AutoCAD R14 2D Drafting Chapter 01

August 3, 2017 | Author: Isares Podkoh | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download AutoCAD R14 2D Drafting Chapter 01...

Description

สําหรับงานเขียนแบบ 2 มิติ (2D DRAFTING)

2D D R A F T I N G

รวมคําสัง่ ทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับงานเขียนแบบในระบบ 2 มิติ

แสดงขั้นตอนการเขียนไตเติ้ลบล็อคพรอม เทมเพล็ทไฟล ชิน้ สวนเครือ่ งกล ภาพฉาย ไอไซเมตริก ภาพตัดบันไดและบาน

เหมาะสําหรับนักเรียน นิสติ นักศึกษา สถาปนิก วิศวกรและผูส นใจทัว่ ไป

รวมแผน CD-ROM พรอมแบบฝกหัดและระบบ เมนูภาษาไทย AutoCAD R14 สําหรับผูเ ริม่ ตน

ภาณุพงษ ปตติสงิ ห

คูม อื การใชโปรแกรม

AutoCAD R E L E A S E 14

2D DRAFTING

ภาณุพงษ ปตติสงิ ห วศบ. เครื่องกล, คบ. ภาษาอังกฤษ, MSc. MET.(Sweden)

545.-

คูม อื การใชโปรแกรม AutoCAD Release 14 : 2D Drafting โดย ภาณุพงษ ปตติสงิ ห ISBN : พิมพครัง้ ที่ 1 : กรกฎาคม 2541 โดยไดรับการอนุญาตจัดพิมพจากเจาของลิขสิทธิ์ถูกตองตามกฏหมาย สงวนสิทธิต์ ามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537

จัดพิมพโดย บริษทั เดอะ ไลบรารี พับบลิชงิ จํากัด THE LIBRARY PUBLISHING, CO., LTD. 47/188 จรัญสนิทวงศ 96/1 แขวงบางออ เขตบางพลัด กทม. 10700

จัดจําหนายโดย บริษัท ........................................... จํากัด (มหาชน) 71/12-19 ถนนเทศบาลสาย 2 แขวงวัดกัลยาณ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 466-0519 โทรสาร 465-1391

ราคา 495 บาท พิมพที่ โรงพิมพดอกหญา โทรศัพท 392-1569, 392-3115

คํานํา ในสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในปจจุบนั อุตสาหกรรมตางๆ กําลังพยายามลดตนทุนใหตา่ํ ทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปน ไปไดอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ทีจ่ ะชวยลดผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับการดําเนินธุรกิจใหเกิดขึน้ นอยทีส่ ดุ การเขียน แบบดวยคอมพิวเตอรจงึ เปนหนทางหนึง่ ทีส่ ามารถชวยลดตนทุนและเพิม่ ผลผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ การเขียนแบบดวยคอมพิวเตอรมคี วามละเอียดและเทีย่ งตรงสูง สามารถลดขัน้ ตอนการทํางานทีซ่ า้ํ ซาก ทําให สิน้ เปลืองเวลาในการเขียนแบบนอยลง สามารถเพิม่ ปริมาณงานไดมากกวาและยังมีความสะอาดกวาอีกดวย ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ จึงทําใหผูประกอบการที่เกี่ยวของกับการเขียนแบบทั้งขนาดใหญและเล็กจึงหันมาใช คอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบแทนการเขียนแบบดวยมือจนเปนที่แพรหลายในปจจุบันและยังมีแนวโนม การขยายตัวออกไปอยางตอเนือ่ ง นับตัง้ แตเริม่ มีการเขียนแบบบนเครือ่ งคอมพิวเตอรสว นบุคคล ยังไมมโี ปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยในการเขียน แบบโปรแกรมใดทีไ่ ดรบั ความนิยมมากเทากับ AutoCAD เนือ่ งจาก AutoCAD มีคาํ สัง่ ตางๆ ทีช่ ว ยใหเขียนแบบ ไดงา ย ใช เ วลาในการเรี ย นรู ก ารใช โ ปรแกรมไม ม ากนั ก และยั ง มี ก ารพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของ โปรแกรมใหสงู ขึน้ มาโดยตลอด AutoCAD จึงกลายเปนโปรแกรมมาตรฐานทีน่ กั เขียนแบบยุคใหมทกุ คนควร ทีจ่ ะทราบวิธกี ารใชงานเปนอยางดี AutoCAD Release 14 เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยในการเขียนแบบรีลสี ลาสุดทีไ่ ดรบั การยอมรับจากผูใ ช โปรแกรมในหลายแขนงวาเปนโปรแกรมชวยในการเขียนแบบทีส่ มบรูณแ บบ มีการพัฒนาใหมคี วามสามารถ เหนือกวารีลสี 13 เปนอยางมากและยังคงเอกลักษณเดิมทีย่ อมใหผใู ชสามารถปรับแตงโปรแกรมใหเหมาะสม กับความตองการของงานหลายประเภทได เนือ้ หาภายในเลมผูเ ขียนไดอธิบายวิธกี ารใชคาํ สัง่ ใน 2 มิตทิ กุ คําสัง่ โดยแยกคําสัง่ ตางๆ ออกตามประเภทการ ใชงานและแยกตามระดับของคําสัง่ โดยเริม่ ตนจากระดับพืน้ ฐานไปยังระดับสูงและยังครอบคลุมถึงคําสัง่ ในเมนู Bonus ทัง้ หมด รวมทัง้ แสดงขัน้ ตอนการเขียนแบบในบทตางๆ และในแบบฝกหัด อาทิ เชน การสรางไตเติล้ บล็อค(Title block) การเขียนภาพฉายไอโซเมตริก การเขียนแบบเครือ่ งกลและการเขียนแบบสถาปตยกรรม ในหนังสือคูม อื เลมนี้ ผูเ ขียนเนนอธิบายหลักและวิธกี ารใชคาํ สัง่ ตางๆ ทัง้ หมดของ AutoCAD R14 ในระบบ 2 มิตอิ ยางละเอียด พรอมทัง้ รวบรวบเนือ้ หาทีผ่ อู า นสามารถทีจ่ ะนําไปประยุกตใชในงานเขียนแบบจริงไดดว ย ตนเอง ผูเขียนมีความมั่นใจเปนอยางสูงวา หากผูอานไดอานและทดลองทําตามแบบฝกหัดตางๆ ประกอบการ ใชหนังสือคูม อื เลมนีอ้ ยางครบถวนแลว ผูอ า นจะสามารถนําหลักและวิธกี ารไปใชในการเขียนแบบจริงไดอยาง แนนอน หากคูมือเลมนี้มีขอบกพรองหรือผูอานมีขอสงสัยประการใด ผูเขียนยินดีรับคําติชมหรือใหคําปรึกษา ปญหาเกีย่ วกับการใชหนังสือคูม อื เลมนีไ้ ดที่ [email protected] หรือโทร. 01-6191316

ภาณุพงษ ปตติสงิ ห

สารบัญ บทที่ 1 แนะนําการใชคมู อื

....................................................................... 1

• ความหมายตางๆ ในหนังสือคูม อื • การเรียกใชคาํ สัง่ ในหนังสือคูม อื • การทําแบบฝกหัดในหนังสือคูม อื • การใชแผน CD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื

บทที่ 2 แนะนําโปรแกรม AutoCAD Release 14

1 3 4 5

................................... 9

• จุดเดนและความสามารถทีเ่ พิม่ ขึน้ ใน AutoCAD R14 • ความตองการทางดานฮารดแวรและซอฟทแวร • การติดตัง้ AutoCAD R14 ลงสูฮ ารดดิสค • โครงสรางไดเร็คตอรีแ่ ละการจัดเก็บไฟลตา งๆ ของโปรแกรม

บทที่ 3 หลักการเขียนแบบในระบบ 2 มิตดิ ว ย AutoCAD

10 12 13 20

...................... 23

• สวนประกอบตางๆ ของจอภาพ AutoCAD R14 • พิกดั คอรออรดเิ นทในระบบ 2 มิติ • การวัดมุม • การอางอิงตําแหนงและมุม • หนวยวัด • ความหมายของเคอรเซอรรปู แบบตางๆ • หลักการเขียนแบบ 2 มิติ • การเริม่ ตนไฟลใหม • ขอบเขตในการเขียนภาพ(Limits) • การใชปมุ ฟงชัน่ คียช ว ยในการเขียนภาพ • การคนหาและเปดไฟลแบบแปลน • การจัดเก็บและบันทึกไฟล • การเรียกใชคาํ สัง่ • การแกไขขอผิดพลาดในขณะปอนคําสัง่ • การเลือกวัตถุ(Object Selection) • การใชออฟเจกทสแนปและออโตสแนป(Object Snap & AutoSnap) • การใชแทร็คกิง้ (Tracking) • การใชกริบ๊ ส(Grips)

23 28 29 29 30 31 32 33 37 38 41 44 45 46 47 50 55 57

บทที่ 4 การเตรียมพรอม AutoCAD สําหรับการเขียนแบบ 2 มิติ

........... 61

• การปรับแตงความละเอียดของจอภาพ • การเปลีย่ นและเพิม่ เมนูบาร • การปรับจํานวนบรรทัดปอนคําสัง่ (Command line) • การปรับแตงทูลบาร • การปรับแตงสีของพืน้ ทีว่ าดภาพ(Drawing area) • การปรับแตงเคอรเซอรครอสแฮร(Crosshairs cursor) • การปรับแตงทาสคบาร(Task bar)ของวินโดว • การปรับแตง Windows Explorer เพือ่ แสดงนามสกุลไฟล • การปรับสรางโปรไฟล(Profile)บันทึกรูปแบบการปรับแตงจอภาพ

62 64 66 67 72 73 73 74 75

บทที่ 5 ชุดคําสัง่ ในการเขียนภาพ

........................................................... 79

• การเขียนเสนตรงดวยคําสัง่ LINE • การเขียนเสนรางดวยคําสัง่ XLINE • การเขียนเสนรางออกจากจุดทีก่ าํ หนดดวยคําสัง่ RAY • การเขียนเสนอิสระดวยคําสัง่ SKETCH • การเขียนเสนตรงและเสนโคงดวยคําสัง่ PLINE • การเขียนเสนคูข นานดวยคําสัง่ MLINE • การเขียนเสนโคงตอเนือ่ งดวยคําสัง่ SPLINE • การเขียนเสนโคงดวยคําสัง่ ARC • การเขียนวงกลมดวยคําสัง่ CIRCLE • การเขียนรูปขนมโดนัทดวยคําสัง่ DONUT • การเขียนวงรีดว ยคําสัง่ ELLIPSE • การเขียนรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผาดวยคําสัง่ RECTANG • การเขียนรูปหลายเหลีย่ มดวยคําสัง่ POLYGON • การระบายสีดว ยคําสัง่ SOLID • การเขียนเสนดวยคําสัง่ TRACE • การเขียนจุด(Points)ดวยคําสัง่ POINT • การเขียนลวดลายแพทเทิรน ดวยคําสัง่ HATCH • การเขียนลวดลายแพทเทิรน ดวยคําสัง่ BHATCH

บทที่ 6 ชุดคําสัง่ ในการแกไขภาพ • การลบวัตถุดว ยคําสัง่ ERASE • การคัดลอกวัตถุดว ยคําสัง่ COPY

79 82 83 84 84 88 90 91 92 94 94 97 98 98 99 100 100 102

........................................................... 109 109 110

• การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับดวยคําสัง่ MIRROR • การสรางเสนคูข นานดวยคําสัง่ OFFSET • การคัดลอกวัตถุหลายชิน้ ดวยคําสัง่ ARRAY • การเคลือ่ นยายวัตถุดว ยคําสัง่ MOVE • การหมุนวัตถุดว ยคําสัง่ ROTATE • การเปลีย่ นขนาดวัตถุดว ยคําสัง่ SCALE • การดึงวัตถุใหยดื หรือหดดวยคําสัง่ STRETCH • การเพิม่ หรือลดความยาวเสนดวยคําสัง่ LENGHTEN • การตัดเสนดวยคําสัง่ TRIM • การตอเสนดวยคําสัง่ EXTEND • การตัดเสนดวยคําสัง่ BREAK • การสรางมุมตัดดวยคําสัง่ CHAMFER • การสรางมุมมนดวยคําสัง่ FILLET • การเคลือ่ นยายและหมุนวัตถุดว ยคําสัง่ ALIGN • การสรางเสนขอบเขตดวยคําสัง่ BOUNDARY • การสรางรูป 2 มิตทิ บึ ตันดวยคําสัง่ REGION • การรวมรูป 2 มิตทิ บึ ตันดวยคําสัง่ UNION • การหักลบรูป 2 มิตทิ บึ ตันดวยคําสัง่ SUBTRACT • การสรางรูป 2 มิตทิ บึ ตันโดยใชสว นทีต่ ดั กันดวยคําสัง่ INTERSECT • การระเบิดวัตถุดว ยคําสัง่ EXPLODE • การเรียกคืนวัตถุทถี่ กู ลบดวยคําสัง่ OOPS • การแกไขลวดลายแฮทชดว ยคําสัง่ HATCHEDIT • การแกไขเสน PLINE ดวยคําสัง่ PEDIT • การแกไขเสน SPLINE ดวยคําสัง่ SPINEDIT • การแกไขเสน MLINE ดวยคําสัง่ MLEDIT • การแกไขคุณสมบัตวิ ตั ถุดว ยคําสัง่ AI_PROPCHK • การเปลีย่ นคุณสมบัตวิ ตั ถุดว ยคําสัง่ MATCHPROP

บทที่ 7 ชุดคําสัง่ ในการกําหนดรูปแบบวัตถุ

112 112 113 115 115 117 118 119 120 123 124 125 127 128 129 130 131 132 133 133 134 134 134 136 138 140 142

........................................... 143

• การสรางชัน้ เลเยอรดว ยคําสัง่ LAYER • การกําหนดสีของวัตถุดว ยคําสัง่ DDCOLOR • การกําหนดรูปแบบของเสนดวยคําสัง่ LINETYPE • การกําหนดรูปแบบจุดดวยคําสัง่ DDPTYPE • การกําหนดรูปแบบของเสน MLINE ดวยคําสัง่ MLSTYLE

143 149 151 154 155

158 • การกําหนดหนวยวัดดวยคําสัง่ DDUNITS 159 • การกําหนดขอบเขตในการเขียนแบบแปลนดวยคําสัง่ LIMITS • การเปลีย่ นชือ่ บล็อค เลเยอร รูปแบบตัวอักษรและอืน่ ๆ ดวยคําสัง่ DDRENAME 160

บทที่ 8 ชุดคําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของบล็อค เอกซเรฟและอิมเมจ

.......................... 163

• การสรางบล็อคดวยคําสัง่ BMAKE • การสรางบล็อคดวยคําสัง่ BLOCK • การสอดแทรกบล็อคและไฟลดว ยคําสัง่ DDINSERT • การสอดแทรกบล็อคดวยคําสัง่ INSERT • การกําหนดจุดสอดแทรกของไฟลดว ยคําสัง่ BASE • การแบงเสนออกเปนสวนๆ เทาๆ กันดวยคําสัง่ DIVIDE • การแบงเสนออกเปนระยะเทาๆ กันดวยคําสัง่ MEASURE • การบันทึกบล็อคลงในไฟล .DWG ดวยคําสัง่ WBLOCK • การสอดแทรกเอกซเรฟเฟอเรนซดว ยคําสัง่ XREF • การแปลงเอกซเรฟเฟอเรนซใหเปนบล็อคดวยคําสัง่ XBIND • การสอดแทรกรูปภาพอิมเมจ(Image)ดวยคําสัง่ IMAGE • การปรับแตงรูปภาพอิมเมจดวยคําสัง่ IMAGEADJUST • การปรับแตงคุณภาพของรูปภาพอิมเมจดวยคําสัง่ IMAGEQUALITY • การปรับแตงกรอบของรูปภาพอิมเมจดวยคําสัง่ IMAGEFRAME • การตัดบางสวนของรูปภาพอิมเมจดวยคําสัง่ IMAGECLIP

บทที่ 9 การเขียนตัวอักษร

164 165 166 167 168 169 171 171 174 177 178 180 181 181 182

....................................................................... 183

• การสรางรูปแบบของตัวอักษรดวยคําสัง่ DDSTYLE • การเขียนตัวอักษรแบบยอหนาดวยคําสัง่ MTEXT • การเขียนตัวอักษรแบบไดนามิกดวยคําสัง่ DTEXT • การเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ TEXT • การแกไขขอความของตัวอักษรดวยคําสัง่ DDEDIT • ขัน้ ตอนการเขียนตัวอักษรทัว่ ไป • ขัน้ ตอนการเขียนสัญญลักษณ • ขัน้ ตอนการเขียนเศษสวน • ขัน้ ตอนการนําเขาเทกไฟลจากภายนอก • ขัน้ ตอนการคนหาและแทนทีค่ าํ • การคํานวณความสูงของตัวอักษรเมือ่ กําหนดสเกลใหกบั แบบแปลน

184 186 196 198 199 191 193 194 195 196 200

บทที่ 10 ชุดคําสัง่ ควบคุมการแสดงผลบนจอภาพ

.................................... 203

• การลางจอภาพหรือการวาดภาพใหมดว ยคําสัง่ REDRAW • การลางจอภาพหรือการคํานวณภาพใหมดว ยคําสัง่ REGEN • การยอหรือขยายภาพดวยคําสัง่ ZOOM • การเลือ่ นภาพดวยคําสัง่ PAN • การควบคุมการแสดงผลดวยคําสัง่ DSVIEWER • การแบงจอภาพดวยคําสัง่ VPORTS • การกําหนดมุมมองภาพดวยคําสัง่ DDVIEW • การกําหนดมุมมองภาพดวยคําสัง่ VIEW • การปดหรือเปดการแสดงผล UCS ไอคอนดวยคําสัง่ UCSICON • การควบคุมความละเอียดในการปรากฏของสวนโคงดวยคําสัง่ VIEWRES

บทที่ 11 การเขียนเสนบอกขนาด

............................................................. 217

• การกําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DDIM • การกําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMSTYLE • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMLINEAR • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMALIGNED • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMORDINATE • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMRADIUS • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMDIAMETER • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMANGULAR • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMBASELINE • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMCONTINUE • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ LEADER • การเขียนพิกดั ความเผือ่ ดวยคําสัง่ TOLERANCE • การเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMCENTER • การปรับแตงเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMEDIT • การปรับแตงตัวเลขบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMTEDIT • การแกไขเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ DIMOVERRIDE • การปรับปรุงเสนบอกขนาดดวยคําสัง่ Dimension/Update • การคํานวณสเกลแฟคเตอรสาํ หรับเสนบอกขนาด

บทที่ 12 การสรางแอททริบวิ ต

203 204 204 206 207 209 210 213 213 215 218 231 233 234 235 237 237 238 238 240 241 242 244 244 246 248 249 249

................................................................. 253

• การสรางแอททริบวิ ตดว ยคําสัง่ DDATTDEF

254

• การแกไขแอททริบวิ ตดว ยคําสัง่ DDATTE • การแกไขแอททริบวิ ตดว ยคําสัง่ ATTEDIT • การแกไขแอททริบวิ ตดว ยคําสัง่ ATTREDEF • การแยกแอททริบวิ ตออกไปใชงานดวยคําสัง่ DDATTEXT • ขัน้ ตอนทัว่ ไปในการสรางแอททริบวิ ต • ขัน้ ตอนการสรางแอททริบวิ ต • ขัน้ ตอนการแยกแอททริบวิ ต

บทที่ 13 ชุดคําสัง่ เครือ่ งมือสารพัดประโยชน

255 256 257 257 258 259 262

.......................................... 265

• การตรวจสอบตัวสะกดของขอความดวยคําสัง่ SPELL • การจัดลําดับการแสดงวัตถุบนจอภาพกอนหลังดวยคําสัง่ DRAWORDER • การใชคาํ สัง่ DIST ในการวัดระยะระหวางจุดสองจุด • การใชคาํ สัง่ AREA ในการหาพืน้ ที่ • การใชคาํ สัง่ LIST ในการสอบถามขอมูลจําเพาะของชิน้ งาน • การใชคาํ สัง่ ID ในการตรวจสอบตําแหนงของจุดใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ • การรายงานสถิตขิ องวันและเวลาดวยคําสัง่ TIME • การรายงานสถิติ โหมดและขอบเขตของแบบแปลนดวยคําสัง่ STATUS • การใชเครือ่ งมือชวยในการวาดภาพดวยคําสัง่ DDRMODES • การกําหนดรูปแบบในการเลือกวัตถุดว ยคําสัง่ DDSELECT • การรวมกลุม ของวัตถุเขาดวยกันดวยคําสัง่ GROUP • การปรับแตงสภาพแวคลอมของ AutoCAD ดวยคําสัง่ PREFERENCES • การสอดแทรกไฟล .DXB ดวยคําสัง่ DXBIN • การสอดแทรกไฟล .WMF ดวยคําสัง่ WMFIN • การสอดแทรกไฟล .EPS ดวยคําสัง่ EPSIN • การสอดแทรกและเชือ่ มโยงขอมูลจากโปรแกรมอืน่ ๆ ดวยคําสัง่ INSERTOBJ • การนําไฟลออกไปใชงานในโปรแกรมอืน่ ๆ ดวยคําสัง่ EXPORT • การตรวจสอบความผิดพลาดของแบบแปลนใชงานดวยคําสัง่ AUDIT • การกูไ ฟลแบบแปลนทีเ่ สียหายดวยคําสัง่ RECOVER • การลบ Layers, Ltypes, Dim styles, Blocks และอืน่ ๆ ดวยคําสัง่ PURGE • การกําหนดรูปแบบของการยอนกลับผลของคําสัง่ ดวยคําสัง่ UNDO • การยอนกลับผลของคําสัง่ ดวยคําสัง่ U • การใชคาํ สัง่ REDO เพือ่ ยกเลิกคําสัง่ U หรือ UNDO • การเคลือ่ นยายวัตถุไปเก็บไวในวินโดวคลิป๊ บอรดดวยคําสัง่ CUTCLIP • การคัดลอกวัตถุไปเก็บไวในวินโดวคลิป๊ บอรดดวยคําสัง่ COPYCLIP

265 266 267 268 269 270 271 271 272 274 276 279 290 290 290 291 292 292 292 292 293 294 294 295 295

• การคัดลอกวัตถุแบบ OLE ไปเก็บไวในคลิป๊ บอรดดวยคําสัง่ COPYLINK • การนําเอาวัตถุทอี่ ยูใ นวินโดวคลิป๊ บอรดออกมาใชงานดวยคําสัง่ PASTECLIP • การนําเอาวัตถุทอี่ ยูใ นวินโดวคลิป๊ บอรดออกมาใชงานดวยคําสัง่ PASTESPEC • การใชฟว เตอรชว ยในการเลือกวัตถุดว ยคําสัง่ FILTER • การกําหนดสเกลของเสนประดวยคําสัง่ LTSCALE • การตัง้ เวลาการบันทึกไฟลแบบแปลนโดยอัตโนมัตดิ ว ยคําสัง่ SAVETIME • การคํานวณหาตําแหนงของจุดโดยใชคาํ สัง่ ‘CAL • การใช Point Filters • การเปลีย่ นเลเยอรใชงานโดยใชคาํ สัง่ AI_MOLC

บทที่ 14 ชุดคําสัง่ ตางๆ จากเมนู Bonus

295 295 295 296 298 299 299 309 310

..........................................

311

• การจัดการสถานะของเลเยอรดว ยคําสัง่ LMAN • การเปลีย่ นเลเยอรของวัตถุดว ยคําสัง่ LAYMCH • การเปลีย่ นวัตถุใหอยูใ นเลเยอรใชงานดวยคําสัง่ LAYCUR • การโดดเดีย่ วเลเยอรของวัตถุดว ยคําสัง่ LAYISO • การแชแข็งเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกดวยคําสัง่ LAYFRZ • การปดเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกดวยคําสัง่ LAYOFF • การล็อคเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกดวยคําสัง่ LAYLCK • การปลดล็อคเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกดวยคําสัง่ LAYUCK • การเปดเลเยอรทงั้ หมดดวยคําสัง่ LAYON • การละลายเลเยอรทงั้ หมดดวยคําสัง่ LAYTHW • การปรับความกวางของตัวอักษรดวยคําสัง่ TEXTFIT • การปดกัน้ ไมใหมองเห็นสวนของวัตถุทอี่ ยูด า นลางดวยคําสัง่ TEXTMASK • การแกไขคุณสมบัตขิ องวัตถุหลายๆ ชิน้ พรอมๆ กันดวยคําสัง่ CHT • การระเบิดตัวอักษรใหเปนเสนธรรมดาดวยคําสัง่ TXTEXP • การเขียนตัวอักษรตามแนวเสนโคงคําสัง่ ARCTEXT • การคนหาและแทนทีต่ วั อักษรดวยคําสัง่ FIND • การระเบิดแอททริบวิ ตใหเปนตัวอักษรธรรมดาคําสัง่ BURST • การแกไขแอททริบวิ ตดว ยคําสัง่ GATTE • การเปลีย่ นคุณสมบัตขิ องวัตถุดว ยคําสัง่ EXCHPROP • การยืดหรือหดวัตถุหลายชิน้ ดวยคําสัง่ MSTRETCH • การเคลือ่ นยาย คัดลอก หมุนและเปลีย่ นสเกลดวยคําสัง่ MOCORO • การตัดเสนสวนเกินดวยคําสัง่ EXTRIM • การซอนบางสวนของวัตถุดว ยคําสัง่ CLIPIT

311 313 314 314 314 315 316 316 316 316 316 317 317 319 319 321 322 322 323 324 324 325 326

• การแกไขปรับแตงคุณสมบัตขิ องเสนโพลีไลนหลายๆ เสนดวยคําสัง่ MPEDIT • การใชตวั เลือกควบคุมการระเบิดของวัตถุดว ยคําสัง่ XPLODE • การคัดลอกสวนประกอบของบล็อคหรือเอกซเรฟดวยคําสัง่ NCOPY • การตัดเสนโดยใชบล็อคหรือเอกซเรฟเปนแกนตัดดวยคําสัง่ BTRIM • การตอเสนโดยใชบล็อคหรือเอกซเรฟเปนขอบเขตดวยคําสัง่ BEXTEND • การปดบังวัตถุดว ยคําสัง่ WIPEOUT • การเขียนกอนเมฆดวยคําสัง่ REVCLOUD • การเขียนเสนชีน้ าํ เร็วดวยคําสัง่ QLEADER • การเชือ่ มเสนชีน้ าํ กับตัวอักษร พิกดั ความเผือ่ หรือบล็อคดวยคําสัง่ QLATTACH • การปลดเสนชีน้ าํ ออกจากวัตถุดว ยคําสัง่ QLDETACHSET • การเชือ่ มเสนชีน้ าํ เขากับวัตถุดว ยคําสัง่ QLATTACHSET • การสรางเคอรเซอรเมนูดว ยคําสัง่ (BONUSPOPUP) • การรวบรวมไฟลทเี่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลนใชงานดวยคําสัง่ PACK • การแปลงเสนโพลีไลนจากรีลสี กอนดวยคําสัง่ CONVERTPLINES • การสรางกลุม การเลือกใชงานดวยคําสัง่ GETSEL • การสรางคําสัง่ ยอขึน้ ใชงานผานไดอะล็อคดวยคําสัง่ ALIASEDIT • การแกไขคาตัวแปรระบบผานไดอะล็อคดวยคําสัง่ SYSVDLG • การแสดงคุณสมบัตขิ องวัตถุดว ยคําสัง่ XLIST • การแนบขอมูลเพิม่ เติมดวยคําสัง่ XDATA • การแสดงขอมูลทีแ่ นบกับวัตถุดว ยคําสัง่ XDLIST • การนํารูปแบบเสนบอกขนาดออกจากไฟลแบบแปลนดวยคําสัง่ DIMEX • การนํารูปแบบเสนบอกขนาดเขามาในไฟลแบบแปลนดวยคําสัง่ DIMIM

บทที่ 15 การจัดและรวมแบบแปลนในเปเปอรสเปส(Paper space) • การเปลีย่ นสเปสเขียนภาพดวยคําสัง่ TILEMODE, AI_FMS, PSPACE • การสรางวิวพอรทในเปเปอรสเปสดวยคําสัง่ MVIEW • การจัดและรวบรวมชิน้ งานและไตเติล้ บล็อคดวยคําสัง่ MVSETUP • หลักทัว่ ไปในการจัดและรวบรวมแบบแแปลน • ขัน้ ตอนการจัดและรวบรวมแบบแปลน • การกําหนดสเกลระหวางชิน้ งานและไตเติล้ บล็อค

บทที่ 16 การพิมพแบบแปลน

326 327 237 328 328 329 329 330 333 333 334 334 335 335 336 336 337 338 339 340 340 341

......... 343 345 345 347 350 352 356

................................................................... 359

• การทดลองดูแบบแปลนบนจอภาพกอนสงพิมพดว ยคําสัง่ PREVIEW • การพิมพแบบแปลนดวยคําสัง่ PLOT

359 360

• ขัน้ ตอนทัว่ ไปในการพิมพแบบแปลน • ขัน้ ตอนการกําหนดคาคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครือ่ งพิมพ • การบันทึกคาพารามิเตอรของการพิมพ • การปรับแตงพารามิเตอรควบคุมพล็อทเตอร Hewlett-Packard • การใชคาํ สัง่ HPCONFIG ควบคุมการทํางานของเครือ่ งพิมพ HP • การพิมพแบบแปลนจากหลายๆ ไฟลดว ยโปรแกรม Batch Plot Utility • การพิมพแบบแปลนผานโมเดม(MODEM)ไปยังโทรสาร(Fax)ระยะไกล

บทที่ 17 การใช AutoCAD R14 รวมกับอินเตอรเนต

367 369 371 372 376 382 387

.............................. 393

• การติดตัง้ โปรแกรมปลัก๊ อิน WHIP! 3.0 • การอัพเกรดโปรแกรม Internet Utilities • การสรางไฟล .DWF ใชในอินเตอรเนต • การใชคาํ สัง่ ตางๆ ในอินเตอรเนตเมนูของ AutoCAD • การสรางการเชือ่ มโยงไฮเปอรลงิ ค(Hyperlink)ในไฟล .DWF ไปยัง URL อืน่ ๆ • การฝง(Embed)ไฟล .DWF ลงในโฮมเพจ HTML

394 394 395 397 397 400

บทที่ 18 แบบฝกหัดงานเขียนแบบไตเติล้ บล็อค(Title block) ........................... 403 บทที่ 19 แบบฝกหัดงานเขียนแบบเครือ่ งกล ..................................................... 423 บทที่ 20 แบบฝกหัดงานเขียนภาพฉายไอโซเมตริก ...........................................441 บทที่ 21 แบบฝกหัดงานเขียนแบบสถาปตยกรรม ............................................. 461 ภาคผนวก ก. ตัวแปรระบบ(System Variables) ................................................ 507 ภาคผนวก ข. ตัวอยางแฮทช(Hatch Patterns) ...................................................533 ภาคผนวก ค. เมนูบาร(Menu Bar) .................................................................... 535 ภาคผนวก ง. ทูลบาร(Toolbars) ........................................................................ 541 ภาคผนวก จ. ดัชนีคาํ สัง่ (Command Index) ...................................................... 549 ภาคผนวก ฉ. บรรณานุกรม(Bibliography) ...................................................... 555

แนะนําการใชคมู อื กอนทีจ่ ะเขาสูร ายละเอียดของการเขียนแบบดวยโปรแกรม AutoCAD Release 14 ทีอ่ ธิบายไวในหนังสือคูม อื เลมนีน้ นั้ ผูเ ขียนขอแนะนําใหผอู า นศึกษาขอแนะนําการใชหนังสือคูม อื ทีอ่ ธิบายไวในบทนีใ้ หเปนทีเ่ ขาใจเสีย กอน เพื่อใหผูอานไดเขาใจตรงกับสิ่งที่ผูเขียนตองการที่จะสื่อความหมายและสามารถปฏิบัติตามไดอยาง ถูกตองและรวดเร็ว ไมตองเสียเวลาพลิกหนาหนังสือไปมาเพื่อคนหาความหมายของสัญญลักษณตางๆ อีกทั้ง ยังสามารถปองกันความผิดพลาดที่ไมสมควรจะเกิดขึ้นไดอีกดวย หนังสือคูม อื เลมนี้ ไดรบั การจัดทําขึน้ มาสําหรับผูเ ริม่ ตนและผูใ ชโปรแกรม AutoCAD ในระดับกลาง ซึง่ ภายใน เลมมีรายละเอียดเนือ้ หาครอบคลุมการใชโปรแกรม AutoCAD Release 14 สําหรับการเขียนแบบ 2 มิติ มีการ แนะนําวิธกี ารใชคาํ สัง่ ตางๆ ของ AutoCAD R14 ใน 2 มิตอิ ยางครบถวน มีตวั อยางการนําคําสัง่ ไปประยุกตใช งานและมีการอธิบายขัน้ ตอนการเขียนแบบในงานจริงโดยละเอียด ซึง่ ผูอ า นสามารถทําตามขัน้ ตอนทีอ่ ธิบาย ในหนังสือเลมนี้ไดดวยตนเอง การจัดเรียงบทเรียนในหนังสือเลมนี้ มีการจัดเรียงตามระดับความสําคัญของเนื้อหา สิ่งที่จําเปนตองทราบ และเรียนรูก อ นจะอยูใ นบทแรกๆ ดังนัน้ จึงขอแนะนําใหอา นเรียงลําดับตามบทที่ 1, 2, 3, ..... ไปจนจบเลม เมือ่ เขาใจหลักและวิธกี ารเขียนแบบดวย AutoCAD R14 แลว จึงเริม่ ทดลองใชคาํ สัง่ แตละคําสัง่ ตามขัน้ ตอน ทีไ่ ดอธิบายไวในหนังสือคูม อื หลังจากทีค่ นุ เคยกับการใชคาํ สัง่ ตางๆ ในแตละบทแลว จึงเริม่ ทดลองเขียนแบบ ตาม แบบฝกหัดซึง่ ผูเ ขียนไดจดั ทําไฟลแบบฝกหัดบรรจุไวในไดเร็คตอรี่ \Exercise บนแผน CD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื เลมนี้

ความหมายตางๆ ในหนังสือคูม อื Command: COPY

ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวหนา เปนขอความที่โปรแกรม AutoCAD แสดงออกมาบนบรรทัดปอนคําสัง่ (Command line) ผูใ ชโปรแกรมไม ตองพิมพเขาไป สวนตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวบางและขีดเสนใต ผูใ ช

2

AutoCAD Release 14 : 2D Drafting

สงวนสิทธตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยภาณุพงษ ปตติสงิ ห

โปรแกรมตองพิมพผา นคียบ อรด แลวใหกดปุม Q เมือ่ พิมพคาํ สัง่ เสร็จในทันที {ขอความ.......}

ข อ ความที่ อ ยู ภ ายในเครื่ อ งหมายวงเล็ บ ป ก กาหมายถึ ง ข อ ความ แนะนําที่ผูใชโปรแกรมจะตองปฏิบัติตาม



ตัวอักษรหรือตัวเลขทีป่ รากฏบนบรรทัดแสดงตัวเลือกของคําสัง่ ซึง่ อยู ภายในเครือ่ งหมายวงเล็บ < > เปนคาทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให หาก เราตองการใชคาดังกลาวนี้ ไมตองพิมพเขาไปใหม เพียงแตกดปุม Q เทานัน้

คลิ๊ ก

หมายถึงการกดปุม ซายของเมาส 1 ครัง้

ดับเบิ้ลคลิ๊ก

หมายถึงการกดปุมซายของเมาส 2 ครั้งติดตอกันอยางเร็วที่สุด

คลิ๊กขวา

หมายถึงการกดปุม ขวาของเมาส 1 ครัง้ ในการคลิก๊ ขวาเราจะตองแน ใจวาเคอรเซอรอยูภายในขอบเขตของพื้นที่วาดภาพเทานั้น

คลิ๊กและลาก

หมายถึงการเลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการ แลวกดคลิ๊ก เมาสซายคางไว โดยไมปลอยนิ้วมือออกจากปุม จากนั้นเลื่อนเมาส เพือ่ ลาก วัตถุหรือชิน้ งานไปยังตําแหนงทีต่ อ งการ จึงปลอยนิว้ มือออก จากปุม เปนอันเสร็จสิ้นการลาก

Draw/Circle/2 Points

หมายถึงการใชเมาสคลิ๊กบนเมนูบารในคอลัมน Draw แลวคลิ๊กบน คําสัง่ Circle และ 2 Points ในเมนูยอ ยตามลําดับ ระหวางคําสัง่ และ ตัวเลือกของคําสัง่ จะใชเครือ่ งหมาย / เปนตัวกัน้

Q

หมายถึงการกดปุม Enter บนคียบ อรด 1 ครัง้ หรือคลิก๊ ขวา

E -c

หมายถึงการกดปุม Ctrl คางไว แลวกดปุม C

ไฮไลท(Highlight)

หมายถึงการเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดเริม่ ตนของตัวอักษร หรือขอความ ทีต่ อ งการ จากนัน้ จึงคลิก๊ และลากไปยังจุดสิน้ สุด ขอความทีถ่ กู ไฮไลท จะกลายเปนแถบสีนา้ํ เงิน สวนมากแลวเราจะใชในการเลือกกลุม ของ ตัวอักษรหรือขอความไวลวงหนา เพื่อที่จะลบหรือตัดหรือคัดลอก ตัวอักษรเหลานั้น โดยใชคําสั่งใดๆ เพียงครั้งเดียว หมายถึงการใชเมาสคลิ๊กบนปุมไอคอนคําสั่ง LINE หมายถึงหมายเหตุหรือคําแนะนํา

Thaw

เป น ตั ว อั ก ษรตั ว หนาอธิ บ ายรายละเอี ย ดการใช ง านตั ว เลื อ กใน คําสั่งและความหมายของตัวเลือกบนไดอะล็อค(Dialog)

แนะนําการใชคมู อื

3

การเรียกใชคาํ สัง่ ในหนังสือคูม อื ในหนังสือคูม อื เลมนี้ เมือ่ มีการอธิบายหรือมีการอางอิงถึงการใชคาํ สัง่ ใดๆ จะมีการใชคาํ สัง่ ทัง้ หมด 3 แบบคือ 1. การใชคําสั่งผานคียบอรด 2. การใชคําสั่งจากเมนูบาร 3. การใชคําสั่งจากปุมไอคอนบนทูลบาร ผูอ า นสามารถเลือกใชคาํ สัง่ วิธใี ดวิธหี นึง่ จาก 3 วิธไี ด โดยมีใชรปู แบบดังตอไปนี้ LINE -- Draw/Line -LINE

คือคําสั่งที่เราจะตองพิมพผานคียบอรด

Draw/Line

คือคําสั่งที่เราจะตองใชเมาสคลิ๊กจากเมนูบารหรืออาจใชตัวอักษรที่ถูกขีดเสน ใต โดยกดปุม A , d และปุม l บนคียบ อรดตามลําดับ คือคําสั่งที่เราจะตองใชเมาสคลิ๊กบนปุมไอคอนบนทูลบาร

คําสัง่ ใน AutoCAD ยังแบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1. คําสั่งปกติ(Standard commands)คือคําสั่งที่เรียกใชงานตามปกติ อาจเรียกใชคําสั่งผาน คียบ อรด เมนูบาร ทูลบาร สกรีนเมนู เปนตน 2. คําสั่งทรานสแพรเรนท(Transparent commands)คือคําสั่งที่สามารถเรียกใชงานไดในขณะ ที่ เ รากํ า ลั ง ใช คํ า สั่ ง ปกติ อ ยู โดยที่ ไ ม ต อ งออกจากคํ า สั่ ง ปกติ ก อ น คํ า สั่ ง ประเภทนี้ จ ะมี เครือ่ งหมาย ‘ (อะโพสโตฟ) นําหนา อาทิ เชน ‘CAL,‘PAN, ‘UNITS, ‘VIEW, ‘ZOOM เปนตน คําสัง่ ทรานสแพรเรนทนนั้ สามารถใชงานในลักษณะของคําสัง่ ปกติไดเชนเดียวกัน ในหนังสือ คูมือเลมนี้คําสั่งทรานสแพรเรนสมีรูปแบบดังนี้ ‘ZOOM -- View/Zoom/Window -ผูใชโปรแกรมสามารถที่จะเลือกใชคําสั่งที่ตนเองมีความถนัดแบบใดแบบหนึ่ง จากทั้งสามแบบขางบนนี้ได แตสาํ หรับผูเ ริม่ ตน ขอแนะนําใหฝก ใชทลู บารและเมนูบารใหมากทีส่ ดุ เพราะเปนวิธที คี่ อ นขางงายและรวดเร็ว คํ า สั่ ง บางคํ า สั่ ง ที่ ไ ม มี ใ นเมนู บ าร จ ะเขี ย นว า “ไม มี ใ นเมนู บ าร ” ส ว นคํ า สั่ ง ที่ ไ ม มี ใ นทู ล บาร จ ะเขี ย นว า “ไมมไี อคอน” สวนคําสัง่ ทีม่ ไี อคอน แตไอคอนถูกซอนอยู จะตองทําการปรับแตงเพือ่ เรียกไอคอนนัน้ ออกมากอน จึงจะสามารถใชปุมไอคอนได จะแสดงปุมไอคอนนั้น แลวเขียนภายในเครื่องหมายวงเล็บวา “ปุมไอคอน นีถ้ กู ซอน”

4

AutoCAD Release 14 : 2D Drafting

สงวนสิทธตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยภาณุพงษ ปตติสงิ ห

การทําแบบฝกหัดในหนังสือคูม อื ในการทําแบบฝกหัด เราจะตองดูรูปประกอบการกําหนดตําแหนงตางๆ บนพื้นที่วาดภาพของ AutoCAD เสมอๆ ในทุกแบบฝกหัดที่มีการใชรูปประกอบคําอธิบาย หมายเลขประจํารูปจะถูกระบุไวในในตอนตนของ หัวขอเสมอ เพราะฉะนั้นเวลาเราทําแบบฝกหัดในขอที่มีการอางอิงถึงรูปประกอบ ใหเราสังเกตุหมายเลข ประจํารูปทีร่ ะบุไวใน ตอนตนของหัวขอไวดว ย เพือ่ ทีจ่ ะไดใชคาํ สัง่ ตางๆ ไดอยางถูกตองและเพือ่ ปองการดูรปู ผิดพลาดดังตัวอยางขอ 18 ขางลางนี้

รูปที่ 1.1

18. จากรูปที่ 1.1 เขียนเสนตรง โดยใชคาํ สัง่ Draw/Line

รูปที่ 1.2

หรือพิมพคาํ สัง่ ดังนี้

LINE From point: {คลิ๊กปุม (END) แลวคลิก๊ ตรงจุดที่ 1} To point: {คลิก ๊ ปุม (END) แลวคลิ๊กตรงจุดที่ 2} To point: {คลิ๊กปุม (QUA) แลวคลิก๊ ตรงจุดที่ 3} To point: {คลิ๊กปุม (MID) แลวคลิก๊ ตรงจุดที่ 4 ของรูปที่ 1.2} To point: {คลิก ๊ ปุม (END) แลวคลิ๊กตรงจุดที่ 5} To point: {คลิ๊กขวาหรือ Q} Command:

(บรรทัดที่ 1) (บรรทัดที่ 2) (บรรทัดที่ 3) (บรรทัดที่ 4) (บรรทัดที่ 5) (บรรทัดที่ 6)

การใชคาํ สัง่ ขางบนนี้ เราสามารถเลือกใชคาํ สัง่ ได 3 วิธคี อื เรียกคําสัง่ Draw/Line จากเมนูบารหรือคลิก๊ บนปุม ไอคอน บนทูลบารหรือพิมพคาํ สัง่ LINE ผานคียบ อรด ตัวอักษรทีถ่ กู ขีดเสนใตหมายถึงตัวอักษรทีผ่ อู า นจะ ตองพิมพผา นคียบ อรด แลวจะตองกดปุม Q ตามในทันที แตถา หากเราเลือกใชคาํ สัง่ จากเมนูบารหรือใช คําสั่งจากปุมไอคอนบนทูลบาร เราก็ไมตองพิมพคําสั่งผานคียบอรดอีก จากตัวอยางการใชคาํ สัง่ LINE การกําหนดตําแหนงของจุดบนพืน้ ทีว่ าดภาพในบรรทัดที่ 1,2,3 เราจะตองดู จุดทีก่ าํ หนดจากรูปที่ 1.1 ทัง้ สามจุด ยกเวนในบรรทัดที่ 4 มีการระบุรปู ที่ 1.2 ก็ใหขา มไปดูจดุ ทีก่ าํ หนดจากรูปที่ 1.2 แลวจึงกลับมาดูจดุ อางอิงจากรูปที่ 1.1 ในการกําหนดตําแหนงของบรรทัดที่ 5 เชนเดิม (END) แลวคลิก๊ ตรงจุดที่ 1} บนบรรทัดที่ 1 หมายความวาเราจะตองใชเมาสคลิก๊ ขอความแนะนํา {คลิก๊ ปุม บนปุม (Snap to Endpoint) บนทูลบารออฟเจกทสแนป(Object snap)หรืออาจพิมพ END ผานคียบ อรด แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดออฟเจกทสแนปในโหมด End point ก็ไดเชนเดียวกัน แลวคลิก๊ ตรงจุดที่ 1

แนะนําการใชคมู อื

5

สังเกตุจุดที่กําหนดในรูปที่ 1.1 และ 1.2 หากมีการเรียกใชออฟเจกทสแนป จะมีเครื่องหมายมารคเกอร (Marker) , , แสดงโหมดของออฟเจกทสแนปปรากฏที่จุดนั้นๆ เพื่อบอกใหเราทราบโหมดของ ออฟเจกทสแนปที่เรียกใชงานดวย ในขณะทีก่ าํ ลังเขียนแบบตามแบบฝกหัดอยูน นั้ เราอาจจะยังนึกภาพของวัตถุทเี่ ราจะเขียนไมออกวาวัตถุทจี่ ะ เขียนนัน้ มีรปู รางลักษณะอยางไร หากเราตองการทราบผลทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการใชคาํ สัง่ ทีก่ าํ ลังจะใชงานหรือ กําลังใชงานอยู เราสามารถดูผลทีจ่ ะเกิดขึน้ จากรูปถัดไป ตัวอยาง เชน ในขณะทีเ่ ราทําแบบฝกหัดในขอ 19 ซึ่งอางอิงการกําหนดตําแหนง จากรูปที่ 1.1 หากเราตองการดูรูปแสดงผลของคําสั่ง เพื่อใหเราสามารถนึก ภาพไดถกู ตอง ใหดรู ปู ที่ 1.2 และรูปตอๆ ไปลวงหนาไวกอ นได

การใชแผน CD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ในแผน CD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนีป้ ระกอบไปดวยไดเร็คตอรีต่ า งๆ ดังนี้ รูปที่ 1.3

ไดเร็คตอรี่ EXERCISE ไดเร็คตอรี่ Exercise นีบ้ รรจุแบบฝกหัดตางๆ ประกอบการใชหนังสือคูม อื ไฟลแบบฝกหัดทีอ่ ยูใ นไดเร็คตอรีน่ ี้ สวนใหญจะเปนไฟลแบบแปลนฟอรแมต .DWG ซึง่ เราสามารถใชคาํ สัง่ File/Open จากเมนูบารของโปรแกรม AutoCAD เพือ่ เปดไฟลแบบฝกหัดทีต่ อ งการจากไดเร็คตอรีด่ งั กลาวนีอ้ อกมาใชงานโดยตรงจากแผน CD-ROM หรืออาจจะดับเบิล้ คลิก๊ ลงบนชือ่ ไฟล .DWG จากไดเร็คตอรีเ่ ดียวกันนีโ้ ดยใชโปรแกรม Windows Explorer ของ วินโดวกไ็ ด เมือ่ เรียกไฟลแบบฝกหัดใดๆ ออกมาใชงาน กอนทีไ่ ฟลจะถูกเปดออกมาจะปรากฏไดอะล็อคดังนี้ รูปที่ 1.4

ไดอะล็อคนี้รายงานใหเราทราบวาไฟลแบบฝกหัดที่เรากําลังจะเปดมีสถานะอานไดเทานั้น(Read-only) ใหคลิก๊ บนปุม Yes เพือ่ เปดไฟลออกมา เมือ่ ทําตามแบบฝกหัดเรียบรอยแลว หากตองการบันทึกไฟลลงดิสค (Save) สามารถทําไดโดยตั้งชื่อไฟลใหมและเปลี่ยนไปบันทึกไฟลใหมลงในฮารดดิสค ไฟลแบบฝกหัด P-001.DWG หมายถึงไฟลแบบฝกหัดทีใ่ ชประกอบหนังสือคูม อื ในหนา 1 และไฟลแบบฝกหัด P-125-2.DWG หมายถึงไฟลแบบฝกหัดทีใ่ ชประกอบหนังสือคูม อื ในหนา 125 รูปที่ 2

6

AutoCAD Release 14 : 2D Drafting

สงวนสิทธตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยภาณุพงษ ปตติสงิ ห

ไดเร็คตอรี่ HP-GL2 ไดเร็คตอรี่ HP-GL2 นีบ้ รรจุไดรฟเวอร HP-GL/2 ควบคุมการทํางานของเครือ่ งพิมพ Hewlett Packard ADI 4.3 เวอรชนั่ 4.1 รุน ใหมลา สุด ทํางานบนระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว 95 โดยตรง เหมาะสําหรับผูท ใี่ ชพริน้ เตอรหรือ พล็อทเตอรของ Hewlett Packard ทีต่ อ งการเปลีย่ นอัพเกรดมาใช AutoCAD R14 แตตดิ ปญหาทีไ่ มมไี ดรฟเวอร สําหรับพริ้นเตอรหรือพล็อทเตอรที่สามารถใชในวินโดว 95 ได ไดรฟเวอรนี้สามารถเลือกจํานวนเครื่องพิมพ ไดมากกวาเดิม อาทิ เชน HP DesignJet 200, 220, 230, 250C, 330, 350C, 430, 450C, 455CA, 600, 650C, 700, 750C, 750C Plus, 755CM, 2000CP, 2500CP, 3000CP, และรุน 3500CP; HP DraftMaster SX/RX/MX, และรุน Plus series; HP DraftPro Plus, HP LaserJet ทุกรุน , HP PaintJet XL 300, และ HP 7600 series Electrostatic plotter models จุดเดนของไดรฟเวอรนคี้ อื สามารถใชกบั เครือ่ งพิมพเลเซอรไดและมี ลูกเลนในการพิมพใหเลือกใชมากกวาไดรฟเวอร ADI 4.3 เวอรชนั่ 4.0 ทีม่ ากับโปรแกรม AutoCAD R14 การ ติดตัง้ ไดรฟเวอรนไี้ มยงุ ยาก เพียงแตคน หาไดเร็คตอรี่ \HP-GL2\DISK1 แลวรันโปรแกรม SETUP.EXE จากนัน้ คลิก๊ บนปุม Next จนเสร็จสิน้ การติดตัง้ (ดูรายละเอียดการติดตัง้ ในบทที่ 16 การพิมพแบบแปลน) ไดรฟเวอรนี้ สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.hp.com หรือที่ ftp://ftp1.hp.com/pub/plotters/software/mp100en.exe

ไดเร็คตอรี่ INTERNET ในไดเร็คตอรีน่ ี้ มีโปรแกรมยูทลิ ติ สี้ นับสนุนการใชงานของ AutoCAD R14 ในอินเตอรเนตอยู 2 โปรแกรมคือ AIU3.EXE

เปนโปรแกรม AutoCAD Internet Utility เวอรชนั่ ใหมลา สุดใชกบั AutoCAD R14 ทีส่ ามารถสรางไฟลแบบแปลนในฟอรแมต .DWF (Drawing Web Format)ซึง่ ใช ในการแลกเปลีย่ นไฟลแบบแปลนผานอินเตอรเนต อันทีจ่ ริง AutoCAD R14 ก็มี ความสามารถสรางไฟล .DWF นี้อยูแลว แตยังไมสามารถใชงานในเปเปอร สเปส(Paper space)ได หากตองการสรางไฟล .DWF ซึ่งสามารถใชงานใน เปเปอรสเปสและสามารถควบคุมเลเยอรไดในเวบบราวเซอร(Web browser) ได เราควรจะติดตั้งโปรแกรมนี้เขากับ AutoCAD การติดตั้งโปรแกรมนั้นงาย มาก เพียงแตเขาสู Windows Explorer แลวคนหาไฟล AIU3.EXE ใหพบ จากนั้น ดับเบิ้ลคลิ๊กบนชื่อไฟลดังกลาวนี้ โปรแกรมติดตั้งก็จะทํางาน จากนั้น คลิก๊ บนปุม Next, OK และ OK ตามลําดับ เทานัน้ ก็เสร็จสิน้ การติดตัง้ โปรแกรม ติดตัง้ จะอับเกรด(Upgrade) AutoCAD ใหเราโดยอัตโนมัติ อินเตอรเนตยูทลิ ติ นี้ ี้ สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.autodesk.com

WHIP3.EXE

เปนโปรแกรมปลั๊กอิน(Plug-in)ที่ตองใชรวมกับบราวเซอร Internet Explorer เพื่ อ ให บ ราวเซอร ส ามารถเป ด ไฟล แ บบแปลนในฟอร แ มต .DWF ผ า น อินเตอรเนตได การติดตั้งนั้นไมยาก เพียงแตเขาสู Windows Explorer แลว คนหาไฟล WHIP3.EXE จากนัน้ ดับเบิล้ คลิก๊ บนไฟลนี้ โปรแกรมติดตัง้ จะทํางาน จากนัน้ คลิก๊ บนปุม Next, I Accept, Next และ Next ตามลําดับ โปรแกรม ติดตั้งจะอับเกรด Internet Explorer ใหเราโดยอัตโนมัติ เราสามารถดาวน โหลดโปรแกรมปลัก๊ อิน (Plug-in)นีไ้ ดที่ http://www.autodesk.com

แนะนําการใชคมู อื

7

ไดเร็คตอรี่ INTER-EX เปนไดเร็คตอรีท่ บี่ รรจุไฟลตวั อยางแบบฝกหัดซึง่ ใชในการแลกเปลีย่ นขอมูลแบบแปลน .DWF ผานอินเตอรเนต ในบทที่ 17

ไดเร็คตอรี่ THAISYST ไดเร็คตอรีน่ บี้ รรจุระบบเมนูภาษาไทยสําหรับโปรแกรม AutoCAD Release 14 ซึง่ เหมาะสําหรับผูท ตี่ อ งการ สัง่ ให AutoCAD R14 ทํางานโดยใชคาํ สัง่ เปนภาษาไทย ในไดเร็คตอรีน่ มี้ ไี ดเร็คตอรีย่ อ ยดังนี้ Thaimenu

รันโปรแกรม SETUP.EXE จากไดเร็คตอรี่นี้ หากตองการติดตั้งระบบเมนู ภาษาไทยเขาไปยัง AutoCAD R14

รูปที่ 1.5

ขอสําคัญในการติดตัง้ ระบบภาษาไทย เราตองระบุไดรฟและไดเร็คตอรีท่ บี่ รรจุโปรแกรม AutoCAD R14 ใหถกู ตอง โดยปกติเมือ่ เราทําการติดตัง้ AutoCAD R14 โปรแกรมจะถูกคัดลอกไปที่ C:\Program Files\ AutoCAD R14 หากไมมกี ารเปลีย่ นแปลงไดเร็คตอรีใ่ นขัน้ ตอนการติดตัง้ AutoCAD R14 เราก็สามารถ ใชไดเร็คตอรีท่ โี่ ปรแกรมติดตัง้ ระบบภาษาไทยกําหนดมาใหไดในทันที หากเปลีย่ นแปลง AutoCAD R14 ไปอยูใ นไดรฟ D: เราจะตองเปลีย่ นไดเร็คตอรีเ่ ปน D:\Program Files\AutoCAD R14 ดวย Engmenu

รันโปรแกรม SETUP.EXE จากไดเร็คตอรี่นี้ หากตองการเรียกคืนระบบเมนู มาตรฐานของ AutoCAD R14 ซึ่งเปนภาษาอังกฤษกลับมาใชงาน โปรแกรม เรียกคืนระบบเมนูจะทํางานตอไปโดยอัตโนมัติ

ไดเร็คตอรี่ V-LISP ในไดเร็คตอรี่ V-LISP นีบ้ รรจุโปรแกรม Visual LISP for AutoCAD Release 14 ซึง่ เปนอิดทิ เตอรสาํ หรับงาน เขียนโปรแกรมภาษา LISP เหมาะสําหรับผูใช AutoCAD ที่กําลังศึกษาการเขียนโปรแกรมดวยภาษา AutoLISP เมื่อใชโปรแกรมนี้ เราสามารถที่จะเขียนโปรแกรม LISP ไดงายขึ้น เนื่องจากมีคําสั่งชวยอํานวย ความ สะดวกใน การตรวจสอบความถูกตองในการเขียนโปรแกรมอยูมากมาย ชวยใหเกิดความรวดเร็วใน การเขียนโปรแกรม การติดตั้งโปรแกรมนั้นไมยาก เพียงแตเขาสู Windows Explorer แลวคนหาไฟล VLBETA.EXE จากไดเร็คตอรี่ V-LISP จากนัน้ ดับเบิล้ คลิก๊ บนไฟลดงั กลาวนี้ โปรแกรมติดตัง้ จะทํางาน จากนัน้ คลิก๊ บนปุม Yes, Next, Accept, Next, Next และ Next ตามลําดับ เทานัน้ ก็เสร็จสิน้ การติดตัง้ โปรแกรมติดตัง้ จะคัดลอกไฟลตา งๆ ใหเราโดยอัตโนมัติ เมือ่ ติดตัง้ โปรแกรมเสร็จเรียบรอยแลว ใหเขาสู AutoCAD ทีบ่ รรทัด ปอนคําสัง่ Command: ใหพมิ พ VLIDE เพือ่ เขาสูโ ปรแกรม Visual LISP for AutoCAD Release 14 โปรแกรม นีส้ ามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.autodesk.com (โปรแกรมนีม้ อี ายุการใชงานตามเวลาทีก่ าํ หนดหรือ จนกวาจะมีเวอรชนั่ ใหมออกมา)

8

AutoCAD Release 14 : 2D Drafting

สงวนสิทธตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยภาณุพงษ ปตติสงิ ห

เมือ่ เราไดทาํ ความเขาใจกับวิธกี ารใชหนังสือคูม อื AutoCAD Release 14 : 2D Drafting มาพอสมควรแลวและ ไดรบั ทราบเกีย่ วกับสิง่ ทีบ่ รรจุอยูใ นแผน CD-ROM เรียบรอยแลวเชนเดียวกัน ขณะนีเ้ ราจึงมีความพรอมทีจ่ ะ เริม่ ศึกษาหลักและวิธกี ารเขียนแบบดวยโปรแกรม AutoCAD R14 อยางเปนระบบตอไปในบทที่ 2

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF