ครอบคร_ว.pdf

September 25, 2017 | Author: Aoommie Mt | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download ครอบคร_ว.pdf...

Description

As of 30 Sep 2011

1

สรุปสาระสาคัญเฉพาะบางมาตรา (ตามเค้ าโครง) – LA 300 กฎหมายลักษณะครอบครัว (อ.มาตาลักษณ์ / อ.ไพโรจน์ / อ.รัศฎา) สอบวันอังคารที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. หัวเรื่อง/ประเด็น

สาระสาคัญ / องค์ ประกอบ / องค์ ประกอบและผล ผล การหมัน้ (อ.มาตาลักษณ์ )  การหมัน ้ = สัญญาซึ่งฝ่ ายชายทาสัญญากับฝ่ ายหญิงโดยชอบด้ วย กม. เพื่อชายกับหญิงจะได้ ทาการสมรสกันต่อไป โดยการหมันต้ ้ องมีของหมันเสมอ ้  หากยังไม่มีการสมรส(จดทะเบียน) สัญญาหมันก็ ้ ยงั คงมีผลอยู่และบังคับต่อไปได้ เงื่อนไขการหมัน้ เงือ่ นไข เงื่อนไขที่ตกลงกันทัว่ ไปไม่ได้ มีบญ ั ญัตใิ น กม. ทีไ่ ม่ได้  มีเจตนา(การตกลง)ว่าจะสมรสกันต่อไปในอนาคต โดยการแสดงเจตนาต้ องเป็ นไปอย่างเปิ ดเผยและเป็ น บัญญัติ กิจจะลักษณะ ใน กม.  การตกลงหมันต้ ้ องไม่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้ อยและศีลธรรมอันดีของ ปชช. อายุ ๑๔๓๕  การหมันจะท ้ าได้ เมื่อชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปี บริบรู ณ์แล้ ว หากฝ่ าฝื นเงื่อนไขเรื่ องอายุ การหมันตกเป็ ้ นโมฆะ

ความยินยอมในการให้ ผ้ ูเยาว์ กระทาการหมั้น (ผู้ให้ ความ ยินยอม)

ของหมั้น

หมายเหตุ / ความเชื่อมโยง ม. อื่น

มาตรา

๑๔๓๖ การหมันของผู ้ ้ เยาว์ ต้องได้ รับความยินยอมจาก (ตามลาดับ) (๑) บิดาและมารดา ในกรณี ที่มีทงบิ ั ้ ดามารดา (๒) บิดาหรื อมารดา ในกรณี ที่มารดาหรื อบิดาตายหรื อถูกถอนอานาจ ปกครองหรื อไม่อยู่ในสภาพหรื อฐานะที่อาจให้ ความยินยอม หรื อโดย พฤติการณ์ผ้ เู ยาว์ไม่อาจขอความยินยอมจากมารดาหรื อบิดาได้ (๓) ผู้รับบุตรบุญธรรม ในกรณี ที่ผ้ เู ยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม (๔) ผู้ปกครอง ในกรณี ที่ไม่มีบุคคลซึ่งอาจให้ ความยินยอมตาม (๑) (๒) และ (๓) หรื อมีแต่บคุ คลดังกล่าวถูกถอนอานาจปกครอง ๑๔๓๗  เมื่อฝ่ ายชายได้ ส่งมอบหรื อโอนทรัพย์สนิ อันเป็ นของหมันให้ ้ แก่หญิงเพื่อ ว.๑ / ว.๒ เป็ นหลักฐานว่ าจะสมรสกับหญิง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

การหมันที ้ ่ผ้ เู ยาว์ทาโดย ปราศจากความยินยอม ดังกล่าวเป็ นโมฆียะ

การหมันสมบู ้ รณ์ โดยของ หมันตกเป็ ้ นสิทธิแก่หญิง

การแสดงเจตนาดูที่ฝ่ายชาย/ฝ่ ายหญิง (หญิงและ ชายไม่จาเป็ นต้ องยินยอมสัญญาหมันก็ ้ เกิดขึ ้นและ มีผลสมบูรณ์หากครบเงื่อนไข) ต่างกับการสมรสซึ่งหากฝ่ าฝื นเรื่ องอายุ ตกเป็ น โมฆียะ ซึ่งเมื่อการหมันตกเป็ ้ นโมฆะ ต้ องคืนของ หมันในฐานลาภมิ ้ ควรได้ โดยถ้ าไม่สจุ ริตต้ องคืน ทังหมด ้ + ดอกเบี ้ย  การหมันตกเป็ ้ นโมฆียะ ถ้ าบอกล้ างต้ องคืนของ หมันตามหลั ้ กลาภมิควรได้  แต่หากบรรลุนิตภ ิ าวะมาแล้ ว (โดยการแต่งงาน มาก่อน) – ไม่ต้องขอความยินยอมจากบุคคล ตาม ม. นี่



ของหมันเป็ ้ นสาระสาคัญของการหมัน้ – เมื่อขาด ไป ผลคือ “ไม่สมบูรณ์ ” ถือเสมือนว่าสัญญาหมัน้ นันไม่ ้ เกิดขึ ้น (ไม่ใช่เรื่ องโมฆะ/โมฆียะ)

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ประเด็นสาคัญ  ลักษณะของหมัน ้ – เป็ นทรัพย์สนิ เป็ นทรัพย์สนิ ตาม ม.๑๓๘ (มีรูปร่ าง / ไม่มีรูปร่าง) ไม่จาเป็ นต้ องมีราคาแพง แต่ต้อง “มี คุณค่า” และ “ถือเอาได้ ”  ความเป็ นเจ้าของ – ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นของชายคูห ่ มัน้ ทังนี ้ ้กรณียืมทรัพย์สนิ ใช้ หลักใครสุจริตยิ่งกว่าได้ รับความคุ้มครอง  เจ้ าของยินยอม + รู้วา ่ เอาไปเป็ นของหมัน้ = ของตกเป็ นของหญิง (กรณี เดียวทีข่ องตกเป็ นของหญิ งคู่หมัน้ )  เจ้ าของไม่ ยน ิ ยอม = เจ้ าของได้ รับการคุ้มครอง + มีสิทธิตดิ ตามเอาคืน (ม.๑๓๓๖)  เจ้ าของยินยอม + ไม่ ร้ ู วา ่ เอาไปเป็ นของหมัน้ + หญิงไม่สจุ ริต = เจ้ าของได้ รับการคุ้มครอง + มีสทิ ธิตดิ ตามเอาคืน (เปรี ยบเสมือนเจ้าของไม่ยินยอม เนือ่ งจากยังเป็ นความยินยอมทีไ่ ม่บริ สทุ ธิ์ กล่าวคือ เจ้าของทรัพย์ไม่เข้าใจใน สาระสาคัญอันเป็ นผลของการยินยอมนัน้ )  เจ้ าของยินยอม + ไม่ ร้ ู วา ่ เอาไปเป็ นของหมัน้ + หญิงสุจริต = เจ้ าของได้ รับการคุ้มครอง + มีสทิ ธิตดิ ตามเอาคืน  การส่งมอบ – ต้ องมีการส่งมอบหรื อโอนให้ หญิงในวันหมัน ้ (ทังนี ้ ้ กรณีอีกฝ่ ายครอบครองอยู่ก่อนก็อาจถือเป็ นของหมันได้ ้ )  กรณี ไม่ถือเป็ นของหมัน ้ – ส่งมอบเฉพาะทะเบียนของทรัพย์ที่มีทะเบียนในวันหมัน้ / การให้ ทรัพย์สนิ โดยไม่มีเจตนาสมรส กัน / ทรัพย์สนิ ที่หญิงมอบแก่ชาย / ทรัพย์สนิ ที่ตกลงจะให้ แต่มอบภายหลังวันหมัน้ (แต่เป็ นการให้ โดยเสน่หา) ๑๔๓๗  สินสอด เป็ นทรัพย์สินซึ่งฝ่ ายชายให้ แก่บดิ ามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรื อ ทรัพย์ สินประกอบการหมัน้ – ว.๓ สินสอด ผู้ปกครองฝ่ ายหญิง แล้ วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส หนีส้ ินสอด – ถึงกาหนดชาระวัน  ถ้ าไม่มีการสมรสโดย... ทาให้ ชายไม่สมควรหรื อไม่อาจสมรสกับหญิงนัน ้ สมรส แม้สญ ั ญาว่าจะมีการให้กนั  มีเหตุสาคัญอันเกิดแก่หญิง หรื อ เอาไว้ แต่หากไม่มีการสมรสก็ไม่  โดยมีพฤติการณ์ ซึ่งฝ่ ายหญิงต้ องรับผิดชอบ สามารถเรี ยกให้ส่งมอบสินสอดได้

2

สังหาริมทรัพย์  ธรรมดา – ส่งมอบในวันหมัน ้  ชนิดพิเศษ – มีการทาเป็ นหนังสือ จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ต้ องทาใน วันหมัน้ อสังหาริมทรัพย์ – ทาเป็ นหนังสือ จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ต้ องทาใน วัน หมัน้ ทรัพย์มีทะเบียน -- ต้ องส่งมอบทรัพย์สนิ ในลักษณะที่สามารถเข้ าถือครองได้ ไม่ใช่ มอบให้ เฉพาะทะเบียน (การหมัน้ ทรัพย์สินเงินทองไม่ใช่สาระสาคัญ แต่สิ่งสาคัญ คือ การอยู่กินกันฉันท์ สามีภรรยามากกว่า ดังนัน้ ของหมัน้ อาจจะเปลีย่ นจากเดิมทีต่ กลงกันไว้ก็ได้ หาก ฝ่ ายหญิ งยินยอมรับ หรื อหากให้ของไม่ครบแล้วฝ่ ายหญิ งตกลงก็ไม่มีปัญหา)

แม้ วา่ หญิงที่สมรสด้ วยจะยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ แต่หากมีการ สมรสขึ ้น ก็สามารถบังคับให้ ฝ่ายชายต้ องมอบสินสอดให้ บดิ า ฝ่ ายชายเรี ยก มารดาของฝ่ ายหญิงได้ สินสอดคืนได้  สัญญากู้ – ไม่สามารถเอามาเป็ นของหมัน้ แต่สามารถเอา มาเป็ นสินสอดได้ เนื่องจากไม่มีการส่งมอบระหว่างการหมัน้ และไม่มีมลู หนี ้ระหว่างกันอย่างแท้ จริง (ฎ.๑๘๕๒/๒๕๐๖) การคืนของหมัน้ และสินสอด (สุจริ ตก็คืนเท่าที ่มีอยู่ ถ้าไม่สจุ ริ ตก็ตอ้ งคืนทัง้ หมด + ดอกเบีย้ ) ว.๔  การคืนของหมัน้ / สินสอด นาหลักลาภมิควรได้ มาบังคับใช้ โดยอนุโลม กรณีหญิงไม่ ต้องคืนของหมั้น กรณีหญิงต้ องคืนของหมั้น  เมื่อชายผิดสัญญาหมัน ้ (ม.๑๔๓๙)  เมื่อหญิงผิดสัญญาหมัน ้ ม.๑๔๓๙  ชาย/หญิงเสียชีวต ิ ก่อนสมรส (ม.๑๔๔๑)  ชายบอกเลิกสัญญาหมัน ้ ม.๑๔๔๒ และ ม.๑๔๔๔  หญิงบอกเลิกสัญญาหมัน ้ (ม.๑๔๔๓ และ ม.๑๔๔๔) (เหตุเกิดแก่ชายคูห่ มัน้ / ประพฤติชวั่ อย่างร้ ายแรง)  หญิงคูห ่ มันร่ ้ วมประเวณีกบั ผู้อื่นโดยสมัครใจ และชายใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน้ ม.๑๔๔๕  ชาย/หญิงปล่อยปละละเลย / ไม่ประสงค์จดทะเบียนสมรส / ตกลงกันจะไม่จดทะเบียนสมรส (มีเจตนาแต่  หญิงคูห ่ มันถู ้ กข่มขืนหรื อพยายามข่มขืน และชายใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน้ ม.๑๔๔๖ แรก) หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก



สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ผลของสัญญาหมัน้

การสิน้ สุดของสัญญาหมัน้ โดยผลของ กม.  กรณี มีการสมรส / บอกล้ าง 

การตายของคูห่ มัน้

โดยการบอกเลิกสัญญาหมั้น  มีเหตุสาคัญอันเกิดแต่หญิง คูห่ มัน้ 



มีเหตุสาคัญอันเกิดแต่ชายคูห่ มัน้ คูห่ มันฝ่ ้ ายใดฝ่ ายหนึ่งกระทาชัว่ อย่างร้ ายแรง (เป็ นการบอกเลิก สัญญาหมัน้ โดยผลของ กม.)

3

การผูกพันคู่สญ ั ญาหมัน้ (บุคคลภายนอกเป็ นไม่ได้ )  ชาย/หญิง บรรลุนิตภ ิ าวะ – เป็ นคูส่ ญ ั ญาเองได้  ชาย/หญิง ผู้เยาว์อายุ ๑๗ ปี – ไม่ได้ รับความยินยอม – ผูกพันชาย/หญิง (โมฆียะ)  ชาย/หญิง ผู้เยาว์อายุ ๑๗ ปี – ได้ รับความยินยอม – ผูกพันชาย/หญิง และฝ่ ายที่เข้ าทาสัญญา  ชาย/หญิง ผู้เยาว์อายุ ๑๗ ปี –ฝ่ ายชายกับฝ่ ายหญิงทาสัญญา โดยชายหญิงยินยอมแต่ไม่ได้ เข้ าทาสัญญา – ผูกพันทุกฝ่ ายรวมชายหญิง  ชาย/หญิง ผู้เยาว์อายุ ๑๗ ปี –ฝ่ ายชายกับฝ่ ายหญิงทาสัญญา โดยชายหญิงไม่ยินยอม – ไม่ผก ู พันชายหญิง แบ่งเป็ น ๒ ประเภท ได้ แก่ โดยความยินยอม และ โดยผลของ กม. ๑๔๓๖ โดยต้ องดูวา่ ผู้บอกล้ างมีสทิ ธิให้ ความยินยอมหรื อไม่ ๑๔๔๑  ถ้ าคูห่ มันฝ่ ้ ายหนึ่งตายก่อนสมรส (ผลคือ สัญญาหมัน้ สิ้ นสุดลง)  อีกฝ่ ายหนึ่งจะเรี ยกร้ องค่าทดแทนไม่ได้  ส่วนของหมันหรื ้ อสินสอด ไม่วา่ ชายหรื อหญิงตาย  หญิงหรื อฝ่ ายหญิงไม่ต้องคืนให้ แก่ฝ่ายชาย ๑๔๔๒  กรณีมเี หตุสาคัญเกิดแก่ตวั หญิง ชายมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน้  ม.๑๔๔๒ และ ม.๑๔๔๓ เรี ยกค่ าทดแทนไม่ ได้ คูห่ มัน้ + หญิงต้ องคืนของหมันแก่ ้ ชาย  ต้ องเป็ นกรณีที่เกิดกับตัวหญิง/ชายคูห่ มันเท่ ้ านัน้ (เกิดกับพ่อแม่ไม่เกี่ยว)  ทาให้ ชายไม่สมควรสมรสกับหญิงนัน ้  “เหตุสาคัญ” คือ เหตุที่จะกระทบกระเทือนต่อการใช้ ชีวิตอยู่ร่วมกันฉันท์สามี ๑๔๔๓  กรณีมเี หตุสาคัญเกิดแก่ตวั ชายคูห่ มัน้ หญิงมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน้ ภรรยาอย่างสงบสุข โดยการจะบอกเลิกได้ ต้องถึง “ขนาด” หรื อ “ระดับ” โดย  ทาให้ หญิงไม่สมควรสมรสกับชายนัน ้ + หญิงไม่ต้องคืนของหมันแก่ ้ ชาย พิจารณาจากหลักวิญญูชน – เทียบเหตุหย่ า ม.๑๕๑๖ (๒) – (๑๐) ๑๔๔๔ องค์ประกอบ คูห่ มันผู ้ ้ กระทาชั่วอย่างร้ ายแรงต้ อง “ประพฤติชวั่ อย่างร้ ายแรง” – เทียบเหตุหย่ า (๒)  มีการกระทาชัว ่ อย่างร้ ายแรงของคูห่ มันอี ้ กฝ่ ายหนึ่ง รับผิดใช้ ค่าทดแทนแก่คหู่ มันผู ้ ้ ใช้  ฝ่ ายใดบอกเลิกก็ได้ โดยต้ องใช้ สท ิ ธิในการบอกเลิกก่อน จึง  การกระทานันได้ ้ กระทาภายหลังการหมัน้ สิทธิบอกเลิกสัญญาหมัน้ เสมือนเป็ น จะเรี ยกค่าทดแทนได้ ทังนี ้ ้ การใช้ สทิ ธิต้องเป็ นไปอย่างสุจริต ผู้ผดิ สัญญาหมัน้ ด้ วย

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

เหตุหย่ าตาม ม.๑๕๑๖ แบ่งออกเป็ น ๔ กลุม่ ได้ แก่  สัมมาอาชีวะ  ความพิการของร่ างกาย  การประพฤติไม่เหมาะสมใน ทางเพศ  พฤติกรรมส่วนตัวที่ไม่เหมาะสม

กรณีผิดสัญญาตาม ม.๑๔๓๙ (เป็ นการผิ ดสัญญาหมัน้ โดยแท้ คือ การไม่สมรสโดยไม่มีเหตุสาคัญอัน จะอ้างตาม กม. ได้) กรณีผิดสัญญาตาม ม.๑๔๔๔ (เป็ นการผิ ดสัญญาหมัน้ โดยผลของ กม. คือ การทาชัว่ อย่างร้ายแรงของ คู่หมัน้ )

4

(๑) สามีหรื อภริยาอุปการะเลี ้ยงดูหรื อยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรื อสามี เป็ นชู้หรื อมีช้ ู หรื อร่วมประเวณีกบั ผู้อื่นเป็ นอาจิณ (๒) สามีหรือภริยาประพฤติช่วั ไม่ ว่าความประพฤติช่วั นั้นจะเป็ นความผิดอาญาหรือไม่ ถ้ าเป็ นเหตุให้ อีกฝ่ ายหนึ่ง (ก) ได้ รับความอับอายขายหน้ าอย่างร้ ายแรง (ข) ได้ รับความดูถูกเกลียดชังเพราะเหตุที่คงเป็ นสามีหรือภริยาของฝ่ ายที่ประพฤติชั่วอยู่ต่อไป หรือ (ค) ได้ รับความเสียหายหรือเดือดร้ อนเกินควร ในเมื่อเอาสภาพ ฐานะและความเป็ นอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยามาคานึงประกอบ (๓) สามีหรื อภริยาทาร้ าย หรื อทรมานร่างกายหรื อจิตใจ หรื อหมิน่ ประมาทหรื อเหยียดหยามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อบุพการี ของอีกฝ่ ายหนึ่ง ทังนี ้ ้ ถ้ าเป็ นการร้ ายแรง (๔) สามีหรื อภริยาจงใจละทิ ้งร้ างอีกฝ่ ายหนึ่งไปเกิน ๑ ปี อีกฝ่ ายหนึ่งนันฟ ้ ้ องหย่าได้ (๔/๑) สามีหรื อภริยาต้ องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาคุก และได้ ถกู จาคุกเกิน ๑ ปี ในความผิดที่อีกฝ่ ายหนึ่งมิได้ มีสว่ นก่อให้ เกิดการกระทาความผิดหรื อยินยอมหรื อรู้เห็นเป็ นใจ ในการกระทาความผิดนันด้ ้ วย และการเป็ นสามีภริยากันต่อไปจะเป็ นเหตุให้ อีกฝ่ ายหนึ่งได้ รับความเสียหายหรื อเดือนร้ อนเกินควร (กรณี รองลงทัณฑ์ไม่เข้า ม.นี)้ (๔/๒) สามีและภริยาสมัครใจแยกกันอยู่เพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้ โดยปกติสขุ ตลอดมาเกิน ๓ ปี หรื อแยกกันอยู่ตามคาสัง่ ของศาลเป็ นเวลาเกิน ๓ ปี (๕) สามีหรื อภริยาถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนสาบสูญ หรื อไปจากภูมลิ าเนาหรื อถิ่นที่อยู่เป็ นเวลาเกินสามปี โดยไม่มีใครทราบแน่วา่ เป็ นตายร้ ายดีอย่ างไร (๖) สามีหรื อภริยาไม่ให้ ความช่วยเหลืออุปการะเลี ้ยงดูอีกฝ่ ายหนึ่งตามสมควรหรื อทาการเป็ นปฏิปักษ์ตอ่ การที่เป็ นสามีหรื อภริยากันอย่างร้ ายแรง ทังนี ้ ้ ถ้ าการกระทานันถึ ้ ง ขนาดที่อีกฝ่ ายหนึ่งเดือดร้ อนเกินควรในเมื่อเอาสภาพ ฐานะและความเป็ นอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยามาคานึงประกอบ (๗) สามีหรื อภริยาวิกลจริตตลอดมาเกิน ๓ ปี และความวิกลจริตนันมี ้ ลกั ษณะยากจะหายได้ กับทังความวิ ้ กลจริตถึงขนาดที่จะทนอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาต่อไปไม่ได้ (๘) สามีหรื อภริยาผิดทัณฑ์บนที่ทาให้ ไว้ เป็ นหนังสือในเรื่ องความประพฤติ (เป็ นทัณฑ์บนทีท่ าหลังสมรสเท่านัน้ จะเป็ นทีท่ าก่อนสมรสไม่ได้) (๙) สามีหรื อภริยาเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ ายแรงอันอาจเป็ นภัยแก่อีกฝ่ ายหนึ่งและโรคมีลกั ษณะเรื อ้ รังไม่มีทางที่จะหายได้ (ปัจจุบนั คือ โรคเอดส์เท่านัน้ ) (๑๐) สามีหรื อภริยามีสภาพแห่งกาย ทาให้ สามีหรื อภริ ยานันไม่ ้ อาจร่วมประเวณีได้ ตลอดกาล ๑๔๓๙ หลักเกณฑ์  เมื่อมีการหมันแล้ ้ ว (ต้องดูว่ามีการหมัน้ ครบ อปก. หรื อไม่ก่อน) อีกฝ่ ายหนึ่งมีสทิ ธิเรี ยกให้ ในกรณีที่ฝ่ายหญิงเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาหมัน้  ถ้ าฝ่ ายใดผิดสัญญาหมัน ้ รับผิดใช้ ค่าทดแทน ผลคือ หญิงต้ องคืนของหมันแก่ ้ ฝ่ายชาย ๑๔๔๔ องค์ประกอบ  มีการกระทาชัว ่ อย่างร้ ายแรงของคูห่ มันอี ้ กฝ่ ายหนึ่ง  การกระทานันได้ ้ กระทาภายหลังการหมัน้

คูห่ มันผู ้ ้ กระทาชั่วอย่างร้ ายแรงต้ องรับผิดใช้ ค่าทดแทนแก่คหู่ มันผู ้ ้ ใช้ สทิ ธิบอกเลิก สัญญาหมัน้ เสมือนเป็ นผู้ผดิ สัญญาหมัน้ (เหตุเรี ยกค่าทดแทนเพราะผิดสัญญาหมัน้ มี เฉพาะ กรณี ม.๑๔๔๔ และ ม. ๑๔๓๙ เท่านัน้ โดยใช้ประกอบ ม.๑๔๔๐)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ค่ าทดแทนเมื่อผิดสัญญา  ค่าทดแทนที่เรี ยกได้ จากการผิด สัญญาหมัน้

สิทธิเฉพาะตัว





ค่าทดแทนจากผู้อื่นซึ่ง ได้ ร่วมประเวณีกบั คูห่ มัน้

ค่าทดแทนจากผู้อื่นซึ่งได้ ข่มขืน/ พยายามข่มขืนคูห่ มัน้

หลักของค่ าทดแทน สิทธิเรียกร้ อง  กรณี เป็ นสิทธิเฉพาะตัว

5

๑๔๔๐ ค่าทดแทนที่อาจเรี ยกได้ ได้ แก่ ม.๑๔๔๐ ว.๒ – กรณีที่หญิงเป็ นผู้มีสทิ ธิได้ คา่ ทดแทน ศาลอาจวินิจฉัยเกี่ยวกับ (๑) ความเสียหายต่อกายหรื อชื่อเสียงของชายหรื อหญิงนัน้ ของหมัน้ ดังนี ้ (กาย – ปัจจุบนั เรี ยกได้เฉพาะหญิ ง / ชื ่อเสียง – เรี ยกได้ทงั้ ๒ ฝ่ าย)  ให้ ของหมันที ้ ่ตกเป็ นสิทธิแก่หญิงนันเป็ ้ นค่าทดแทนทังหมด ้ (๒) ค่าใช้ จ่าย/การต้ องตกเป็ นลูกหนี เ้ นื่องจากเตรี ยมการสมรสโดยสุจริ ต  ให้ ของหมันที ้ ่ตกแก่หญิงเป็ นส่วนหนึ่งของค่าทดแทนที่หญิงพึงได้ รับ และตามสมควร (เป็ นค่าใช้จ่ายของตัวคู่หมัน้ / พ่อแม่คู่หมัน้ / ผูท้ าการ  ให้ คา่ ทดแทนโดยไม่คานึงถึงของหมันที ้ ่ตกเป็ นสิทธิแก่หญิงนัน้ ในฐานะพ่อแม่คู่หมัน้ โดยแนว ฎ. ให้ค่าใช่ จ่ายโดยตรงทีเ่ กี ่ยวข้องกับ ข้อสังเกต การสมรส ๓ ประเภท ได้แก่ ค่าซื ้อทีน่ อนหมอนมุง้ เครื ่องครัว / ค่า  ค่าถ่ายภาพแต่งงาน จองโรงแรม เลี ้ยงพระ แนว ฎ. มองว่าไม่ใช่สง ิ่ ที่เรี ยกได้ แต่ ตกแต่งเรื อนหอ / ค่าใช้จ่ายในเรื ่องชุดแต่งงาน) อ.ไพโรจน์/อ.ประสบสุขมองว่าควรเรี ยกได้ (ต้องดูกนั ต่อไป) (๓) การที่คห ู่ มันได้ ้ จดั การทรัพย์สนิ /การอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทามา  “โดยสุจริตและตามสมควร” = จ่ายไปโดยเชื่อได้ วา่ จะมีการสมรสจริ ง หาได้ ของตนไปโดยสมควรด้ วยการคาดหมายว่าจะได้ มีการสมรส ๑๔๔๕ องค์ประกอบ  นอกจากนัน ้ คูห่ มันฝ่ ้ ายที่ไม่ผดิ มีสทิ ธิเรี ยกค่า  ต้ องการร่ วมประเวณี กบ ั คูห่ มัน้ ชาย/หญิงคูห่ มันมี ้ สทิ ธิเรี ยก ทดแทนจากคูห่ มันฝ่ ้ ายที่ไปร่ วมประเวณีกบั ผู้อื่น  บุคคลดังกล่าวกระทาโดยรู้หรื อควรจะรู้ถึงการหมัน ้ (โจทก์ มีภาระพิสูจน์) ค่าทดแทนจากผู้ซึ่งได้ ร่วม ได้ ด้วย  คูห ่ มันฝ่ ้ ายที่ไม่ผดิ ต้ องใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมันก่ ้ อน (ตาม ม.๑๔๔๑ ประเวณีกบั คูห่ มันของตน ้  การบอกเลิกสัญญาโดยอาศัย ม.๑๔๔๒ หรื อ ม.๑๔๔๓ และเป็ นการใช้สิทธิ โดยสุจริ ต) ประกอบ ม.๑๔๔๔ และ ม.๑๔๔๐ ๑๔๔๖ องค์ประกอบ ชาย/หญิงคูห่ มันมี ้ สทิ ธิเรี ยก  แต่ คหู่ มันฝ่ ้ ายที่ไม่ผดิ ไม่สามารถเรี ยกค่าทดแทน  ต้ องมีการข่มขืนกระทาชาเราหรื อพยายามข่มขืนกระทาชาเรากับคูห ่ มัน้ ค่าทดแทนจากผู้ซึ่งได้ ขม่ ขืน จากคูห่ มันฝ่ ้ ายที่ถกู ข่มขืนกระทาชาเราได้ (เพราะ (โดยคู่หมัน้ ไม่สมัครใจ) กระทาชาเราหรื อพยายาม ไม่ใช่ความผิดของฝ่ ายนัน) ้ แม้ วา่ ต่อมาจะได้ มี  บุคคลดังกล่าวกระทาโดยรู้หรื อควรจะรู้ถึงการหมัน ้ (โจทก์ มีภาระพิสูจน์) ข่มขืนกระทาชาเราคูห่ มัน้ การใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมันก็ ้ ตาม  คูห ่ มันฝ่ ้ ายที่ไม่ผดิ ไม่จาเป็ นต้ องบอกเลิกสัญญาหมันก่ ้ อน ของตน ๑๔๔๗ โดยหลัก ต้ องมีความผิด และ ความเสียหาย จึงเรี ยกค่าทดแทนได้ ว.๑  ค่าทดแทนอันจะพึงชดใช้ แก่กนั ตามหมวดนี ้ ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ ว.๒  ม.๑๔๔๐ (๑) – ความเสียหายต่อกายหรื อชื่อเสียงของชายหรื อหญิงนัน้  ม.๑๔๔๐ (๓) – การที่ได้ จด ั การทรัพย์สนิ หรื อการอันเกี่ยวแก่อาชีพหรื อทางทามาหาได้ ของตนไปโดยสมควรด้ วยการคาดหมายว่าจะได้ มีการสมรส  ม.๑๔๔๕ – ค่าทดแทนจากผู้อื่นซึ่งได้ ร่วมประเวณี กบ ั คู่หมัน้  ม.๑๔๔๖ – ค่าทดแทนจากผู้อื่นซึ่งได้ ขม ่ ขืน/พยายามข่มขืนคูห่ มัน้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

กรณีที่ไม่เป็ นสิทธิเฉพาะตัว

อายุความฟ้องร้ อง  กรณี การเรี ยกคืนของหมัน ้  กรณี การเรี ยกค่าทดแทน

เงื่อนไขการสมรส ฝ่ าฝื น – การสมรสตกเป็ นโมฆะ/ โมฆียะ (เป็ นการที่ กม.ลงโทษ) เงื่อนไขเกี่ยวกับความยินยอม  ความยินยอมของชายหญิงที่จะ ทาการสมรส



ความยินยอมของผู้แทนโดยชอบ ธรรมกรณีผ้ เู ยาว์ทาการสมรส (หากบรรลุนิติภาวะเพราะเคย สมรสแล้ว ก็ไม่ตอ้ งพิจารณา ม. นี)้

6

ว.๒

ม.๑๔๔๐ (๒) – ค่าใช้ จ่ายหรื อการที่ต้องตกเป็ นลูกหนีเ้ นื่องจากเตรี ยมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร (เนือ่ งจากเป็ นค่าใช้จ่ายของตัวคู่หมัน้ / พ่อแม่คู่หมัน้ / ผูท้ าการในฐานะพ่อแม่คู่หมัน้ ซึ่งได้ออกไป) อายุความฟ้องร้ อง กรณีการเรียกคืนของหมั้น (ม.๑๔๔๗/๒) การผิดสัญญาหมัน้ (ม.๑๓๓๙) (ไม่สมรสโดยไม่มีมูลจะอ้างตาม กม.ได้) ภายใน ๖ เดือน นับแต่ผดิ สัญญาหมัน้ การบอกเลิกสัญญาหมัน้ (ม.๑๔๔๒) (เหตุสาคัญอันเกิ ดแต่หญิ งคู่หมัน้ ) ภายใน ๖ เดือน นับแต่บอกเลิกสัญญาหมัน้ อายุความฟ้องร้ อง กรณีการเรียกค่ าทดแทน (ม.๑๔๔๗/๑) การผิดสัญญาหมัน้ (ม.๑๓๓๙) (ไม่สมรสโดยไม่มีมูลจะอ้างตาม กม.ได้) ภายใน ๖ เดือน นับแต่ผดิ สัญญาหมัน้ กรณีประพฤติชวั่ อย่างร้ ายแรง (ม.๑๔๔๔) ภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ชายหรื อหญิงคูห่ มัน้ รู้หรื อควรรู้ถึงการกระทาของ การร่วมประเวณี (ม.๑๔๔๕) ผู้อื่นอันจะเป็ นเหตุให้ เรี ยกค่าทดแทนและรู้ตวั ผู้จะพึงใช้ คา่ ทดแทนนัน้ การข่มขืนกระทาชาเรา (ม.๑๔๔๖) แต่ ต้องไม่เกิน ๕ ปี นบั แต่วนั ที่ผ้ อู ื่นนันได้ ้ กระทาการดังกล่าว การสมรส (อ.ไพโรจน์ )  การสมรสสิ ้นสุดลงด้ วยความตาย การาหย่า และคาพิพากษาของศาล (ม.๑๕๐๑)  กรณี การสมรสที่ มีเหตุเป็ นโมฆะ แม้ ว่าจะตายไปแล้ ว ความโมฆะของการสมรสก็ยง ั ไม่สิ ้นสุดลง (ต้ องให้ ศาลสัง่ เท่านัน) ้ (ฎ.๓๘๙๘/๒๕๔๘)  เว้ นแต่ กรณี ที่การสมรสซ้ อน ซึ่งบุคคลผู้มีสว ่ นได้ เสียสามารถยกขึ ้นกล่าวอ้ างความสูญเปล่าได้ (ม.๑๔๙๗) (เพือ่ ไม่ให้ตอ้ งเสียเวลาไปขึ้นศาล) คูส่ มรสต้ องยินยอมสมัครใจ ๒ ระดับ คือ สมัครใจในการจดทะเบียนสมรส และ มีเจตนา/ความต้ องการที่จะใช้ ชีวติ อยู่กินเป็ นสามีภรรยากับอีกฝ่ าย ๑๔๕๘ การสมรสจะทาได้ ตอ่ เมื่อ การฝ่ าฝื นความยินยอมของ ข้ อสังเกต – การสมรสตามความเห็นชอบของพ่อแม่  ชายหญิงยินยอมเป็ นสามีภริ ยากัน ชายหญิง การสมรสตกเป็ น หรื อตามใจพ่อแม่ ยังไม่เพียงพอจะบอกได้ วา่ ชาย โมฆะ  แสดงการยินยอมนันให้ ้ ปรากฏโดยเปิ ดเผยต่อหน้ านายทะเบียน และหญิงไม่ยินยอมสมรสกัน  ให้ นายทะเบียนบันทึกความยินยอมนันไว้ ้ ๑๔๕๔  ผู้เยาว์จะทาการสมรสต้ องได้ รับความยินยอมจาก หากฝ่ าฝื น การสมรส (นา ม. (๑) บิดาและมารดา ในกรณี ที่มีทงบิ ั ้ ดามารดา ตกเป็ นโมฆียะ ๑๔๓๖ (๒) บิดาหรื อมารดา ในกรณี ที่มารดาหรื อบิดาตายหรื อถูกถอนอานาจปกครองหรื อไม่อยู่ในสภาพหรื อฐานะที่อาจให้ ความยินยอม มาใช้ หรื อโดยพฤติการณ์ผ้ เู ยาว์ไม่อาจขอความยินยอมจากมารดาหรื อบิดาได้ อนุโลม) (๓) ผู้รับบุตรบุญธรรม ในกรณีที่ผ้ เู ยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม (๔) ผู้ปกครอง ในกรณี ที่ไม่มีบุคคลซึ่งอาจให้ ความยินยอมตาม (๑) (๒) และ (๓) หรื อมีแต่บุคคลดังกล่าวถูกถอนอานาจปกครอง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

แบบของการให้ ความยินยอม

๑๔๕๕

หากผู้เยาว์ไม่ได้ รับการยินยอม ๑๕๕๑ จากผู้มีอานาจให้ ความยินยอม เงื่อนไขเกี่ยวกับอายุ ๑๔๔๘ 



การเพิกถอนการสมรสที่ฝ่าฝื น เงื่อนไขเรื่ องอายุ

๑๕๐๔ ว.๑

๑๕๐๔ ว.๒ เงื่อนไขเกี่ยวกับความสงบ เรียบร้ อยและศีลธรรมอันดี  การสมรสกับคนวิกลจริ ต / คนที่ ๑๔๔๙ ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ 

การสมรสกับญาติสืบสายโลหิต

7

แบบของความยินยอม (ลงลายมือชื ่อขณะจดทะเบียนสมรส / ทาเป็ นหนังสือแสดงความยินยอมระบุชื่อ คู่สมรส ๒ ฝ่ ายและลงลายมือชื ่อ / เมือ่ มีเหตุจาเป็ น ให้ความยินยอมต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน ) จะถอนความยินยอมไม่ได้  เมื่อผู้แทนโดยชอบธรรมเมื่อให้ ความยินยอมแล้ ว เมื่อผู้มีอานาจไม่ ให้ ความยินยอม / มีแต่ ไม่ ให้ ความยินยอม / ไม่ อยู่ใน ผู้เยาว์อาจร้ องขอต่อศาลให้ กม. เปิ ดช่องโดยต้ องมีเหตุอนั สมควร อาทิ ท้ องก่อน สภาพให้ ความยินยอม / โดยพฤติการณ์ ไม่ สามารถให้ ความยินยอม มีการสมรสได้ แต่ง หรื อต้ องรี บไปเรี ยนต่อต่างประเทศ  การสมรสจะทาได้ ตอ ่ เมื่อชายและ  การฝ่ าฝื นเกณฑ์อายุ การ  หญิงจะสมรสตาม ม.นี ้ ต้ องอายุเกิน ๑๓ ปี เพื่อไม่ให้ ขด ั กับ ป.อ. ม.๒๗๗ หญิงมีอายุ ๑๗ ปี บริบรู ณ์แล้ ว สมรสตกเป็ นโมฆียะ  “เหตุอน ั สมควร” อาทิ หญิงมีครรภ์เมื่ออายุก่อน ๑๗ ปี อันจะทาให้ เด็กที่คลอด  ในกรณี ที่มีเหตุอน ั สมควร  ศาลอาจอนุญาตให้ ทาการ ออกมาจะมีบดิ าโดยชอบด้ วย กม. และหาก ๒ ฝ่ ายอาจจะมีงานทาแล้ ว สามารถ สมรสก่อนนันได้ ้ เลี ้ยงดูเด็กที่จะเกิดมาได้  การสมรสที่เป็ นโมฆียะเพราะฝ่ าฝื น  ผู้มีสว ่ นได้ เสียขอให้ เพิกถอน ข้อสังเกต - อ.ไพโรจน์มองว่า ว.๑ ส่วนท้ าย – กรณีพอ่ แม่จาเดือนปี เกิดลูก ม. ๑๔๔๘ (เงือ่ นไขเรื ่องอายุ ๑๗ ปี ) การสมรสได้ คลาดเคลื่อน คิดว่าอายุครบ ๑๗ ปี แล้ ว หรื อรู้วา่ ลูกอายุไม่ครบ ๑๗ ปี แต่มีปัญหา  บิดามารดาหรื อผู้ปกครองที่ให้ ความ  จะขอให้ เพิกถอนการสมรส กับฝ่ ายหญิง (ตังครรภ์ ้ ) จึงต้ องสมรส โดยบุตรบอกว่าจะไปปลอมบัตรประชาชน ยินยอมแล้ ว ไม่ได้ เอง ดังนัน้ การที่ให้ ความยินยอมไปแล้ วก็อาจจะเพิกถอนได้  ถ้ าศาลมิได้ สงั่ ให้ เพิกถอนการสมรส และ ให้ ถือว่าการสมรสสมบูรณ์ การมีผลย้ อนหลังเพื่อเป็ นการคุ้มครองเด็กที่เกิด  ต่อมาชายหญิงมีอายุครบ ๑๗ ปี หรื อ เมื่อหญิงมีครรภ์ก่อนอายุครบ ๑๗ มาตังแต่ ้ เวลาสมรส ดังนัน้ จึงไม่ต้องไปจดทะเบียนสมรสอีกครัง้ ปี 

ชายหรื อหญิงเป็ นบุคคลวิกลจริต  หรื อเป็ นบุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ ๑๔๕๐ ชายและหญิงซึ่ง  เป็ นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ ้นไปหรื อลงมา  เป็ นพี่น้องร่ วมบิดามารดา  เป็ นพี่น้องร่ วมแต่บด ิ าหรื อมารดา ทังนี ้ ้ ความเป็ นญาติถือตามสายโลหิต (ข้อเท็จจริ ง) โดยไม่คานึงว่าจะเป็ น ญาติโดยชอบด้ วย กม.หรื อไม่ 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

จะทาการสมรสกันไม่ได้ หากฝ่ าฝื น ตกเป็ นโมฆะ จะทาการสมรสกันไม่ได้ หากฝ่ าฝื น ตกเป็ นโมฆะ

คนไร้ ความสามารถ แม้ จะกลับมาเป็ นคนมีความ สามารถแต่ศาลยังไม่ได้ สงั่ ให้ ถอนสถานะคนไร้ ความสามารถ เมื่อจดทะเบียนสมรสก็เป็ นโมฆะ  อากับหลานไม่อยู่ในข้ อห้ ามนี ้  ลูกโดยสายโลหิตของพ่อผู้รับบุตรบุญธรรมสมรส กับบุตรบุญธรรมก็สามารถทาได้

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

การสมรสระหว่างผู้รับบุตรบุญ ๑๔๕๑ ธรรมกับบุตรบุญธรรม ๑๔๕๒  การสมรสซ้ อน ๑๔๙๗  การเพิกถอนทะเบียนการ สมรสซ้ อน เงื่อนไขเกี่ยวกับการแสดงเจตนา  การสมรสโดยสาคัญผิดตัวคู่ ๑๕๐๕ สมรส (กรณี การผิดฝาผิดตัวเลย) 



การสมรสโดยถูกกลฉ้ อฉล

๑๕๐๖ ว.๑ ว.๒



 

  

 

ว.๓ 

การสมรสโดยถูกข่มขู่

๑๕๐๗ ว.๑ ว.๒



บุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม ชายหรื อหญิงในขณะที่ตนมีคสู่ มรสอยู่ การสมรสที่เป็ นโมฆะ เพราะฝ่ าฝื น ม.๑๔๕๒ (การสมรสซ้อน)

การสมรสที่ได้ กระทาไปโดยคู่สมรสฝ่ ายหนึ่งสาคัญผิดตัวคูส่ มรส การใช้ สทิ ธิขอเพิกถอนการสมรสเพราะสาคัญผิดตัวคู่สมรส ถ้ าคูส่ มรสได้ ทาการสมรส + เพราะถูกกลฉ้ อฉลอันถึงขนาด + ซึ่งถ้ ามิได้ มี กลฉ้ อฉลนันจะไม่ ้ ทาการสมรส กรณีกลฉ้ อฉลเกิดขึ ้นโดยบุคคลที่สาม โดยคูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งไม่ได้ ร้ ูเห็นด้ วย การใช้ สทิ ธิขอเพิกถอนการสมรสเพราะถูกกลฉ้ อฉล

ถ้ าคูส่ มรสได้ ทาการสมรส + เพราะถูกข่มขูอ่ นั ถึงขนาด + ซึ่งถ้ ามิได้ มีกล ข่มขูน่ นจะไม่ ั้ ทาการสมรส  การใช้ สท ิ ธิขอเพิกถอนการสมรสเพราะถูกข่มขู่ 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

8

จะทาการสมรสกันไม่ได้ หากฝ่ าฝื น ตกเป็ นโมฆะ จะทาการสมรสกันไม่ได้ หากฝ่ าฝื น การสมรสครัง้ หลังตกเป็ นโมฆะ  บุคคลผู้มีสว ่ นได้ เสียคนใดคนหนึ่งจะกล่าวอ้ างขึ ้น หรือ  จะร้ องขอให้ ศาลพิพากษาว่าการสมรสเป็ นโมฆะก็ได้ การสมรสนันเป็ ้ นโมฆียะ  ภายใน ๙๐ วันนับแต่วน ั สมรส การสมรสนันเป็ ้ นโมฆียะ กลฉ้ อฉลต้ อง “ถึงขนาด” ว่าหากรู้ความจริงก็จะไม่ มีการจดทะเบียนสมรส อาทิ การมาหลอกว่าเด็กใน ท้ องเป็ นลูกของชายและต้ องการให้ ชายแต่งงาน การสมรสไม่ เป็ นโมฆียะ ทังๆ ้ ที่ไม่ใช่ลกู ของชายนัน้  ภายใน ๙๐ วันนับแต่วน ั ที่ร้ ูหรื อควรได้ ร้ ูถึงกลฉ้ อฉล หรื อ  ไม่เกิน ๑ ปี นับแต่วน ั สมรส การสมรสนันเป็ ้ นโมฆียะ 



ภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ที่พ้นจากการข่มขู่ (เริ่ มนับตัง้ แต่วนั ทีพ่ น้ จากภัย)

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

9

ข้ อห้ ามมิให้ นายทะเบียนทาการจดทะเบียน ฝ่ าฝื น – การสมรสก็ยงั สมบูรณ์ (แต่จะมีผลทาง กม. บางอย่างเกิดขึ ้นแทน) สมรสกับบุตรบุญธรรม ๑๕๕๑  ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม  จะสมรสกันไม่ได้  หากฝ่ าฝื น  การรับบุตรบุญธรรมเป็ นอันยกเลิก (เปลี ย ่ นสถานะเป็ นสามีภรรยา ตาม ม.๑๕๙๘/๓๒) หญิงที่การสมรสสิ้นสุดลงไม่ เกิน ๑๔๕๓  หญิงที่สามีตาย หรือ  จะสมรสใหม่ได้ ตอ ่ เมื่อการ  เป็ นมาตรการคุ้มครองเด็กในครรภ์ ๓๑๐ วัน  หญิงที่การสมรสสิ ้นสุดลงด้ วยประการอื่น สิ ้นสุดแห่งการสมรสได้ ผ่านพ้ น  หากสมรสฝ่ าฝื น ม. นี ้ ทะเบียนสมรสใหม่ของหญิง เว้ นแต่ ไปแล้ วไม่น้อยกว่า ๓๑๐ วัน สมบูรณ์ โดยหากอีก ๗ เดือนต่อมาหญิงคลอดบุตร ก็ (๑) คลอดบุตรแล้ ว (ภายใน ๓๑๐ วัน หลังสิ้นสุดการสมรส)  สามารถสมรสใหม่ได้ เลย สามารถใช้ ม.๑๕๓๗ มาแก้ ปัญหา คือ การสันนิษฐาน (๒) สมรสกับคูส่ มรสเดิม ให้ เด็กมีบิดาคนเดียว คือ สามีใหม่ ซึ่งสามีใหม่ต้องรับ (๓) มีใบรับรองแพทย์วา่ ไม่ได้ ตงครรภ์ ั้ บทสันนิษฐานเรื่ องบุตรแล้ วจึงพิสจู น์ปฏิเสธไม่รับบุตรใน (๔) มีคาสัง่ ของศาลให้ สมรสได้ ภายหลัง หน้ าที่ของคู่สมรสซึ่งได้ ๑๕๗๙ องค์ประกอบ จะทาการสมรสทันทีไม่ได้ ทังนี ้ ้ กม. กาหนดให้ ค่สู มรสมีหน้ าที่ต้องกระทา ดังนี ้ หากฝ่ าฝื น ทะเบียนสมรสยัง ครอบครองทรัพย์ สินของบุตรจะ ว.๑  คูส่ มรสฝ่ ายหนึ่งถึงแก่ความตาย (๑) ส่งมอบทรัพย์สนิ ให้ บตุ รเมื่อบุตรสามารถจัดการได้ (บรรลุนิติภาวะ/รับผิดชอบได้) สมบูรณ์ แต่อาจถูกถอนอานาจ สมรสใหม่ (เพือ่ ป้ องกันมิให้  มีบต ุ รที่เกิดด้ วยกัน (๒) เก็บรักษาไว้ เพื่อมอบให้ บุตรเมื่อถึงเวลาอันสมควร (รับผิดชอบได้เอง) ปกครองของบิดา/มารดา ตาม ทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ถูกคู่สมรสใหม่  คูส ่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งจะสมรสใหม่ (๓) ทรัพย์สนิ ตาม ม.๔๕๖ (อสังหาริ มทรัพย์ / สังหาพิเศษ) หรื อทรัพย์สนิ ที่มีเอกสาร ม.๑๕๘๒ เพราะจัดการ นาไปใช้/อ้างว่าเป็ นทรัพย์สินของ  คูส ่ มรสที่จะสมรสใหม่ได้ ครอบครอง เป็ นสาคัญ (ใบหุน้ / ตราสาร / พันธบัตร) ให้ ลงชื่อบุตรเป็ นเจ้ าของรวมใน ทรัพย์สนิ ของผู้เยาว์ในทางที่ผดิ ตน) ทรัพย์สนิ ของบุตรไว้ โดยถูกต้ อง เอกสารนัน้ จนอาจเป็ นภัย ความเป็ นโมฆะของการสมรส/ผล เหตุที่จะขอให้ การสมรสเป็ นโมฆะ ๑๔๙๖  การสมรสกับบุคคลวิกลจริต / สมรสกับญาติสืบสายโลหิต / สมรสโดย  คาพิพากษาของศาลเท่านันที ้ ่จะแสดงว่าการสมรสนันเป็ ้ นโมฆะ  สมรสกับบุคคลวิกลจริ ต ปราศจากความยินยอม  สมรสกับญาติสืบสายโลหิต  บุคคลที่สามารถร้ องขอให้ ศาลพิพากษาว่าการสมรสเป็ นโมฆะ ได้ แก่  ถ้ าไม่มีบุคคลดังกล่าว ผู้มีสว ่ นได้ เสียจะร้ องขอให้ อยั การเป็ นผู้ร้องขอต่อศาล  สมรสโดยปราศจากความยินยอม คูส่ มรส บิดามารดา หรื อผู้สืบสันดานของคูส่ มรส ๑๔๙๗  การทาให้ การสมรสซ้ อนเป็ นโมฆะ บุคคลผู้มีสว่ นได้  สามารถกล่าวอ้ างความเป็ นโมฆะได้ เอง (เป็ นการแสดงเจตนาเพือ่ ไม่ตอ้ งไปฟ้ องศาล) หรือ  สมรสซ้ อน เสีย (ทางทรัพย์ สิน/ทางอื ่น)  จะร้ องขอให้ ศาลพิพากษาว่าการสมรสเป็ นโมฆะก็ได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ผลของการสมรสที่เป็ นโมฆะ  ผลระหว่างชายหญิงคูส ่ มรส

๑๔๙๘

๑๔๙๙



ผลเกี่ยวกับบุตร  บทสันนิษฐานความเป็ นบุตร โดยชอบด้ วย กม.

๑๕๓๖

การใช้ อานาจปกครองบุตร

๑๔๙๙/๑



(อานาจปกครอง ได้แก่ อานาจเหนื อชี วิต ส่วนตัว ได้แก่ การกาหนดที ่อยู่ / ทาโทษ ตามสมควรเพือ่ ว่ากล่าวสัง่ สอน / ให้บตุ ร ทาการงานตามสมควรแก่ ความสามารถ และฐานานุรูป / เรี ยกบุตรคืนจากบุคคล อื ่นซึ่งกักบุตรไว้โดยมิ ชอบด้วย กม. และ อานาจในการจัดการทรัพย์ สิน) 

ผลต่อบุคคลภายนอก

๑๕๐๐

10

ไม่ก่อให้ เกิดความสัมพันธ์ทางทรัพย์สนิ ระหว่างสามีภริ ยา  ทรัพย์สน ิ ที่ฝ่ายใดมีหรื อได้ มาไม่วา่ ก่อนหรื อหลังการสมรส และดอกผลที่เกิดจากทรัพย์สนิ นัน้ ตกเป็ นของฝ่ ายนัน้  ทรัพย์สน ิ ที่ทามาหาได้ ร่วมกันภายหลังอยู่กินกัน ให้ แบ่งคนละครึ่ง เว้ นแต่ ศาลจะเห็นสมควรสัง่ เป็ นประการอื่น เมื่อได้ พเิ คราะห์ถึงภาระในครอบครัว ภาระในการหาเลี ้ยงชีพ และฐานะของคูก่ รณีทงสองฝ่ ั้ าย ตลอดจนพฤติการณ์อื่นทังปวงแล้ ้ ว  การสมรสที่เป็ นโมฆะเพราะฝ่ าฝื น ม.๑๔๕๒ (การสมรสซ้ อน)  ไม่ทาให้ ชาย / หญิงที่สมรสโดยสุจริ ตเสื่อมสิทธิที่ได้ มา เพราะการสมรสก่อนที่ จะ รู้ถึงเหตุที่ทาให้ การสมรสเป็ นโมฆะ  แต่ การสมรสที่เป็ นโมฆะดังกล่าว  ไม่ทาให้ คส ู่ มรสเกิดสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมของคูส่ มรสอีกฝ่ าย  กรณี การสมรสถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นโมฆะ (เด็กต้องเกิ ดจากหญิ งที จ ่ ดทะเบียน เด็กได้ รับการสันนิษฐานว่าเป็ น ข้อสังเกต แม้ ตอ่ มาจะมีการฟ้องหย่า / ฝ่ ายใด ซ้อนกับชายทีม่ ีภรรยาแล้ว / กรณี หญิ งมีสามีหลายคน ดู ม.๑๕๓๘) บุตรโดยชอบด้ วย กม.ของ ฝ่ ายหนึ่งตายไปก่อน / ทะเบียนสมรสตกเป็ น  หากเด็กเกิดก่อนศาลมีคาพิพากษา  ชายผู้เป็ นสามีตามทะเบียน โมฆียะภายหลัง ก็ไม่กระทบบทสันนิษฐานนี ้  หากเด็กเกิดหลังศาลมีคาพิพากษา แต่ไม่เกิน ๓๑๐ วัน  ชายผู้เคยเป็ นสามี  กรณี การสมรสเป็ นโมฆะ การตกลงใช้ อานาจปกครองบุตรต้ องทาเป็ น  หากตกลงกันไม่ได้ ก็ให้ ศาล การทาเป็ นหนังสือเพื่อป้องกันมิให้ ฝ่ายใดฝ่ าย หนังสือ (หากตกลงกันได้) เป็ นผู้ชี ้ขาด หนึ่งมาปฏิเสธความรับผิดชอบ ใน ๒ เรื่ อง คือ  ถ้ าศาลเห็นว่าผู้ใช้ อานาจปกครอง  ศาลอาจถอนอานาจปกครอง การใช้ อานาจปกครองบุตร และการออกเงินค่า  เป็ นคนไร้ ความสามารถ หรื อเสมือนไร้ ความสามารถโดยคาสัง่ ศาล ของคูส่ มรสและสัง่ ให้ บคุ คล เลี ้ยงดูลกู  ใช้ อานาจปกครองเกี่ยวแก่ตว ั ผู้เยาว์โดยมิชอบ อื่นเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครอง  ประพฤติชว ั่ ร้ าย ทังนี ้ ้ โดยคานึงถึงประโยชน์  จัดการทรัพย์สน ิ ของผู้เยาว์ในทางที่ผดิ จนอาจเป็ นภัย ของเด็กเป็ นสาคัญ การสมรสที่เป็ นโมฆะ ไม่กระทบถึงสิทธิของบุคคลภายนอกผู้กระทาการโดย ม.๑๔๙๗/๑ กรณีที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ การสมรสเป็ นโมฆะ ให้ ศาลแจ้ งไป สุจริตซึ่งได้ มาก่อนวันที่มีการบันทึกความเป็ นโมฆะไว้ ในทะเบียนสมรส ยังนายทะเบียนเพื่อบันทึกความเป็ นโมฆะไว้ ในทะเบียนสมรส 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ความเป็ นโมฆียะของการสมรส/ผล เหตุที่จะขอให้ เพิกถอนการ สมรสโดยเหตุโมฆียะ  ฝ่ าฝื นเงื่อนไขเรื่ องอายุ  ฝ่ าฝื นเงื่อนไขเรื่ องความยินยอม (กรณี ผเู้ ยาว์อายุ ๑๗ – ๒๐ สมรสโดยไม่ได้รับความยินยอม)  การสมรสโดยสาคัญผิดตัวคู่ สมรส  การสมรสโดยถูกกลฉ้ อฉล  สมรสโดยถูกข่มขู่

ผลของการสมรสที่เป็ นโมฆียะ  ผลระหว่างชายหญิงคูส ่ มรส (กม.ให้เอาบทบัญญัติเรื ่องการ ฟ้ องหย่ามาใช้)

๑๕๐๒  เมื่อศาลพิพากษาให้ เพิกถอนการสมรสที่เป็ นโมฆียะ มาตรา เหตุที่ขอให้ เพิกถอนการสมรส ผู้มีสิทธิเพิกถอนการสมรส ๑๕๐๔ ฝ่ าฝื นเงื่อนไขเรื่ องอายุ (ตาม ม.  ผู้มีสว ่ นได้ เสียจะขอให้ เพิกถอนการ ๑๕๔๘ คือ อายุไม่เกิ น ๑๗ ปี ) สมรสได้ แต่บดิ ามารดาที่ให้ ความ ยินยอมแล้ วจะเพิกถอนไม่ได้ ๑๕๑๐ ฝ่ าฝื นเงื่อนไขเรื่ องความยินยอม เฉพาะบุคคลที่อาจให้ ความยินยอม (กรณี ผเู้ ยาว์อายุ ๑๗ – ๒๐ สมรส ตาม ม.๑๔๕๔ เท่านัน้ (บิดาและ โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจาก มารดา / บิดาหรื อมารดา / ผูร้ ับบุตร บุคคลตาม ม.๑๔๕๔) บุญธรรม / ผู้ปกครอง) ๑๕๐๕ การสมรสโดยสาคัญผิดตัวคู่สมรส เฉพาะแต่คสู่ มรสที่สาคัญผิดตัว ๑๕๐๖ การสมรสโดยถูกกลฉ้ อฉล เฉพาะแต่คสู่ มรสที่ถกู กลฉ้ อฉล

11

การสมรสที่เป็ นโมฆียะสิ ้นสุดลง ระยะเวลาการฟ้องเพิกถอน สิทธิเพิกถอนระงับโดยผลของ กม. ถ้ าศาลมิได้ สงั่ ให้ เพิกถอนการสมรส และ ต่อมาชายและหญิงมีอายุครบ ๑๗ ปี หรื อเมื่อหญิงมีครรภ์ก่อนอายุครบ ๑๗ ปี ให้ ถือว่าการสมรสสมบูรณ์มาตังแต่ ้ เวลาสมรส (มีผลสมบูรณ์ ยอ้ นหลังไป) ภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ที่ผ้ มู ี สิทธิขอเพิกถอนระงับ อานาจให้ ความยินยอม ทราบ  เมื่อคูส่ มรสมีอายุครบ ๒๐ ปี บริบรู ณ์ หรือ ถึงการสมรส  เมื่อหญิงมีครรภ์

ภายใน ๙๐ วันนับแต่วนั สมรส  ภายใน ๙๐ วัน นับแต่วน ั ที่ร้ ูหรื อควรได้ ร้ ูถึงกลฉ้ อฉล หรือ  ไม่เกิน ๑ ปี นับแต่วน ั สมรส ๑๕๐๗ สมรสโดยถูกข่มขู่ เฉพาะแต่คสู่ มรสที่ถกู ข่มขู่ ภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ที่พ้นจากการข่มขู่ (ภัยผ่านพ้นไป) ๑๕๑๒ ให้ นาบทบัญญัตวิ า่ ด้ วยผลของการหย่าโดยคาพิพากษามาใช้ บงั คับแก่ผลของการเพิกถอนการสมรสโดยอนุโลม  บทบัญญัตว ิ า่ ด้ วยการฟ้องหย่ากาหนดให้  แบ่งสินสมรสชายและหญิงเท่ากัน (ม.๑๕๓๓)  แบ่งความรับผิดในหนี ้ที่จะต้ องร่ วมรั บผิดตามส่วนเท่ากัน (ม.๑๕๓๕)  ค่าทดแทนและค่าเลี ้ยงชีพ (ม.๑๕๑๓ )  ถ้ าปรากฏว่าคู่สมรสที่ถก ู ฟ้องเพิกถอนการสมรสที่เป็ นโมฆียะได้ ร้ ูเห็น  คูส่ มรสที่ถกู ฟ้องต้ องรับผิดใช้ คา่ ทดแทนความเสียหายที่อีกฝ่ ายได้ รับ ต่อกาย เป็ นใจในเหตุแห่งโมฆียะกรรม ชื่อเสียง ทรัพย์สนิ เนื่องจากการสมรสนัน้ โดยศาลอาจแบ่งชาระเป็ นงวดๆ ก็ได้  ถ้ าการเพิกถอนการสมรสทาให้ อีกฝ่ ายหนึ่งยากจนลง และไม่มีรายได้  คูส ่ มรสที่ถกู ฟ้องนันจะต้ ้ องรับผิดในค่าเลี ้ยงชีพด้ วย พอจากทรัพย์สนิ หรื องานตามที่เคยทาอยู่ระหว่างสมรส

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

ผลเกี่ยวกับบุตร

๑๕๖๐





ผลต่อบุคคลภายนอก

๑๕๑๑

 

ความสัมพันธ์ ส่วนตัวสามี/ ภรรยา ความสัมพันธ์ ระหว่ างสามีภรรยา ๑๔๖๑

 

กรณีสามีหรือภรรยาเป็ นคน ไร้ ความสามารถ

๑๔๖๓

 

บุตรเกิดระหว่างสมรสซึ่งศาลพิพากษาให้ เพิกถอนภายหลังนัน้

ให้ ถือว่าเป็ นบุตรชอบ ด้ วยกฎหมาย

การสมรสที่ได้ มีคาพิพากษาให้ เพิกถอน (เพราะเหตุทีเ่ ป็ นโมฆียะ) แต่ จะอ้ างเป็ นเหตุเสื่อมสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ทาการโดยสุจริตไม่ได้

12

ข้อสังเกต หากเด็กคลอดหลังการสสมรสที่เป็ นโมฆียะ ไม่เข้ า ม. นี ้ แต่อาจใช้ บท สันนิษฐานตาม ม.๑๓๑๖ ว.๑ เพื่อคุ้มครองเด็กได้ เรื ่องอื ่นๆ ทีเ่ กี ่ยวข้อง  การใช้ อานาจปกครองบุตร – ศาลจะเป็ นผู้พจ ิ ารณาโดยดูจากประโยชน์ของเด็ก เป็ นสาคัญ (นาเรื ่องหย่า ม.๑๕๒๐ อนุโลม)  ค่าเลี ้ยงดูบต ุ ร – ศาลเป็ นผู้กาหนด (นาเรื ่องหย่า ม.๑๕๒๒ ว.ท้าย อนุโลม)  ให้ ถือว่าสิ ้นสุดลงในวันที่คาพิพากษาถึงที่สด ุ  เว้ นแต่ จะได้ จดทะเบียนการเพิกถอนการสมรสนันแล้ ้ ว

สามีภริยาต้ องอยู่กินด้ วยกันฉันสามีภริยา และ ต้ องช่วยเหลืออุปการะเลี ้ยงดูกนั ตามความสามารถและฐานะของตน ในกรณีที่ศาลสัง่ ให้ สามีหรื อภริยาเป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อเสมือนไร้ ความสามารถ แต่เมื่อผู้มีสว่ นได้ เสียหรื ออัยการร้ องขอ และถ้ ามีเหตุสาคัญ



 

ภริยาหรื อสามีย่อมเป็ นผู้อนุบาลหรื อผู้พทิ กั ษ์ ศาลจะตังผู ้ ้ อื่นเป็ นผู้อนุบาลหรื อผู้พทิ กั ษ์ก็ได้

ทรัพย์ สินระหว่ างสามีภรรยา ระบบทรัพย์ สินและอานาจจัดการ สินส่ วนตัว ๑๔๗๑ สินส่วนตัว ได้ แก่ ทรัพย์สนิ (โดยแท้) (๑) ที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส (๒) ที่เป็ นเครื่ องใช้ สอยส่วนตัว เครื่ องแต่งกาย หรื อเครื่ องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรื อเครื่ องมือเครื่ องใช้ ที่จาเป็ นในการประกอบอาชีพ/วิชาชีพ (๓) ที่ได้ มาโดยรั บมรดก หรื อโดยการให้ โดยเสน่ หา (๔) ที่เป็ นของหมัน้ ๑๔๗๒  สินส่วนตัวที่แลกเปลี่ยนเป็ นทรัพย์สนิ อื่น หรื อซื ้อ/ขายได้ เป็ นเงินมา (โดยช่วงทรัพย์ )  ทรัพย์สน ิ อื่น/เงินที่ได้ มานันเป็ ้ นสินส่วนตัว  สินส่วนตัวที่ถก ู ทาลายไปทังหมดหรื ้ อแต่บางส่วน แต่ได้ ทรัพย์สนิ อื่นหรื อเงินมาทดแทน

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

(โดยบทบัญญัติชอง กม.)

การจัดการสินส่วนตัว สินสมรส 



การจัดการสินสมรส  สินสมรสตาม ม.๔๕๖ / ที่มี เอกสารเป็ นสาคัญ  การจัดการสินสมรสที่ต้อง จัดการร่วมกัน / หรื อได้ รับ ความยินยอมจากอีกฝ่ าย

มาตราสาคัญ

13

๑๔๙๒ เมื่อมีการแยกสินสมรสโดย  ส่วนที่แยกออกตกเป็ นสินส่วนตัวของสามีหรื อ  คาสัง่ ศาล ภริยา  คูส ่ มรสอีกฝ่ ายต้ องคาพิพากษาให้ ล้มละลายและมีการแยกสินสมรส  คูส ่ มรสตกเป็ นคนไร้ ความสามารถ + ศาลตังผู ้ ้ อื่นเป็ นผู้อนุบาล + คูส่ มรสอีกฝ่ ายขอให้ ศาลแยกสินสมรส ๑๔๗๓  สินส่วนตัวของคูส่ มรสฝ่ ายใด ให้ ฝ่ายนันเป็ ้ นผู้จดั การ สิ่งทีไ่ ม่ใช่ดอกผลของสินส่วนตัว ๑๔๗๔ สินสมรส ได้ แก่ ทรัพย์สนิ ที่  กาไร (๑) คูส ่ มรสได้ มาระหว่างสมรส  ราคาที่เพิ่มขึ ้นของสินส่วนตัว (๒) ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้ มาระหว่างสมรสโดยพินย ั กรรมหรื อโดยการให้ เป็ น  ที่งอกริ มตลิง ่ (กรณีที่ดนิ นันเป็ ้ นสินส่วนตัว) หนังสือเมื่อพินยั กรรมหรื อหนังสือยกให้ ระบุวา่ เป็ นสินสมรส (๓) เป็ นดอกผลของสินส่วนตัว ถ้ ากรณีเป็ นที่สงสัยว่าทรัพย์สนิ อย่างหนึ่งเป็ นสินสมรสหรื อไม่ สันนิษฐานว่าเป็ นสินสมรส ๑๔๗๕  การจัดการสินสมรสที่เป็ นอสังหาริมทรัพย์ / สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สามีหรื อภริยามีสทิ ธิร้องขอให้ ลงชื่อตนเป็ นเจ้ าของรวมในเอกสารนัน้ (ทรัพย์ตาม ม.๔๕๖) หรือ  สินสมรสที่มีเอกสารเป็ นสาคัญ (โฉนดที ด ่ ิน พันธบัตร หุ้นกู้ บัญชี ธนาคาร) ๑๔๗๖ สามีและภริยาต้ องจัดการสินสมรสร่วมกันหรื อได้ รับความยินยอมจากอีกฝ่ ายหนึ่ง ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ว.๑ (๑) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้ เช่าซื ้อ จานอง ปลดจานอง หรื อโอนสิทธิจานอง ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรื อสังหาริมทรัพย์ที่อาจจานองได้ (๒) ก่อตังหรื ้ อกระทาให้ สดุ สิ ้นลงทังหมดหรื ้ อบางส่วนซึ่งภาระจายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื ้นดิน สิทธิเก็บกิน หรื อภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์ (๓) ให้ เช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน ๓ ปี (๔) ให้ ก้ ย ู ืมเงิน (๕) ให้ โดยเสน่หา เว้ นแต่ การให้ ที่พอควรแก่ฐานานุรูปของครอบครัว / เพื่อการกุศล / เพื่อการสังคม / หรื อตามหน้ าที่ธรรมจรรยา (๖) ประนีประนอมยอมความ (๗) มอบข้ อพิพาทให้ อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย (๘) นาทรัพย์สน ิ ไปเป็ นประกันหรื อหลักประกันต่อเจ้ าพนักงานหรื อศาล

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 





ผลของการเข้ าไปจัดการ สินสมรสโดยปราศจากความ ยินยอม

๑๔๘๐

ข้ อยกเว้ น – กรณีที่สามารถ จัดการสินสมรสฝ่ ายเดียวได้

ว.๒ ๑๔๗๖/๑

กรณีศาลเข้ ามาคุ้มครองฝ่ าย ที่ไม่มีอานาจเข้ ามาจัดการ สินสมรส (๔ กรณี )

(แนว ฎ.) ๑๔๘๒

๑๔๘๓

๑๔๘๔ ว.๑ ว. ๒

14

คูส่ มรสอีกฝ่ ายอาจฟ้อง ข้ อยกเว้ นอื่น – การให้ สนิ สมรสแก่ผ้ อู ื่นโดยสม ศาลขอให้ เพิกถอนนิติ แก่ฐานานุรูปของครอบครัว เพื่อสังคม เพื่อการ กรรมนันได้ ้ กุศล หรื อให้ โดยธรรมจรรยา (ต้องเป็ นกรณี ทีไ่ ม่ กระทบถึงฐานะทางการเงินของครอบครัว)  เว้ นแต่ ตนเองได้ ให้ สต ั ยาบันแก่การนัน้ หรือ  คูส ่ มรสอีกฝ่ ายฟ้องเพิก ผลคือ คูส่ มรสอีกฝ่ ายเพิกถอนนิตกิ รรมนันไม่ ้ ได้  บุคคลภายนอกสุจริ ตและเสียค่ าตอบแทน ถอนนิตกิ รรมนันไม่ ้ ได้  การจัดการสินสมรสนอกจากกรณี ข้างต้ น สามีหรื อภริยาจัดการได้ โดยไม่ต้องได้ รับความยินยอมจากอีกฝ่ ายหนึ่ง  สามีและภริ ยาจะจัดการสินสมรสให้ แตกต่างไปจาก ม.๑๔๗๖ ทังหมดหรื ้ อบางส่วนก็ได้  การจัดการสินสมรสเป็ นไปตามที่ระบุในสัญญา  โดยต้ องทาสัญญาก่อนสมรสกันไว้ ก่อนสมรส  ทังนี ้ ้ สัญญาดังกล่าวต้ องไม่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้ อย/ศีลธรรมอันดี และต้ องจดแจ้ งไว้ ในทะเบียนสมรส  นิตก ิ รรมที่ก่อให้ เกิดประโยชน์ตอ่ สินสมรสเป็ นทางได้ ประโยชน์ทางเดียว อาทิ การฟ้องต่อสู้คดี การสงวนรักษาสินสมรส หรื อเพื่อประโยชน์ของสินสมรส กรณีที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอานาจจัดการสินสมรสแต่ฝ่ายเดียว  คูส ่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งก็ยงั มีอานาจจัดการบ้ านเรื อนและจัดหาสิง่ จาเป็ นสาหรับครอบครัว  ค่าใช้ จ่ายในการนี ้ย่อมผูกพันสินสมรสและสินส่วนตัวของทังสอง ้ ตามสมควรแก่อตั ภาพได้ ฝ่ าย (แม้อีกฝ่ ายจะไม่ได้เข้าไปจัดการ)  ถ้ าการจัดการบ้ านเรื อนหรื อจัดหาสิง ่ จาเป็ นของฝ่ ายหนึ่งทาให้ เกิดความเสียหายถึงขนาด  อีกฝ่ ายหนึ่งอาจร้ องขอให้ ศาลสัง่ ห้ ามหรื อจากัดอานาจนี ้เสียได้  กรณี ที่สามีหรื อภริ ยามีอานาจจัดการสินสมรสแต่ฝ่ายเดียว อีกฝ่ ายหนึ่งอาจร้ องขอให้  ถ้ าสามีหรื อภริ ยาจะกระทา หรื อกาลังกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งในการ ศาลสัง่ ห้ ามมิให้ กระทาการ จัดการสินสมรส อันพึงเห็นได้ ว่าจะเกิดความเสียหายถึงขนาด นันได้ ้ ถ้ าสามีหรื อภริยาฝ่ ายซึ่งมีอานาจจัดการสินสมรส อีกฝ่ ายหนึ่งมีสทิ ธิ แม้ วา่ จะมีการแยกสินสมรสกัน แต่ความสัมพันธ์ก็ (๑) จัดการสินสมรสเป็ นที่เสียหายถึงขนาด  ร้ องขอให้ ศาลสัง่ อนุญาต ยังคงมีอยู่ระหว่างสามีและภรรยา (๒) ไม่อป ุ การะเลี ้ยงดูอีกฝ่ ายหนึ่ง ให้ ตนเป็ นผู้จดั การ (๓) มีหนี ้สินล้ นพ้ นตัว หรื อทาหนี ้เกินกึ่งหนึ่งของสินสมรส สินสมรสแต่ผ้ เู ดียว หรือ (๔) ขัดขวางการจัดการสินสมรสของอีกฝ่ ายหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร  สัง่ ให้ แยกสินสมรส (เป็ นกรณี ม.๑๔๘๒ การจัดการบ้านเรื อน/จัดหาสิ่งจาเป็ นต่อครอบครัว) (๕) มีพฤติการณ์ ปรากฏว่าจะทาความหายนะให้ แก่สน ิ สมรส (เป็ นกรณี การ ยกให้โดยเสน่หา เว้ นแต่ การให้ทีส่ มแก่ฐานานุรูปฯ / ให้โดยธรรมจรรยา) 

การจัดการสินสมรสซึ่งต้ องจัดการร่วมกัน หรือ ต้ องได้ รับความยินยอมจาก คูส่ มรสอีกฝ่ าย หากคูส่ มรสฝ่ ายหนึ่งจัดการไปโดยปราศจากความยินยอม

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก



สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

15

๑๔๘๕





๑๔๘๑



สัญญาระหว่ างสมรส (ตกอยู่ภายใต้ความรัก ทาให้การ ตัดสินใจไม่สะท้อนเจตนาทีจ่ ริ ง)

๑๔๖๕ สามีและภรรยาจะทา ทังนี ้ ้ ต้ องไม่ขดั กับความสงบ ต้ องมีการจดแจ้ งไว้ ในทะเบียนสมรส หากต้ องการ ผลของสัญญาก่อนสมรสไม่มีผลกระทบ ถึง สัญญาตกลงกันไว้ ใน เรี ยบร้ อยฯ หรื อไม่กาหนดให้ นา พร้ อมกับการจดทะเบียน หรื อทาเป็ น เปลี่ยนแปลง ต่อบุคคลภายนอกผู้กระทาการโดย ๑๔๖๘ เรื่ องทรัพย์สนิ ก่อน กม.ประเทศอื่นมาใช้ บงั คับเรื่ อง หนังสือลงลายมือชื่อพร้ อมพยาน ๒ ต้ องขออนุญาต สุจริต ไม่วา่ จะได้ เปลี่ยนแปลงเพิกถอน สมรส ก็สามารถทาได้ ทรัพย์สนิ (มิฉะนันเป็ ้ นโมฆะ) คนแนบท้ ายทะเบียนสมรส (แบบ) ศาลเท่านัน้ โดยคาสัง่ ศาลหรื อไม่ก็ตาม ๑๔๖๙  สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สนิ ที่สามีภริยาได้ ทาไว้ ตอ่ กันระหว่างเป็ นสามีภริยา  ฝ่ ายหนึ่งจะบอกล้ างในเวลาใดขณะที่เป็ นสามีภริยากันอยู่ก็ได้ หรือ  บอกล้ างภายในกาหนด ๑ ปี นบ ั แต่วนั ที่ขาดจากการเป็ นสามีภริยาก็ได้ (สิทธิ บอกล้าง – สิทธิ เฉพาะตัว / เมือ่ บอกล้างก็เหมือนสัญญาไม่เคยเกิ ดขึ้น)  ทังนี ้ ้ ต้ องไม่กระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ทาการโดยสุจริต

หนีส้ ินของสามีภรรยา หนี้สินระหว่ างสามีภรรยา

๑๔๘๗

การทาพินยั กรรมยกสินสมรสที่ เกินส่วนตนให้ บคุ คลอื่นทาไม่ได้ สัญญาเกี่ยวกับการสมรส สัญญาก่ อนสมรส (มีผลระหว่างทีม่ ีการสมรสเท่านัน้ หากการสมรสสิ้นสุดลง สัญญา ก่อนสมรสย่อมสิ้นสุดไปด้วย)

 

หนี้ของสามีภรรยา:บุคคลภายนอก ๑๔๘๘  หนี ้ส่วนตัว 

หนี ้ร่วม

๑๔๘๙

  

ถ้ าคูส่ มรสฝ่ ายหนึ่งเห็นว่า หากเข้ าไปร่ วมจัดการ หรื อให้ ตนเข้ าไปจัดการสินสมรสฝ่ าย ฝ่ ายนันอาจร้ ้ องขอต่อศาลให้ ตนเป็ นผู้จดั การสินสมรสโดยเฉพาะ เดียว จะเป็ นประโยชน์กว่าให้ คสู่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นผู้จดั การฝ่ ายเดียว หรือเข้ าร่วมจัดการในการนันได้ ้ การทาพินยั กรรมยกสินสมรสที่เกินกว่า  สามีหรื อภริยาไม่มีอานาจ ข้อสังเกต – ม.นี ้เป็ นบทบังคับเด็ดขาด ดังนัน้ แม้ ว่าคู่สมรสอีกฝ่ ายจะลงลายมือ ส่วนของตนให้ แก่บคุ คลอื่น กระทาได้ ชื่อในฐานะพยานก็ไม่ได้ ทาให้ เป็ นการยกสินสมรสส่วนของอีกฝ่ ายให้ บคุ คลอื่น

หลัก – ในระหว่างที่เป็ นสามีภรรยากัน ยึดหรื ออายัดทรัพย์สนิ ของอีกฝ่ ายไม่ได้ เว้ นแต่  การฟ้องและยึดเพื่อให้ อีกฝ่ ายปฏิบต ั หิ น้ าที่ของสามี/ภรรยา (อาทิ การฟ้ องคู่สมรสอี กฝ่ ายทีจ่ ดั การสินสมรสเสี ยหายหรื อจัดการให้เกิ ดหายนะ (ม.๑๔๘๒ – ม.๑๔๘๕ โดยเฉพาะในเรื ่องการฟ้ องเพือ่ รักษาสิทธิ ในทรัพย์สินของสามี /ภรรยาในสินสมรส อันเป็ นสิ่งทีฝ่ ่ ายหนึ่งเป็ นเจ้าของอยู่ครึ่ งหนึ่ง)  กรณี กม. บัญญัตไิ ว้ โดยเฉพาะให้ สามี/ภรรยาฟ้องร้ องกันเองได้ (อาทิ การฟ้ องร้องตาม ม.๑๔๗๗ เพือ ่ ประโยชน์ในการบารุงรักษาสินสมรส / ฟ้ องเพือ่ ขอ ให้ลงชื ่อตนเป็ นเจ้าของในสินสมรสตาม ม.๑๔๗๕ / ฟ้ องเพือ่ ขอให้แยกสินสมรส ตาม ม.๑๕๙๘/๑)  การฟ้องเพื่อเรี ยกค่าอุปการะเลี ้ยงดู (เป็ นการฟ้ องเพือ ่ ให้อีกฝ่ ายปฏิ บตั ิหน้าทีซ่ ึ่ง กม. ได้กาหนดไว้ – อาทิ หน้าทีซ่ ึ่งอี กฝ่ ายต้องอุปการะเลีย้ งดูอีกฝ่ าย ตาม ม.๑๔๖๑ ว.ท้าย เมือ่ อยู่ในฐานทีจ่ ะทาได้) โดยสิ ทธิ ในการฟ้ องเรี ยกอุปการะค่าเลีย้ งดูเป็ นสิทธิ ปกติที่ กม. กาหนดไว้อยู่แล้ว) ถ้ าสามีหรื อภริยาก่อหนี ้เป็ นการส่วนตัวไว้ ก่อนหรื อระหว่างสมรส  ให้ ชาระหนี ้นันด้ ้ วยสินส่วนตัวของฝ่ ายนันก่ ้ อน เมื่อไม่พอ  จึงให้ ชาระด้ วยสินสมรสที่ เป็ นส่วนของฝ่ ายนัน ้ ถ้ าสามีภริยาเป็ นลูกหนี ้ร่ วมกัน ให้ ชาระหนี ้นันจากสิ ้ นสมรสและสินส่วนตัวของทังสองฝ่ ้ าย (ตามลาดับ)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

หนี ้ที่คสู่ มรสฝ่ ายหนึ่งก่อขึ ้นแต่ ฝ่ ายเดียว แต่ กม. ให้ ถือเป็ นหนี ้ ร่วม

การแยกสินสมรส กรณีศาลสั่งแยกตามคาร้ องขอ ของสามีหรือภรรยา  เหตุตาม ม.๑๔๘๔ (แม้ว่าจะมีการแยกสินสมรสกัน แต่ความสัมพันธ์ ก็ยงั คงมีอยู่ ระหว่างสามีและภรรยา) เหตุที่คสู่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ น คนไร้ ความสามารถ แยกโดยอานาจของ กม. เมื่อคู่ สมรสฝ่ ายถูกศาลสั่งให้ เป็ นคน ล้ มละลาย ผลของการแยกสินสมรส 



การขอยกเลิกการแยกสินสมรส ออกจากสินส่วนตัวและผล

๑๔๙๐ หนี ้ที่สามีหรื อภริยาฝ่ ายเดียวก่อให้ เกิดขึ ้นในระหว่างสมรสดังต่อไปนี ้ (๑) หนี ้เกี่ยวแก่การจัดการบ้ านเรื อน / การจัดหาสิง่ จาเป็ นสาหรับครอบครัว / การอุปการะเลี ้ยงดู / การ รักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัว / การศึกษาของบุตรตามสมควรแก่อตั ภาพ (๒) หนี ้ที่เกี่ยวข้ องกับสินสมรส (๓) หนี ้ที่เกิดขึ ้นเนื่องจากการงานซึ่งสามีภริ ยาทาด้ วยกัน (๔) หนี ้ที่สามีหรื อภริ ยาก่อขึ ้นเพื่อประโยชน์ตนฝ่ ายเดียว แต่ อีกฝ่ ายหนึ่งได้ ให้ สต ั ยาบัน ๑๔๘๔ ถ้ าสามีหรื อภริยาฝ่ ายซึ่งมีอานาจจัดการสินสมรส (๑) จัดการสินสมรสเป็ นที่เสียหายถึงขนาด (๒) ไม่อป ุ การะเลี ้ยงดูอีกฝ่ ายหนึ่ง (๓) มีหนี ้สินล้ นพ้ นตัว หรื อทาหนี ้เกินกึ่งหนึ่งของสินสมรส (๔) ขัดขวางการจัดการสินสมรสของอีกฝ่ ายหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (๕) มีพฤติการณ์ ปรากฏว่าจะทาความหายนะให้ แก่สน ิ สมรส ๑๕๙๘ ศาลสัง่ ให้ สามีหรื อภริยาเป็ นคนไร้ ความสามารถ โดยตังผู ้ ้ อื่นที่มใิ ช่คสู่ มรสให้ /๑๗ เป็ นผู้อนุบาล ๑๔๙๑  ถ้ าสามีหรื อภริยาต้ องคาพิพากษาให้ ล้มละลาย

๑๔๙๒

๑๔๙๒ /๑





เมื่อได้ แยกสินสมรสตาม ๓ กรณีข้างต้ น  กรณี ม.๑๔๘๔  กรณี ม.๑๕๙๘/๑๗  กรณี ม.๑๔๙๑

16

ถือว่าเป็ นหนี ้ที่สามีภริยาเป็ นลูกหนี ้ร่วมกัน

อีกฝ่ ายหนึ่งมีสทิ ธิ  ร้ องขอให้ ศาลสัง่ อนุญาต ให้ ตนเป็ นผู้จดั การ สินสมรสแต่ผ้ เู ดียว หรือ  สัง่ ให้ แยกสินสมรส คูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งต้ องไปจัดการสินสมรสคูก่ บั ผู้อนุบาล หรือ  มีสท ิ ธิร้องขอต่อศาลให้ สงั่ แยกสินสมรสได้ (โดยไม่ตอ้ งมีเหตุผล) สินสมรสย่อมแยกจากกันโดยอานาจกฎหมาย นับแต่วนั ที่ศาลพิพากษาให้ ล้ มละลายนัน้ 

ทรัพย์สนิ ส่วนที่แยกออกมาตกเป็ นสินส่วนตัวของสามีหรื อภริยา  ทรัพย์สน ิ ที่ฝ่ายใดได้ มาในภายหลังการแยกทรัพย์สนิ ไม่ถือเป็ นสินสมรส แต่ให้ เป็ นสินส่วนตัวของฝ่ ายนัน้  สินสมรสที่คส ู่ มรสได้ มาโดยพินยั กรรมหรื อโดยการให้ เป็ นหนังสือระบุให้ เป็ นสินสมรสในภายหลังการแยกทรัพย์สนิ ให้ ตกเป็ นสินส่วนตัวของสามีและภริยาฝ่ ายละครึ่ง  ดอกผลของสินส่วนตัวที่ได้ มาหลังจากที่ได้ แยกสินสมรส ให้ เป็ นสินส่วนตัว สามีหรื อภริยาอาจร้ องขอต่อศาลให้ ยกเลิกการแยกสินสมรสเมื่อ ทรัพย์สนิ ที่เป็ นสินส่วนตัวอยู่ในวันที่ศาลมีคาสัง่ เพิกถอนการแยกสินสมรส หรื อในวันที่พ้น เหตุแห่งการแยกสินสมรสได้ สิ ้นสุดลง หรื อเพราะสามีหรื อภริยา จากการเป็ นบุคคลล้ มละลาย ยังคงเป็ นสินส่วนตัวต่อไปตามเดิม (ไม่มีผลให้สินสมรสทีแ่ ยก ออกมาเป็ นสินส่วนตัวหลอมรวมกลับเป็ นสินสมรสใหม่อีกครัง้ ) พ้ นจากการเป็ นบุคคลล้ มละลาย 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

การหย่ าขาดจากการสมรส วิธีการหย่ า การหย่ าโดยความยินยอม  แบบ

๑๕๑๔ ว.ท้ าย  การจดทะเบียน ๑๕๑๕ การหย่ าโดยคาพิพากษาของศาล ๑๕๑๖  เหตุฟ้องหย่าเนื่องมาจากการที่ ชีวติ สมรสสิ ้นสุดลง (ไม่ได้เกิ ด จากความผิดของคู่สมรสอี กฝ่ าย ดังนัน้ ฝ่ ายที ฟ้องหย่าก็จะไม่มี สิทธิ เรี ยกค่าทดแทนได้) 

เหตุฟ้องอย่าอันเนื่องมาจากการที่ ๑๕๑๖ คูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งกระทาผิด (กรณี ม.๑๕๑๖ (๑) เป็ นเหตุฟ้อง หย่าเพิ่มเติมซึ่งได้แก้ไขล่าสุด อัน เป็ นผลมาจากการแก้ไข รธน. ปี ๕๐ ซึ่งบัญญัติรบั รองความเสมอ ภาคของหญิ งและชาย)

กรณีที่เรียกค่ าทดแทนได้ (๑) (๓)(๔)(๖) แต่ (๒) เรียกไม่ ได้

17

แบ่งเป็ น ๒ ประเภท ได้ แก่ โดยความยินยอม และ โดยคาพิพากษาของศาล  การหย่าโดยความยินยอมต้ องทาเป็ นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่ออย่าง ทัง้ นี ้ การจดทะเบียนการหย่าเพื่อหลอกลวงบุคคลภายนอกเกี่ยวกับการโอน น้ อยสองคน ทรัพย์สนิ (นิตกิ รรมอาพราง) การหย่าเป็ นโมฆะ โดยบังคับตามนิตกิ รรมจริง  เมื่อสามีและภริ ยาได้ จดทะเบียนการหย่าโดยความยินยอม การหย่ามีผลสมบูรณ์ (๔/๒) สามีและภริยาสมัครใจแยกกันอยู่เพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้ โดยปกติสขุ ตลอดมาเกิน ๓ ปี หรื อแยกกันอยู่ตามคาสัง่ ของศาลเป็ นเวลา เกิน ๓ ปี (๕) สามีหรื อภริยาถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนสาบสูญ หรื อไปจากภูมลิ าเนาหรื อถิ่นที่อยู่เป็ นเวลาเกิน ๓ ปี โดยไม่มีใครทราบแน่ว่าเป็ นตายร้ ายดีอย่างไร (๗) สามีหรื อภริยาวิกลจริตตลอดมาเกิน ๓ ปี และความวิกลจริตนันมี ้ ลกั ษณะยากจะหายได้ กับทังความวิ ้ กลจริตถึงขนาดที่จะทนอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาต่อไป ไม่ได้ (๙) สามีหรื อภริยาเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ ายแรงอันอาจเป็ นภัยแก่อีกฝ่ ายหนึ่งและโรคมีลกั ษณะเรื อ้ รังไม่มีทางที่จะหายได้ (ปัจจุบนั คือ โรคเอดส์เท่านัน้ ) (๑๐) สามีหรื อภริยามีสภาพแห่งกาย ทาให้ สามีหรื อภริ ยานันไม่ ้ อาจร่วมประเวณีได้ ตลอดกาล (๑) สามีหรื อภริยาอุปการะเลี ้ยงดูหรื อยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรื อสามี / เป็ นชู้หรื อมีช้ ู / ร่วมประเวณีกบั ผู้อื่นเป็ นอาจิณ (เหตุหย่าเพิ่มเติม ๓ เหตุ หลังแก้ รธน.๕๐) (๒) สามีหรือภริยาประพฤติช่วั ไม่ ว่าความประพฤติช่วั นั้นจะเป็ นความผิดอาญาหรือไม่ ถ้ าเป็ นเหตุให้ อีกฝ่ ายหนึ่ง (ก) ได้ รับความอับอายขายหน้ าอย่างร้ ายแรง (ข) ได้ รับความดูถูกเกลียดชังเพราะเหตุที่คงเป็ นสามีหรือภริยาของฝ่ ายที่ประพฤติชั่วอยู่ต่อไป หรือ (ค) ได้ รับความเสียหายหรือเดือดร้ อนเกินควร ในเมื่อเอาสภาพ ฐานะและความเป็ นอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยามาคานึงประกอบ (๓) สามีหรื อภริยาทาร้ าย หรื อทรมานร่ างกายหรื อจิตใจ หรื อหมิน่ ประมาทหรื อเหยียดหยามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อ บุพการี ของอีกฝ่ ายหนึ่ง ทังนี ้ ้ ถ้ าเป็ นการร้ ายแรง (๔) สามีหรื อภริยาจงใจละทิ ้งร้ างอีกฝ่ ายหนึ่งไปเกินหนึ่งปี อีกฝ่ ายหนึ่งนันฟ ้ ้ องหย่าได้ (๔/๑) สามีหรื อภริยาต้ องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาคุก และได้ ถกู จาคุกเกิน ๑ ปี ในความผิดที่อีกฝ่ ายหนึ่งมิได้ มีสว่ นก่อให้ เกิดการกระทาความผิดหรื อยินยอมหรื อ รู้เห็นเป็ นใจในการกระทาความผิดนันด้ ้ วย และการเป็ นสามีภริยากันต่อไปจะเป็ นเหตุให้ อีกฝ่ ายหนึ่งได้ รับความเสียหายหรื อเดือนร้ อนเกินควร (กรณี รองลง ทัณฑ์ไม่เข้า ม.นี)้ (๘) สามีหรื อภริยาผิดทัณฑ์บนที่ทาให้ ไว้ เป็ นหนังสือในเรื่ องความประพฤติ (เป็ นทัณฑ์บนทีท่ าหลังสมรสเท่านัน้ จะเป็ นทีท่ าก่อนสมรสไม่ได้) (๖) สามีหรื อภริยาไม่ให้ ความช่วยเหลืออุปการะเลี ้ยงดูอีกฝ่ ายหนึ่งตามสมควรหรื อทาการเป็ นปฏิปักษ์ตอ่ การที่เป็ นสามีหรื อภริยากันอย่างร้ า ยแรง ทังนี ้ ้ ถ้ าการ กระทานันถึ ้ งขนาดที่อีกฝ่ ายหนึ่งเดือดร้ อนเกินควรในเมื่อเอาสภาพ ฐานะและความเป็ นอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยามาคานึงประกอบ

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

เหตุฟ้องหย่า ตาม ป.อ. ม.๒๗๖** ป.อ.๒๗๖ ว.๔





ผลแห่ งการหย่ า การหย่ าโดยความยินยอม  วันที่มีผลของการหย่า

๑๕๓๑ ว.๑ ว.๒ (ก) ๑๕๒๐ ว.๑ ๑๕๘๔/๑ ๑๕๒๒

ผลต่อคูส่ มรสในทางทรัพย์สนิ  ผลต่อบุตร  อานาจปกครอง  สิทธิตด ิ ต่อกับบุตร  ค่าอุปการะเลี ้ยงดู การหย่ าโดยคาพิพากษาของศาล  วันที่มีผลของการหย่า ๑๕๓๑  ผลต่อคูห ่ ย่า ๑๕๓๓  การแบ่งทรัพย์ สน ิ และความ รับผิดในหนี ้  กรณี สน ิ สมรสถูกใช้ ไปในการ ๑๕๓๔ ส่วนตัว (ไม่เป็ นธรรม) 

     









กรณีที่มีการข่มขืนกันระหว่างสามี ภรรยา หากคูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ไม่ประสงค์จะอยู่กินด้ วยกันฉันสามี ภริยาต่อไป และประสงค์จะหย่า ให้ คสู่ มรสฝ่ ายนันแจ้ ้ งให้ ศาลทราบ

ศาลสามารถแจ้ งให้ อัยการดาเนินการฟ้อง หย่าให้ ได้

18

ผูใ้ ดข่มขืนกระทาชาเราผูอ้ ื ่นโดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้กาลังประทุษร้าย โดยผูอ้ ื ่นนัน้ อยู่ในภาวะทีไ่ ม่สามารถขัดขืนได้ หรื อโดยทาให้ผอู้ ื ่นนัน้ เข้าใจผิดว่าตนเป็ นบุคคลอื ่น การกระทาชาเรา = การกระทาเพือ่ สนองความใคร่ของผูก้ ระทาโดยการใช้อวัยวะเพศของ ผูก้ ระทากระทากับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรื อช่องปากของผูอ้ ื ่น หรื อการใช้สิ่งอื ่นใดกระทา กับอวัยวะเพศหรื อทวารหนักของผูอ้ ื ่น

การหย่าโดยความยินยอมมีผลในวันที่มีการจดทะเบียนการหย่า ให้ จดั การแบ่งทรัพย์สนิ ของสามีภริยาตามที่มีอยู่ในเวลาจดทะเบียนการหย่า (แต่จะแบ่งกันเท่าใดก็ได้ แล้วแต่ตกลงกัน) สามีภริยาทาความตกลงเป็ นหนังสือว่าฝ่ ายใดจะเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองบุตรคนใด ถ้ ามิได้ ตกลงกันหรื อตกลงกันไม่ได้ ให้ ศาลเป็ นผู้ชีข้ าด บิดาหรื อมารดาย่อมมีสทิ ธิที่จะติดต่อกับบุตรของตนได้ ตามควรแก่พฤติการณ์ ไม่วา่ บุคคลใดจะเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองหรื อผู้ปกครองก็ตาม ให้ สามีภริยาทาความตกลงในสัญญาหย่า ว่าทังสองฝ่ ้ ายหรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะออกเงินค่าอุปการะเลี ้ยงดูบตุ รเป็ นจานวนเงินเท่าใด การหย่าโดยคาพิพากษามีผลแต่เวลาที่คาพิพากษาถึงที่สดุ การคิดบัญชี ทรัพย์สินทีจ่ ะแบ่งในการฟ้ องหย่า เมื่อหย่ากันให้ แบ่งสินสมรสให้ ชาย  ถ้ามีคาร้องขอให้แบ่งทรัพย์สินในวันฟ้ องหย่า – ถือเอาบัญชี ทรัพย์สินตามวันทีม่ ีศาลรับฟ้ องคดี  ถ้าไม่มีคาร้องขอให้แบ่งทรัพย์ สินในวันฟ้ องหย่า – ถื อเอาบัญชี ทรัพย์ สินตามวันที ่ศาลมี คาพิพากษาถึงที ส ่ ดุ และหญิงได้ สว่ นเท่ากัน กรณีสนิ สมรสที่ค่สู มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง  ให้ ถือเสมือนว่าทรั พย์สน ิ นันยั ้ งคงมีอยู่เพื่อจัดแบ่งสินสมรสให้ เท่ากัน ตาม ม.  ใช้ ไปเพื่อประโยชน์ส่วนตัวฝ่ ายเดียว ๑๕๓๓ (เพือ่ ให้เกิ ดความยุติธรรมในการแบ่งทรัพย์ สิน)  จาหน่ายไปโดยเจตนาทาให้ ค่ส ู มรสอีกฝ่ ายหนึ่งเสียหาย  จาหน่ายไปโดยมิได้ รับความยินยอมของคู่สมรสอีกฝ่ ายหนึ่งในกรณี ที่ กฎหมายบังคับว่าต้ องได้ รับความยินยอมของอีกฝ่ าย  จงใจทาลายให้ สญ ู หายไปก็ดี ถ้ าคูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งได้ รับส่วนแบ่งสินสมรสไม่ครบตามจานวนที่ควรจะได้  คูส่ มรสฝ่ ายที่ได้ จาหน่ายหรื อจงใจทาลายสินสมรสนันต้ ้ องชดใช้ จากสินสมรส ส่วนของตนหรื อสินส่วนตัว

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

ค่าเลี ้ยงชีพ – เป็ นเรื่ องของ การหย่าเท่านัน้ (การลงโทษ)

๑๕๒๖





(หลักเมตตาธรรม)

๑๕๒๗

 



ค่าทดแทน – ไม่ใช่เรื่ องของ การฟ้องหย่า แต่เป็ นเรื่ องการ ฟ้องเรี ยกค่าทดแทน (เป็ นการแก้ไขเพือ่ รองรับ เหตุตาม ม.๑๕๑๖(๑))

๑๕๒๓







(เป็ นเหตุหย่าตาม ม.๑๕๑๖ (๓) (๔) (๖)ซึ่งกระทบต่อ ชี วิตสมรสอย่างรุนแรง)  หลักการกาหนดค่า ทดแทน ผลต่อบุตร  อานาจปกครอง

สิทธิตดิ ต่อกับบุตร  ค่าอุปการะเลี ้ยงดูบต ุ ร ผลต่อบุคคลภายนอก 



๑๔๒๔



๑๕๒๕

 

๑๕๒๐ ว.๒

๑๕๘๔/๑ ๑๕๒๒ ๑๕๓๑

 

  

ถ้ าเหตุแห่งการหย่าเป็ นความผิดของคูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งแต่ ฝ่ ายเดียว (ดู ม.๑๕๑๖) และการหย่านันจะท ้ าให้ อีกฝ่ ายหนึ่ง ยากจนลง เพราะไม่มีรายได้ พอจากทรัพย์สนิ หรื อจากการงาน ตามที่เคยทาอยู่ระหว่างสมรส สิทธิเรี ยกร้ องค่าเลี ้ยงชีพสิ ้นสุด ถ้ ามิได้ ฟ้อง/ฟ้องแย้ งในคดีหย่า นัน้ หย่าขาดจากกันเพราะเหตุวกิ ลจริต หรือ เพราะเหตุเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ ายแรง กรณีศาลพิพากษาให้ หย่ากันเพราะสามีหรื อภริยา  อุปการะเลี ้ยงดูหรื อยกย่องผู้อื่นฉันภริ ยาหรื อสามี หรื อ  เป็ นชู้หรื อมีช้ ู (Adultery) หรื อ  ร่ วมประเวณี กบ ั ผู้อื่นเป็ นอาจิณ





อีกฝ่ ายมีสทิ ธิขอให้ ฝ่ายที่ต้องรับผิด จ่ายค่าเลี ้ยงชีพให้ ได้ ค่าเลี ้ยงชีพนี ้ศาลอาจให้ เพียงใดหรื อ ไม่ให้ ก็ได้ โดยคานึงถึงความสามารถ ของผู้ให้ และฐานะของผู้รับ





19

ให้ นา ม. ๑๕๙๘/๓๙ ม.๑๕๙๘/๔๐ และ ม.๑๕๙๘/๔๑ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม กล่าวคือ ศาลสามารถเพิกถอน ลด เพิ่ม หรื อ กลับให้ ค่าอุปการะเลี ้ยงดูอีก / ชาระเป็ นเงิน เป็ นครัง้ คราว โดยวิธีการอื่น ก็ได้

คูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งต้ องออกค่าเลี ้ยงชีพให้ แก่ฝ่ายที่วกิ ลจริตหรื อฝ่ ายที่เป็ นโรคติดต่อนัน้ โดยคานวณค่าเลี ้ยงชีพอนุโลมตาม ม.๑๕๒๖  สามีจะเรี ยกค่ าทดแทนจากผู้ซึ่งล่วงเกินภริ ยาไปในทานองชู้สาวก็ได้ (สามี ต้องฟ้ องหย่า ภรรยาก่อน จึงจะเรี ยกค่าทดแทนจากภรรยาและบุคคลที ่ ๓ ได้)  ภริ ยาจะเรี ยกค่ าทดแทนจากหญิงอื่นที่แสดงตนโดยเปิ ดเผยเพื่อแสดงว่าตนมี ความสัมพันธ์กับสามีในทานองชู้สาวก็ได้ (ภรรยาไม่ ต้องฟ้ องหย่าสามีก่อน แต่สามารถ ฟ้ องเรี ยกค่าทดแทนจากหญิ งอื ่นได้) เว้ นแต่ สามีหรื อภริยายินยอมหรื อรู้เห็นเป็ นใจกับการกระทานัน้ สามีหรื อภริยาจะเรี ยกค่าทดแทนไม่ได้ ถ้ าเหตุแห่งการหย่าเกิดขึ ้นเพราะถูกหมิน่ ประมาทเหยียดหยาม / จงใจทิ ้ง อีกฝ่ ายหนึ่งมีสทิ ธิได้ รับค่ า ร้ างอีกฝ่ ายหนึ่ง / ไม่ให้ ความช่วยเหลืออุปการะเลี ้ยงดู เพราะฝ่ ายผู้ต้อง ทดแทนจากฝ่ ายที่ต้องรับผิด รับผิดชอบก่อขึ ้น โดยมุง่ ประสงค์ให้ อีกฝ่ ายทนไม่ได้ จนต้ องฟ้องหย่า ค่าทดแทนตาม ม. ๑๕๒๓ และ ม.๑๕๒๔ ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ โดยอาจสัง่ ให้ ชาระครัง้ เดียว/แบ่งชาระเป็ นงวด ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้ ในกรณีที่ผ้ จู ะต้ องชาระค่าทดแทนเป็ นคูส่ มรสของอีกฝ่ ายหนึ่ง ให้ ศาลคานึงถึงจานวนทรัพย์สนิ ที่คสู่ มรสนันได้ ้ รับไปจากการแบ่งสินสมรสเพราะการหย่านันด้ ้ วย ในกรณีหย่าโดยคาพิพากษาของศาล ให้ ศาลซึ่งพิจารณาคดีฟ้องหย่านันชี ้ ้ขาดด้ วยว่าฝ่ ายใดจะเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองบุตรคนใด ถ้ าศาลเห็นว่ามีเหตุที่จะถอนอานาจปกครองของคูส่ มรสได้ (ตาม ม. ๑๕๘๒ ได้แก่ ผู้ใช้อานาจปกครองเป็ นคนไร้ความสามารถ / เสมือนไร้ความสามารถโดย คาสัง่ ศาล / ใช้อานาจปกครองเกี ่ยวกับผูเ้ ยาว์โดยมิชอบ / ประพฤติชวั่ ร้าย / ล้มละลาย / จัดการทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ ในทางทีผ่ ิด) ศาลจะถอนอานาจปกครอง ของคูส่ มรสและสัง่ ให้ บคุ คลภายนอกเป็ นผู้ปกครองก็ได้ ทังนี ้ ้ โดยคานึงถึงความผาสุกและประโยชน์ของบุตรนันเป็ ้ นสาคัญ บิดาหรื อมารดาย่อมมีสทิ ธิที่จะติดต่อกับบุตรของตนได้ ตามควรแก่พฤติการณ์ ไม่วา่ บุคคลใดจะเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองหรื อผู้ปกครองก็ตาม การหย่าโดยคาพิพากษาของศาล หรื อในกรณีที่สญ ั ญาหย่ามิได้ กาหนดเรื่ องค่าอุปการะเลี ้ยงดูบตุ รไว้ ให้ ศาลเป็ นผู้กาหนด อ้ างเป็ นเหตุเสื่อมสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ทาการโดยสุจริตไม่ได้ เว้ นแต่ จะได้ จดทะเบียนการหย่านัน้ แล้ ว

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

20

บิดามารดากับบุตร (อ.รัศฎา) บททั่วไป ข้ อสันนิษฐานการตัง้ ครรภ์

๑๕๔๖

 

เด็กเกิดจากหญิงที่มไิ ด้ มีการสมรสกับชาย เว้ นแต่ จะมีกฎหมายบัญญัตไิ ว้ เป็ นอย่างอื่น

ข้ อสันนิษฐานการเป็ นบุตรโดยชอบด้ วย กม. การให้ สันนิษฐานว่ าเป็ นบุตร ๑๕๓๖  เด็กเกิดแต่หญิงขณะเป็ นภริยาชาย หรือ โดยชอบด้ วย กม. ของสามีหรือ ว.๑ ภายใน ๓๑๐ วัน นับแต่วนั ที่การสมรสสิ ้นสุดลง ว.๒  เด็กเกิดก่อนที่ได้ มีคาพิพากษาถึงที่สดุ ว่าการสมรสเป็ นโมฆะ หรือ เคยเป็ นสามี (เหตุสิ้นสุดการ สมรส – ชายตาย / หย่า / ศาลเพิก ภายใน ๓๑๐ วัน นับแต่ที่ศาลพิพากษาว่าการสมรสเป็ นโมฆะ ถอนการสมรสทีเ่ ป็ นโมฆี ยะ) การให้ สันนิษฐานว่ าเป็ นบุตร ๑๕๓๗ องค์ประกอบ โดยชอบด้ วย กม.ของสามีใหม่  หญิงหม้ ายสมรสใหม่ภายใน ๓๑๐ วัน นับแต่การสมรสครัง้ ก่อนสิ ้นสุดลง (กรณี สมรสใหม่ภายใน ๓๑๐ วัน และ และคลอดบุตรภายใน ๓๑๐ วัน  คลอดบุตรภายใน ๓๑๐ วัน นับแต่วน ั ที่การสมรสสิ ้นสุดลง นับแต่วนั ทีก่ ารสมรสเดิมสิ้นสุด) การให้ สันนิษฐานว่ าเป็ นบุตร ๑๕๓๘ โดยชอบด้ วย กม.ของสามีซึ่งจด ว.๑ ว.๓ ทะเบียนสมรสครั้งหลัง (กรณี ม.๑๕๓๘ เป็ นกรณี ว.๒ หญิง ๑ คน จดทะเบียนสมรส ซ้ อนกับชาย ๒ คน) การฟ้องคดีไม่ รับเด็กเป็ นบุตร ๑๕๓๙ (ชายฟ้ องปฏิ เสธเด็ก)

 





เด็กเกิดระหว่างชายกับหญิงที่สมรสซ้ อน (หญิ งจดทะเบียนกับชาย ๒ คน) เด็กที่เกิดภายใน ๓๑๐ วัน นับแต่วนั ที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ การ สมรสเป็ นโมฆะ เพราะจดทะเบียนสมรสซ้ อน แต่ถ้ามีคาพิพากษาถึงที่สดุ แสดงว่าเด็กมิใช่บตุ รชอบด้ วย กม. ของชายผู้ เป็ นสามีซึ่งได้ จดทะเบียนสมรสครัง้ หลัง

ให้ ถือว่าเป็ นบุตรชอบด้ วย กฎหมายของหญิงนัน้ ให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่าเป็ น บุตรชอบด้ วย กม. ของชาย ผู้เป็ นสามี หรื อเคยเป็ น สามี แล้ วแต่กรณี

เป็ นข้ อสันนิษฐานเบื ้องต้ นเพื่อคุ้มครองเด็ก ซึ่งฝ่ าย ชายสามารถพิสจู น์หกั ล้ างได้ (กรณี ม.๑๕๓๖ เป็ นกรณี ชาย ๑ คน จด ทะเบียนสมรสซ้ อนกับหญิง ๒ คน และ ลูกเกิดจากภรรยาน้ อย)

ให้ สนั นิษฐานว่าเด็กที่เกิด  ทังนี ้ ้ ไม่นาข้ อสันนิษฐานว่าเด็กเป็ นบุตรชอบ แต่หญิงนันเป็ ้ นบุตรชอบ ด้ วย กม. ของสามีเดิมมาใช้ บงั คับ ด้ วย กม. ของชายผู้เป็ น  เว้ นแต่ มีคาพิพากษาของศาลแสดงว่าเด็กมิใช่ สามีคนใหม่ บุตรชอบด้ วย กม.ของชายผู้เป็ นสามีคนใหม่  ให้ สน ั นิษฐานไว้ ก่อนว่าเด็กที่เกิดในระหว่างการสมรสซ้ อนเป็ นบุตรชอบด้ วยกม. ของชายผู้เป็ นสามีซ่ งึ ได้ จดทะเบียนสมรสครัง้ หลัง ให้ สนั นิษฐานว่าเด็กเป็ นบุตรของชายคนที่จดทะเบียนครัง้ แรก (เนือ่ งจาก ทะเบียนสมรสครัง้ แรกยังมีผล เด็กจึงเกิ ดแต่บตุ รทีเ่ ป็ นสามีเดิ มของหญิ ง)

ชายผู้ได้ รับการสันนิษฐานให้ เป็ นบิดาเด็ก ตาม ม.๑๓๑๖ – ม.๑๓๑๘ สามารถฟ้องปฏิเสธไม่รับ วิธีการฟ้องไม่รับเด็กเป็ นบุตร แบ่งออกเป็ น ๓ กรณี ได้ แก่ เด็กเป็ นบุตรได้ โดยต้ องฟ้องเด็กกับมารดาร่วมกันเป็ นจาเลย โดยต้ องพิสจู น์ ๒ กรณี ว่าตน  กรณี เด็กและแม่ยง ั มีชีวติ อยู่ทงคู ั ้ ่ –ฟ้องเด็กกับแม่เด็ก  ไม่ได้ อยู่ร่วมกับมารดาเด็กในระยะเวลาตังครรภ์ ้ คือ ระหว่ าง ๑๘๐ – ๓๖๐ วันนับแต่เด็ก ร่วมกันเป็ นจาเลย เกิด หรือ  กรณี แม่เด็กไม่มีชีวต ิ อยู่ – ฟ้องเด็กแต่ผ้ เู ดียวเป็ นจาเลย  ไม่สามารถเป็ นบิดาของเด็กได้ เพราะเหตุอย่ างอื่น (เป็ นหมัน เสื อ ่ มสมรรถภาพทางเพศ กรณีเด็กไม่มีชีวติ อยู่แล้ ว – ยื่นเป็ นคาร้ องให้ ศาลพิพากษาว่า ถาวร พิสูจน์กลุ่มเลือด / DNA / พิสูจน์รูปลักษณ์ ของพ่อและเด็กทีแ่ ตกต่างกันอย่างสิ้นเชิ ง เด็กไม่เป็ นบุตร (แม้แม่เด็กจะมีชีวิตอยู่ก็ไม่สาคัญ)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 



กรณีห้ามฟ้องคดีปฏิเสธความ เป็ นบุตร (กม.ปิ ดปาก)

๑๕๔๑

ระยะเวลาการฟ้องคดีไม่รับเด็ก เป็ นบุตร

๑๕๔๒ ว.๑ ว.๒



การรับมรดกความการฟ้องไม่ รับรองบุตร

๑๕๔๓ ๑๕๔๔

เด็กฟ้องคดีปฏิเสธบิดา (กรณี เป็ นเด็กโดยชอบด้วย กม. ของชาย แต่ต่อมาพบว่าชายไม่ใช่ บิดาทีแ่ ท้จริ ง)

๑๕๔๕

21

ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามี (เป็ นหลัก กม. ปิ ดปาก เนือ่ งจากทะเบียนเกิ ดของ บุตรเป็ น กม.มหาชน เกี ่ยวกับครอบครัว) จะฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็ น  บุตรตาม ม. ๑๕๓๙ ไม่ได้   ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่วน ั รู้ถึงการเกิดของเด็ก  แต่ ไม่เกิน ๑๐ ปี นับแต่วน ั เกิดของเด็ก  กรณี ที่มีคาพิพากษาแสดงว่าเด็กมิใช่บต ุ รโดยชอบด้ วย กม. ของชายผู้เป็ นสามีคนใหม่  ที่สมรสภายใน ๓๑๐ วันหลังจากการสมรสเดิมสิ ้นสุด (ม.๑๕๓๗) หรื อ  ที่สมรสซ้ อน (ม.๑๕๓๘)  ทาให้ ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามีต้องด้ วยบทสันนิษฐานว่าเด็กเป็ นบุตร ชอบด้ วย กม.ของตน (ม.๑๕๓๖) ต้ องฟ้องคดีภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ที่ร้ ูวา่ มี ซึ่งหากชายที่ต้องบทสันนิษฐานดังกล่าวต้ องการฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็ นบุตร คาพิพากษาถึงที่สดุ  ในกรณี ที่ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามีได้ ฟ้องคดีไม่  ผู้มีสท ิ ธิได้ รับมรดกร่วมกับเด็ก หรื อ ผู้จะเสียสิทธิรับมรดกเพราะการเกิดของเด็กมีสทิ ธิขอเข้ าเป็ นคูค่ วาม รับเด็กเป็ นบุตรแล้ ว และต่อมาตายก่อนคดีถึงที่สดุ แทนที่ หรือ อาจถูกเรี ยกให้ เข้ ามาเป็ นคูค่ วามแทนที่ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามีก็ได้  การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็ นบุตร ผู้มีสท ิ ธิได้ รับมรดกร่วมกับเด็ก หรื อผู้จะเสีย สิทธิรับมรดกเพราะการเกิดของเด็ก อาจฟ้องได้ ในกรณี ดงั ต่อไปนี ้ ต้ องฟ้องภายใน ๖ เดือนนับแต่ (๑) ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามีตายก่อนพ้ นระยะเวลาที่ชายผู้เป็ นหรื อเคย  (๑) วันที่ร้ ูถึงการตายของชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามี เป็ นสามีจะพึงฟ้องได้  (๒) วันที่ร้ ูถึงการเกิดของเด็ก (๒) เด็กเกิดภายหลังการตายของชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามี  ทังนี ้ ้ ทัง้ ๒ กรณี ห้ ามมิให้ ฟ้องเมื่อพ้ น ๑๐ ปี นับแต่วนั เกิดของเด็ก  กรณี เด็กต้ องการฟ้องปฏิเสธความเป็ นบุตร เนื่องจากปรากฏข้ อเท็จจริ งว่าชายผู้เป็ น เด็กสามารถร้ องขอต่ออัยการให้ ฟ้องคดีปฏิเสธความเป็ นบุตรชอบด้ วย สามีของมารดาไม่ใช่บดิ าที่แท้ จริงของตน กม.ของชายนันก็ ้ ได้  อายุความฟ้องร้ อง  ถ้ าเด็กรู้ก่อนบรรลุนิตภ ิ าวะ – ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่เด็กบรรลุนิตภิ าวะ  ถ้ าเด็กรู้หลังเด็กบรรลุนิตภ ิ าวะ – ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นบั แต่เด็กรู้เหตุ  ทังนี ้ ้ห้ ามฟ้องคดีภายหลัง ๑๐ ปี เมื่อเด็กบรรลุนิตภิ าวะ 

ถ้ าปรากฏว่าตนเป็ นผู้แจ้ งการเกิดของเด็กในทะเบียนคนเกิดเองว่าเป็ นบุตร ของตน หรือ จัดหรื อยอมให้ มีการแจ้ งดังกล่าว ชายผู้เป็ นหรื อเคยเป็ นสามี หากต้ องการฟ้องไม่รับเด็กเป็ นบุตร

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

วิธีการเปลี่ยนสถานะของบุตร นอกสมรสให้ เป็ นบุตรชอบด้ วย กม. (เป็ นผลมาจาก ๓ กรณี นี้ เท่านัน้ )

๑๕๔๗

22

เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มไิ ด้ สมรสกัน หากต่อมา เด็กจะเป็ นบุตรชอบด้ วย อันจะมีผลให้ บดิ าเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองบุตร  บิดามารดาได้ สมรสกัน กม.ของบิดา  บิดาได้ จดทะเบียนรับรองว่าเป็ นบุตร  ศาลพิพากษาว่าเป็ นบุตร ๑๕๔๘  บิดาจะจดทะเบียนเด็กเป็ นบุตรชอบ (ดูกรณี จดทะเบียนรับรองเด็กทีต่ ายแล้วเป็ นบุตร น.๓๓๗ เทียบ ฎ.๒๔๗๓/๒๕๔๕ ซึ่ง อ.ประสพสุข มองว่าไม่น่าทาได้  การจดทะเบียนรับรองบุตรของ ว.๑ เนือ่ งจากผูต้ ายสิ้นสภาพบุคคลไปแล้ว ไม่อาจใช้สิทธิ และปฏิ บตั ิหน้าที ่ของบิดามารดาและบุตรต่อกันได้ นอกจากนัน้ บิดาต้ องได้ รับความยินยอม ด้ วย กม.ได้ ก็ตอ่ เมื่อได้ รับความ การทีต่ อ้ งได้รบั ความยินยอมจากมารดาและเด็ก แสดงว่าเป็ นเรื ่องทีบ่ ตุ รหรื อมารดาต้องมีชีวิตอยู่ ดังนัน้ จึงต้องจากัด ยินยอมของเด็กและมารดาเด็ก เฉพาะกรณี มารดาเด็กตายไปแล้วเท่านัน้ เพือ่ ให้องค์ประกอบหลัก คือ บิดาและเด็กสามารถใช้ ม.๑๕๔๘ ว.๓ ได้) ว.๒  ในกรณีที่บดิ าขอจดทะเบียนรับรองบุตร แต่เด็กและมารดาเด็กไม่ ได้ มาให้  นายทะเบียนต้ องแจ้ งการขอจดทะเบียนของบิดาไปยังเด็กและมารดาเด็ก (กรณี พอ่ มาขอจดทะเบียนรับรอง บุตร แต่แม่และเด็กไม่ได้มาแสดง ความยินยอมต่อหน้ านายทะเบียน (นัดกันแล้วไม่มา) ตัวเพือ่ ให้ความยินยอมต่อนาย  ถ้ าเด็กหรื อมารดาเด็กไม่คด ั ค้ าน หรือ ไม่ให้ ความยินยอมภายใน ๖๐ วัน  ให้ สนั นิษฐานว่าเด็กหรื อมารดาเด็กไม่ให้ ความยินยอม ทะเบียน ณ วันที ่มีการขอจด) นับแต่การแจ้ งนันถึ ้ งเด็กหรื อมารดาเด็ก  ถ้ าเด็กหรื อมารดาเด็กอยู่นอกประเทศไทย  ให้ ขยายเวลาการให้ ความยินยอมเป็ น ๑๘๐ วัน กรณีพ่อฟ้องเด็กให้ เป็ นบุตรชอบด้ วย กม. พ่ ออยากรับเด็กเป็ นลูก แต่ แม่ กับเด็กไม่ ยอมรับพ่ อ ว.๓  ในกรณีที่เด็กหรื อมารดาเด็ก คัดค้ านว่าผู้ขอจดทะเบียนไม่ใช่บดิ า หรือ (กรณี แม่คดั ค้านต่อหน้านาย  บิดาเด็กต้ องไปร้ องขอต่อศาลให้ มีการจดทะเบียนรับรองบุตร ทะเบียน) ไม่ให้ ความยินยอม หรือ ไม่อาจให้ ความยินยอมได้ (มาตามนัดแต่คดั ค้าน) ว.๔  เมื่อศาลได้ พพิ ากษาให้ บดิ าจดทะเบียนเด็กเป็ นบุตรได้ และบิดาได้ นา  นายทะเบียนต้ องดาเนินการจดทะเบียนรับรองบุตรให้ คาพิพากษาไปขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ๑๕๔๙  หากมีการจดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตร บิดาจะเข้ ามาใช้ อานาจปกครองบุตรร่วมกับมารดาทันที  กรณี เด็กหรื อมารดาขอคัดค้ าน ว.๑ ว.๒  แต่ เด็กหรื อมารดาสามารถคัดค้ านการใช้ อานาจปกครองของบิดาได้ โดย การใช้ อานาจปกครอง  หากว่าแจ้ งต่อนายทะเบียน (๑) เท่านัน ้ – ผลคือ (เป็ นกรณี ได้มีการจดทะเบียน (๑) แจ้ งให้ นายทะเบียนจดบันทึกไว้ วา่ ผู้ขอจดทะเบียนไม่สมควรใช้ อานาจปกครองบางส่วนหรื อ มารดายับยังการใช้ ้ อานาจปกครองบุตรของ รับรองบุตรโดยบิดาแล้ว ถ้ายัง ทังหมดภายใน ้ ๙๐ วัน นับแต่วนั ทีเ่ ด็กหรื อมารดาได้รับการแจ้งจากนายทะเบียนว่ามี ผขู้ อจด บิดาได้ เพียง ๙๐ วันเท่านัน้ ไม่มีการจดทะเบียนก็ไม่ใช้ ม.นี)้ ทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตร (เป็ นการยับยัง้ การใช้อานาจปกครองโดยชั่วคราวของบิดา) และ  แต่ไม่ได้ ร้องขอต่อศาล (๒) ผลคือ ผู้ขอจด (๒) ร้ องขอต่ อศาลให้ พพิ ากษาว่าผู้ขอจดทะเบียนไม่สมควรใช้ อานาจปกครองบางส่วนหรื อทังหมด ้ ทะเบียนสามารถใช้ อานาจปกครองได้ เมื่อพ้ น **ต้ องผ่ าน ม.๑๕๔๘ มาแล้ ว ภายใน ๙๐ วัน นับแต่ที่ได้แจ้งให้นายทะเบียนจดบันทึก (เป็ นการยับยัง้ การใช้อานาจปกครองโดย ๙๐ วัน นับแต่ที่เด็กหรื อมารดาแจ้ งต่อนาย ถาวรของบิดา) (แต่ บิดาก็ยงั ได้เป็ นบิดาโดยชอบด้วย กม. ของบุตร – มีสิทธิ /หน้าทีร่ ะหว่างกัน) ทะเบียน (เนือ่ งจากไม่ได้ไปร้องต่อศาล) 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ว.๓

23

หากศาลพิพากษาว่าผู้ขอจดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตรไม่สมควรใช้ อานาจ ศาลอาจพิพากษาในคดีเดียวกันนัน้ ให้ ผ้ ใู ดเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองหรือเป็ น ปกครองบางส่วนหรื อทังหมด ้ ผู้ปกครองเพื่อการปกครองบางส่วนหรื อทังหมดก็ ้ ได้  กรณี ผ้ ม ู ีสว่ นได้ เสียจะขอให้ ศาล ๑๕๕๔  การฟ้องเพิกถอน – ผู้มีสว่ นได้ เสียต้ องฟ้องต่อศาล โดยต้ องเกิดจากข้ อเท็จจริงว่าผู้ขอจดทะเบียน ผู้มีสว่ นได้ เสีย -- ได้ แก่ เด็ก / บิดามารดาที่แท้ จริงของเด็ก เพิกถอนการจดทะเบียนรับรอง ไม่ ใช่ พ่อที่แท้ จริงของเด็ก / บุคคลผู้มีสทิ ธิรับมรดกร่วมกับเด็ก หรื อบุคคลที่จะต้ อง เด็กเป็ นบุตร  อายุความ – ต้ องฟ้องภายใน ๓ เดือน นับแต่วน ั ที่ร้ ูถึงการจดทะเบียนนัน้ (กรณี เกิ ดจากการจด เสียสิทธิรับมรดกเพราะการจดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตร / ผู้ ทะเบียนโดยถูกหลอก / ถูกข่มขู่ – อายุความควรเป็ น ๓ เดือน นับแต่พน้ วันทีถ่ ูกข่มขู่หรื อรู้ว่าไม่ใช่ ขอจดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตรหากเขามิใช่บดิ าที่แท้ จริง ลูกของเค้า – ความเห็นส่วนตัวของ อ.) กรณีบุตรฟ้องพ่ อให้ รับเป็ นบุตรโดยชอบด้ วย กม. พ่ อไม่ เต็มใจรับเด็กเป็ นลูก แต่ แม่ กับเด็กต้ องการให้ พ่อรับผิดชอบ บทสันนิษฐานเกี่ยวกับการฟ้อง ๑๕๕๕ ในคดีฟ้องขอให้ ชายรับเด็กเป็ นบุตรชอบด้ วย กม. หากปรากฏข้ อเท็จจริงว่า ขอให้ ชายรับเด็กเป็ นบุตรโดย (๑) เมื่อมีการข่มขืนกระทาชาเรา ฉุดคร่ า หรื อหน่วงเหนี่ยวกักขังหญิงมารดาโดยมิชอบด้ วย กม.ในระยะเวลาซึ่งหญิงนันอาจตั ้ งครรภ์ ้ ได้  ให้ สน ั นิษฐาน ชอบ ด้ วย กม. (๒) เมื่อมีการลักพาหญิงมารดาไปในทางชู้สาว หรื อมีการล่อลวงร่วมประเวณีกบั หญิงมารดาในระยะเวลาซึ่งหญิงนันอาจตั ้ งครรภ์ ้ ได้ ไว้ ก่อนว่าเด็ก (๓) เมื่อมีเอกสารของบิดาแสดงว่าเด็กนันเป็ ้ นบุตรของตน (ไม่ตอ้ งเป็ นหนังสือทางการก็ได้ อาทิ ใบเสร็จค่าเล่าเรี ยน จดหมายโต้ตอบ) เป็ นบุตรชอบ (การรับรองโดยพฤติการณ์ (๗) (๔) เมื่อปรากฏในทะเบียนคนเกิดว่าเด็กเป็ นบุตรโดยมีหลักฐานว่าบิดาเป็ นผู้แจ้ งการเกิดหรื อรู้เห็นยินยอมในการแจ้ งนัน้ ด้ วยกฎหมาย ไม่ทาให้บตุ รเป็ นบุตรโดยชอบด้วย (๕) เมื่อบิดามารดาได้ อยู่กินด้ วยกันอย่างเปิ ดเผยในระยะเวลาซึ่งหญิงมารดาอาจตังครรภ์ ้ ได้ (ต้องดูพฤติการณ์ ประกอบด้วย) ของชาย กม. ขึ้นมาได้) (๖) เมื่อมีการร่วมประเวณีกบั หญิงมารดาในระยะเวลาซึ่งหญิงนันอาจตั ้ งครรภ์ ้ ได้ และ มีเหตุอนั ควรเชื่อได้ วา่ เด็กมิได้ เป็ นบุตรของชายอื่น (๗) เมื่อมีพฤติการณ์ที่ร้ ูกนั ทัว่ ไปตลอดมาว่าเป็ นบุตร โดยให้ พจิ ารณาข้ อเท็จจริงที่แสดงความเกี่ยวข้ องฉันบิดากับบุตร เช่น บิดาให้ ชายต้ องพิสูจน์ หักล้ างในศาล / การศึกษา ให้ ความอุปการะเลี ้ยงดู หรื อยอมให้ เด็กนันใช้ ้ ชื่อสกุลของตน หรื อโดยเหตุประการอื่น (แม้เด็กยังไม่เกิ ดก็ได้ อาทิ เลีย้ งฉลอง หากพิสูจน์ ไม่ ได้ – ต้ องรับเด็ก การตัง้ ครรภ์ ) ให้ เป็ นบุตรโดยชอบด้ วย กม. ในกรณีใดกรณีหนึ่งข้ างต้ น ถ้ าปรากฏว่าชายไม่อาจเป็ นบิดาของเด็กนันได้ ้  ให้ ยกฟ้องเสีย ๑๕๕๖ การฟ้องคดีขอให้ ชายรับเด็กเป็ นบุตร (ขณะทีเ่ ด็กมีชีวิตอยู่)  การฟ้องคดีของให้ รับเด็กเป็ น บุตรขณะเป็ นผู้เยาว์ (บุตรฟ้ อง ว.๑ – ว.  กรณีเด็กอายุไม่ถึง ๑๕ ปี  ต้ องให้ ผ้ แ ู ทนโดยชอบธรรมฟ้อง ๓ ให้พอ่ รับให้เป็ นลูก โดยต้องมี  กรณี เด็กไม่มีผ้ แ ู ทนโดยชอบธรรม หรื อมีแต่ไม่สามารถทาหน้ าที่ได้  ญาติสนิทของเด็กหรื ออัยการอาจร้ องขอต่อศาลให้ ตงผู ั ้ ้ แทนเฉพาะคดีเพื่อทา เหตุเข้าบทสันนิษฐานตาม ม. หน้ าที่ฟ้องคดีแทนเด็กได้ ๑๕๕๕ ก่อน จึงฟ้ องได้)  กรณี เด็กอายุ ๑๕ ปี  เด็กสามารถฟ้องคดีเองได้  (ถ้าบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสเมื อ ่ อายุ ๑๗ ปี ก็ตอ้ งฟ้ องภายในอายุ ๑๘ ปี ) อายุความ – ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่บรรลุนิตภิ าวะ 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ว.๔

การฟ้องคดีขอให้ ชายรับเด็กเป็ นบุตร (กรณี เด็กเสียชี วิตแล้ว)  กรณี เด็กเสียชีวต ิ แล้ ว และผู้สืบสันดานของเด็ก (กรณี อายุ ๑๕ – ๒๐ ปี ) ต้ องการฟ้อง





การมีผลย้ อนหลังของการฟ้อง รับเด็กเป็ นบุตรโดยชอบด้ วย กม.

๑๕๕๗

การฟ้องรับเด็กและการมีสทิ ธิ ได้ รับมรดกของบิดาผู้ตายหาก เด็กชนะคดี

๑๕๕๘

สิทธิและหน้ าที่ของบิดามารดาและบุตร สิทธิ/หน้ าที่ของบุตรต่ อบิดามารดา ๑๕๖๑  สิทธิใช้ ชื่อสกุล

ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นบั แต่บรรลุนิตภิ าวะ (ให้สิทธิ เฉพาะผูส้ ืบสันดานฟ้ อง ไม่ได้ให้สิทธิ แม่เด็ก)  ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่ที่เด็กตาย  ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นบ ั แต่วนั ที่ร้ ูเหตุดงั กล่าว 

ถ้ าผู้สืบสันดานรู้เหตุที่อาจขอให้ รับเด็กเป็ นบุตรมาก่ อนวันที่เด็กนันตาย ้  ถ้ าผู้สืบสันดานได้ ร้ ูเหตุที่อาจขอให้ รับเด็กเป็ นบุตรภายหลังที่เด็กนันตาย ้ อายุความทัง้ ๒ กรณีข้างต้ น ต้ องไม่เกิน ๑๐ ปี นบั แต่วนั ที่เด็กนันตาย ้ การฟ้องคดีขอให้ รับเด็กเป็ นบุตร (กรณี เด็กเสียชี วิตแล้ว และผูส้ ืบสันดานเด็ก เป็ นผูเ้ ยาว์ อายุยงั ไม่ครบ ๑๕ ปี )  ถ้ าผู้สืบสันดานเด็กยังมีอายุไม่ครบ ๑๕ ปี บริ บร ู ณ์  ให้ ผ้ แ ู ทนโดยชอบธรรมของผู้สืบสันดานเด็กฟ้องแทน  เมื่อผู้สืบสันดานเด็กมีอายุครบ ๑๕ ปี บริ บร ู ณ์  ให้ ผ้ ส ู ืบสันดานฟ้องเอง โดยไม่ต้องได้ รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม  การเป็ นบุตรชอบด้ วยกฎหมายตามมาตรา ๑๕๔๗  ให้ มีผลนั บแต่ วันที่เด็กเกิด (มี ผลย้ อนหลังเพือ ่ คุ้มครองเด็ก)  แต่ จะอ้ างเป็ นเหตุเสื่อมสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ทาการโดยสุจริ ตใน  อ้ างไม่ได้ ระหว่างเวลาตังแต่ ้ เด็กเกิดจนถึง  เวลาที่บด ิ ามารดาได้ สมรสกัน หรือ  บิดาได้ จดทะเบียนว่าเป็ นบุตร หรื อ  ศาลพิพากษาถึงที่ สด ุ ว่าเป็ นบุตร  การฟ้องคดีขอให้ รับเด็กเป็ นบุตรของผู้ตายที่ได้ ฟ้องภายในกาหนดอายุความมรดก (ภายใน  เด็กนันมี ้ สทิ ธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ๑ ปี นบั แต่เจ้ามรดกตายหรื อได้รู้ถึงความตายของเจ้ามรดก แต่ไม่เกิ น ๑๐ ปี นับแต่ทีเ่ จ้า มรดกตาย) ถ้ าศาลได้ พพิ ากษาว่าเด็กเป็ นบุตรชอบด้ วย กม. ของผู้ตาย  ในกรณี ที่ได้ มีการแบ่งมรดกไปแล้ ว  นาบทบัญญัตว ิ า่ ด้ วยเรื่ องลาภมิควรได้ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม 

ว.๕

24

 

บุตรมีสทิ ธิใช้ ชื่อสกุลของบิดา (เป็ นสิทธิ ของบุตรจะใช้หรื อไม่ใช้ก็ได้) ในกรณีที่บดิ าไม่ปรากฏ บุตรมีสทิ ธิใช้ ชื่อสกุลของมารดา

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

ห้ ามฟ้องบุพการี

๑๕๖๒

 



หน้ าที่ในการอุปการะเลี ้ยงดู

๑๕๖๓

สิทธิ/หน้ าที่ของบิดามารดาต่ อบุตร  หน้ าที่อป ุ การะเลี ้ยงดูและให้ ๑๕๖๔ การศึกษา  อานาจปกครองของบิดามารดา ๑๕๖๖



   

สิทธิของผู้ใช้ อานาจปกครอง

๑๕๖๗



อานาจปกครองกรณีคสู่ มรสมี บุตรติดมา  ผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร

๑๕๖๘



๑๕๖๙









คาสัง่ ศาลที่มีผลเป็ นการถอน ผู้ใช้ อานาจปกครองหรื อ ผู้ปกครองโดยปริยาย (อ.บอกว่าเป็ น ม. ที ่สาคัญ)  คาบอกกล่าว  ความหมายอานาจปกครอง



๑๕๖๙/๑





๑๕๗๐ ๑๕๗๑

 

25

ห้ามฟ้ องเฉพาะบุพการี ทีช่ อบด้วย กม. เท่านัน้ / บุพการี ตามความเป็ นจริ งฟ้ องได้ - กรณี ผู้ใดจะฟ้องบุพการี ของตนเป็ นคดีแพ่งหรื อคดีอาญาไม่ได้ แต่ ผู้นนหรื ั ้ อญาติสนิทของผู้นนั ้ อาจร้ องขอให้ อยั การฟ้องคดีแทนได้ บุตรทีบ่ ิดารับรองโดยพฤติการณ์ ไม่ใช่บิดาชอบด้วย กม. ฟ้ องได้ ไม่เป็ นอุทลุม แม้เด็กเกิ ดมา ๑ วันก็มีหน้าที ่ ไม่ดูขอ้ เท็จจริ งว่าจะเลีย้ งดูได้หรื อไม่ ดังนัน้ หากเด็กเกิ ด บุตรมีหน้ าที่ต้องอุปการะเลี ้ยงดูบดิ ามารดา มา ๑ วันแล้วถูกทาละเมิ ด พ่อแม่ก็เรี ยกค่าขาดไร้อุปการะเลีย้ งดูได้ กรณีบตุ รเป็ นผู้เยาว์ (ว.๑)  บิดามารดาจาต้ องอุปการะเลี ้ยงดูและให้ การศึกษาตามสมควร แก่บต ุ รในระหว่างที่เป็ นผู้เยาว์ กรณีบตุ รบรรลุนิตภิ าวะ (ว.๒)  บิดามารดาจาต้ องอุปการะเลี ้ยงดูบต ุ รซึ่งบรรลุนิตภิ าวะแล้ วแต่เฉพาะผู้ทุพพลภาพและหาเลี ้ยงตนเองมิได้ บุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิตภิ าวะต้ องอยู่ใต้ อานาจปกครองของบิดามารดา อานาจปกครองอยู่กบั บิดาหรือมารดาในกรณีดงั ต่อไปนี ้ (๑) มารดาหรื อบิดาตาย (๔) มารดาหรื อบิดาต้ องเข้ ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพราะจิตฟั่ นเฟื อน (๒) ไม่แน่นอนว่ามารดาหรื อบิดามีชีวต ิ อยู่หรื อตาย (๕) ศาลสัง่ ให้ อานาจปกครองอยู่กบ ั บิดาหรือมารดา (๓) มารดาหรื อบิดาถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ฯ หรื อเสมือนไร้ ความสามารถ (๖) บิดาและมารดาตกลงกันตามที่มี กม.บัญญัตไิ ว้ ให้ ตกลงกันได้ ผูใ้ ช้อานาจปกครองมีเพียง ๓ ผู้ใช้ อานาจปกครองมีสทิ ธิ (๑) กาหนดที่อยู่ของบุตร (๓) ให้ บต ุ รทาการงานตามสมควรแก่ความสามารถและฐานานุรูป คนเท่านัน้ ได้แก่ บิ ดา มารดา และผูร้ บั บุตรบุญธรรม (๒) ทาโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสัง่ สอน (๔) เรี ยกบุตรคืนจากบุคคลอื่นซึ่งกักบุตรไว้ โดยมิชอบด้ วย กม. เมื่อบุคคลใดมีบุตรติดมาได้ สมรสกับบุคคลอื่น อานาจปกครองที่มีตอ่ บุตรอยู่ กรณี ลกู ติดพ่อหรื อแม่ พ่อหรื อแม่มีอานาจปกครอง แม้แต่งงานใหม่ ก็ไม่ทาให้คู่สมรสใหม่มีอานาจปกครองขึ้นมาได้ กับผู้ที่บตุ รนันติ ้ ดมา ผู้ใช้ อานาจปกครองเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร ผู้ใช้ อานาจปกครองย่อมเป็ นผู้อนุบาลหรื อผู้พทิ กั ษ์ แล้ วแต่กรณี ในกรณีที่บตุ รถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ฯ เสมือนไร้ ความสามารถ ผู้เยาว์ถกู ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถและศาลมีคาสัง่ ตังบุ ้ คคลอื่นซึ่ง  คาสัง่ ตังนั ้ น้ มีผลเป็ นการถอนผู้ใช้ อานาจปกครอง หรื อผู้ปกครองที่เป็ นอยู่ (กรณี ผพู้ ิทกั ษ์ ไม่มีผลให้เป็ นการถอนอานาจปกครองของพ่อแม่) มิใช่ผใู้ ช้อานาจปกครองหรื อผูป้ กครองเป็ นผู้อนุบาล บุคคลซึ่งบรรลุนิตภิ าวะและไม่มีคสู่ มรสถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ  ให้ บดิ ามารดา หรื อบิดาหรื อมารดาเป็ นผู้อนุบาลหรื อผู้พทิ กั ษ์แล้ วแต่กรณี เว้ นแต่ ศาลจะสัง่ เป็ นอย่างอื่น (แต่ถา้ มี คู่สมรส คู่สมรสจะเป็ นผูอ้ นุบาล) หรื อเสมือนไร้ ความสามารถ คาบอกกล่าวที่ผ้ ใู ช้ อานาจปกครองตาม ม. ๑๕๖๖ หรื อ ม.๑๕๖๘ แจ้ งไปหรื อรับแจ้ งมา ให้ ถือว่าเป็ นคาบอกกล่าวที่บุตรได้ แจ้ งไปหรื อรับแจ้ งมา อานาจปกครองรวมถึงอานาจในการจัดการทรัพย์สนิ ของบุตร และให้ จดั การทรัพย์สนิ นันด้ ้ วยความระมัดระวังเช่นวิญญูชน

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

กรณีหนี ้ที่บตุ รต้ องทาเอง

๑๕๗๒



การจัดสรรเงินได้ ของบุตร

๑๕๗๓



๑๕๗๔ นิตกิ รรมสาคัญที่ผ้ ใู ช้ อานาจ ปกครองจะทาไม่ได้ เว้ นแต่ ศาล จะอนุญาต

26

(หนีท้ ีต่ อ้ งทาเอง โดยสภาพให้บคุ คลอื ่นทาไม่ได้ เช่น ร้องเพลง วาดภาพ ต่าง จากเรื ่องหนีท้ ีต่ อ้ งทาเองเฉพาะตัว อาทิ สมรส รับรองบุตร) ผู้ใช้ อานาจปกครองต้ อง  ถ้ าบุตรมีเงินได้ (เงิ นได้ = เงิ นรายได้จากการประกอบอาชี พ รวมถึงกาไร/ดอกผล  ใช้ เงินนันเป็ ้ นค่าอุปการะเลี ้ยงดูและการศึกษาบุตรก่อน ทางนิตินยั ทีง่ อกเงยมาจากทรัพย์ สิน/เงินทุนทีผ่ อู้ ื ่นให้)  ส่วนที่เหลือจากค่าอุปการะเลี ้ยงดูและการศึกษาของบุตร  เก็บรักษาไว้ เพื่อส่งมอบแก่บต ุ ร  แต่ถ้าผู้ใช้ อานาจปกครองไม่มีเงินได้ เพียงพอแก่การครองชีพตามสมควรแก่ฐานะ  จะใช้ เงินนันตามสมควรก็ ้ ได้ (เนือ่ งจากบุตรมีหน้าทีต่ อ้ งเลีย้ งดูอุปการะ)  เว้ นแต่ เงินได้ ที่เกิดจากทรัพย์สน ิ โดยการให้ โดยเสน่หาหรื อพินยั กรรมซึ่งมีเงื่อนไข  ไม่สามารถใช้ ทรัพย์สนิ นันๆ ้ ของบุตรได้ ว่ามิให้ ผ้ ใู ช้ อานาจปกครองได้ ประโยชน์จากทรัพย์สนิ นัน้ ๆ (๑) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้ เช่าซื ้อ จานอง ปลดจานอง หรื อโอนสิทธิจานอง (๗) ให้ ก้ ย ู ืมเงิน (แต่หากกู้เงินเข้า สามารถทาได้ ไม่ตอ้ งขอศาล) ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรื อสังหาริมทรัพย์ที่อาจจานองได้ (การซื ้อ / การซื ้อฝาก / (๘) ให้ โดยเสน่หา เว้ นแต่ จะเอาเงินได้ ของผู้เยาว์ให้ แทนผู้เยาว์เพื่อการ การเช่าซื ้อ กม.ไม่ได้ห้าม) กุศลสาธารณะ เพื่อการสังคม หรื อตามหน้ าที่ธรรมจรรยา ทังนี ้ ้ (๒) กระทาให้ สด ุ สิ ้นลงทังหมดหรื ้ อบางส่วน ซึ่งทรัพยสิทธิของผู้เยาว์อนั เกี่ยวกับ พอสมควรแก่ฐานานุรูปของผู้เยาว์ อสังหาริมทรัพย์ (อาทิ การยกเลิกสิทธิ เก็บกิ น (๙) รับการให้ โดยเสน่หาที่ มีเงื่อนไขหรื อค่าภาระติดพัน หรื อไม่รับการให้ (๓) ก่อตังภาระจ ้ ายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื ้นดิน สิทธิเก็บกิน ภาระติดพันใน โดยเสน่หา (ไม่รบั การให้รวมถึงการสละมรดก ซึ่งหากทาไมก็ไม่มีผล อสังหาริมทรัพย์ หรื อทรัพยสิทธิอื่นใดในอสังหาริมทรัพย์ (อาทิ การให้บุคคลอื ่น เป็ นการสละมรดกของบุตรผูเ้ ยาว์ ผูเ้ ยาว์ยงั คงมี สิทธิ ได้รบั มรดกอยู่) มาอาศัยอยู่ในทีด่ ินของผูเ้ ยาว์ โดยไม่เสียค่าเช่า) (๑๐) ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลให้ ผ้ เู ยาว์ต้องถูกบังคับชาระหนี ้ (๔) จาหน่ายไปทังหมดหรื ้ อบางส่วนซึ่งสิทธิเรี ยกร้ องที่จะให้ ได้ มาซึ่งทรัพยสิทธิใน หรื อทานิตกิ รรมอื่นที่มีผลให้ ผ้ เู ยาว์ต้องรับเป็ นผู้รับชาระหนี ้ของบุคคล อสังหาริมทรัพย์ หรื อสังหาริ มทรัพย์ที่อาจจานองได้ หรื อสิทธิเรี ยกร้ องที่จะให้ อื่นหรื อแทนบุคคลอื่น ทรัพย์สนิ เช่นว่านันของผู ้ ้ เยาว์ปลอดจากทรัพยสิทธิที่มีอยู่เหนือทรัพย์สนิ นัน้ (๑๑) นาทรัพย์สน ิ ไปแสวงหาผลประโยชน์นอกจากในกรณีที่บญ ั ญัตไิ ว้ ใน (๕) ให้ เช่าอสังหาริ มทรั พย์เกิน ๓ ปี (ถ้าเกิ นก็ ผูกพันผูเ้ ยาว์ ๓ ปี เว้น แต่ พ.ร.บ. มาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรื อ (๓) การเช่านา ผูกพัน ๖ ปี ) (๑๒) (ประนีประนอมยอมความ (๖) ก่อข้ อผูกพันใด ๆ ที่มงุ่ ให้ เกิดผลตาม (๑) (๒) หรื อ (๓) (๑๓) มอบข้ อพิพาทให้ อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย 

ผู้ใช้ อานาจปกครองจะทาหนี ้ที่บตุ รจะต้ องทาเองโดยมิได้ รับความยินยอม ของบุตรไม่ได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

๑๕๗๕

ถ้ าในกิจการใด ประโยชน์ของ ... ขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์  ผู้ใช้ อานาจปกครองต้ องได้ รับอนุญาตจากศาล  ผู้ใช้ อานาจปกครอง ก่อนจึงทากิจการนันได้ ้  คูส ่ มรสของผู้ใช้ อานาจปกครอง (คู่สมรสของบิดา / ของมารดา / ของผูร้ บั บุตรบุญธรรม)  หากไม่ได้ รับอนุญาตจากศาล กิจการนันตกเป็ ้ น โมฆะ  บุตรของผู้ใช้ อานาจปกครอง (บุตรพ่อแม่เดี ยวกัน / ที เ่ กิ ดจากคู่สมรสคนใหม่ / ของผูร ้ บั บุตรบุญธรรม) การสิน้ สุดอานาจปกครอง พิจารณา  ผู้เยาว์ – บรรลุนิตภิ าวะ / ตาย  ผู้ใช้ อานาจปกครอง – ตาย / ถูกศาลสัง่ ถอนอานาจปกครอง (ซึ่งหากผูอ้ ยู่ใต้อานาจยังเป็ นผูเ้ ยาว์ ศาลต้องสัง่ ให้มีผปู้ กครอง)  กรณี เป็ นเหตุในศาลถอนอานาจ ๑๕๘๒ ถ้ าผู้ใช้ อานาจปกครอง ปกครอง ว.๑  เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อเสมือนไร้ ความสามารถโดยคาสัง่ ของศาล  ศาลจะสัง่ เอง หรื อ ญาติของผู้เยาว์หรื ออัยการอาจร้ องขอให้ ศาลสัง่ ให้ ถอน  ใช้ อานาจปกครองเกี่ยวแก่ตว ั ผู้เยาว์โดยมิชอบ (เฆี ่ยนตี สอนให้เป็ นโจร) อานาจปกครองเสียบางส่วนหรื อทังหมดก็ ้ ได้  ประพฤติชว ั่ ร้ าย (อาจเป็ นความผิดทางอาญาหรื อไม่ก็ได้ – เป็ นชู้ / ค้ายา) ว.๒  ล้ มละลาย  ศาลจะสัง่ ตามวิธีใน ว.๑ ให้ ถอนอานาจจัดการทรัพย์ สินเสียก็ได้ (โดยเป็ นการ ถอนเฉพาะอานาจปกครองทรัพย์ สินเท่านัน้ แต่อานาจปกครองส่วนตัวยังอยู่)  จัดการทรัพย์สน ิ ของผู้เยาว์ในทางที่ผดิ จนอาจเป็ นภัยก็ดี  กรณี ศาลสัง่ คืนอานาจปกครอง ๑๕๘๓  ถ้ าเหตุตาม ม.๑๕๘๒ ได้ สิ ้นสุดลง ผู้ถกู ถอนอานาจปกครองบางส่วนหรื อทังหมด ้ หรือญาติของผู้เยาว์อาจขอให้ ศาลสัง่ ให้ กลับมามีอานาจปกครองดังเดิมได้  หน้ าที่อป ุ การะเลี ้ยงดูบุตร ๑๕๘๔  แม้ วา่ ผู้ใช้ อานาจปกครองถูกถอนอานาจปกครองบางส่วนหรื อทังหมด ้ ก็ยงั มีหน้ าที่อปุ การะเลี ้ยงดูผ้ เู ยาว์ตาม กม.  สิทธิของบิดามารดาจะติดต่อบุตร ๑๕๘๔/๑  ไม่วา ่ บุคคลใดจะเป็ นผู้ใช้ อานาจปกครองหรื อผู้ปกครอง บิดาหรื อมารดาย่อมมีสทิ ธิที่จะติดต่อกับบุตรของตนได้ ตามควรแก่พฤติการณ์ ความปกครอง การตัง้ ผู้ปกครอง ๑๕๘๕  ผู้เยาว์ที่ยังไม่ บรรลุนิตภิ าวะ และ ศาลจะกาหนดให้ มี การตังผู ้ ้ ปกครองเป็ นไปตาม ม.๑๕๘๖ว.๑ คือ ให้ ว.๑  ไม่มีบดิ ามารดาหรื อบิดามารดาถูกถอนอานาจปกครอง (ตัง้ โดยคาสัง่ ศาลเท่านัน้ ) ผู้ปกครองขึ ้นก็ได้ ตังโดยค ้ าสัง่ ศาลเมื่อมีการร้ องขอของ ญาติของ ผู้เยาว์ / อัยการ / ผู้ซึ่งบิดาหรื อมารดาที่ตายทีหลัง ได้ ระบุชื่อไว้ ในพินยั กรรมให้ เป็ นผู้ปกครอง ว.๒  ผู้ใช้ อานาจปกครองถูกถอนอานาจปกครองบางส่วน (ม.๑๕๘๒ ว.๑) หรือ  ศาลจะตังผู ้ ้ ปกครองส่วนที่ผ้ ใู ช้ อานาจปกครองถูกถอนอานาจปกครองนันก็ ้ ได้  ผู้ใช้ อานาจปกครองถูกถอนอานาจจัดการทรัพย์สน ิ (ม.๑๕๘๒ ว.๒)  ศาลจะตังผู ้ ้ ปกครองเพื่อจัดการทรัพย์สนิ ก็ได้  การตังผู ้ ้ ปกครอง ๑๕๘๖  การตังผู ้ ้ ปกครองตาม ม.๑๕๘๕ (ผูเ้ ยาว์ทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ และไม่มีบิดา  ตังโดยค ้ าสัง่ ศาลเมื่อมีการร้ องขอของ ญาติของผู้เยาว์ / อัยการ / ผู้ซึ่งบิดาหรื อ มารดา หรื อบิดามารดาถูกถอนอานาจปกครอง) มารดาที่ตายทีหลังได้ ระบุชื่อไว้ ในพินยั กรรมให้ เป็ นผู้ปกครอง  การตังผู ้ ้ ปกครองตามพินยั กรรมที่ให้ มีมากกว่า ๑ คน (ม.๑๕๙๐)  ให้ ศาลตังผู ้ ้ ปกครองตามข้ อกาหนดพินยั กรรม  เว้ นแต่ พินย ั กรรมนันไม่ ้ มีผลบังคับหรื อบุคคลที่ระบุชื่อไว้ ในพินยั กรรมนัน้ เป็ นบุคคลที่ต้องห้ ามมิให้ เป็ นผู้ปกครองตาม ม.๑๕๘๗ 

กิจการที่ประโยชน์ของผู้เยาว์ ขัดกับประโยชน์ของผู้ใช้ อานาจ ปกครอง

27



หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 







จานวนผู้ปกครอง โดยหลัก ผู้ปกครองมีได้ คนเดียว เว้ นแต่ พินยั กรรมระบุไว้ ให้ มีมากว่า ๑ คน หรื อโดยมีเหตุอนั ควร คุณสมบัตผิ ้ ปู กครอง

การเพิกถอนผู้ปกครองที่มี คุณสมบัตติ ้ องห้ าม ตาม ม. ๑๕๘๗ หน้ าที่ของผู้ปกครองก่อนเข้ าใช้ อานาจปกครอง

๑๕๙๐

 

๑๕๘๗

๑๕๘๘

๑๕๙๒ และ ๑๕๙๓ ๑๕๙๕ ๑๕๙๖

โดยหลัก ผู้ปกครองมีได้ เพียง ๑ คน เว้ นแต่  กรณี มีข้อกาหนดพินย ั กรรมให้ ตงผู ั ้ ้ ปกครองหลายคน หรือ  เมื่อมีผ้ รู ้ องขอโดยมีเหตุผลอันสมควร

 

28

ให้ ศาลมีอานาจตังผู ้ ้ ปกครองได้ ตามจานวนที่ศาลเห็นว่าจาเป็ น หากศาลตังผู ้ ้ ปกครองหลายคน อาจกาหนดให้ ผ้ ปู กครองเหล่านันกระท ้ าการ ร่วมกัน หรื อกาหนดอานาจเฉพาะสาหรับแต่ละคนก็ได้

บุคคลที่บรรลุนิตภิ าวะแล้ วอาจถูกตังเป็ ้ นผู้ปกครองได้ เว้ นแต่ ผู้ซึ่ง (๑) ศาลสัง่ ว่าเป็ นคนไร้ ความสามารถ หรื อเสมือนไร้ ความสามารถ (๒) เป็ นบุคคลล้ มละลาย (๓) ไม่เหมาะสมที่จะปกครองผู้เยาว์หรื อทรัพย์สนิ ของผู้เยาว์ (๔) มีหรื อเคยมีคดีในศาลกับผู้เยาว์ ผู้บพุ การี หรื อพี่น้องร่วมบิดามารดาหรื อร่วมแต่บดิ าหรื อมารดากับผู้เยาว์ (๕) บิดาหรื อมารดาที่ตายได้ ทาหนังสือระบุชื่อห้ ามไว้ มใิ ห้ เป็ นผู้ปกครอง  หากปรากฏว่าบุคคลที่ศาลสัง่ ให้ เป็ นผู้ปกครองเป็ นผู้ต้อ งห้ าม  ให้ ศาลต้ องเพิกถอนคาสัง่ เดิมและมีคาสัง่ ใหม่ ตาม ม.๑๕๘๗ (ศาลสัง่ ตัง้ ไปแล้วโดยไม่รู้) (แต่ถ้ากลายเป็ นผู้  ทังนี ้ ้ การเพิกถอนคาสัง่ เดิมต้ องไม่กระทบสิทธิของผู้สจุ ริต (ม.๑๕๘๘) เว้ นแต่ กรณี (๑) ต้องห้ามภายหลังศาลสัง่ ให้เป็ นผูป้ กครอง ดู ม.๑๕๙๘/๗) และ (๒) ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ประกาศในราชกิจจาฯ บุคคลภายนอกจะอ้ างไม่ร้ ูไม่ได้  ผู้ปกครองต้ องรี บทาบัญชีทรัพย์สน ิ ของผู้เยาว์ให้ เสร็จภายใน ๓ เดือน (เนือ่ งจากผูป้ กครองไม่ใช่พอ่ แม่ ศาลจึงเข้ามาควบคุม)  ส่งสาเนาบัญชีทรัพย์สน ิ ให้ ศาล เพื่อให้ ศาลควบคุมการจัดการทรัพย์สนิ ของผู้ปกครองต่อผู้เยาว์  เมื่อศาลยอมรับบัญชีนนแล้ ั ้ ว ผู้ปกครองจึงสามารถใช้ อานาจผู้ปกครองได้  ก่อนศาลยอมรับบัญชีทรัพย์สน ิ ที่  ห้ ามผู้ปกครองทากิจการใด เว้ นแต่ เป็ นเรื่ องที่รีบร้ อนเร่ งด่วน (ค่าเทอม / ค่ารักษาพยาบาลเร่ งด่วน) ผู้ปกครองได้ ยื่นต่อศาล  ทังนี ้ ้ ไม่ให้ ยกข้ อห้ ามดังกล่าวขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทาการโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทน  ถ้ ามีหนี ้เป็ นคุณแก่ผ้ ป ู กครองแต่เป็ นโทษต่อผู้อยู่ในปกครองหรื อเป็ นคุณแก่ผ้ อู ยู่ใน  ให้ ผ้ ป ู กครองแจ้ งข้ อความเหล่านันต่ ้ อศาลก่อนจัดทาบัญชี ปกครองแต่เป็ นโทษต่อผู้ปกครอง ทรัพย์สนิ  ถ้ าผู้ปกครองรู้วา ่ มีหนี ้เป็ นคุณแก่ตนแต่เป็ นโทษต่อผู้อยู่ในปกครอง และมิได้ แจ้ ง ศาล  หนี ้ของผู้ปกครองนันย่ ้ อมสูญไป  ถ้ าผู้ปกครองรู้วา ่ มีหนี ้เป็ นโทษต่อตนแต่เป็ นคุณแก่ผ้ อู ยู่ในปกครอง และมิได้ แจ้ งศาล  ศาลจะสัง่ ถอนผู้ปกครองก็ได้



หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

29

สิทธิและหน้ าที่ของผู้ปกครอง

๑๕๙๘/๒ ผู้ปกครองมีสทิ ธิและหน้ าที่เช่นเดียวกับผู้ใช้ อานาจปกครอง ได้ แก่ ข้อสังเกต – ผู้อยู่ในปกครองไม่มีหน้ าที่ต้องอุปการะ  ม.๑๕๖๔ ว.๑ คือ อุปการะเลี ้ยงดูและให้ การศึกษาตามสมควรแก่บต ุ รผู้เยาว์ เลี ้ยงดูผ้ ปู กครอง นอกจากนัน้ ผู้ปกครองและผู้อยู่ใน (แต่ไม่ตอ้ งอุปการะเลีย้ งดูบตุ รที ่บรรลุนิติภาวะที ท่ พุ พลภาพและหาเลีย้ งตนเองมิได้ ตาม ว.๒) ปกครองไม่มีสทิ ธิรับมรดกซึ่งกันและกัน (เว้นแต่กรณี ที่  ม.๑๕๖๗ คือ กาหนดที่อยู่ / ทาโทษตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสัง่ สอน / ให้ ทาการงานตามสมควรแก่ เป็ นญาติ ก็สามารถรับมรดกในฐานะญาติได้) ความสามารถและฐานานุรูป / เรี ยกคืนเด็กจากบุคคลอื่นซึ่งกักเด็กไว้ โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย  ผู้ปกครองเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรม ๑๕๙๘/๓  ผู้ปกครองเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้อยู่ในปกครอง  ให้ นา ม.๑๕๗๐ / ๑๕๗๑ / ๑๕๗๒ / ๑๕๗๔ / ๑๕๗๕ / ๑๕๗๖ / ๑๕๗๗ มาใช้ โดยอนุโลม ๑๕๙๘/๔  เงินได้ ของผู้อยู่ในปกครอง  การใช้ เงินของผู้ปกครอง  ผู้ปกครองย่อมใช้ ได้ ตามสมควรเพื่อ  ถ้ ามีเหลือให้ ใช้ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ เฉพาะในเรื่ องต่อไปนี ้ (ลงทุนความเสี ย ่ งต่า/เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ยู่ในปกครอง) การอุปการะเลี ้ยงดูและการศึกษาของ (๑) ซื ้อพันธบัตรรัฐบาลไทยหรื อพันธบัตรที่รัฐบาลไทยค ้าประกัน ผู้อยู่ในปกครอง (แต่ไม่ให้ใช้เป็ นเงินเลีย้ งดูผู้ปกครอง (๒) รับขายฝากหรื อรับจานองอสังหาริมทรัพย์ในลาดับแรก แต่จานวนเงินที่รับขายฝากหรื อรับจานองต้ องไม่เกินกึ่ง เนือ่ งจาก ผูอ้ ยู่ในความปกครองไม่มี ราคาตลาดของอสังหาริมทรัพย์นนั ้ หน้าทีต่ าม กม. ทีต่ อ้ งอุปการะเลีย้ งดู (๓) ฝากประจาในธนาคารที่ได้ ตงขึ ั ้ ้นโดย กม. หรื อที่ได้ รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการในราชอาณาจักร ผูป้ กครอง) (๔) ลงทุนอย่างอื่นซึ่งศาลอนุญาตเป็ นพิเศษ ๑๕๙๘/๕  ถ้ าผู้อยู่ในปกครองรู้จกั ผิดชอบและมีอายุไม่ต่ากว่า ๑๕ ปี บริบรู ณ์  การขอคาปรึ กษาผู้อยู่ในความ  ให้ ปรึ กษาหารื อผู้อยู่ในปกครองก่อนเท่าที่จะทาได้ ทังนี ้ ้ การที่ผ้ อู ยู่ในปกครอง ปกครองในกิจการสาคัญ  เมื่อผู้ปกครองจะทากิจการใดที่ สาคัญ ได้ ยินยอมด้ วยนันไม่ ้ ทาให้ ผ้ ปู กครองพ้ นจากความรับ การสิน้ สุดแห่ งความปกครอง ๑๕๙๘/๗ ความเป็ นผู้ปกครองสิ ้นสุดลงเมื่อผู้ปกครอง (๓) เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อเสมือนไร้ ความสามารถ  การสิ ้นสุดความเป็ นผู้ปกครอง (๑) ตาย (๔) เป็ นบุคคลล้ มละลาย (๒) ลาออกโดยได้ รับอนุญาตจากศาล (๕) ถูกถอนโดยคาสัง่ ศาล  กรณี ศาลสัง่ ถอนผู้ปกครอง ๑๕๙๘/๘ (๑) ผู้ปกครองละเลยไม่กระทาการตามหน้ าที่ (ไม่อุปการะ ไม่ส่งเรี ยน พยาบาล) (๔) ผู้ปกครองประพฤติมชิ อบซึ่งไม่สมควรแก่หน้ าที่ (เป็ นนักเลง แมงดา) (๒) ผู้ปกครองประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงในหน้ าที่ (ผูเ้ ยาว์ถูกฟ้ องคดีแต่ไม่ (๕) ผู้ปกครองหย่อนความสามารถในหน้ าที่จนน่าจะเป็ นอันตรายแก่ ช่วยเหลือ) ประโยชน์ของผู้อยู่ในปกครอง (๓) ผู้ปกครองใช้ อานาจหน้ าที่โดยมิชอบ (ยักยอกทรัพย์เด็ก) (๖) มีกรณีดงั บัญญัตไิ ว้ ในมาตรา ๑๕๘๗ (๓) (๔) หรื อ (๕)  ผู้มีสท ิ ธิร้องขอให้ ถอนผู้ปกครอง ๑๕๙๘/๙  การร้ องขอให้ ถอนผู้ปกครองตาม ม.๑๕๙๘/๘  ผู้อยู่ในปกครองที่อายุไม่ต่ากว่า ๑๕ ปี บริ บรู ณ์ / ญาติของผู้อยู่ในปกครอง/ อัยการ จะเป็ นผู้ร้องขอก็ได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

ค่าบาเหน็จสาหรับผู้ปกครอง

๑๕๙๘/ ๑๔

กรณีศาลสัง่ ให้ สามีหรื อภรรยา เป็ นคนไร้ ความสามารถและสัง่ ให้ สามีหรื อภรรยาเป็ นผู้อบุ าล  อานาจจัดการทรัพย์สน ิ กรณีคู่ สมรสเป็ นผู้อนุบาล

๑๕๙๘ /๑๕





๑๕๙๘ /๑๖

บุตรบุญธรรม เงื่อนไขเกี่ยวกับการรับบุตรบุญธรรม ๑๕๙๘/๑๙ เงื่อนไขเกี่ยวกับอายุ เงื่อนไขเกี่ยวกับความยินยอม  กรณี บต ุ รบุญธรรมต้ องให้ ความยินยอม  กรณี รับผู้เยาว์เป็ นบุตรบุญ ธรรม (ต้องขอความยินยอม

๑๕๙๘/๒๐ ๑๕๙๘/๒๑ ว.๑

30

โดยหลัก ผู้ปกครองไม่มีสทิ ธิได้ รับบาเหน็จ เว้ นแต่ (๑) มีข้อกาหนดไว้ ในพินยั กรรมให้ ผ้ ปู กครองได้ รับบาเหน็จ (๒) พินยั กรรมไม่ได้ กาหนดบาเหน็จไว้ แต่ไม่มีข้อกาหนดห้ ามผู้ปกครองรับ  ในการพิจารณากาหนดบาเหน็จ ให้ ศาลพิเคราะห์ถึงพฤติการณ์ รายได้ และ บาเหน็จ ผู้ปกครองจะร้ องขอต่อศาลให้ กาหนดบาเหน็จในภายหลังก็ได้ ฐานะความเป็ นอยู่ของผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง ศาลจะกาหนดให้ หรื อไม่เพียงใดก็ได้  ถ้ าผู้ปกครองหรื อผู้อยู่ในปกครองแสดงได้ วา ่ พฤติการณ์ รายได้ หรื อฐานะ (๓) ไม่มีคาสัง่ ตังผู ้ ้ ปกครองไว้ ในพินยั กรรม และไม่มีข้อกาหนดห้ ามผู้ปกครอง ความเป็ นอยู่ของผู้ปกครองหรื อผู้อยู่ในปกครองได้ เปลี่ยนแปลงไปภายหลัง รับบาเหน็จ ศาลจะกาหนดบาเหน็จให้ แก่ผ้ ปู กครองในคาสัง่ ตังผู ้ ้ ปกครองก็ ที่ได้ เข้ ารับหน้ าที่ผ้ ปู กครอง ศาลจะสัง่ ให้ บาเหน็จ งด ลด เพิม่ หรื อกลับให้ ได้ หรื อถ้ าศาลมิได้ กาหนด ผู้ปกครองจะร้ องขอต่อศาลให้ กาหนดบาเหน็จ บาเหน็จแก่ผ้ ปู กครองอีกก็ได้ แล้ วแต่กรณี ทังนี ้ ้ ให้ ใช้ บงั คับแก่กรณีที่มี ในภายหลังก็ได้ ศาลจะกาหนดให้ หรื อไม่เพียงใดก็ได้ ข้ อกาหนดห้ ามไว้ ในพินยั กรรมมิให้ ผ้ ปู กครองได้ รับบาเหน็จด้ วย  ในกรณี ที่ศาลสัง่ ให้ สามีหรื อภริ ยาเป็ นคนไร้ ความสามารถ และ  นาบทบัญญัตว ิ า่ ด้ วยสิทธิและหน้ าที่ของผู้ใช้ อานาจปกครองมาใช้ บงั คับโดยอนุโลม เว้ นแต่  ภริ ยาหรื อสามีเป็ นผู้อนุบาล สิทธิตาม ม.๑๕๖๗ (๒) และ (๓) (ทาโทษสัง่ สอนว่ากล่าว และ ให้ทาการงานตามสมควรแก่ ความสามารถและฐานานุรูป)  โดยหลัก คูส ่ มรสซึ่งเป็ นผู้อนุบาลของคูส่ มรสที่ถกู ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ  มีอานาจจัดการสินส่วนตัวของคูส ่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่ง และ  มีอานาจจัดการสินสมรสแต่ผ้ เู ดียว  เว้ นแต่ การจัดการสินส่วนตัวและสินสมรสตาม ม.๑๔๗๖ ว.๑ (ที ต ่ อ้ งจัดการร่วมกัน) คู่สมรสนันจะจั ้ ดการไม่ได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากศาล 



บุคคลที่มีอายุไม่ต่ากว่า ๒๕ ปี และ มีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็ นบุตรบุญธรรมอย่างน้ อย ๑๕ ปี

สามารถรับบุคคลอื่น เป็ นบุตรบุญธรรมก็ได้



ในการรับบุตรบุญธรรมที่มีอายุไม่ต่ากว่า ๑๕ ปี ผู้ที่จะเป็ นบุตรบุญธรรม

ต้ องให้ ความยินยอมด้ วย



 

การรับผู้เยาว์ (อายุไม่เกิ น ๑๕ ปี ) เป็ นบุตรบุญธรรม ในกรณีที่บดิ าหรื อมารดาคนใดคนหนึ่งตาย หรือถูกถอนอานาจปกครอง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

 

ถ้าผูจ้ ะรับบุตรบุญธรรมอายุไม่ถึง ๒๕ ปี การรับบุตร บุญธรรมไม่สมบูรณ์ และไม่สามารถให้สตั ยาบันได้

ต้ องได้ รับความยินยอมของบิดาและมารดาของผู้จะเป็ นบุตรบุญธรรม ต้ องได้ รับความยินยอมของมารดาหรื อบิดาซึ่งยังมีอานาจปกครอง สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011











จากบิดามารดาผู้ใช้อานาจ ปกครองของผูจ้ ะเป็ นบุตรบุญ ธรรม)

ว.๒

ผู้เยาว์เป็ นผู้ถกู ทอดทิ ้งและ อยู่ในความดูแลของสถาน สงเคราะห์เด็ก ผู้เยาว์ไม่ได้ ถกู ทอดทิ ้งแต่ อยู่ในความดูแลของสถาน สงเคราะห์เด็ก สถานสงเคราะห์ต้องการรับ ผู้เยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม กรณีผ้ จู ะรับ/ผู้จะเป็ นบุตรบุญ ธรรมมีค่สู มรสอยู่

๑๕๙๘/๒๒

กรณีผ้ เู ยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม ของคนหลายคน

๑๕๙๘/๒๓

๑๕๙๘/๒๔ ๑๕๙๘/๒๕

๑๕๙๘/๒๖

31

ในกรณีไม่มีผ้ มู ีอานาจให้ ความยินยอมตาม ว.๑ หรือ  มารดาหรื อบิดา หรื อ  มีแต่บด ิ าหรื อมารดา หรือ  ผู้ประสงค์จะขอรับบุตรบุญธรรม หรื อ  ทังสองคนไม่ ้ สามารถแสดงเจตนาให้ ความยินยอมได้ หรือ  อัยการ  ไม่ให้ ความยินยอม และการไม่ให้ ความยินยอมนันปราศจากเหตุ ้ ผลอัน จะร้ องขอต่อศาลให้ มีคาสัง่ อนุญาตแทนการให้ ความยินยอม ตาม ว.๑ ก็ได้ สมควรและเป็ นปฏิปักษ์ตอ่ สุขภาพ ความเจริญหรื อสวัสดิภาพของผู้เยาว์  กรณี ผ้ เู ยาว์กาพร้ าและอยู่ในอยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์ หากจะมี  คนที่มีอานาจยินยอม คือ ผู้มีอานาจในสถานสงเคราะห์นน ั้ คนมารับเป็ นบุตรบุญธรรม  ถ้ าบุคคลดังกล่าวไม่อนุญาต  ผู้จะรับบุตรบุญธรรมก็สามารถขอต่อศาลสัง่ ให้ อนุญาตได้  กรณี ผ้ เู ยาว์ไม่ได้ กาพร้ า (มี พอ ่ แม่) แต่ อยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์  พ่อแม่อาจทาหนังสือมอบอานาจให้ สถานสงเคราะห์ให้ ความยินยอมก็ได้  หากผู้เยาว์ยง ั อยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์  พ่อแม่จะถอนหนังสือมอบอานาจให้ สถานสงเคราะห์ ให้ ความยินยอมไม่ได้  ถ้ าสถานสงเคราะห์ไม่อนุญาต  ผู้จะขอรับบุตรบุญธรรมก็ต้องขอศาลสัง่ ให้ อนุญาต  ถ้ าผู้มีอานาจในสถานสงเคราะห์ต้องการรั บเด็กในความสงเคราะห์ ของตน  ต้ องขอต่อศาลสัง่ ให้ อนุญาต จะอนุญาตตนเองไม่ได้ เป็ นบุตรบุญธรรม ไม่วา่ จะเป็ นเด็กกาพร้ าหรื อไม่ก็ตาม  ถ้ าผู้จะรับบุตรบุญธรรมหรื อผู้จะเป็ นบุตรบุญธรรมมีค่ส ู มรส  ต้ องได้ รับความยินยอมจากคูส่ มรสก่อน เหตุผลทีต่ อ้ งขอความยินยอมจากคู่สมรส  สิ นสมรส – เนื อ ่ งจากมีหน้าทีต่ อ้ งอุปการะกัน ซึ่ง  ถ้ าคูส ่ มรสไม่อาจให้ ความยินยอมได้ หรือไปจากภูมลิ าเนา  ต้ องร้ องขอต่อศาลให้ มีคาสัง่ อนุญาต เงินทีน่ ามาใช้อาจมาจากสินสมรส หรื อถิ่นที่อยู่และหาตัวไม่พบเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี แทนการให้ ความยินยอมของคูส่ มรส  มรดก – บุตรบุญธรรมมี สิทธิ รบ ั มรดกของผูร้ ับ บุตรบุญธรรม ทาให้คู่สมรสของผูร้ บั บุตรบุญ ธรรมมีส่วนแบ่งในกองมรดกลดลง  ผู้เยาว์ที่เป็ นบุตรบุญธรรมของบุคคลใดอยู่  จะเป็ นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไม่ได้ (เนื อ ่ งจากจะเกิ ดปัญหาอานาจ ปกครองทับซ้อนกัน) เว้ นแต่ เป็ นบุตรบุญธรรมของคูส่ มรสของผู้รับบุตรบุญธรรม  ถ้ าคูส ่ มรสฝ่ ายหนึ่งจะจดทะเบียนรับผู้เยาว์ซึ่งเป็ นบุตรบุญธรรม  จะต้ องได้ รับความยินยอมของคูส่ มรสซึ่งเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรมอยู่แล้ ว ไม่ต้องขอความ ของคูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นบุตรบุญธรรมของตนด้ วย ยินยอมจากพ่อแม่ที่แท้ จริง (เนือ่ งจากอานาจปกครองได้โอนมาอยู่ทีผ่ รู้ บั บุตรบุญธรรมแล้ว) 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011

การจดทะเบียนสมรสรับบุตร ๑๕๙๘/๒๗ บุญธรรม (ความสมบูรณ์ ในการ รับบุตรบุญธรรม) ความสัมพันธ์ ระหว่ างผู้รับบุตร ๑๕๙๘/๒๘ บุญธรรมกับบุตรบุญธรรม ฐานะของบุตรบุญธรรม สิทธิรับมรดกของบุตรบุญ ธรรม

๑๕๙๘/๒๙

การเลิกรับบุตรบุญธรรมและผล เหตุ ผลของการเลิกรับบุตรบุญ ๑๕๙๘/๓๗ ธรรม



ค่าอุปการะเลี ้ยงดู/ค่าเลี ้ยงชีพ ๑๕๙๘/๓๙

การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ พ.ร.บ.ว่าด้ วยการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม พ.ศ.๒๕๒๒ -- ต้ องมีการทดลองเลี ้ยงดูไม่น้อยกว่า   ต้ องปฏิบต ั ติ ามกฎหมายว่าด้ วย ๖ เดือน และได้ รับอนุมตั ิ ตาม พ.ร.บ. นี ้ เว้ นแต่ ผู้รับบุญธรรมเป็ น พี่ร่วมบิดามารดา พี่ร่วม การรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม บิดาหรื อมารดา ทวด ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้ า อา หรื อผู้ปกครองของผู้ที่จะเป็ นบุตรบุญธรรม ก่อน หรื อเป็ นบุคคลอื่นตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในกฎกระทรวง (ม.๑๙ และ ม.๒๓ ว.๒)  บุตรบุญธรรมมีฐานะเช่นเดียวกับบุตรชอบด้ วย กม. ของผู้รับบุตรบุญธรรม แต่ ไม่ สูญสิทธิและหน้ าที่ในครอบครั วที่ได้ กาเนิดมา  บิดามารดาโดยกาเนิดหมดอานาจปกครองนับแต่วน ั เวลาที่เด็กเป็ นบุตรบุญธรรม  ให้ นาบทบัญญัตว ิ า่ ด้ วยสิทธิหน้ าที่ของบิดามารดาต่อบุตร (ลักษณะ ๒ หมวด ๒ ของบรรพ ๕) มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม (การอุปการะเลีย้ งดู / การใช้อานาจ ปกครอง / การรับมรดก – ทัง้ นี ้ บุตรบุญธรรมฟ้ องผูร้ บั บุตรบุญธรรมได้ ไม่เป็ นอุทลุม) (เพราะจะทาให้เกิ ดการ  ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสท ิ ธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดย แต่ หากเป็ นกรณีที่เป็ นญาติเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรม แสวงประโยชน์จากเด็กได้) ก็ยงั มีสทิ ธิรับมรดกระหว่างกันในฐานะญาติ ธรรม (ลาดับที ่ ๒) การเลิกรับบุตรบุญธรรมทาได้ ๓ วิธี ได้ แก่ ตกลงยินยอมกัน / ฟ้องเลิกรับบุตรบุญธรรม / เลิกโดยผู้รับบุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรม  เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมตายหรื อมีการเลิกรับบุตรบุญธรรม ขณะบุตรบุญธรรม  ให้ บด ิ ามารดาโดยกาเนิดกลับมีอานาจปกครอง ยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ  นับแต่เวลาที่ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมตาย หรื อ  นับแต่เวลาที่จดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรม หรื อ  นับแต่เวลาที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สด ุ ให้ เลิกการรับบุตรบุญธรรม เว้ นแต่ ศาลเห็นสมควรสัง่ เป็ นประการอื่น  ในกรณี ที่มีการตังผู ้ ้ ปกครองของผู้เป็ นบุตรบุญธรรมไว้ ก่อนผู้รับบุตรบุญธรรม  ให้ ผ้ ปู กครองยังคงมีอานาจหน้ าที่เช่นเดิมต่อไป เว้ นแต่ บิดามารดาโดยกาเนิด ตาย หรื อก่อนการเลิกรับบุตรบุญธรรม จะร้ องขอ และศาลมีคาสัง่ ให้ ผ้ รู ้ องขอเป็ นผู้มีอานาจปกครอง  การเปลี่ยนผู้ใช้ อานาจปกครองตาม ว.๑ หรื อ ว.๒  ไม่เป็ นเหตุเสื่อมสิทธิที่บค ุ คลภายนอกได้ มาโดยสุจริตก่อนผู้รับบุตรบุญธรรม ตาย หรื อก่อนจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรม  เมื่อผู้มีสว ่ นได้ เสียแสดงว่าพฤติการณ์ รายได้ หรื อฐานะของคูก่ รณีได้  ศาลจะสัง่ แก้ ไขในเรื่ องค่าอุปการะเลี ้ยงดูโดยให้ เพิกถอน ลด เพิม ่ หรื อกลับให้ เปลี่ยนแปลงไป ค่าอุปการะเลี ้ยงดูอีกก็ได้  ในกรณี ที่ศาลไม่พพ ิ ากษาให้ คา่ อุปการะเลี ้ยงดู เพราะเหตุแต่เพียงอีกฝ่ าย  ผู้เรี ยกร้ องอาจร้ องขอให้ ศาลเปลี่ยนแปลงคาสัง่ ในคดีนน ั ้ ใหม่ได้ หนึ่งไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ ค่าอุปการะเลี ้ยงดูได้ ในขณะนัน้ หากพฤติการณ์ รายได้ หรื อฐานะของอีกฝ่ ายหนึ่งนันได้ ้ เปลี่ยนแปลงไป และพฤติการณ์ รายได้ หรื อฐานะของผู้เรี ยกร้ องอยู่ในสภาพที่ควรได้ รับค่าอุปการะเลี ้ยงดู 

เมื่อจดทะเบียนตาม กม. แต่ถ้าผู้จะเป็ นบุตรบุญ ธรรมนันเป็ ้ นผู้เยาว์

32



หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

As of 30 Sep 2011 

วิธีการชาระค่าอุปการะเลี ้ยงดู ๑๕๙๘/๔๐

 



เว้ นแต่ คกู่ รณีจะตกลงกันให้ ชาระเป็ นอย่างอื่นหรื อโดยวิธีอื่น ถ้ าไม่มีการตกลงกันและมีเหตุพเิ ศษ เมื่อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งร้ องขอและศาล เห็นสมควร ในกรณีขอค่าอุปการะเลี ้ยงดูบตุ ร เมื่อมีเหตุพเิ ศษและศาลเห็นเป็ นการ สมควรเพื่อประโยชน์แก่บตุ ร

 



33

ค่าอุปการะเลี ้ยงดูนนให้ ั ้ ชาระเป็ นเงินโดยวิธีชาระเป็ นครัง้ คราวตามกาหนด จะกาหนดให้ คา่ อุปการะเลี ้ยงดูเป็ นอย่างอื่นหรื อโดยวิธีอื่น โดยจะให้ ชาระเป็ น เงินด้ วยหรื อไม่ก็ได้ จะกาหนดให้ บตุ รได้ รับการอุปการะเลี ้ยงดูโดยประการใด ๆ นอกจากที่คกู่ รณี ตกลงกัน หรื อนอกจากที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งร้ องขอก็ได้ โดยให้ ผ้ ทู ี่มีหน้ าที่ต้อง ชาระค่าอุปการะเลี ้ยงดูออกค่าใช้ จ่ายในการนี ้

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะครอบครั ว โดย Cookingpond TULAW 53

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF