบียงอาหารมากมาย ไมขัดสน. ¥ เมื่อประเทศตองขัดสน

เพราะการทําศึก เหตุก็เนื่องมาจากการลําเลียง มีระยะไกล กองเกวียนตองขนเสบียง ดวยระยะทางไกลมาก จนทําใหประชาชนเดือดรอน. ¥ กองทัพไปตั้งอยูที่ใด

ราคาของจะสูงขึ้น ความสมบูรณพูนสุขของประชาชน จะหมดสิ้นไป เมื่อความสมบูรณ ลดลง ประชาชนก็จะเดือดรอน เพราะจะตองมีการเรียกเก็บภาษียามฉุกเฉิน. ¥ เมื่อกําลัง

ลดถอยลง ความมั่นคงบริบูรณ ถูกใชสิ้นไป ครอบครัวที่อยูสวนกลาง ก็จะประสบความทุกขยาก ทรัพยสินเจ็ดในสิบสวนของประชาชน จะหมดสิ้นไป. ¥ เกี่ยวกับการใชจายของรัฐนั้น

เกิดจาก รถมาศึกชํารุด มาสิ้นกําลัง ความชํารุดทรุดโทรมของเสื้อเกราะและหมวกทหาร ลูกธนู เกาทัณฑ หนาไม หอก โลกําบังมือ โลกําบังตัว สัตวลากจูง และเกวียนบรรทุก ความเสียหายจะตกหกในสิบสวนของจํานวนทั้งสิ้น. ¥ ดวยเหตุนี้

แมทัพที่ชาญฉลาดจึงดําเนินการเพื่อใหกองทัพของตนอยูได ดวยเสบียงของขาศึก ขาวของขาศึกหนึ่งถัง มีคาเทากับ ขาวของตนเองยี่สิบถัง หญาเลี้ยงมาของขาศึกหนึ่งเกวียน เทากับ หญาของตนเองยี่สิบเกวียน. ¥ เหตุที่ทหารฆาฟนศัตรู

ก็เพราะ ความโกรธแคน.

¥ ทหารเก็บทรัพยสินของขาศึก

เพราะ อยากมั่งมี.

¥ ดวยเหตุนี้

เมื่อใชรถศึกเขารบ แลวจับรถศึกของขาศึกไดสิบคันขึ้นไป -8-

ใหรางวัลทหารคนแรกที่ยึดรถได เอาธงและปายของฝายทาน ขึ้นปกบนรถแทนของขาศึก แลวเอารถที่จับไดใชปะปนไปกับรถของทาน. ¥ เมื่อจับเชลยศึกได ¥ อยางนี้เรียกวา

ปฏิบัติดูแลใหด.ี

“ชนะศึกแลวเขมแข็งขึ้น”.

¥ บัดนี้เปนที่ชัดเจนแลววา

สิ่งสําคัญในการทําศึก คือ ชัยชนะ มิใช ปฏิบัติการที่ยืดเยื้อ ฉนั้น แมทัพที่เขาใจเรื่องราวของสงคราม จึงเปนผูกําชะตากรรมของพลเมือง เปนผูชี้ขาดอนาคตของชาติ. [[[[[[[[[[[[

-9-

๓. ยุทธศาสตรการรบรุก ซุนจูกลาววา ¥ โดยปกติธรรมดาในการทําสงคราม

นโยบายดีที่สุด คือ การเขายึดบานเมืองของขาศึกโดยมิใหบอบช้ํา การทําใหเกิดความพินาศฉิบหายยอมดอยกวา. ¥ การลอมจับกองทัพขาศึกไดยอมดีกวาการทําลาย

การจับทหารไดทั้งกองพันโดยไมบอบช้ํา จับไดทั้งกองรอยหรือหมูหาคน ยอมดีกวาการทําลายขาศึก. ¥ ชัยชนะรอยครั้ง

จากการทําศึกรอยครั้ง มิไดแสดงวา ฝมือดีเยี่ยม การทําใหขาศึกยอมแพ โดยไมตองสูรบ แสดงวา มีฝมือยอดเยี่ยม. ¥ ฉนั้น

ความสําคัญสูงสุดในการทําสงคราม จึงอยูที่การโจมตี ที่แผนยุทธศาสตรของขาศึก. ¥ ที่ดีเยี่ยมรองลงมา ¥ ที่ดีรองลงมาอีก

คือ การทําใหขาศึกแตกแยกกับพันธมิตร.

คือ การโจมตีกองทัพของขาศึก.

¥ นโยบายที่เลวที่สุด

คือ การตีตัวเมือง การเขาตีตัวเมือง จะกระทํากันก็ตอเมื่อไมมีทางเลือกเปนอยางอื่น. ¥ การตระเตรียมเกราะใหกองเกวียน

และเตรียมศาสตราวุธที่จําเปนใหครบถวน ตองใชเวลาอยางนอยสามเดือน ถาจะตองสรางทางลาดดวยการพูนดินเขาหากําแพงเมือง จะตองใชเวลาเพิ่มขึ้นอยางนอยอีกสามเดือน. ¥ แมทัพที่ไมอาจควบคุมความอดทนของตนไวได

แลวสั่งทหารใหเขาปนกําแพงเมืองเหมือนมดปลวก - 10 -

ทหารหนึ่งในสามจะลมตายโดยไมอาจยึดเมืองได นี่คือ ความยอยยับของการเขาตีตัวเมือง. ¥ ดวยเหตุนี้

แมทัพผูชํานาญการศึกจึงเอาชนะขาศึกโดยไมตองสูรบ ยึดเมืองไดโดยไมตองใชกําลังเขาตี และลมอาณาจักรศัตรูไดโดยทําการรบไมเรื้อรัง. ¥ เปาหมายของทาน

คือ ยึดทุกอยางภายใตฟาใหไดโดยไมบอบช้ํา แลวกองทหารของทานจะไมทรุดโทรม ประโยชนที่ทานไดรับจะสมบูรณ นี่คือ ศิลปของการรุกรบ.

¥ เทาที่ปรากฏ

ศิลปในการใชขบวนศึก มีอยูดังนี้.

¥ เมื่อมีกําลังอยูเหนือกวาขาศึกสิบเทา ¥ เมื่อมีกําลังเหนือกวาหาเทา ¥ ถามีกําลังเปนสองเทา

ใหลอมขาศึกไว.

ใหโจมตีขาศึก.

แยกกําลังของขาศึกออก.

¥ ถามีกําลังรบทัดเทียมกัน ¥ ถามีทหารจํานวนนอยกวา

ทานอาจเขารบโดยตรงได. ตองมี ความสามารถในการถอยทัพ.

¥ และถาไมทัดเทียมกันในทุกแงทุกมุม

เมื่อมีกําลังนอยกวาตองสามารถหลบเลี่ยงขาศึกใหได แตตองเขาตีเมื่อมีกําลังเหนือกวา. ¥ ถือกันวา

แมทัพเปนผูปองกันบานเมือง ถาการปองกันดีพรอมทุกสิ่งทุกอยาง บานเมืองยอมเขมแข็งแนนอน ถาการปองกันหละหลวม เปนการแนนอนวา บานเมืองยอมออนแอ. ¥ หนทางที่ผูมีอํานาจในแผนดิน

จะนําโชครายมาใหกองทัพของตน มีอยูสามประการ. - 11 -

¥ เมื่อโงเขลาเบาปญญา

ไมรูวา กองทัพยังไมควรรุกก็สั่งใหรุก. เมื่อโงเขลาเบาปญญา ไมรูวา ยังไมควรสั่งใหถอยก็สั่งใหถอย กองทัพใดมีปญหาเชนนี้ ก็เทากับ ถูกมัดขา.

¥ เมื่อผูโงเขลาในกิจการทหาร

เขามายุงเกี่ยวในงานฝายบริหารของกองทัพ ผลที่เกิดขึ้นก็คือ บรรดาแมทัพนายกองเกิดความสับสนงงงวย.

¥ เมื่อขาดความรูในสายการบังคับบัญชา

ปญหาที่เกิดขึ้นก็คือ ความรับผิดชอบในหนาที่ เหตุเชนนี้ ทําใหเกิด ความสงสัยขึ้นในจิตใจของแมทัพนายกอง. ¥ ถาเกิดความสงสัยและสับสนขึ้นในกองทัพ

เจานครขางเคียงจะกอเรื่องยุงยากขึ้น นี่ก็คือ ความหมายที่กลาววา “กองทัพที่สับสนยอมนําชัยชนะใหผูอื่น”. ¥ มีสิ่งแวดลอมอยู ¥ ผูที่รูวา

หาประการ ที่จะชวยให ทํานายชัยชนะได.

เมื่อใดควรรบ และ เมื่อใดไมควรรบ จะเปนผูชนะ.

¥ ผูที่รูจักวา

จะใชกองทหารขนาดใหญและขนาดเล็ก อยางไร จะเปนผูชนะ.

¥ ผูที่มี

นายและไพรพลกลมเกลียวเหนียวแนนในการทําศึก จะเปนผูชนะ.

¥ ผูที่มี

วิจารณญาณแลวสงบนิ่ง คอยขาศึกผูขาดวิจารณญาณ จะเปนผูชนะ.

¥ ผูที่มี

แมทัพเปนผูมีความสามารถ และไมถูกรบกวนแทรกแซง จากผูมีอํานาจปกครองแผนดินสูงสุด จะเปนผูชนะ. ¥ ทั้งหาประการที่กลาวมานี้

¥ ฉนั้น ¥

คือ หนทางที่จะทําใหมีชัยชนะได.

ขาพเจาจึงกลาววา

“รูจักขาศึก และรูจักตัวของทานเอง ในการรบรอยครั้ง ทานไมมีวันประสบอันตราย”. - 12 -

¥ “เมื่อไมรูจักขาศึกดีพอ

แตยังรูจักตัวเอง โอกาสที่ทานจะแพหรือชนะ มีอยูเทาๆกัน”.

¥ “ถาไมรูจักใหดีพอทั้งขาศึกและตัวของทานเอง

ทานแนใจไดเลยวา ในการศึกทุกครั้งทาน

จะประสบอันตราย”. [[[[[[[[[[[[

- 13 -

๔. ทาที ซุนจูกลาววา ¥ ในสมัยโบราณนั้น

สิ่งที่นักรบผูชํานาญพึงปฏิบัติ คือ ทําใหตนเองอยูในฐานะที่ไมมีผูใดเอาชนะได แลวคอย จนถึงเวลาที่ขาศึกตกอยูในฐานะเสียเปรียบ. ¥ การทํามิใหมีผูใดเอาชนะได

อยูกับตัวเอง ความเสียเปรียบของขาศึก อยูที่ตัวของเขาเอง. ¥ อธิบายวา

สําหรับผูชํานาญสงครามนั้น ยอมทําใหตัวเองอยูในฐานะที่ไมมีผูใดเอาชนะได แตไมอาจสรางเหตุใหแนใจไดวา ขาศึกเกิดความเสียเปรียบ. ¥ ฉนั้น

จึงกลาวกันวา อาจมีผูรูวิธีจะเอาชนะไดอยางไร แตไมจําเปนเสมอไปวาจะทําได. ¥ การที่ไมมีผูใดเอาชนะไดขึ้นอยูกับการปองกัน

ทางที่อาจมีชัยชนะไดอยูที่การโจมตี. ¥ เมื่อไมมีกําลังเพียงพอก็ปองกันตัว

เมื่อมีกําลังเหลือเฟอจึงโจมตี.

¥ ผูที่ชํานาญในการปองกัน

ซอนตัวเองอยูใตดินลึกเกาชั้น ผูที่ชํานาญในการโจมตี รุกรวดเร็วดังลมจากสวรรคชั้นเกา ดวยเหตุนี้ บรรดาผูชํานาญจึงสามารถทั้งการปองกันตัวเองและการเอาชนะขั้นเด็ดขาดได. ¥ การคาดคะเนชัยชนะไดเชนเดียวกับที่คนธรรมดาสามัญก็อาจคาดคะเนได

ไมถือวาเปนความชํานาญสูงสุด. ¥ มีชัยชนะในการทําศึก

จนคนทั่วไปยกยองสรรเสริญวา “เชี่ยวชาญ” ยังถือมิไดวา เปนความชํานาญสูงสุด ยกกิ่งไมหักในฤดูใบไมรวง ไมตองใชเรี่ยวแรงอะไรนัก - 14 -

มองเห็นวาพระอาทิตยแตกตางจากพระจันทรได มิใชแสดงวา สายตาดี ไดยินเสียงฟารอง มิใชแสดงวา เปนคนหูไว. ¥ สมัยโบราณ

ผูเชี่ยวชาญการศึก คือ ผูที่เอาชนะขาศึกไดโดยงาย. ¥ ฉนั้น

ชัยชนะที่ปรมาจารยทางสงครามไดรับ จึงไมเกิดผลดีใดๆ ไมวาทางชื่อเสียงวา มีสติปญญา หรือมีเกียรติคุณกลาหาญ. ¥ ชัยชนะจึงเกิดขึ้นไดโดยมิตองวาวุน

“มิตองวาวุน” หมายถึง ไมวาจะปฏิบัติสิ่งใดยอมประกันไดวา ตองมีชัยชนะเขา เอาชนะขาศึกที่แพอยูแลว. ¥ ฉนั้น

แมทัพผูชํานาญจึงตกอยูในฐานะที่แพใครมิได และจะไมพลาดโอกาสที่จะเอาชนะขาศึก. ¥ ฉนั้น

กองทัพที่ไดชัยชนะ จึงมีชัยกอนที่จะลงมือทําการรบ กองทัพที่เห็นทางแพแนชัด จึงตอสูดวยความหวังวาจะมีชัยชนะ. ¥ ผูที่ชํานาญการทําศึกจึงยึดมั่นในหลักการของเตา

รักษาฟา(กฎเกณฑ)แลวจึงสามารถกําหนดแนวที่จะนําชัยชนะมาได. ¥ องคประกอบในการพิชย ั สงครามนั้น

ขอแรกทีเดียว คือ การวัดพื้นที่ ขอที่สอง คือ การประมาณปริมาณ ขอที่สาม คือ การคิดคํานวณ ขอที่สี่ คือ การเปรียบเทียบ ขอที่หา คือ โอกาสที่จะมีชัยชนะ. ¥ การวัดพื้นที่

เกิดมาจากการตรวจดู “สนามรบ”.

¥ ปริมาณ

เกิดจาก การวัดตัวเลขตางๆ ไดจากปริมาณของสิ่งตางๆ การเปรียบเทียบตัวเลขตางๆ ชัยชนะยอมไดมาจากการเปรียบเทียบ. - 15 -

¥ ดวยเหตุเชนนี้

กองทัพที่มีชัยชนะ จึงเปรียบดัง เอาขาวทั้งเกวียนขึ้นตาชั่ง ถวงกับขาวเพียงเมล็ดเดียว กองทัพที่แพ คือ ขางหนึ่งเมล็ดที่เอาขึ้นชั่ง เปรียบเทียบกับขาวทั้งเกวียน. ¥ ดวยเหตุที่แมทัพผูชนะศึกรูจักวิธีปฏิบัติตอผูอื่น

และคิดถึงทุกสิ่งทุกอยางโดยถี่ถวน จึงสามารถทําใหคนของตนสูศึกไดสุดกําลัง เปรียบไดดังน้ําที่ขังไว แลวเปดประตูกั้นน้ําออก ใหน้ําโจนลงสูที่ต่ําอันล้ําลึก. [[[[[[[[[[[[

- 16 -

๕. กําลังพล ซุนจูกลาววา ¥ โดยทั่วไปนั้น

การจัดการคนจํานวนมาก

ก็อยางเดียวกับการจัดการคนสองสามคน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการจัดระเบียบบริหาร. ¥ การควบคุมคนจํานวนมาก

เหมือนกับควบคุมคนสองสามคน ทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับรูปขบวนและสัญญาณ. ¥ จึงเปนการแนนอนวา

กองทัพยอมตานทานการโจมตีของขาศึกไดโดยไมพายแพ เพราะรูจักวิธีใชกําลังโดยรูปพิศดาร และรูปธรรมดา. ¥ กําลังที่ทุมเทตีขาศึก

เปรียบดังโมหินบดไข เปนอยางในการเอาของแข็งกระแทกลงตรงที่วาง. ¥ โดยทั่วไปในการทําศึก

ใชกําลังรูปธรรมดาเขาปะทะกับขาศึก แลวใชกําลังรูปพิศดารเพื่อเอาชนะ. - 17 -

¥ สําหรับผูชํานาญในการศึกนั้น

ความสามารถในการใชกําลังรูปพิศดารมีอยูไมรูจบรูสิ้น เชนแผนดินแผนฟา ไมมีวันหมดสิ้นดังน้ําในมหานทีที่ไหลวนอยูไมขาด. ¥ เมื่อใชจบแลวก็ตั้งตนใหม

หมุนเวียนกันไป

ดังการโคจรของดวงอาทิตยและดวงจันทร ตกแลวก็กลับขึ้นมาใหม หมุนเวียนกันไป เชนฤดูกาลตางๆ. ¥ ตัวโนตของดนตรีมีอยูเพียงหาเสียง

แตสามารถแตงออกเปนทํานองเพลงไดมากมายไมมีใครรูครบ. ¥ แมสีมีอยูเพียงหาสี

แตการผสมผสานของสีมีอยูมิรูจบสิ้น ไมมีผูใดสามารถเห็นไดครบทุกสี. ¥ รสชาติของอาหารมีเพียงหารส

แตการผสมปรุงแตงใหอาหารมีรสแตกตางกันออกไป มีมากมายจนไมมีผูใดสามารถลิ้มรสไดครบทุกรส. ¥ การทําศึกมีอยูเพียงรูปธรรมดาและรูปพิศดาร

แตสามารถสลับสับเปลี่ยนวนเวียนใชไดโดยไมซ้ํา ไมมีผูใดสามารถเขาใจไดครบถวน.

- 18 -

¥ การใชกําลังทั้งสองรูปนี้

ตางใหผลชวยเหลือซึ่งกันและกันโดยไมรูจบสิ้น ดังวงแหวนที่คลองกันอยู ใครเลาจะสามารถพิจารณาไดวา ตั้งตนคลองกันตรงไหน และไปสิ้นสุดตรงไหน. ¥ เมื่อกระแสน้ําเชี่ยวพุงเขาชนทํานบทะลายลง

นั่นก็เพราะ มีพลังรวมของการเคลื่อนที่ดวยความรวดเร็ว. ¥ เมื่อเหยี่ยวโฉบลงมาฉวยไดตัวนกกระจอก

นั่นเปนเพราะ จังหวะ. ¥ ฉนั้น

พลังรวมอันเกิดจากการเคลื่อนตัวของมวล

โดยผูชํานาญในการสงครามจึงมากมายเหลือลน และการเขาโจมตีของเขาก็อยูในภาวะควบคุมอยางแมนยํา. ¥ ความหนักหนวงในการเขาตี

เปรียบไดดั่ง หนาไมที่ขึงตึงที่สุด จังหวะของเขาอยูที่การเหนี่ยวไก. ¥ ทามกลางความสับสนและเสียงอื้ออึง

การรบดูดังจะระส่ําระสาย แตก็ไมปราศจากความเปนระเบียบ ขบวนศึกปรากฏเหมือนวิ่งวนเวียนเปนวงกลม แตไมมีผูใดทําใหแพได. - 19 -

¥ สิ่งที่ปรากฏเปนความสับสนนั้น

เปนผลจากการออกคําสั่งที่ด.ี ¥ ที่ปรากฏเปนความขลาด

ที่จริง คือ ความกลาหาญ

ที่ปรากฏเหมือนออนแอ หมายถึง กําลัง.

¥ ความมีระเบียบและขาดระเบียบ

ขึ้นอยูกับ การจัดรูปบริหาร.

ความกลาหาญและความขลาดกลัว ขึ้นอยูกับ ภาวะแวดลอม. มีกําลังหรือออนแอ ขึ้นอยูกับ ทาทีของขาศึก. ¥ ดวยเหตุนี้

ผูที่ชํานาญในการทําใหขาศึกตองเคลื่อนที่ จึงปฏิบัติดวยวิธีสรางสถานการณใหอํานวยประโยชนแกตนเสียกอน แลวลวงขาศึกดวยบางสิ่งบางอยางที่คิดวา ขาศึกพึงและคิดจะทําใหมีความไดเปรียบ ขณะเดียวกันก็ซอนกําลังไวขยี้ขาศึก. ¥ ฉนั้น

แมทัพผูชํานาญศึกจึงแสวงหาชัยชนะจากสถานการณ

โดยไมเรียกรองชัยชนะจากผูอยูใตบังคับบัญชา. ¥ แมทัพเปนผูเลือกคน

แลวปลอยมือใหคนของเขาหาประโยชนเอาจากสถานการณ.

- 20 -

¥ ผูที่ถือเอาสถานการณเปนสําคัญ

ยอมใชกําลังทหารเขาสูรบ

เชนเดียวกับการกลิง้ ทอนซุงหรือกอนหิน ธรรมชาติของซุงและหินนั้น ถาแผนดินราบเรียบมันก็หยุดอยูนิ่ง ถาแผนดินไมราบเรียบมันก็กลิ้งงาย ถาซุงหรือหินเปนรูปเหลี่ยม มันก็ไมกลิ้ง ถากลมก็กลิ้งไดงาย. ¥ ฉนั้น

ความสามารถของกองทัพที่มีแมทัพเปนผูสามารถ

จึงเปรียบไดดังการผลักหินกลมใหกลิ้งลงจากภูเขาสูง. [[[[[[[[[[[[

- 21 -

๖. ความออนแอและความเขมแข็ง ซุนจูกลาววา ¥ โดยทั่วไปนั้น

ผูที่ตั้งคายในสนามรบไดกอน และคอยทีขาศึกอยู ยอมไมเครงเครียด ผูที่มาถึงภายหลังแลวรีบเรงเขาทําการรบยอมอิดโรย. ¥ ผูชํานาญการสงครามจึงชักจูงใหขาศึกเดินเขามาสูสนามรบ

มิใชใหขาศึกนําตนเขาสูสนามรบ. ¥ ผูที่สามารถนําขาศึกเขาสูสนามรบไดตามความตองการของตน

เสนอใหขาศึกรูสึกวาเขามาแลวไดเปรียบ ผูที่สามารถปองกันมิใหขาศึกเขาถึงสนามรบ ใชวิธีตีสกัดขาศึก. ¥ เมื่อขาศึกสบาย

จงรังความใหเกิดความอิดโรย

เมื่ออิ่มทองตองทําใหหิว เมื่อหยุดพัก ตองทําใหเคลื่อนที่. ¥ ปรากฏตัวในที่ๆ

จะทําใหขาศึกเกิดความสับสนอลหมาน

เคลื่อนที่เขาตีอยางรวดเร็วในที่ๆ ขาศึกไมคาดวาทานจะเขาถึงได. ¥ ทานอาจเดินทัพไกลพันลี้โดยไมอิดโรย

เพราะเดินทางในเขตที่ไมมีขาศึก. ¥ เพื่อใหแนใจวาเขาตีจุดใด

ยอมยึดไดที่นั้น

จงเขาตีจุดที่ขาศึกขาดการปองกัน - 22 -

เพื่อใหแนใจวาจะปองกันที่ตั้งไวได จงปองกันพื้นที่ซึ่งขาศึกจะไมเขาตี. ¥ ฉนั้นสําหรับผูที่ชํานาญในการเขาตี

ขาศึกจะไมรูวาควรปองกันที่ใด

สวนผูที่ชํานาญในการปองกันนั้น ขาศึกก็มิรูวาจะเขาตีที่ใด. ¥ ความฉลาดและไหวพริบ

ชวยใหผูเชี่ยวชาญละทิ้งพื้นที่ โดยไมทิ้งรองรอย หายไปอยางลึกลับราวเทวดา ไมมีเสียงใหผูใดไดยิน ดวยเหตุนี้เขาจึงเปนเจาของชะตากรรมของขาศึก. ¥ ผูที่รุกดวยการทุมเทกําลังที่ไมมีผูใดตานทานได

ลงตรงจุดออนของขาศึก ผูที่ถอยทัพโดยมิใหผูใดติดตามได จะกระทําอยางรวดเร็วฉับพลันจนไมมีผูใดไลไดทัน. ¥ เมื่อขาพเจาปรารถนาจะเปดการรบ

แมขาศึกจะมีกําแพงสูงและคูเมืองปองกัน ก็ไมอาจหลีกเลี่ยงขาพเจาได ขาพเจาโจมตี ณ จุดที่ขาศึกตองการความชวยเหลือ. ¥ เมื่อขาพเจาปรารถนาจะหลีกเลี่ยงการรบ

ขาพเจาอาจปองกันตัวเองงายๆ ดวยการขีดเสนลงบนพื้นดิน ขาศึกก็ไมอาจโจมตีขาพเจาได - 23 -

เพราะขาพเจาจะเปลี่ยนมิใหขาศึกมุงไปยังที่เขาประสงคจะไป. ¥ ถาขาพเจาจะสามารถคอยพิจารณาดูทาทีของขาศึก

ขณะเดียวกันขาพเจาก็ซอนเรนทาทีของขาพเจา ขาพเจาก็จะสามารถรวมกําลัง โดยขาศึกตองแบงกําลัง และถาขาพเจารวมกําลังได ในขณะที่ขาศึกแบงแยกกําลัง ขาพเจาก็สามารถใชกําลังทั้งหมดขยี้กําลังยอยของขาศึกได เพราะขาพเจามีจํานวนทหารมากกวา ฉนั้น เมื่อสามารถใชกําลังเหนือกวาโจมตีผูมีกําลังดอยกวา ณ จุดที่ขาพเจาเปนผูกําหนด ใครที่ตองสูกับขาพเจาจะเสมือนดงอยูในชองแคบอันเต็มไปอันตราย. ¥ ขาศึกจะตองไมรูวา

ขาพเจาจะเปดการรบ ณ ที่ใด

เมื่อไมรูวาขาพเจาตั้งใจจะรบที่ใด ขาศึกก็ตองเตรียมตัวรับในที่ตางๆ กันหลายแหง เมื่อขาศึกตองเตรียมรับในที่หลายแหง ณ จุดที่ขาพเจาตองการเปดการรบ กําลังของขาศึกจึงมีอยูเพียงเล็กนอย. ¥ ถาขาศึกเตรียมรับทางดานหนา

ดานหลังก็จะออนแอ

ถาเตรียมรับทางดานหลัง ดานหนาก็จะบอบบาง ถาเตรียมรับทางปกซาย ปกขวาก็จะเปนอันตรายไดงาย ถาเตรียมรับทางปกขวา ปกซายก็จะมีกําลังเพียงเล็กนอย และถาเตรียมรับหมดทุกดานก็จะออนแอหมดทุกดาน. - 24 -

¥ ผูมีกําลังนอยตองเตรียมรับขาศึก

ผูมีกําลังมากตองทําใหขาศึกคอยเตรียมรับตน. ¥ ถาผูใดรูวาจะเปดการรบที่ใด

เมื่อใด

กองทหารของเขาก็จะสามารถเดินทางหนึ่งพันลี้ และพบกันในสนามรบได แตถาไมรูวาจะรบที่ใด เมื่อใด ปกซายก็ไมอาจชวยเหลือปกขวา หรือปกขวาก็ไมอาจชวยปกซาย กองหนาไมอาจชวยกองหลัง หรือกองหลังก็ชวยกองหนาไมได อันตรายยอมเกิดขึ้นไดหลายประการ เมื่อแตละหนวยตองแยกกันอยูหางเปนสิบๆ ลี้ หรือแมแตเพียงสองสามลี.้ ¥ แมวา

ขาพเจาประเมินกําลังของเมืองหยวยไวมาก

แตความเหนือกวาจะใหผลดีอะไรไดบาง ถาคิดกันถึงผลในขั้นสุดทาย. ¥ ดวยเหตุนี้

ขาพเจาจึงกลาววา ชัยชนะเปนสิ่งที่ทําใหเกิดขึ้นได

แมวาขาศึกจะมีกําลังมากกวา ขาพเจาก็สามารถปองกันมิใหขาศึกเขาทําการรบได. ¥ ฉนั้น

จงพิจารณาที่แผนของขาศึกเสียกอน

แลวทานจึงรูวาควรใชแผนยุทธศาสตรใดจึงจะไดผล และแผนใดไมไดผล.

¥ กวนขาศึกใหปนปวน

แลวดูรูปขบวนความเคลื่อนไหวของขาศึกใหแนชัด.

¥ พิจารณาทาทีของขาศึก

แลวศึกษาลักษณะของสมรภูมิใหถองแท.

¥ ตรวจสอบและศึกษาใหรูวา

กําลังของขาศึกสวนใดเขมแข็งและสวนใดบอบบาง. - 25 -

¥ สิ่งสําคัญในการวางรูปขบวนศึกอยูที่การไมกําหนดรูปรางใหแนชัด

เพื่อมิใหสายลับของขาศึกที่แอบแฝงอยูอานรูปขบวนออก ขาศึกแมจะมีสติปญญาเพียงใดก็ไมสามารถวางแผนทําลายทานได. ¥ ขาพเจาวางแผนเพื่อเอาชนะตามรูปขบวนที่ขาพเจากําหนดขึ้น

แตคนทั่วไปตีความไมแตกและไมเขาใจ แมวาทุกคนจะสามารถเห็นรูปการณภายนอก แตไมมีใครเขาใจทางที่ขาพเจาวางไวเพื่อใหไดชัยชนะ. ¥ ฉนั้น

เมื่อขาพเจาไดชัยชนะครั้งหนึ่งแลว ขาพเจาจะไมใชยุทธวิธีนั้นซ้ําอีก

แตจะยึดถือเอาสภาวะแวดลอม ในลักษณะที่ผิดแปลกแตกตางออกไปไมรูจบสิ้น. ¥ กองทัพหรือขบวนศึก

ก็เหมือนน้ํา

ในลักษณะของการไหล หลีกเลี่ยงที่สูง ไหลลงที่ลุม ขบวนศึกก็เชนเดียวกัน หลีกเลี่ยงจุดที่มีกําลัง แลวตีตรงจุดออน. ¥ เชนเดียวกันน้ํา

ที่มีรูปทรงตามสัณฐานของพื้นดิน กองทัพมีชัยชนะก็ดวยการปรับตัวไปตามสภาพของขาศึก. ¥ น้ํามีสัณฐานไมคงที่

ในการทําสงครามก็ไมมีภาวะใดคงที.่ - 26 -

¥ ดวยเหตุนี้

ผูที่สามารถเอาชนะได ดวยการรูจักปรับปรุงเปลี่ยนยุทธวิธีของตน ไปตามสถานภาพของขาศึก จึงไดรับการยกยองวา สามารถ. ¥ ทั้งหาประการนี้

ไมมีประการใดประการหนึ่งที่สําคัญที่สุดไดเสมอ

ฤดูกาลทั้งสี่ ไมมีฤดูใดยืนยาวไดตลอด บางฤดูกลางวันสั้น บางฤดูกลางวันยาว ดวงจันทรบางวันแจมใส บางวันมืดมัว. [[[[[[[[[[[[

- 27 -

๗. การดําเนินกลยุทธ ซุนจูกลาววา ¥ โดยปรกติธรรมดานั้นในการจัดขบวนศึก

แรกทีเดียว แมทัพรับบัญชาจากผูมีอํานาจปกครองสูงสุดในแผนดิน แมทัพจึงเริ่มรวบรวมไพรพลและกะเกณฑประชาชน ตอมาจึงดําเนินการผสมผสานวางรูปกําลังใหกลมกลืนกัน. ¥ ไมมีอะไรจะยากเกินไปกวาศิลปในการดําเนินกลยุทธ

ความยากลําบากของการดําเนินกลยุทธอยูที่ การทําใหเสนทางคดเคี้ยวเลี้ยวลด กลายเปนเสนทางตรงที่สุด กลับโชครายใหกลายเปนความไดเปรียบ. ¥ ดวยเหตุนี้

จงเดินทัพโดยทางออม แลวเปลี่ยนทิศทางขาศึก ดวยการวางเหยื่อลอ ใหขาศึกเกิดความสนใจ ดวยวิธีดังกลาว ทานอาจเคลื่อนขบวนศึกทีหลัง แตถึงที่หมายกอนขาศึก ที่สามารถปฏิบัติเชนนี้ได ยอมเขาใจยุทธวิธีแบบตรงและแบบออม.

¥ ทั้งความไดเปรียบและอันตราย

เปนผลสืบเนื่องมาจากการใชกลยุทธ.

- 28 -

¥ ผูที่เคลื่อนทัพขบวนเพื่อติดตามหาความไดเปรียบ

จะไมมีวันรับความไดเปรียบ. ¥ ถาเขาทิ้งคายเพื่อแสงหาความไดเปรียบ

สัมภาระจะเกิดความเสียหาย. ¥ สิ่งที่ตามมา

คือ เมื่อเก็บเกราะ แลวเดินทางดวยความรีบเรง

เดินทางไมหยุดยั้งทั้งกลางวันและกลางคืน เรงความเร็วขึ้นเทาตัว เพื่อใหทางไกลหนึ่งรอยลี้ นายกองสามคนจะถูกจับได กองทหารที่เขมแข็งจะเดินมาถึงไดกอน สวนพวกออนแอจะลากสังขารมาถึงภายหลัง ถาใชวิธีการเชนนี้ ทหารเพียงหนึ่งในสิบของกําลังทั้งหมดเทานั้นที่จะบรรลุเปาหมาย. ¥ เมื่อเรงเดินทัพโดยรวดเร็ว

ใหไดระยะทางหาสิบลี้

ผูบังคับกองทหารจะหมดกําลัง และการเกินทัพดวยวิธีนี้ ทหารจะถึงที่หมายเพียงกึ่งหนึ่ง ถาเรงทัพใหเดินทางสามสิบลี้ ทหารจะถึงที่หมายสองในสาม. ¥ ผลที่ตามมาก็คือ

กองทัพจะขาดอาวุธยุทโธปกรณหนัก เชน เสื้อเกราะ อาหารเลี้ยงมา เสบียงอาหารและสัมภาระอื่นๆ จะสูญเสีย.

- 29 -

¥ ผูที่ไมรูจักสภาพของปา

ที่รกอันเต็มไปดวยอันตราย

พื้นที่ชื้นแฉะ และพื้นที่ของปาชายเลน จะไมสามารถนําทัพเดินทางได. ¥ ผูที่ไมรูจักใชมัคคุเทศกพื้นเมือง

จะไมอาจแสวงหาความไดเปรียบไดจากพื้นที.่ ¥ รากฐานของการทําสงคราม

คือ กลอุบาย

เคลื่อนที่เมื่อมีทางไดเปรียบ แลวสรางสถานการณใหเกิดความเปลี่ยนแปลง โดยแยกกําลัง และรวมกําลัง. ¥ เมื่อลงมือเขาตี

ตองรวดเร็ว ราวลมพัด

เมื่อเดินทัพ ใหมีความสงา ดังปาไม เมื่อบุกทลวง ก็ใหเหมือน ดังไฟไหม เมื่อหยุดยืน ก็ใหมั่นคง ดังขุนเขา มิใหผูใดหยั่งเชิงได ดังเมฆ เมื่อเคลื่อนที่ ก็รวดเร็ว ดังสายฟาฟาด. ¥ เมื่อรุกเขาไปในชนบท

แบงกําลังออก

เมื่อยึดดินแดนใดได แบงปนผลกําไร.

¥ ชั่งน้ําหนักของสถานการณเสียกอน

¥ ผูที่เขาใจศิลปของการเขาตี

แลวจึงเคลื่อนทัพ.

โดยวิธีตรงและวิธีออม จะมีชัยชนะ - 30 -

นี่คือ ศิลปในการดําเนินกลยุทธ. ¥ ตําราบริหารการทัพระบุวา

ระหวางทําการรบนั้น ใชเสียงสั่งการยอมไดยินไมทั่วถึง จึงตองใชกลองและมาลอ ทหารหนวยตางๆ เห็นกันไดไมชัดเจน จึงตองใชธงและแถบแพรสีตางๆ เปนสัญญาณ. ¥ มา

ลอ กลอง แถบแพรสี และธงนั้น ใชเพื่อเปนจุดรวมความสนใจของทหาร

หนวยทหารตางๆ จะรวมตัวกันติด ผูกลาหาญไมอาจรุกไปไดโดยลําพัง ผูขยาดหวาดกลัวก็ถอยมิได นี่คือ ศิลปในการบังคับกองทหาร. ¥ การรบกลางคืน

ตองอาศัยคบไฟและเสียงกลอง

การรบกลางวัน ใชแถบแพรสีและธงทิวเปนจํานวนมาก เพื่อชวยการมองเห็นและการไดยินของทหารฝายเรา. ¥ กองทัพอาจถูกทําใหเสียขวัญได

และแมทัพก็อาจหมดมานะได. ¥ ตอนเชาตรู

จิตใจแจมใส

ระหวางกลางวัน ทหารเกิดความอิดโรย พอตกถึงเวลาเย็น ก็คิดถึงบาน.

- 31 -

¥ ดวยเหตุนี้

ผูชํานาญการศึกจึงหลีกเลี่ยงขาศึก เมื่อเวลาที่มีจิตใจฮึกเหิม เขาตีเมื่อเวลาที่ขาศึกอิดโรย ทหารพากันคิดถึงบาน นี่คือ การควบคุมภาวะของอารมณ. ¥ เมื่อกองทัพที่อยูในระเบียบ

ตั้งคอยทีทัพขาศึกที่ขาดระเบียบ ในความสงบเงียบนั้นคือจิตใจที่กระหายจะสูรบ นี่คือ การควบคุมภาวะจิตใจ. ¥ ที่ใกลกับยุทธภูมิ

เฝาคอยขาศึกที่เดินทางมาจากไกล

เมื่อขาศึกหยุดพัก ทําใหขาศึกอิดโรย เมื่อขาศึกมีอาหารกินไมเพียงพอ ทําใหเกิดความหิวโหย นี่คือ การควบคุมทางกายภาพ. ¥ เมื่อเห็นขาศึกรุกคืบหนา

โดยมีธงทิวและแถบแพรสีดูเปนระเบียบ ขบวนศึกก็ถูกตองนาดู เชนนี้ไมพึงเขารบกับขาศึก นี่คือ การควบคุมความเปลี่ยนแปลงตามภาวะแวดลอม. ¥ ดวยเหตุดังกลาว

ศิลปของการใชกําลังทหาร จึงอยูที่ ไมเผชิญหนากับขาศึกทีอ่ ยูบนที่ดอน เมื่อขาศึกยึดไดเนินเขา ยันดานหลังของกองทัพอยู ก็อยาเขาทําการรบดวย - 32 -

เมื่อขาศึกแสรงแตกหนี อยาติดตาม อยาเขาตีกองทหารทลวงฟนของขาศึก อยากลืนเหยื่อที่ขาศึกเสนอให อยาขัดขวางขาศึกที่กําลังเดินทางกลับบานเมือง เมื่อลอมขาศึกไวได จงเปดทางหนีไว อยารังแกขาศึกจนมุม นี่คือ วิธีการดําเนินกลยุทธ. [[[[[[[[[[[[

- 33 -

๘. สิ่งซึ่งแปรผันไดเกาประการ ซุนจูกลาววา ¥ โดยปรกติธรรมดานั้น

ระบบของการจัดขบวนศึก คือ การที่แมทัพรับบัญชาจากผูมีอํานาจปกครองสูงสุด ใหระดมพลจากประชาชนแลวรวบรวมขึ้นเปนกองทัพ. ¥ ทานจะตองไมตั้งคายในที่ลุม. ¥ ในพื้นที่ซึ่งมีการติดตอสะดวก

จงรวมกับพันธมิตร. ¥ ถาทานจะตองวกเวียน

ในพื้นที่ปองกันตัวไดยาก ในพื้นที่คับขัน ตองเตรียมตัวใหพรอมทุกอยาง. ¥ ในพื้นที่ตาย

ใหสู.

¥ มีทางบางเสนที่ไมควรเกินตาม

หนวยทหารบางหนวยที่ไมควรเขาตี เมืองบางเมืองไมควรเขายึด พื้นที่บางแหงไมควรทําการรบ. ¥ แมทัพเขาถึงถองแทใน

ความไดเปรียบของการใชหลักของสิ่งที่ผันแปรไดเกาประการ ยอมรูวาจะใชขบวนศึกอยางไร. ¥ แมทัพผูไมเขาใจ

ความไดเปรียบจากการใชหลักของสิ่งที่ผันแปรไดเกาประการ จะไมสามารถใชพื้นที่เพื่อความไดเปรียบ แมจะมักคุนกับพื้นที่นั้นดี. ¥ อํานวยงานปฏิบัติการทางทหารนั้น

ผูที่ไมเขาใจเลือก ยุทธวิธีอันเหมาะสมกับความผันแปรไดเกาประการ จะไมสามารถใชกําลังทหารอยางไดผลดี แมแตถา เขาจะเขาใจ “ความไดเปรียบหาประการ” - 34 -

¥ ดวยเหตุนี้

แมทัพผูฉลาด เมื่อจะตองแกปญหาตางๆ จึงตองพิจารณาปจจัยทั้งที่เปนคุณและโทษ. ¥ เมื่อพิจารณาปจจัยตางๆ

อันเปนคุณแลว แมทัพยอมกําหนดแผนที่จะใชปฏิบัติได โดยเอาปจจัยที่เปนโทษมารวมพิจารณาดวย แมทัพจึงอาจขจัดปดเปาความยากลําบากทั้งมวลได. ¥ การจะทําใหเมืองขางเคียงเกิดความยําเกรง

ยอมปฏิบัติไดดวย การนําเรื่องเดือดรอนมาให. ¥ เขาทําใหขาศึกกะปลกกะเปลี้ย

ดวยการทําใหขาศึกมีเรื่องตองแกไขอยูตลอดเวลา ทําใหขาศึกตองวุนวายไปมา โดยเสนอสิ่งที่ทําใหดูไดเปรียบอยางแลวอยางเลา. ¥ กฎของสงครามมีอยูประการหนึ่ง

คือ

อยาคะเนวาขาศึกจะไมมา แตควรจะคิดวา เราพรอมจะเผชิญหนาขาศึกอยูเสมอ อยาคิดเสียวาขาศึกจะไมเขาตี แตใหถือวา ตองทําใหไมมีผูใดทําลายได. ¥ มีคุณสมบัติอยู

หาประการ ที่เปนอันตรายตอบุคคลิกภาพของแมทัพ

¥ ถาประมาท

อาจถูกฆา ถาขลาดกลัว จะถูกจับ ถาโมโหฉุนเฉียวงาย จะถูกหลอกใหโงไดงาย ถาออนไหวในความรูสึกเรื่องเกียรติยศ ยอมจะถูกสบประมาทใหโกรธไดงาย ถาเปนคนขี้สงสาร ยอมถูกรบกวนความรูสึกไดงาย. ¥ บุคคลิกภาพทั้งหาประการนี้

เปนอันตรายรายแรงสําหรับผูเปนแมทัพ และเมื่อลงมือปฏิบัติการทางทหารยอมเกิดความหายนะ. - 35 -

¥ ความพินาศของกองทัพ

ความตายของแมทัพ ยอมเกิดขึ้นได เพราะผลของบุคคลิกภาพเหลานี้ จึงตองพิจารณากันใหลึกซึ้ง. [[[[[[[[[[[[

- 36 -

๙. การเดินทัพ ซุนจูกลาววา ¥ โดยทั่วไปนั้น

เมื่อเขาที่ตั้งและเผชิญหนากับขาศึก หลังจากที่ไดเดินทัพขามเขามาแลว ใหอยูใกลหุบเขา ตั้งคายบนที่ดอน หันหนารับแสงตะวัน. ¥ รบลงจากเนิน

อยาปนเขาเพื่อเขาตี. ¥ เรื่องตั้งทัพในภูเขา

มีเพียงเทานี.้

¥ หลังจากขามแมน้ําแลว

ทานตองเคลื่อนทัพใหหางจากริมแมน้ํา. ¥ เมื่อแมทัพขาศึกรุกขามแมน้ํา

อยาปะทะที่ริมน้ํา หนทางไดเปรียบคือ ยอมใหกําลังของขาศึกกึ่งหนึ่งขามแมน้ํากอน แลวเขาตี. ¥ ถาทานปรารถนาจะเปดการรบ

อยาเผชิญหนากับขาศึกใกลน้ํา ตั้งทัพบนที่ดอนหันหนารับแสงแดด อยาอยูในตําแหนงใตกระแสน้ํา. ¥ เรื่องตั้งทัพใกลแมน้ํา

มีเพียงเทานี.้

¥ เมื่อขามดินเค็มชายทะเล

ใหขามโดยรวดเร็ว

อยาวกวนอยูในพื้นที่เชนนี้ ถาตองปะทะกับขาศึกกลางพื้นดินเค็ม

- 37 -

ใหหาตําแหนงตั้งทัพใกลพงหญาและน้ํา โดยมีตนไมอยูเบื้องหลัง. ¥ เรื่องตั้งทัพในพื้นที่ดินเค็มชายทะเล

มีเพียงเทานี.้

¥ บนพื้นที่ราบ

ตองเขายึดบริเวณที่จะอํานวยความสะดวกในการรบ ใหที่สูงอยูดานหลังและดานขวา สนามรบอยูเบื้องหนา แลวเบื้องหลังจะปลอดภัย. ¥ เรื่องตั้งทัพบนพื้นที่ราบ

มีเพียงเทานี.้

¥ โดยทั่วไปการตั้งทัพตามสภาวการณทั้งสี่ที่กลาวมาแลวนี้

ยอมทําใหเกิดความไดเปรียบ พระเจาอื้งตี่ฮองเตใชในการทําศึก มีชัยชนะไดสี่แควน. ¥ กองทัพชอบที่ดอนมากกวาที่ลุม

พอใจแสงตะวันไมชอบรมเงา เมื่อทหารมีพลานามัยสมบูรณ กองทัพก็ยึดครองพื้นที่ไดมั่นคง กองทัพที่ไมมีความเจ็บปวนดวยโรคภัยทั้งหลาย ยอมมีชัยชนะแนนอน. ¥ เมื่ออยูใกลเนินดิน

ตีนเขา คันกั้นน้ํา หรือฝงแมน้ํา ทานตองตั้งทัพในตําแหนงที่รับแสงแดด ใหสวนขวาและสวนหลังตั้งบนที่สูงเหลานัน้ . ¥ วิธีการเหลานี้เปนทางไดเปรียบของกองทัพ

และไดอาศัยประโยชนจากพื้นที่เขาชวย. ¥ ที่ใดมีน้ําไหลเชี่ยวจากที่สูงชัน

มี “บอสวรรค” “กรงสวรรค” “กับดักสวรรค” “ตาขายสวรรค” และ “รอยราวสวรรค” ทานตองรีบเดินทัพออกจากที่เหลานี้โดยเร็วที่สุด อยาเขาไปใกล. ¥ ขาพเจาอยูหางจากสถานที่เชนนี้

แลวลอใหขาศึกเขาไปในที่เชนนี้ ขาพเจาเผชิญหนาขาศึก แลวทําใหขาศึกหันหลังหาสถานที่เชนนี.้ - 38 -

¥ เมื่อดานขางของกองทัพ

เปนปารกชัฎอันตราย หรือหนองน้ําปกคลุมดวยหญาและพงออ ดงเสือหมอบ หรือปาลึก ใกลเขาโคนไมปกคลุมดวยเถาวัลย ทานจะตองคนดวยความระมัดระวัง เพราะสถานที่เชนนี้ ขาศึกมักซุมโจมตีและสายลับมักซุมซอน. ¥ เมื่อขาศึกอยูใกล

แตสงบนิ่งอยู ขาศึกอาศัยที่ตั้งที่เหมาะสม เมื่อขาศึกอยูไกล แตทาทายหมายยั่วใหทานรุกเขาหา ขาศึกยอมอยูในพื้นที่เหมาะสม และอยูในตําแหนงที่ไดเปรียบ. ¥ เมื่อเห็นตนไมเคลื่อนไหว

หมายถึง ขาศึกกําลังรุก.

¥ เมื่อมีเครื่องกีดขวางอยูมากตามดงทึบ

หมายถึง ขาศึกมุงหลอกลอง.

¥ เมื่อฝูงนกบินขึ้นดวยความตระหนกตกใจ

เปนสัญญาณใหรูวา ขาศึกซุมคอยเพื่อลอบโจมตี เมื่อสัตวปาแตกตื่นหนีกระเจิง หมายถึง ขาศึกพยายามจะเจาตีโดยมิใหทานรูตัว. ¥ เมื่อผงฝุนกระจายขึ้นเบื้องสูงเปนลํา

หมายถึง รถศึกของขาศึกกําลังเขามาใกล เมื่อผงฝุนกระจายแผเตี้ยเปนบริเวณกวาง หมายถึง ทหารกําลังรุกเขาหา. ¥ เมื่อผงฝุนฟุงขึ้นเปนจุดหลายบริเวณ

หมายถึง ขาศึกกําลังนําเชื้อไฟมา เมื่อฝุนเปนกระจุยเล็กๆ กระจายอยูมาก หมายถึง ขาศึกกําลังตั้งคาย. ¥ เมื่อทูตของขาศึกพูดดวยความออนนอมถอมตน

ขณะเดียวกันก็จัดเตรียมกองทัพของตนอยู หมายถึง ขาศึกคิดรุก.

¥ เมื่อวาจาของขาศึกฟงดูเปนกลลวงใหเชื่อ

แตขาศึกแสรงทําเปนรุก หมายถึง ขาศึกจะถอย.

¥ เมื่อทูตของขาศึกพูดจาในลักษณะขออภัย

หมายถึง ขาศึกปรารถนาจะถวงเวลา หาทางผอนปรน. - 39 -

¥ ถาปราศจากการทําความเขาใจลวงหนามากอนแลว

ขาศึกขอเจรจาสงบศึก หมายถึง ขาศึกกําลังคิดอุบาย.

¥ เมื่อรถมาศึกขนาดเบาออกแนว

โดยอยูในตําแหนงขางของทัพ หมายถึง ขาศึกจัดรูปขบวนเพื่อเขารบ. ¥ เมื่อทัพของขาศึกเดินเร็ว

และรถมาศึกก็เรียงคันเปนขบวน หมายถึง ขาศึกกําลังหมายจะไปที่จุดนัดพบกับกําลังหนุน. ¥ เมื่อกําลังของขาศึกกึ่งหนึ่งรุก

อีกกึ่งหนึ่งถอย หมายถึง ขาศึกพยายามใชกลลวง. ¥ เมื่อทหารของขาศึกยืนอิงศาสตราวุธ

หมายถึง ขาศึกกําลังอิดโรยเพราะหิวกระหาย. ¥ เมื่อคนตักน้ําของขาศึกดื่มน้ํากอนที่จะนําน้ํากลับไปคาย

หมายถึง ทหารของขาศึกกําลังกระหายน้ํา. ¥ เมื่อถึงทีรุกไดแตไมรุก

หมายถึง ทหารขาศึกหมดกําลัง. ¥ เมื่อฝูงนกบินวอนอยูเหนือบริเวณของขาศึก

หมายถึง คายวางเปลา. ¥ เวลากลางคืน

เกิดเสียงอื้ออึงขึ้นในคายของขาศึก หมายถึง ขาศึกกําลังหวาดกลัว. ¥ เมื่อกองทหารขาศึกขาดระเบียบ

แมทัพก็หมดศักดิ์ศรี. ¥ เมื่อธงทิวและแถบแพรสีตางๆ

ของขาศึก เปลี่ยนตําแหนงไปมาอยูเสมอๆ หมายถึง กําลังของขาศึกเริ่มระส่ําระสาย.

¥ ถานายทหารหงุดหงิดโมโหงาย - 40 -

ทุกคนกําลังอิดโรยออนเพลีย. ¥ เมื่อขาศึกเลี้ยงมาดวยขาวเปลือก

เลี้ยงทหารดวยเนื้อสัตว และเมื่อขาศึกไมแขวนภาชนะหุงหาอาหาร ทหารก็ไมเขากระโจมพัก หมายถึง ขาศึกกําลังพะวาพะวัง. ¥ เมื่อทหารจับกลุมกันเปนหมูยอยๆ

แลวพูดจากระซิบกัน หมายถึง หมดความไววางใจในตัวแมทัพ. ¥ การปูนบําเหน็จรางวัลบอยเกินไป

แสดงวา แมทัพกําลังหมดหนทาง การลงโทษบอยเกินไป หมายถึง แมทัพอารมณเสียเปนประจํา.

¥ แรกทีเดียวถานายทัพดุดันกับลูกทัพ

แลวตอมากลับกลัว วินัยของทหารยอมถึงขีดจํากัดแลว.

¥ เมื่อทัพของขาศึกมีความคึกคะนอง

และเผชิญอยูเบื้องหนาทัพของทาน อยาเขาทําการรบดวยเวลานานหรือผละไป ทานตองตรวจสอบสถานการณใหถี่ถวน. ¥ ในการทําศึก

จํานวนทหารอยางเดียวมิไดแสดงถึงความไดเปรียบ อยารุกโดยถือเอาอํานาจทหารเปนสําคัญ. ¥ ประมาณสถานภาพของขาศึกใหถูกตองก็เปนการเพียงพอแลว

รวมกําลังของทานจับขาศึกใหได ไมมีอะไรมากไปกวานี้ ผูที่ขาดสายตาไกลประมาณกําลังของขาศึกผิดพลาด จะถูกขาศึกจับได. ¥ ถาทหารของทานถูกลงโทษ

กอนจะดูใหแนถึงความจงรักภักดี ทหารจะหมดความเชื่อถือในคําสั่ง ถาทหารไมเชื่อฟงก็ยากจะใชงาน ถาทหารมีความจงรักภักดี แตไมมีการลงโทษเมื่อทําผิดก็ใชวานมิได เชนกัน. ¥ ฉนั้น

จงบังคับบัญชาทหารดวยความยุติธรรม ใหกําลังใจ อยางสม่ําเสมอ - 41 -

มีการปูนบําเหน็จและเลื่อนตําแหนงใหสมควร อาจพูดไดวา ชัยชนะเปนของแนนอน. ¥ ถาคําสั่งใดใชไดผลเสมอ

ทหารจะเชื่อฟง คําสั่งใดไมปรากฏผลดีเปนที่แนชัด ทหารก็จะไมเชื่อฟงคําสั่ง. ¥ เมื่อคําสั่งเปนที่เชื่อถือไดสม่ําเสมอแนนอน

ทหารก็ปฏิบัติตาม ความสัมพันธระหวางแมทัพกับลูกทัพอยูในเกณฑที่นาพอใจ. [[[[[[[[[[[[

- 42 -

๑๐. ภูมิประเทศ ซุนจูกลาววา ¥ พื้นที่อาจแยกประเภทไดตามลักษณะของธรรมชาติ

คือ เขาออกได เปนกับดัก ไมแนนอน บีบรัด สูงชัน และมีระยะทาง. ¥ พื้นที่ซึ่งทั้งฝายเราและฝายขาศึก

สามารถเดินทางผานเขาออกไดดวยความสะดวกเทาๆ

กัน เชนนี้เรียกวา พื้นที่เขาออกได ในพื้นที่เชนนี้ ผูที่เลือกไดดานที่รับแดด และมีเสนทางลําเลียงสะดวกกอน จะสามารถทําการรบอยางไดเปรียบ. ¥ พื้นที่ซึ่งยกกําลังเขาไปไดงาย

แตยากที่จะถอนตัวกลับ

เชนนี้เรียกวา พื้นที่เปนกับดัก ธรรมชาติของพื้นที่เชนนี้ ถาขาศึกมิไดเตรียมตัวไว แลวทานกําลังเขาตีอยางรวดเร็ว ทานอาจทําลายขาศึกได ถาขาศึกเตรียมรับ ทานยกกําลังเขารบแตไมชนะ ยากที่จะถอยกลับ เชนนี้ ไมมีประโยชนอันใด. ¥ พื้นที่ซึ่งเมื่อเขาไปแลวเกิดความเสียเปรียบเทาๆ

กัน ทั้งฝายเราและฝายศัตรู

เชนนี้เรียกวา พื้นที่ไมแนนอน ธรรมชาติของพื้นที่เชนนี้ แมขาศึกจะวางเหยื่อลอไว ขาพเจาก็จะไมรุกเขาไป แตจะลวงใหขาศึกเคลื่อนตัวออกมา เมื่อขาพเจาดึงทัพของขาศึกออกมาไดแลวครึ่งหนึ่ง ขาพเจาจะเขาโจมตีอยางไดเปรียบ. ¥ ถาขาพเจาเปนฝายแรกที่ตกอยูใน

พื้นที่บีบรัด ขาพเจาตองปดทางผานเขาออกแลวคอยทีขาศึก ถาขาศึกเปนฝายแรกที่เขายึดพื้นที่เชนนั้นได แลวปดทางผานเขา ขาพเจาจะไมติดตามขาศึก - 43 -

ถาขาศึกมิไดปดเสียจนสิ้นหนทาง ขาพเจาก็อาจรุกเขาไปได. ¥ ถาเปนพื้นที่สูงชัน

ขาพเจาจะเลือกตั้งทัพในที่สูงรับแสงตะวันคอยทีขาศึก ถาขาศึกเขายึดพื้นที่เชนนั้นไดกอน ขาพเจาจะลอใหขาศึกเคลื่อนที่ออก ขาพเจาไมติดตามขาศึก. ¥ เมื่ออยูในระยะทางหางจากขาศึกที่มีกําลังทัดเทียมกัน

เปนการยากที่จะยั่วยุใหเกิดการรบ และไมมีประโยชนอันใดที่จะเขาทําการรบกับขาศึก ในพื้นที่ซึ่งขาศึกเปนผูเลือกไดกอน. ¥ นี่คือหลักที่เกี่ยวของกับ

ประเภทของพื้นที่แตกตางกัน หกประการ เปนความรับผิดชอบสูงสุดของแมทัพ ที่จะตองรูจักพื้นที่ตางๆ แลวพิจารณาดวยความระมัดระวัง. ¥ เมื่อทหารแตกทัพไมเชื่อฟงคําสั่ง

ขวัญเสียสิ้นกําลัง หมดความเปนระเบียบ และกระดางกระเดื่อง ความผิดตกอยูที่แมทัพ ความพินาศฉิบหาย ดวยเหตุเหลานี้จะอางวา เปนเหตุทางธรรมชาติมิได.

¥ ภาวะอยางอื่นก็เชนเดียวกัน

ถากําลังรบหนวยใด ตองเขาตีหนวยที่ใหญกวาสิบเทา ผลก็คือ ตองแตกทัพ. ¥ เมื่อทหารเขมแข็ง

และนายทหารออนแอ กองทัพก็ขาดระเบียบ. ¥ เมื่อนายทหารมีความฮึกเหิม

และไพรพลไมกระตือรือรน

กองทัพก็หมดความสามารถ. ¥ เมื่อนายทหารชั้นผูใหญโกรธและไมเชื่อฟงคําสั่ง

และเมื่อตองเขาสูรบกับขาศึก ก็เรงรีบเขาทําการรบ โดยไมเขาใจ ผลไดผลเสีย ของการปะทะ - 44 -

และไมคอยฟงคําสั่งจากผูบังคับบัญชา กองทัพอาจอยูในฐานะยับเยินได. ¥ เมื่อจิตใจของแมทัพออนแอ

การรักษาระเบียบวินัยไมเครงครัด เมื่อคําสั่งและแนวทางปฏิบัติของแมทัพ ไมสรางความเชื่อมั่น และปราศจากระเบียบและขอบังคับที่เด็ดขาด เพื่อเปนแนวทางสําหรับนายและไพรพล รูปขบวนทัพก็สับสน หมายถึง กองทัพยอมเกิดความระส่ําระสาย. ¥ เมื่อผูบัญชาการไมสามารถประมาณกําลังของขาศึก

ใชกําลังนอยเขาสูกําลังมาก ใชกําลังออนแอเขาตีกําลังเขมแข็ง หรือไมสามารถเลือกหนวยทลวงฟนใหกองทัพ ผลก็คือ แพ. ¥ เมื่อภาวะอยางใดอยางหนึ่ง

ในหกประการนี้ เกิดขึ้น หมายถึง กองทัพมีหนทางพายแพ จึงเปนความรับผิดชอบสูงสุดของแมทัพที่จะตองตรวจสอบปญหาดวยความระมัดระวัง. ¥ รูปลักษณะของพื้นที่ภูมิประเทศ

มีสวนชวยในการทําสงครามเปนอยางยิ่ง ฉนั้น การประมาณภาวะของขาศึก คํานวณดูระยะทาง และพิจารณาดูความยากงายของพื้นที่ภูมิประเทศ เพื่อควบคุมใหเกิดชัยชนะ จึงเปนคุณลักษณะของแมทัพที่มีฝมือเหนือกวา ผูที่ทําสงครามดวยความรอบรูถึงปจจัยตางๆ ดังไดกลาวมาแลว ยอมแนนอนวา จะมีชัยชนะ ผูที่ไมเอาใจใส ยอมพายแพ แนนอน. ¥ ถาสถานการณ

แสดงถึง ชัยชนะ แตผูมีอํานาจปกครองแผนดินสูงสุดออกคําสั่งมิใหรบ แมทัพอาจตัดสินใจเขารบได ถาสถานการณ แนชัดวา จะเอาชนะมิได แตผูมีอํานาจปกครองแผนดินสูงสุดออกคําสั่งใหรบ - 45 -

แมทัพไมจําเปนตองทําตาม. ¥ ฉนั้น

แมทัพที่นําทัพรุกโดยไมใฝหาชื่อเสียงเฉพาะตัว และเมื่อถอยทัพ ก็ไมหวงใยหลีกเลี่ยงการลงโทษ แตดวยความมุงหมายเพียงตองการปองกันประชาชน และเสริมสรางผลประโยชนดีที่สุด ใหกับผูมีอํานาจปกครองแผนดิน แมทัพเชนนี้ถือเปนมณีมีคายิ่งของบานเมือง. ¥ เพราะ

แมทัพเชนนี้ ถือวา คนของตน เหมือนดั่ง ทารกแรกเกิด ทหารจะเดินตามเขาไปในหุบเขาลึกที่สุด แมทัพเชนนี้ ดูแลทหาร ปาน บุตรสุดที่รักของตน ทหารจะตายกับแมทัพ. ¥ ถาแมทัพสามารถทําใหทหารพอใจได

แตใชงานทหารมิได ถาเขารักทหาร แตไมสามารถบังคับใหทหารทําตามคําสั่งได ถากองทัพไมอยูในระเบียบวินัย และแมทัพก็ไมสามารถควบคุมทหารได ทหาร ก็เปรียบไดดัง ลูกเหลือขอ และไมมีประโยชนอันใด. ¥ ถา

ขาพเจาทราบวา กองทัพของขาพเจาสามารถตีขาศึกได แต ไมทราบวา เมื่อลงมือตีแลวไมอาจทําใหขาศึกแพได โอกาสชนะของขาพเจา มีเพียงครึ่งเดียว. ¥ ถาขาพเจาทราบวา

ขาศึกจะพายแพเมื่อเขาตี แต ไมทราบวา ทหารของขาพเจาไมมีขีดความสามารถที่จะเขาตีขาศึกได แต ไมทราบวา สัณฐานของธรรมชาติไมอํานวย ขาพเจาไมควรเขาตี โอกาสที่ขาพเจาจะมีชัยชนะ มีอยูครึ่งเดียว. ¥ ฉนั้น

เมื่อผูเชี่ยวชาญการสงครามลงมือปฏิบัติการ ก็จะไมมีอะไรผิดพลาด เมื่อลงมือแลว ก็มีสติปญญาทํางานตอเนื่องไดไมจํากัด. ¥ ขาพเจาจึงวา

“รูจักขาศึก รูจักตนเอง ชัยชนะของทานก็จะไมเปนอันตราย รูจักพื้นภูมิประเทศ รูจักภูมิอากาศ ชัยชนะก็เปนเรื่องเบ็ดเสร็จ”. [[[[[[[[[[[[ - 46 -

๑๑. พื้นที่ตางกันเกาอยาง ซุนจูกลาววา ¥ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการใชขบวนศึกนั้น

ใหพิจารณาแบงลักษณะของพื้นที่ออกตางๆ กันดังนี้ กระจัดกระจาย, หนาดาน, หัวใจ, คมนาคม, ใจกลาง, เครงเครียด, ยากลําบาก, ปดลอม, และ ตาย. ¥ เมื่อเจานครตองทําศึก

ในเขตแควนของตนเอง เขาอยูใน พื้นที่กระจัดกระจาย. ¥ แมทัพนําทัพแทรก

เปนแนวแคบเขาไปในดินแดนของขาศึก เขาอยูใน พื้นที่หนาดาน.

¥ พื้นที่ซึ่ง

ทั้งสองฝายตางมีทางไดเปรียบ ถือเปน พื้นที่หัวใจ. ¥ พื้นที่ซึ่ง

ออกไปได ทั้งทัพของขาศึกและของขาพเจา ถือเปน พื้นที่คมนาคม. ¥ เมืองใดก็ตามถูกลอม

อยูดวยเมืองอื่นๆ อีกสามเมือง เมืองเชนนี้ ถือเปน พื้นที่ใจกลาง ผูที่สามารถเขาควบคุมไดกอน จะไดรับความสนับสนุนจากทุกอยางที่อยูใตฟา. ¥ เมื่อกองทัพเจาะลึกเขาไปในดินแดนของขาศึก

ทิ้งเมืองเล็กเมืองนอยไวเบื้องหลังหลายเมือง พื้นที่เจาะลึกเขาไปได ถือเปน พื้นที่เครงเครียด. ¥ เมื่อกองทัพเดินทางขามเขา

ผานปา พื้นที่สูงชัน หรือเดินทางผานที่รกชัฏ ที่เปยกชื้น หนองน้ํา หรือพื้นที่ใดก็ตาม ที่ผานไดดวยความยากลําบาก ถือเปน พื้นที่ยากลําบาก. - 47 -

¥ พื้นที่ใดทางเขาจํากัด

ทางออกก็ยาก และกองทหารขนาดเล็กของขาศึก สามารถเขาตีกําลังขนาดใหญกวาได เชนนี้ ถือเปน พื้นที่ปดลอม. ¥ พื้นที่ซึ่ง

กองทัพจะเอาตัวรอดไดทางเดียว คือ ตองตอสู ดวยความมานะและสุดกําลังเชนนี้ ถือเปน พื้นที่ตาย. ¥ ฉนั้น

จงอยาทําการสูรบ ในพื้นที่กระจัดกระจาย

อยาหยุดยั้ง ณ พื้นที่หนาดานชายแดน อยาโจมตีขาศึก ผูยึดครอง พื้นที่หัวใจ ในพื้นที่คมนาคม อยาใหขบวนทัพของทานแตกแยกกัน ในพื้นที่ใจกลาง ผูกมิตรกับเมืองขางเคียง ในพื้นที่ลึก ตองหักหาญ ในพื้นที่ยากลําบาก ตองบากบั่น ในพื้นที่ปดลอม ใหหายุทธวิธี ในพื้นที่ตายใหสู ในพื้นที่กระจัดกระจาย ขาพเจาจะรวบรวมความตั้งใจมั่นของกองทัพใหเปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน. ในพื้นที่หนาดาน ขาพเจาจะคอยระวังใหกําลังทหารของขาพเจาตอเชื่อมใกลชิดกัน. ในพื้นที่หัวใจ ขาพเจาจะเรงความเร็วของกําลังสวนหลัง. ในพื้นที่คมนาคม ขาพเจาจะเอาใจใสกับการปองกันตัวเอง. ในพื้นที่ใจกลาง ขาพเจาจะสงเสริมไมตรีกับพันธมิตร. - 48 -

ในพื้นที่เครงเครียด ขาพเจาตองจัดการใหแนนอน วา เสบียงสงไดตอเนื่องไมขาดมือ. ในพื้นที่ยากลําบาก ขาพเจาจะเรงรีบเดินทาง. ในพื้นที่ปด ลอม ขาพเจาจะปดทางเขาและทางออก ¥ ในพื้นที่ตาย

ขาพเจาสามารถแสดงดวยประจักษพยานวา ไมมีทางเอาตัวรอดไดเลย โดยธรรมชาติของทหารนั้น จะตานทาน เมื่อถูกลอม จะสูจนตัวตาย เมื่อไมมีทางเลือกเปนอยางอื่น เมื่อสิ้นหนทาง ทหารจะปฏิบัติตามคําสั่งอยางเครงครัด. ¥ ตองเลือกยุทธวิธีตางๆ

กัน ใชใหเหมาะสมกับลักษณะของพื้นที่ทั้งเกาชนิด ความไดเปรียบเสียเปรียบของการรวมและการกระจายกําลัง และหลักธรรมชาติของมนุษย สิ่งตางๆ เหลานี้ แมทัพจะตองพิจารณาดวยความระมัดระวังมากที่สุด. ¥ ในสมัยโบราณนั้น

ผูที่ถือวาชํานาญการศึก จะสามารถทําใหกองหนาและกองหลังของกองทัพขาศึกรวมตัวกันไม ติด สวนหนาตางๆ ของตนเองนั้น ไมวาเล็กหรือใหญจะรวมมือซึ่งกันและกัน หนวยที่เขมแข็งกวา ชวย หนวยที่ออนแอ หนวยที่มีกําลังมาก ชวย หนวยที่มีกําลังนอย ทุกหนวยตางชวยกัน. ¥ เมื่อกําลังของขาศึกกระจัดกระจาย

ก็สามารถปองกันมิใหขาศึกรวมกันติด เมื่อขาศึกรวมกันไดก็ทําใหเกิดความสับสนอลหมาน.

¥ ผูชํานาญการศึก

จะรวมกําลังเปนปกแผน และเมื่อเห็นความไดเปรียบแลวจึงเคลื่อนกําลัง เมื่อไมไดเปรียบก็หยุดยัง้ . ¥ หากมีผูถามวา - 49 -

“ขาพเจาจะทําอยางไรกับกองทัพขาศึกที่ขบวนทัพเปนระเบียบดี และกําลังจะเขาตีขาพเจา” ขาพเจาตอบวา “ขายึดอะไรสักอยางหนึ่งที่ขาศึกหวงแหน แลวขาศึกจะยินยอมนอมตามปรารถนาของทาน”. ¥ ความรวดเร็ว

เปน สิ่งสําคัญในการสงคราม ถือเอาความไดเปรียบจาก การมิไดเตรียมตัวของขาศึก เดินทางดวย เสนทางที่ขาศึกคาดไมถึง แลวเขาโจมตี ตรง จุดที่ขาศึกมิไดมีความระมัดระวัง. ¥ หลักการโดยทั่วไป

ของกองทัพที่รุกเขาไปในดินแดนของขาศึก เมื่อทัพของทานรุกเขาไปในเขตของขาศึก กองทัพของทานตองรวมกันแนนแฟน ฝายปองกันไมสามารถเอาชนะทานได. ¥ หักหาญเขายึดถิ่นที่มีความอุดมสมบูรณ

เพื่อใหกองทัพไดเสบียงมากไว. ¥ พึงระมัดระวัง

เลี้ยงดูทหารใหอิ่มพอ อยาใหทหารตองอิดโรยโดยไมจําเปน รวมกําลังขวัญใหมั่นคง ถนอมกําลังของทหาร คิดอานแผนศึกที่ไมมีใครสามารถหยั่งรู เพื่อการเคลื่อนไหวของขบวนศึก. ¥ ทุมเทกําลังทหาร

ลงในที่ซึ่งไมมีทางหนีได และแมจะตองเผชิญหนากับความตาย ทหารก็จะไมหนีทัพ ถาเตรียมตัวตายแลวอะไรบางเลาที่ทําไมได ทั้งนายและไพรพลจึงตองใชความพยายามจนสุดกําลัง

เมื่อไมมีทางออก ทหารทุกคนก็ยืนหยัดมั่นคง เมื่อเห็นวาสิ้นหนทางแลว ทหารไมกลัวอะไรทั้งสิ้น เมื่ออยูลึกเขาไปในดินแดนของศัตรู ทหารก็ผูกพันกันมั่นคง และเมื่ออยูในที่ซึ่งไมสามารถเลือกทางอื่นได ทหารก็จะเขารบกับขาศึกถึงขั้นตะลุมบอน. ¥ ดวยเหตุนี้ - 50 -

กองทหารดังกลาวจึงไมตองการสิ่งใดมายั่วยุใหฮึกหาญ ไมตองเรียกรองขอความสนับสนุน แมทัพก็ไดรับความสนับสนุน ไมตองขอใหทหารรัก ทหารก็รัก ไมตองเรียกรองใหทหารเชื่อ ทหารก็เชื่อ. ¥ นายทหารของขาพเจา

ไมร่ํารวยเหลือเฟอ แตมิใช เพราะ เขาปฏิเสธโลกทรัพย ทหารของขาพเจา ไมคิด มีชีวิตยืนยาว แตมิใชชอบ ความมีอายุยืนยาว. ¥ เมื่อวันที่มีคําสั่งใหเคลื่อนขบวนศึก

ผูที่นั่ง น้ําตาชุมปกคอเสื้อ ผูที่นอนอยู น้ําตารินไหลอาบแกม.

¥ เมื่อสงทหารเขาไปอยูในภาวะการณที่ไมมีหนทางหนีได

ทหารจะแสดงความกลาหาญเด็ดเดี่ยว อันเปนอมตะ เชน ฉวนจู และ เฉาไขว. ¥ กองทหารของแมทัพผูชํานาญศึก

จะใชงานไดวองไว ดวยความรูสึกตอเนื่อง เชน อสรพิษแหงเขาจาง เมื่อตีตรงหัว หางก็แวงกัด เมื่อตีที่หาง หัวก็กัดได เมื่อตีกลางตัว ทั้งหัวและหางชวยกันกัด. ¥ ถามีผูถามวา

“มีทางทําใหกองทหารวองไวรอบตัว เชนนั้นไดหรือไม” ขาพเจาตอบวา “ทําได แมวา ทหารของหงอและหยวย จะชิงชังกันปานใดก็ตาม ถาหากจับใสลงไปในเรือลําเดียวกัน เมื่อเรือตองพายุรายแรง ทหารของทั้งสองเมือง จะรวมมือกันดังมือขวากับมือซาย”. ¥ ถือกันวา

หาเปนการเพียงพอไม ถาผูใดจะคิดพึ่งพาอาศัย มาขาหัก หรือ รถศึกที่ลอติดหลม. ¥ การจะสรางความกลาหาญใหมีระดับสม่ําเสมอ

คือ จุดมุงหมาย ในการบริหารงานทางทหาร

- 51 -

และก็ดวยการจัดใชพื้นที่ดวยความเหมาะสม ประกอบกับทั้ง การใชกองทหารทลวงฟนและกองทหารที่ปรับตัวได จึงจะไดเปรียบมากที่สุด. ¥ เปนกิจของแมทัพ

ที่จะตองมี ความสงบระงับ ไมหวั่นไหว ไมลําเอียง และสามารถคุมสติตัวเองไดด.ี

¥ แมทัพจะตองสามารถปองกัน

มิใหนายทัพนายกอง

ลวงรูใน แผนการตางๆ ของตน. ¥ แมทัพตองหามการเชื่อถือโชคลาง

เพื่อเปนการตัดความสงสัยในกองทัพ แมจนกระทั่งถึงเวลาตาย ก็จะไมมีเรื่องยุงยากอันใด. ¥ แมทัพเปลี่ยนวิธีการและพลิกแพลงแผนการณ

เพื่อมิใหผูใดลวงรู ไดวา เขากําลังทําอะไรอยู. ¥ เขาพลิกแพลงเปลี่ยนที่ตั้งคาย

และเดินทัพในเสนทางหลบหลีก เพื่อมิใหผูอื่นมีทางเขาใจ ความมุงหมายที่แทจริงของเขา. ¥ การรวมกําลัง

แลวทุมเทลงไป ในภาวะที่ดูเหมือนหมดหนทาง เปนภาระกิจของแมทัพ. ¥ เขานําทัพรุกเขาไป

ในดินแดนของศัตรู

แลวจึง ”ลั่นไก”. ¥ เขาเผาเรือ

ทุบหมอขาวหมอแกง ของเขา เขาเรงรัดทหารทั้งทัพ ประหนึ่ง ตอนฝูงแกะ เดี๋ยวไปทางนี้ เดี๋ยวไปทางอื่น ไมมีใครรูไดวา เขาจะไปทางไหน. ¥ เขากําหนดวันนัดพบรวมกําลัง

และเมื่อกําลังรวมไดแลว ก็ตัดทางถอยกลับเสีย ดุจดังรื้อบันไดเบื้องลาง. - 52 -

¥ ถาไมรูถึง

แผนของนครขางเคียง ยอมไมสามารถตระเตรียมผูกไมตรีไดทันทวงที

ถาขาดความรอบรูเกี่ยวกับ ภาวะของภูเขา ปา ที่รกชัฏ หนองน้ํา และที่ลุมมีน้ําขัง ยอมไมสามารถอํานวยการเดินทัพได ถาไมรูจัก การใชมัคคุเทศกพื้นเมือง ยอมไมสามารถหาความไดเปรียบไดจากพื้นที่ได แมทัพที่ขาดความรอบรู แมขอใดขอหนึ่งในสามขอนี้ ยอมไมเหมาะที่จะ บังคับบัญชา กองทัพของเจานครระดับอองได. ¥ เมื่อเจาเมืองระดับออง

เขาตีนครที่มีพลังแข็งกลา เขายอมทําใหขาศึกรวมกําลังกันไมติด เขาทําขาศึกใหเกิดความเกรงกลัว และปองกันมิใหเมืองที่เปนมิตรกับขาศึกเขาชวย. ¥ ประการตอมาก็คือ

เขาไมทําศึกกับกลุมที่รวมกําลังกันไดเขมแข็ง หรือไมใชอํานาจบีบบังคับอํานาจของเมืองหรือนครอื่นๆ เขายึดถือความบรรลุเปาหมาย ดวยสมรรถภาพที่จะสรางความยําเกรงใหฝายตรงขาม แลวเขาก็สามารถเขายึดเมืองตางๆ ของขาศึก และลมนครของขาศึกได. ¥ ปูนบําเหน็จรางวัล

โดยไมยึดถือขนบประเพณี ออกคําสั่ง โดยมิเห็นแกหนาผูใด ทําไดเชนนี้ จะใชทหารทั้งกองทัพได ดุจดังใชคนๆ เดียว.

¥ สงกองทหารออกปฏิบัติภาระกิจ

โดยมิตองบอกใหรูความมุงหมายของทาน ใชทหารเพื่อความไดเปรียบ โดยมิตองเปดเผยใหรูอันตรายที่จะเกิดขึ้น สงทหารเขาไปสูสถานการณ อันเต็มไปดวยการเสี่ยงอันตราย แลวทหารจะรอดตายได สงทหารเขาไปในพื้นที่ตาย ทหารก็เอาชีวิตรอดได - 53 -

เมื่อใดที่กองทัพตองตกอยูในฐานะเชนนั้น ก็จะทําให ความพายแพ กลับกลาย เปนชัยชนะได. ¥ หลักมูลฐานของการปฏิบัติงานทางทหาร

อยูที่ ความสามารถปรับตัวเอง ใหสอดคลองไปกับ แผนของขาศึก. ¥ รวมกําลังของทาน

ใหเปนปกแผน เพื่อสูขาศึก จากระยะทางหาง ถึง หนึ่งพันลี้ ทาน ก็สามารถฆา แมทัพของขาศึกได. ¥ วันใดที่นโยบายการเขาตีลงมือปฏิบัติ

ปดทางผานทุกทาง เก็บหนังสืออนุญาตผานแดน ตัดความสัมพันธใดๆ กับทูตของขาศึก แลวรายงานคณะมนตรีสงครามถึงแผนศึก. ¥ เมื่อใดที่ขาศึกเปดโอกาส

จงฉวยเอาความไดเปรียบโดยเร็ว พยายามยึดสิ่งใดก็ตามที่มีคาของขาศึก แลวดําเนินการ ตามวันเวลาที่กําหนดแนนอน และ เปนความลับ. ¥ กฎของสงคราม

อยูที่การติดตามสถานการณ ทางดานขาศึก เพื่อการตัดสินใจเขาทําการรบ.

ฉนั้น เมื่อแรกเริ่ม เอียงอาย ดุจสาวบริสุทธ เมื่อขาศึกเปดชองให ตองวองไวปราดเปรียว ดุจกระตายปา แลวขาศึกจะไมสามารถตานทานทานได. ¥

[[[[[[[[[[[[

- 54 -

๑๒. ไฟ ซุนจูกลาววา ¥ การโจมตีดวยไฟ

มีอยูหาวิธี

ขอแรก เผาคน ขอสอง เผาคลังเสบียง ขอสาม เผายุทโธปกรณ ขอสี่ เผาคลังสรรพาวุธ และขอหา ใชอาวุธลูกไฟตางๆ. ¥ ในการใชเพลิงเผา

จะตองอาศัยสื่อกลางบางอยางดวย.

¥ อุปกรณสําหรับจุดไฟ ¥ การวางเพลิง

ตองมีไวในมืออยูเสมอ.

ตองเลือกเวลาที่เหมาะสม และวันอันสมควร.

¥ เวลาที่เหมาะสม

หมายถึง ขณะเมื่ออากาศรอนอบอาวจัด.

¥ วันอันสมควร

หมายถึง เมื่อดวงจันทรเขาสูราศีกันย เมื่อมีกลุมดาวอัลฟาราทซ กลุมดาวอี้ กลุมดาวเฉิน วันตางๆ เหลานี้ มีลมจัด. ¥ การโจมตีดวยไฟนั้น

ผูใชจะตองพิจารณา ใหสอดคลองกับ การเปลี่ยนแปรของสถานการณ. ¥ เมื่อเพลิงไหมขึ้นในคายของขาศึก

ทันทีนั้น ทานจะประสานการปฏิบัติจากภายนอกของทาน แตถาทหารของขาศึกยังคงสงบ ตองรอเวลาดูทาที อยาเขาตี. ¥ เมื่อไฟลุกโชติชวงแลว

ตามตี ถาทําได

ถาทําไมได ใหคอย. - 55 -

¥ ถาสามารถกอไฟขึ้นภายนอกคายของขาศึกได

ก็ไมจําเปนตองรอใหไฟเริ่มขึ้นขางใน เลือกเวลาจุดไฟใหเหมาะสม. ¥ เมื่อไฟลุกทางดานเหนือลม ¥ วันใดลมจัดตอนกลางวัน

อยาโจมตีจากดานใตลม.

จะอับลมในตอนกลางคืน.

¥ ขาศึกเองก็ยอมรูจักใชไฟโจมตีหาประการ

และรูภาวะที่จะเกิดขึ้น ขาศึกยอมระมัดระวังรอบคอบเสมอ. ¥ ผูที่ใชไฟ

เขาชวยในการโจมตีได ถือวา ฉลาด สวนผูที่สามารถใชน้ําทําลายขาศึกได ถือวา มีอํานาจ. ¥ น้ําสามารถตัดขาศึกใหอยูโดดเดี่ยวได

แตไมสามารถทําลายเสบียงและยุทโธปกรณได. ¥ การชนะขาศึกไดทุกอยางตามความมุงหมาย

แตไมสามารถใชประโยชนได ถือเปนโชคราย และอาจอธิบายไดวา เปนเรื่องลาชาไรประโยชน. ¥ ฉนั้น

จึงกลาวกันวา ผูปกครองที่ฉลาดยอมหารือ เมื่อวางแผน แลวใหแมทัพที่ดี นําไปปฏิบัติ. ¥ ถามิใชเพื่อผลประโยชนของบานเมือง

อยาทํา ถาทําแลว มิอาจสามารถสําเร็จได อยาใชกองทหาร ถาไมตกอยูในอันตราย อยารบ. ¥ ผูมีอํานาจปกครองสูงสุดไมสามารถจัดขบวนศึกได

แมทัพยอมรบไมได เพราะ โมโหชั่วขณะหนึ่ง ผูอยูในอารมณโกรธ อาจเกิดความสบายใจ ผูที่เคืองแคน ก็อาจพึงพอใจ

- 56 -

เพราะ ความเคืองแคน

บานเมืองเมื่อพินาศยอยยับไปแลว ไมอาจซอมแซมไดดังเดิม คนที่ตายแลว ยอมทําใหคืนชีพอีกไมได. ¥ ฉนั้น

ผูปกครองที่ฉลาด จึงมีการตัดสินใจดี แมทัพที่ดี ยอมระวังไมปฏิบัติการฉาบฉวย บานเมืองยอมรักษาไดมั่นคง กองทัพดํารงอยูได. [[[[[[[[[[[[

- 57 -

๑๓. สายลับ ซุนจูกลาววา ¥ เมื่อมีการจัดขบวนศึกดวย

กําลังทหารหนึ่งแสนคน เพื่อสงออกไปทําศึกในระยะไกล คาใชจายที่ตกเปนภาระของประชาชน และการจายจากทองพระคลัง จะตกเปนจํานวน ทองคําวันละหนึ่งพันลิ่ม ความสิ้นเปลืองนี้ จะเปนที่รบกวนตอเนื่องกันไป ทั้งในบานเมืองและตางแดน ประชาชนพากันอิดโรย เพราะตองทํางานลําเลียงขนสง กิจการปรกติของครอบครัวตางๆ จํานวนเจ็ดแสนครอบครัว จะเกิดความขัดของ. ¥ ผูใดที่เผชิญหนากับขาศึก

อยูแรมป โดยหวังตอสู เพื่อชัยชนะขั้นเด็ดขาด ถาผูนั้นตระหนี่ในการใหตําแหนง ใหเกียรติ และใหทองคําสองสามรอยลิ่ม ยังคงไมมีทางลวงรูถึงสถานการณทางดานขาศึกได เขายอมไมรูจักธรรมชาติของมนุษยโดยสิ้นเชิง ยอมเปนแมทัพมิได เกื้อหนุนผูมีอํานาจปกครองแผนดินมิได เปนผูพิชิตมิได. ¥ เหตุผลที่เจานครผูฉลาดและแมทัพผูมีสติปญญา

เอาชนะขาศึกได ไมวาทําศึกเมื่อใด และผลสําเร็จอยูเหนือคนธรรมดาสามัญ คือ รูการณลวงหนา. ¥ ที่เรียกวา

รูการณลวงหนานั้น มิไดหมายถึง การทรงเจาเขาผี หรือเทวดามาบอก หรือจากตํานานเรื่องราวในอดีต หรือมิไดรูโดยการคิดคํานวณ ความรูดังกลาวจะตองไดจาก ผูมีความรูเกี่ยวกับภาวการณของขาศึก. ¥ สายซึ่งใชงานไดมีอยูหาประเภท

คือ สายลับพื้นเมือง สายลับภายใน สายลับสองหนา สายลับกําจัดได สายลับมีชีวิต. ¥ เมื่อสายลับทั้งหาประเภท

ลงมือทํางาน ตางก็ปฏิบัติภารกิจของตนไปพรอมๆ กัน โดยไมมีผูใดลวงรูวิธีหาขาวของสายลับเหลานี้ - 58 -

เขาเรียกคนพวกนี้วา “เทวปกษี” เปนสมบัติมีคาของผูมีอํานาจปกครองสูงสุดในแผนดิน. ¥ สายลับพื้นเมือง

คือ คนทองถิ่นของขาศึก ที่เราเอามาใชงานได. ¥ สายลับภายใน คือ นายทหารของขาศึก ที่เราเอามาใชงานได. ¥ สายลับสองหนา คือ สายลับของขาศึก ที่เรามาใชงานได. ¥ สายลับกําจัดได

คือ สายลับของฝายเรา ที่เราสงเขาไปในดินแดนของขาศึก เพื่อสรางขาวลวงขึ้น. ¥ สายลับมีชว ี ิต

คือ สายลับที่กลับมาได พรอมกับขาว.

¥ ในบรรดาผูอยูใกลชิดผูบัญชาการทัพ

ใครก็ไมสนิทสนมยิ่งไปกวา สายลับ ในบรรดาผูที่ไดรับปูนบําเหน็จรางวัล ใครก็ไมควรไดมากไปกวา สายลับ ในบรรดาเรื่องตางๆ ไมมีเรื่องใดเปนความลับมากกวาเรื่องที่เกี่ยวกับ การสืบราชการลับ. ¥ ผูที่ไมสามารถถึงขั้นเซียน

และมีสติปญญา มีความเปนมนุษย และมีความยุติธรรม จะไมสามารถใชสายลับได ผูที่ไมละเอียดลออ และปราศจากไหวพริบ ก็จะไมสามารถเอาความจริง จากสายลับได. ¥ เปนเรื่องที่จะตอง

ละเอียดถี่ถวนจริงๆ ไมมีที่ใด ที่ไมใช การสืบราชการลับ. ¥ ถาแผนเกี่ยวกับงานสืบราชการลับ

แตกออกเสียกอนจะลงมือกระทําการ ทั้งสายลับและทุกคนที่รูเรื่องราว นําไปพูดถึง จะถูกประหารชีวิตหมด. ¥ โดยทั่วไปนั้น

ในกรณีของกองทัพที่ทานปรารถนาจะเขาตี เมืองที่ทานปรารถนาจะเขาบุก บุคคลที่ทานปรารถนาจะฆาตกรรม ทานตองรูจักชื่อเสียงของ ผูบังคับการนายทหาร ฝายเสนาธิการ นายทหารติดตอ นาย ดาน และ องครักษ ทานตองสั่งการใหสายลับของทาน สืบใหรู เรื่องราวของบุคคลเหลานี้ใหได โดยละเอียด ที่สุด. - 59 -

¥ เปนเรื่องสําคัญที่จะตองคนใหพบ

สายลับของขาศึก ที่มาสืบราชการลับของทาน แลวติดสินบน ใหกลับทํางานเพื่อทาน สั่งงาน แลวดูแลดวยความระมัดระวัง ดวยวิธีนี้ จะไดสายลับสองหนาไวใช. ¥ โดยวิธีการใชสายลับสองหนา

ก็จะจัดหา สายลับภายใน และ สายลับพื้นเมือง มาใชงานได. ¥ และดวยสายลับสองหนา

จะสามารถสง สายลับกําจัดได นําขาวลวง ไปถึงขาศึกได. ¥ ดวยวิธีดังกลาว

จะสามารถ ใชสายลับมีชีวิตไดดวย ในจังหวะอันเหมาะสม. ¥ ผูมีอํานาจปกครองแผนดินสูงสุด

ตองรูทันทุกฝกาว เกี่ยวกับ การปฏิบัติงานของสายลับทั้งหาประเภท ความรูเ ทาทันเหลานี้ ตองมาจากสายลับสองหนา ฉนั้น จึงถือเปนกฎบังคับวา พึงตองปฏิบัติตอ สายลับสองหนา โดยอิสระที่สุด. ¥ สมัยโบราณ

เมืองเอียนเติบโตได เพราะ อี้จิ๊ ซึ่งแตแรกเปนขุนนางเมืองเสีย เมืองโจวเติบโตได เพราะ ลูยู ขุนนางเมืองเอียน. ¥ ฉนัน ้

เจานครผูมีเดชบารมีและแมทัพผูสามารถเทานั้น ที่จะสามารถใชงานคนมีสติปญญามาก เปน สายลับ เพื่อผลสําเร็จของงานใหญได งานราชการลับ เปน เรื่องสําคัญในการทําสงคราม ดวยสายลับ กองทัพไดอาศัย ดําเนินงานศึกไดทุกระยะ. [[[[[[[[[[[[

- 60 -

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF