astro m3

December 7, 2017 | Author: pokoty | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download astro m3...

Description

คํานํา การสร า งชุ ด สื่ อ ประสม เรื่ อ งระบบสุ ริ ย ะนี้ เป น สื่ อ ประกอบการเรี ย นการสอน รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ว 33101 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ซึ่งผูรายงานสรางขึ้น เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชา ดังกลาวใหมีประสิทธิภาพ เพื่อสงผลถึงนักเรียนตอการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสามารถ นํา ความรู ไ ปใช ศึ ก ษาปรากฏการณ ใ นธรรมชาติ แ ละนํ า ไปใชป ระโยชน ใ นชี วิ ต ประจํ า วัน ได อีกทั้งเปนการสนองนโยบายทางดานการศึกษาของรัฐ ตามพระราชบัญญัติการศึกษา หมวด 4 มาตรา 22 ที่ใหนโยบายไววาการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ คู มื อ การใช สื่ อ ประสม เรื่ อ งระบบสุ ริ ย ะ เล ม นี้ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ ใช สํ า หรั บ ประกอบ การใช ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ โดยมีรายละเอียดของการสรางสื่อ การใชสื่อ ทุกขั้นตอน และอธิบายการใชอยางละเอียด ผูสรางหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือการใชชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ เลมนี้จะนําไปใช ประโยชน ตอการพัฒนาเยาวชนของชาติสืบตอไป.

นางรัตนา บุญนอม

สารบัญ เรื่อง

หนา คํานํา ก สารบัญ ข คําชี้แจงการใช ค วัตถุประสงคของการสรางและการใช ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ ค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจาก ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ ค ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ ง การใชชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ จ สื่อประสมหมายเลข 1 วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร 1 สื่อประสมหมายเลข 2 ใบความรูและใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร 4 สื่อประสมหมายเลข 3 ใบความรู เรื่องเทคนิคทํามือกับขางขึ้นขางแรม 19 สื่อประสมหมายเลข 4 ใบความรูและใบงาน เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 26 สื่อประสมหมายเลข 5 ใบความรูและใบงาน เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง 36 สื่อประสมหมายเลข 6 ใบความรูและใบงาน เรื่องการเกิดขางขึ้นขางแรม 44 สื่อประสมหมายเลข 7 ใบความรูและใบงาน เรื่องจันทรุปราคาและสุรยิ ุปราคา 51 สื่อประสมหมายเลข 8 ใบความรูและใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 61 สื่อประสมหมายเลข 9 ใบความรูและใบงาน เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 70 สื่อประสมหมายเลข 10ใบความรูและใบงาน เรื่องแผนทีด่ าวและการสังเกตดาวเคราะห สื่อประสมหมายเลข 11ใบความรูและใบงาน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 82 สื่อประสมหมายเลข 12ใบความรูและใบงาน เรื่องการเคลื่อนที่เปนวงกลม การใชสื่อประสมหมายเลข 13-18 106 สื่อประสมหมายเลข 13 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 109 สื่อประสมหมายเลข 14 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 110 สื่อประสมหมายเลข 15 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 111

สื่อประสมหมายเลข 16 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล สื่อประสมหมายเลข 17 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง สื่อประสมหมายเลข 18 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องจันทรุปราคาและสุริยุปราคา

112 113 114

คําชี้แจงการใช ชุดสื่อประสมที่สรางขึ้น เปนสื่อประกอบการเรียนการสอน เรื่องระบบสุริยะ วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ว33101 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ซึ่งผูรายงานสรางขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร ใหมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนใหสูงขึ้น และทําใหนักเรียนสามารถนําความรูไปใชศึกษาปรากฏการณในธรรมชาติและนําไปใชประโยชน ในชีวิตประจําวันได วัตถุประสงคของการสรางและการใชชุดสื่อประสมเรื่องระบบสุริยะ 1. เพื่อใหไดชดุ สื่อประสมที่ใชประกอบการสอน วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ว 33101 ตามแผนการจัดการเรียนรู สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค 2. เพื่อใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ว 33101 สูงขึ้นและสามารถนําความรูไปใชในการศึกษาปรากฏการณในธรรมชาติ และนําไปใชประโยชนในชีวติ ประจําวันได ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากชุดสื่อประสม เรื่อง ระบบสุริยะ 1. ชุดสื่อประสมสามารถชวยใหผูเรียน เรียนรูไดอยางถูกตองและรวดเร็ว แมเปนเนื้อหาวิชาที่ซับซอน 2. ชุดสื่อประสมสามารถกระตุนความสนใจผูเรียนได 3. ชุดสื่อประสมชวยสรางความเขาใจตรงกันและเขาใจปรากฏการณธรรมชาติไดดีขนึ้ 4. ชุดสื่อประสมประเภทอุปกรณประกอบกิจกรรม จะสงเสริมมนุษยสัมพันธระหวาง นักเรียนกับครูและนักเรียนกับนักเรียน 5. ชุดสื่อประสมสามารถลดกิจกรรมดานการสอนของผูสอนลง ทําใหมีเวลา จัดประสบการณดานอืน่ ๆ 6. ชุดสื่อประสมสรางความมั่นใจใหผูสอน ทําใหทั้งผูสอนและผูเรียนมีบรรยากาศ ในการเรียนทีน่ าสนใจ 7. เปนสื่อการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนได 8. ชุดสื่อประสมสามารถนําไปใชเปนแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในวิชาวิทยาศาสตรระดับอื่นและวิชาอื่นที่เนื้อหาสอดคลองกับสื่อการเรียนการสอน

9. ไดสื่อการเรียนการสอนที่เปนแนวทางสําหรับครูอาจารย ที่สนใจการจัดการเรียน การสอนที่เนนนักเรียนเปนสําคัญ ชุดสื่อประสมเรื่องระบบสุริยะ ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ ประกอบดวยสื่อ 3 ประเภท คือ 1. สื่ออุปกรณ ไดแก วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร 2. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก 2.1 ใบความรูและใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 2.2 ใบความรูและใบงาน เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 2.3 ใบความรูแ ละใบงาน เรือ่ งแผนที่ดาวและการสังเกตดาวเคราะห 2.4 ใบความรูและใบงาน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 2.5 ใบความรูและใบงาน เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 2.6 ใบความรูและใบงาน เรื่องน้าํ ขึ้นน้ําลง 2.7 ใบความรูและใบงาน เรื่องการเกิดขางขึ้นขางแรม 2.8 ใบความรูและใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร 2.9 ใบความรู เรื่อง เทคนิคทํามือกับขางขึ้นขางแรม 2.10ใบความรูแ ละใบงาน เรือ่ งจันทรุปราคา (Lunar Eclipse) และสุริยุปราคา (Solar Eclipse ) 2.11ใบความรูแ ละใบงาน เรือ่ งการเคลื่อนที่เปนวงกลม 2.12 แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร เรื่องระบบสุริยะ 3. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point ไดแก 3.1 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและองคประกอบของ ระบบสุริยะ 3.2 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 3.3 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 3.4 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกลางวันกลางคืนและ ฤดูกาล 3.5 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง 3.6 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องจันทรุปราคา (Lunar Eclipse) และสุริยุปราคา (Solar Eclipse )

การใชชดุ สื่อประสม เรื่อง ระบบสุริยะ ชุดสื่อประสม เรื่องระบบสุริยะ ที่ผูรายงานสรางขึ้นมีสื่อ 3 ประเภท ใชประกอบ กับแผนการเรียนการสอน เรือ่ งระบบสุริยะ ตัวหนา คือ สือ่ ที่ผูรายงานสรางขึ้น ดังตาราง แผนการเรียนรู สื่อการเรียนรู 1. แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 1. VCD กําเนิดระบบสุริยะของหอดูดาวสิรินธร ปฐมนิเทศ เรื่องโครงสราง 2. แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน การเรียนรูหนวยที่ 8 ระบบสุริยะ วิชาวิทยาศาสตร เรื่องระบบสุริยะ 2. แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 1. บทเรียนบนเว็บไซตวิชาวิทยาศาสตร เรื่องกําเนิดและองคประกอบ เรื่องกําเนิดระบบสุริยะของศูนยเทคโนโลยี ของระบบสุริยะ ทางการศึกษา 2. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ 3. ใบความรู เรื่องกําเนิดและองคประกอบ ของระบบสุรยิ ะ 4. ใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบ ของ ระบบสุรยิ ะ 3. แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 1. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 2. ใบความรู เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 3. ใบงาน เรื่องดาวฤกษและดวงอาทิตย 4. แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 1. เครื่องแอสโทรเลบ 2. เข็มทิศ เรื่องการสังเกตดาวเคราะห 3. แบบจําลองทรงกลมฟา 4. แผนที่ดาว 5. ใบความรู เรื่องแผนที่ดาวและการสังเกต ดาวเคราะห 6. ใบงาน เรื่องแผนที่ดาวและการสังเกต ดาวเคราะห

5. แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ

1. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 2. ใบความรู เรื่องดาวเคราะห ในระบบสุริยะ 3. ใบงาน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 6. แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 เรื่อง 1. ลูกโลกจําลอง 2. โคมไฟ กลางวันกลางคืนและฤดูกาล 3. สื่ออุปกรณชุดวงลอเวลาของดวงอาทิตย และดวงจันทร 4. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 5. ใบความรู เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 6. ใบงาน เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 7. แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 1. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง 2. ใบความรู เรื่องน้ําขึ้นน้าํ ลง 3. ใบงาน เรื่องน้ําขึ้นน้ําลง 8. แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 1. วัสดุและอุปกรณ กิจกรรม 7.1 การเกิดขางขึ้น เรื่องการเกิดขางขึ้นขางแรม ขางแรม 2. ใบความรู เรื่องการเกิดขางขึ้นขางแรม 3. ใบงาน เรื่องการเกิดขางขึน้ ขางแรม 9. แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 1. สื่ออุปกรณวงลอเวลาของดวงอาทิตย เรื่องเวลาของดวงจันทร และดวงจันทร 2. ใบความรู เรื่องเวลาของดวงจันทร 3. ใบความรู เรื่องเทคนิคทํามือ กับขางขึน้ ขางแรม 4. ใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร 10. แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 เรื่อง 1. สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point จันทรุปราคา (Lunar Eclipse) เรื่องจันทรุปราคา(Lunar Eclipse) และสุริยุปราคา (Solar Eclipse ) และสุริยุปราคา(Solar Eclipse)

11. แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 เรื่องระบบสุริยะอยูไดอยางไร 12. แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 สรุปทบทวนระบบสุริยะ และประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องระบบสุริยะ

2. ใบความรู เรื่องจันทรุปราคา (Lunar Eclipse) และสุริยุปราคา(Solar Eclipse ) 3. ใบงาน เรื่องจันทรุปราคา (Lunar Eclipse) และสุริยุปราคา (Solar Eclipse ) 1. ชุดการเคลื่อนที่เปนวงกลม 2. ใบความรู เรื่องการเคลื่อนที่เปนวงกลม 3. ใบงาน เรื่องการเคลื่อนที่เปนวงกลม 1. แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร เรื่องระบบสุริยะ

สื่อประสมหมายเลข 1 1. ประเภทของสื่อ สื่ออุปกรณ 2. ชื่อ วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร 3. วิธีสราง 1) ใชโครงเกาอี้ที่ชํารุดแลว 2 โครงมาเจาะรู หงายประกบกัน แลวรอยตอกันดวยน็อต 2) นําลวดเหล็ก ขดเปนวงกลมรัศมี 40 เซนติเมตรและ 60 เซนติเมตร 3) เชื่อมลวดวงกลมรัศมี 60 เซนติเมตรเขากับขาเกาอี้ที่หงาย 4) เชื่อมลวดเหล็ก วงกลมรัศมี 40 เซนติเมตรลอมลวดเหล็ก 2 เสน ที่เชื่อมตัดกัน ที่จุดกึ่งกลาง 5) เชื่อมลวดวงกลมรัศมี 40 เซนติเมตรตอกับแทนตั้งพื้น มีแกนหมุนได โดยวางจุดศูนยกลางเดียวกันกับลวดวงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร 6) ใชฟวเจอรบอรดวางที่จุดศูนยกลางวงกลม ในแนวขนานกับพื้นระดับแทนพื้นดิน (สามารถหมุนรอบแกนได) 7) ตัดฟวเจอรบอรดสีแดงเปนวงกลม แทนดวงอาทิตย 8) ตัดฟวเจอรบอรดสีเหลืองและสีดําเปนวงกลมและเสี้ยว แทนดวงจันทรตั้งแตวันขึ้น ค่ําถึงวันแรม 15 ค่ํา 1 ชุด 9) ติดปายบอกเวลา ตั้งแต 06.00 น. - 18.00 น. จากทิศตะวันออกโคงดานบน ไปทางทิศ ตะวันตก และ 18.00 น. โคงทางดานลางถึง 06.00 น. อีกครั้ง รวมเวลา 24 ชั่วโมง

รูปสื่ออุปกรณ“ วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร ” 4. งบประมาณที่ใช 100 บาท (หนึ่งรอยบาท) 5. จุดมุงหมายในการใช

15

1) ใชประกอบการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน หนวยที่ 8 เรื่องระบบสุริยะ ในแผนการเรียนรู 2 แผน คือ 1.1) แผนการเรียนรูที่ 6 เรื่องกลางวันกลางคืนและฤดูกาล 1.2) แผนการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทร 2) ทําใหนักเรียน เรียนรูไดเร็วขึ้นและสามารถเปรียบเทียบและทําความเขาใจ กับสถานการณจริง เพื่อใหสามารถบอกเวลาได จากการมองลักษณะและตําแหนง ของดวงจันทรบนทองฟาจริง 6. วิธีใช

ใชประกอบใบความรู เรื่องเวลาของดวงจันทร 7. ความคิดรวบยอด 1) ในวันขึ้น 15 ค่ํา ดวงอาทิตยและดวงจันทรจะอยูตรงขามกันเสมอ 2) ในวันแรม 15 ค่ํา ดวงอาทิตยและดวงจันทรจะอยูดานเดียวกันและแนวเดียวกันเสมอ 3) ในวันขึ้นหรือแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรจะตัง้ ฉากกับดวงอาทิตยเสมอ 8. ขอดีของสื่อการสอนชุดนี้ คือ 1) สามารถรนระยะเวลาใหเร็วขึ้นไดตามตองการ ซึ่งในสถานการณจริงตองใชเวลา เปนวัน หรือเปนเดือน 2) แสดงตําแหนงและรูปราง ใหเห็นไดงายและชัดเจนกวาสถานการณจริง

นักเรียนรวมกันศึกษาเวลาของดวงจันทรโดยใช “ วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร ” ประกอบกับใบความรู เรื่องเวลาของดวงจันทรและใบความรู เรื่องเทคนิคทํามือกับขางขึ้นขางแรม

สื่อประสมหมายเลข 2

1. ประเภทของสื่อ สื่อสิ่งพิมพ 2. ชื่อ ใบความรูและใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร 3. ใชประกอบแผนการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทรและสื่ออุปกรณ “ วงลอเวลาของ ดวงอาทิตยและดวงจันทร ” ******************************************************************************

ใบความรู เรื่องเวลาของดวงจันทร ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 หนวยการเรียนรูที่ 8 วิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

เรื่องเวลาของดวงจันทร เรื่องระบบสุริยะรายวิชา ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค

******************************************************************************

เวลาของดวงจันทร

ใชประกอบกับสื่ออุปกรณ วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร วงลอเวลาของดวงอาทิตยและดวงจันทร เปนแบบจําลองตําแหนงของดวงอาทิตย ในเวลา 24 ชั่งโมง ของแตละวันใน 1 เดือน ขอตกลงในการใช 1. ดวงอาทิตยปรากฏอยูที่ตําแหนงใด ถือวาเปนเวลาจริงของผูสังเกต 2. ดวงจันทรปรากฏอยูที่ตําแหนงใด ถือวาเปนตําแหนงมุมมองของผูสังเกต

และดวงจันทร

ตารางบอกตําแหนงมุมมองเทียบกับเวลา ตําแหนงเวลา 06.00 น. 07.00 น. 08.00 น. 09.00 น. 10.00 น. 11.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 14.00 น. 15.00 น. 16.00 น 17.00 น 18.00 น.

เริ่มที่ทิศ ตะวันออก มุม (องศา) 0

ตําแหนงเวลา

เริ่มที่ทิศ ตะวันออก มุม (องศา)

19.00 น.

15 30 45 60 75 90 105 120 135 150 165

20.00 น.

195 210 225 240 255 270 285 300 315 330 345 360

180

21.00 น. 22.00 น. 23.00 น. 24.00 น.

01.00 น. 02.00 น. 03.00 น. 04.00 น. 05.00 น. 06.00 น.

จากขอมูลที่วาดวงจันทร จะขึ้นชาวันละประมาณ 50 นาที เมื่อนํามาเขียนตารางเวลาขึ้นของดวงจันทร ใหครบ 30 วันจาก วันขึ้น 15 ค่ําจนครบรอบวันขึ้น 15 ค่ําอีกครั้ง เฉลี่ยวันละ 48 นาที ดังตารางที่แสดง

วัน ขึ้น 15 แรม 1 แรม 2 แรม 3 แรม 4 แรม 5 แรม 6

ค่ํา ค่ํา ค่ํา ค่ํา ค่ํา ค่ํา ค่ํา

ตารางเวลาขึ้นของดวงจันทรโดยประมาณ เวลา หมายเหตุ 18.00 น. เริ่ม หางกันวันละ 48 นาที 18.48 น. ( ประมาณวันละ 50 นาที) 19.36 น. 20.24 น. 21.12 น. 22.00 น. 22.48 น.

แรม 7 ค่ํา แรม 8 ค่ํา แรม 9 ค่ํา แรม 10 ค่ํา แรม 11 ค่ํา แรม 12 ค่ํา แรม 13 ค่ํา แรม 14 ค่ํา แรม 15 ค่ํา ขึ้น 1 ค่ํา ขึ้น 2 ค่ํา ขึ้น 3 ค่ํา ขึ้น 4 ค่ํา ขึ้น 5 ค่ํา ขึ้น 6 ค่ํา ขึ้น 7 ค่ํา ขึ้น 8 ค่ํา ขึ้น 9 ค่ํา ขึ้น 10 ค่ํา ขึ้น 11 ค่ํา ขึ้น 12 ค่ํา ขึ้น 13 ค่ํา ขึ้น 14 ค่ํา ขึ้น 15 ค่ํา

23.36 น. 24.00 น. 01.12 น. 02.00 น. 02.48 น. 03.36 น. 04.24 น. 05.12 น. 06.00 น. 06.48 น. 07.36 น. 08.24 น. 09.12 น. 10.00 น. 10.48 น. 11.36 น. 12.24 น. 13.12 น. 14.00 น. 14.48 น. 15.36 น. 16.24 น. 17.12 น. 18.00 น.

ครบ 1 รอบ

วันขึ้น 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 18.00 น. ในวันขึ้น 15 ค่ํา ดวงจันทรจะอยูที่ตําแหนงตรงขามกับดวงอาทิตยเสมอ

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 15 ค่ํา เวลา 20.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 08.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 15 ค่ําเวลา 24.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา

วันแรม 4 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 21.00 น. ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 9 ชั่วโมง หรือ 135 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 4 ค่ํา เวลา 24.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 0 9.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 4 ค่ํา เวลา 03.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา

วันแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 24.00 น. ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 6 ชั่วโมง หรือ 90 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 8 ค่ํา เวลา 03.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 09.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 8 ค่ํา เวลา 06.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา

วันแรม 12 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 03.30 น. ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 2 ชั่วโมง 30 นาที หรือ 37.5 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 12 ค่ํา เวลา 06.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 08.30 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 12 ค่ํา เวลา 12.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 14.30 นาฬิกา

วันแรม 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นพรอมกับดวงอาทิตยและตกพรอมกับดวงอาทิตย ดวงจันทรหันดานมืดมายังโลก ทําใหคนบนโลกมองไมเห็นดวงจันทรจึงเรียกวา “ วันเดือนดับ ” ถาระนาบการโคจรรอบโลกของดวงจันทร ตรงกับระนาบการโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย เงาของดวงจันทรจะทอดมายังโลก เราเรียกปรากฏการณนี้วา “ สุริยุปราคา ”

วันขึ้น 4 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 09 .00 น. ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 3 ชั่วโมง หรือ 45 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 4 ค่ํา เวลา 12.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 09.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 4 ค่ํา เวลา 18.00 น. ดวงจันทร จะอยูที่ตําแหนง 15.00 นาฬิกา

วันขึ้น 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 12.00 นาฬิกา ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 6 ชั่วโมง หรือ 90 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 8 ค่ํา เวลา 15.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 09.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 8 ค่ํา เวลา 18.00 น. ดวงจันทร จะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา

วันขึ้น 12 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 15.30 นาฬิกา ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 9 ชั่วโมง 30 นาที หรือ 142.5 องศา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 12 ค่ํา เวลา 18.00 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 08.30 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันขึ้น 12 ค่ํา เวลา 21.30 น. ดวง จันทรจะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา

ใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทร หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะรายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ชื่อ......................................................................ชั้น...........เลขที่...........ชื่อกลุม.................................

วันที่............เดือน.................................พ.ศ. ............................. *************************************************************************** 1. วันขึ้น 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ................................นาฬิกา 2. วันแรม 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ................................นาฬิกา 3. วันขึ้น 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลา................................นาฬิกา 4. วันแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลา................................นาฬิกา 5. ดวงจันทรขึ้นชาวันละประมาณ........................นาที 6. ดวงจันทรวันขางแรมอยูทางทิศ...........................................ของดวงอาทิตย 7. ดวงจันทรขางขึ้น ขึ้นเวลากลางวันหรือกลางคืน …………………………….... N S

E S

8. จากภาพ เปนเวลา 12.00 น. ดวงจันทรที่เห็นเปน วัน................................ค่ํา

W

E 9. ดวงจันทรที่ผูสังเกตในภาพมองเห็น เปนวันขึ้นหรือแรมกี่ค่ํา เวลาประมาณเทาใด

W

(วัน................................ค่ํา เวลาประมาณ.............................นาฬิกา)

E

W

10. ดวงจันทรที่ผูสังเกตในภาพมองเห็น เปนวันขึ้นหรือแรมกี่ค่ํา เวลาประมาณเทาใด (วัน................................ค่ํา เวลาประมาณ.............................นาฬิกา)

เฉลยใบงาน เรื่องเวลาของดวงจันทร

ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทร หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะรายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ชื่อ......................................................................ชั้น...........เลขที่...........ชื่อกลุม.................................

วันที่............เดือน.................................พ.ศ. ............................. *************************************************************************** 1. วันขึ้น 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 18.00 นาฬิกา 2. วันแรม 15 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 06.00 นาฬิกา 3. วันขึ้น 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 12.00 นาฬิกา 4. วันแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 24.00 นาฬิกา 5. ดวงจันทรวันขางขึ้นอยูทางทิศ ตะวันออก ของดวงอาทิตย 6. ดวงจันทรวันขางแรมอยูทางทิศ ตะวันตก ของดวงอาทิตย 7. ดวงจันทรขางขึ้น ขึ้นเวลากลางวันหรือกลางคืน กลางวัน N S

E

W

S 8. จากภาพ เปนเวลา 12.00 น. ดวงจันทรที่เห็นเปนวัน ขึ้น 4 ค่ํา 9.

E

W

ดวงจันทรที่ผูสังเกตในภาพมองเห็น เปนวันขึ้นหรือแรมกี่ค่ํา เวลาประมาณเทาใด (วัน แรม 12 ค่ํา เวลาประมาณ 06.00 นาฬิกา)

E

W

10. ดวงจันทรที่ผูสังเกตในภาพมองเห็น เปนวันขึ้นหรือแรมกี่ค่ํา เวลาประมาณเทาใด (วัน ขึ้น 12 ค่ํา เวลาประมาณ 23.00 นาฬิกา)

สื่อประสมหมายเลข 3 1. ประเภทของสื่อ สื่อสิ่งพิมพ 2. ชื่อ ใบความรู เรื่องเทคนิคทํามือกับขางขึ้นขางแรม 3. ใชประกอบแผนการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทรและสื่ออุปกรณ “ วงลอเวลาของ ดวงอาทิตยและดวงจันทร ” ******************************************************************************

ใบความรู เรื่องเทคนิคทํามือกับขางขึ้นขางแรม ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เรื่องเวลาของดวงจันทร หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะรายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ******************************************************************************

วันแรม 8 ค่ํา

ในวันแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรขึ้นเวลาประมาณ 24.00 น. ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 6 ชั่วโมง หรือ 90 องศา จากรูปจะเห็นไดวา ดวงจันทรกับดวงอาทิตยจะทํามุมกัน 90 องศาและในวันแรม 8 ค่ําคนบนพื้นโลก จะสังเกตเห็นดวงจันทรโคจรบนทองฟานําหนาดวงอาทิตย (เดือนคว่ํา) เริ่มดวยการเปรียบเทียบกับมือ ใหนิ้วชี้กับนิ้วหัวแมมือทํามุมฉากกัน - นิ้วหัวแมมือแทน ดวงอาทิตย - นิ้วชี้แทน ดวงจันทร ในวันแรม 8 ค่ํา ขณะที่ดวงจันทรกําลังโผลพนขอบฟาดานทิศตะวันออก จะเปนเวลา 24.00 น - ใหนิ้วชี้ ชี้ไปทางทิศตะวันออก - นิ้วหัวแมมือชี้ลงพื้นดิน - หมุนมือตามเข็มนาฬิกา 15 องศา เทียบไดกับเวลา 1 ชั่วโมง

E

W

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 8 ค่ํา เวลา 03.00 น. มือจะหมุนไป 45 องศา ดวงจันทรจะอยูที่ตําแหนง 09.00 นาฬิกา

ตําแหนงดวงจันทรวันแรม 8 ค่ํา เวลา 06.00 น. ดวงจันทรจะอยูที่ตําแหนง 12.00 นาฬิกา ดวงจันทรจะลับขอบฟาดานตะวันตก ในเวลาประมาณ เที่ยงวัน เราจะเห็นดวงจันทรอยูบนทองฟาในตอนกลางวันประมาณ 6 ชั่วโมง หลังจากวันแรม 8 ค่ํา ดวงจันทรจะถอยเขาใกลดวงอาทิตยมากขึ้น เราจะเห็นดวงจันทรเปนเสี้ยวสวาง เล็กลงและอยูบนทองฟานานขึ้น มือที่ทํามุมระหวางนิ้วหัวแมมือกับนิ้วชี้จะแคบลง จนอยูในแนวเดียวกัน เมื่อวัน แรม 15 ค่ํา

มุมระหวางดวงอาทิตยและดวงจันทรในวันแรม 12 ค่ําจะนอยกวา 90 องศา วันแรม 15 ค่ํา

ดวงอาทิตยกับดวงจันทรจะอยูดานเดียวกันและอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน นิ้วหัวแมมือจึงทํามุมแคบลง จนเปน 0 องศา จากรูปบน เปนเวลา 06.00 น

นิ้วชี้และ

วันแรม 15 ค่ํา เวลา 12.00 น วันขางขึ้น ในวันขางขึ้น เริ่มจาก วันขึ้น 1 ค่ํา จนถึงวันขึ้น 8 ค่ํา ดวงอาทิตยจะขึ้นกอนดวงจันทร (ดวง อาทิตยนําหนาดวงจันทร) หมายความวา ดวงจันทรจะขึ้นในเวลากลางวัน มุมระหวาง ดวงอาทิตยและดวง จันทรจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในทิศทวนเข็มนาฬิกา ในขณะที่ดวงจันทรเคลื่อน ผานตําแหนง 12 นาฬิกา เราจะ มองเห็นเปนเดือนหงาย

วันขึ้น 1 ค่ํา

วันขึ้น4 ค่ํา

วันขึ้น 8 ค่ํา

วันขึ้น 4 ค่ํา ดวงจันทรทํามุมกับดวงอาทิตยประมาณ 45 องศาหรือหางกันประมาณ 3 ชั่วโมง ในการเปรียบเทียบนิ้วมือ นิ้วหัวแมมือจะอยูหนานิ้วชี้ขณะหมุนตามเข็มนาฬิกา

วันขึ้น 8 ค่ํา ดวงอาทิตยและดวงจันทรจะทํามุมกัน 90 องศา อีกครั้งและดวงจันทรจะขึ้นทางขอบฟาทิศตะวันออก ในเวลาประมาณ 12.00 น. และจะตกลับขอบฟาทิศตะวันตกเวลาประมาณ 24.00 น.

นิ้วหัวแมมือจะหมุนนําหนานิ้วชี้ดังรูป ดวงจันทรจะตั้งฉากกับดวงอาทิตยตลอดเวลา

วันขึ้น 8 ค่ํา เวลาประมาณ 15.00 น.

วันขึ้น 8 ค่ําเวลา 18.00 น.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ เวลา 1 ชั่วโมง รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค 5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò

1. มาตรฐานการเรียนรู ว 7.1 : เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลกมีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน 2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง นักเรียนสามารถสืบคนขอมูลและอธิบายกําเนิดระบบสุรยิ ะ องคประกอบของระบบสุริยะ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ 3. จุดประสงคการเรียนรู 3.1 ดานความรู 3.1.1 สืบคนขอมูลและอธิบายกําเนิดระบบสุริยะได 3.1.2 บอกองคประกอบและอธิบายลักษณะขององคประกอบของระบบสุริยะได 3.1.3 ระบุตําแหนงของดาวเคราะหในระบบสุริยะได 3.1.4 สืบคนขอมูลและอธิบายเกีย่ วกับดาวเคราะหนอย ดาวหาง อุกกาบาต ดาวตก ฝนดาวตก 3.2 ดานทักษะกระบวนการ 3.2.1. นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุม 3.2.2. นักเรียนมีทักษะการสื่อสาร 3.3 ดานคุณลักษณะที่พึงประสงค 3.3.1. นักเรียนมีความรับผิดชอบ 3.3.2. ใหความรวมมือซึ่งกันและกัน

4. สาระ/ เนื้อหา ระบบสุริยะถือกําเนิดขึน้ จากกลุมแกสเมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลวกลุมแกสนี้ ประกอบไปดวยไฮโดรเจน ฮีเลียมและธาตุหนักอีกเล็กนอย แรงโนมถวงจะทําใหกลุมแกสนี้ ยุบตัวลงทําใหอะตอมตางๆ อยูใกลกนั และแกสมีความหนาแนนมากขึน้ จนทายที่สุดในบริเวณ ใจกลางที่มีความหนาแนนสูงนี้จะอัดแนนและรอนขึ้นเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ สามารถเกิดปฏิกิริยา เทอรโมนิวเคลียรกลายเปนดาวฤกษหรือดวงอาทิตย องคประกอบของระบบสุริยะ - ดวงอาทิตย (The Sun) เปนดาวฤกษที่อยูตรงตําแหนงศูนยกลางของระบบ สุริยะและเปนศูนยกลางของแรงโนมถวง ทําใหดาวเคราะหและบริวาร ทั้งหลายโคจรลอมรอบ - ดาวเคราะห 8 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาว เสาร ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน - ดวงจันทรบริวารของดาวเคราะห (Satellites) - ดาวเคราะหแคระ (Dwarf Planets) - ดาวเคราะหนอย (Asteroids) - ดาวหาง (Comets) - วัตถุในแถบไคเปอร (Kuiper Belt Objects) 5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูใหนักเรียนดูบทเรียนบนเว็บไซตวิชาวิทยาศาสตร เรื่องกําเนิดระบบสุริยะของศูนย เทคโนโลยีทางการศึกษาแลวตอบคําถามตอไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนเห็นบนเว็บไซตมีอะไรบาง - บริวารของดวงอาทิตยมีอะไรอีกบาง

5.2 ขั้นสอน 5.2.1. นักเรียนนําเสนอรายงานเรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 5.2.2. ใหนกั เรียนในชั้นเรียนไดรวมอภิปรายตามหัวขอดังนี้ - ระบบสุริยะเกิดขึ้นไดอยางไร - ระบบสุริยะทั้งหมดประกอบดวยอะไรบาง

- ใหนักเรียนเรียงลําดับดาวเคราะหตามระยะทางที่อยูหางจากดวงอาทิตย จากนอยไปหามาก - ดาวเคราะหดวงใดมีขนาดใหญที่สุด - นักเรียนคิดวาในระบบสุริยะนอกจากมีดาวเคราะหและดวงจันทร ที่เปนบริวารแลวยังมีอะไรอีกที่เปนบริวารของดวงอาทิตย - ดาวเคราะหนอย หมายถึงดาวดวงใด - มีวงโคจรอยูร ะหวางดาวคูใ ด - อุกกาบาตคืออะไร - ฝนดาวตก หมายถึงอะไร - ดาวหางจัดวาเปนสมาชิกในระบบสุริยะหรือไม - ดาวหางมีลกั ษณะอยางไร - วงโคจรของดาวเคราะหทั้ง 8 ดวง ที่โคจรรอบดวงอาทิตยอยูบนระนาบ เดียวกันหรือไม 5.2.3. นักเรียนศึกษาใบความรูเรื่อง กําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 5.2.4. ครูนําเสนอสื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและ องคประกอบของระบบสุริยะและใหโอกาสนักเรียนซักถามจนเขาใจชัดเจน 5.2.5 นักเรียนทําใบงานเรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ 5.3 ขั้นสรุป 5.3.1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 5.3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบ เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 6. สื่อและแหลงเรียนรู 6.1 บทเรียนบนเว็บไซตวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง กําเนิดระบบสุริยะของศูนยเทคโนโลยี ทางการศึกษา 6.2 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและองคประกอบ ของระบบสุริยะ (นักเรียนสามารถคัดลอกไปทบทวนที่บานได) 6.3 ใบความรู เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 6.4 ใบงาน เรือ่ งกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ 6.5 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ 6.6 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ

ชวงชั้นที่ 3 กระทรวงศึกษาธิการ 6.7 หนังสือคูมือครูสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ชวงชั้นที่ 3 กระทรวงศึกษาธิการ 6.8. รายชื่อเว็บไซตที่สามารถสืบคนขอมูล เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ http://www.rscience.net/ http://www.sci-educ.nfe.go.th/main/index.php http://thaiastro.nectec.or.th/ http://www.astroschool.in.th/public/indx_ans_inc.php http://www.darasart.com http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/astronomy.shtml http://www.geocities.com/witit_mink/solarsystem.htm http://www.doodaw.com/ http://www.planetscapes.com/ http://www.nasa.gov/ http://store.tkc.go.th/multimedia/tun/18.SolarSystem/main.html http://www.mreclipse.com/Special/SEprimer.html http://eclipse.gsfc.nasa.gov/eclipse.html http://www.lesaproject.com/ http://sunflowercosmos.org/ 7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 วิธีการวัดผล 7.1.1 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 7.1.2 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 7.1.3 ตรวจใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 7.1.4 ทดสอบหลังเรียน เรือ่ งกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 7.1.5 ตรวจรายงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 7.1.6 ประเมินการนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียน เรื่องกําเนิดและองคประกอบ ของระบบสุริยะ 7.2 เครื่องมือวัดผลและประเมินผล 7.2.1 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล

7.2.2 7.2.3. 7.2.4 7.2.5 7.2.6

แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุม ใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ แบบประเมินการเขียนรายงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ แบบประเมินการนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียน เรือ่ งกําเนิดและองคประกอบ ของระบบสุริยะ 7.3 วิธีการใหคะแนน คะแนนรายกลุม พฤติกรรมการปฏิบัติงานของกลุม 20 คะแนน การนําเสนอหนาชั้นเรียน 20 คะแนน การเขียนรายงาน 20 คะแนน ระดับคุณภาพ คะแนน 50-60 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนน 40-49 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 30-39 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน ต่ํากวา 30 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนนรายบุคคล การมีสวนรวมและรับผิดชอบ 20 คะแนน ใบงาน 20 คะแนน แบบทดสอบ 20 คะแนน ระดับคุณภาพ คะแนน 50-60 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนน 40-49 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 30-39 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน ต่ํากวา 30 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 8. กิจกรรมเสนอแนะ 8.1 เตรียมลวงหนาสําหรับนักเรียน สืบคนขอมูลทํารายงานและนําเสนอหนาชัน้ เรียน - กลุมที่ 1 เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ

8.2 เตรียมลวงหนาสําหรับครู 8.2.1 บทเรียนบนเว็บไซตวิชาวิทยาศาสตร เรื่องกําเนิดระบบสุริยะของศูนย เทคโนโลยีทางการศึกษา 8.2.2 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องกําเนิดและองคประกอบของ ระบบสุริยะ 8.2.3 ใบความรู เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 8.2.4 ใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ 8.2.5 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1. ผลการเรียนรู ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 3. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 4. ปญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 5. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................

ลงชื่อ

ผูสอน

( นางรัตนา บุญนอม )

แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ชื่อ……………….………………………...ชั้น………………เลขที่………...…….… ชื่องาน/ กิจกรรม…………………………………………………………………………… คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย Dในตารางขวามือที่ตรงกับความเปนจริงที่สุด โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนแตละประเด็นดังนี้ คะแนน 4 หมายถึง แสดงพฤติกรรมทุกครั้ง คะแนน 3 หมายถึง แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง คะแนน 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมเปนบางครั้ง คะแนน 1 หมายถึง แสดงพฤติกรรมนาน ๆ ครั้ง พฤติกรรมที่นักเรียนแสดง

ระดับคะแนน 4 3 2 1

บันทึกเพิ่มเติม ของผูประเมิน

1. มีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย 2. ยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงาน 3. มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ 4. มีความอดทน อดกลั้นในการทํางาน 5. รวมแสดงความคิดเห็นในการทํางาน รวม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน … ตนเอง

แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุมของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ........ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ว 33101 ปการศึกษา 25...... โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค คําชี้แจง แบบประเมินฉบับนี้ ใหนักเรียนสํารวจการทํางานกลุมของนักเรียน เพื่อใชเปนแนวทางใน การปรับปรุงพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน โดยเกณฑการประเมินแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ปฏิบัติสม่ําเสมอ = 2 ปฏิบัติบางครั้ง = 1 ไมเคยปฏิบัติ =0 ตอนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปสําหรับนักเรียน โปรดกรอกขอความในชองวางใหสมบูรณ กลุมที่......... สํารวจครั้งที่ ...........นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป....... รายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัส ว 33101 การทํางานกลุม เรื่อง............................................................................ วันที.่ ...........เดือน................. ...พ.ศ. 25............. เวลา ............... ปการศึกษา 25........ รายชื่อสมาชิกในกลุม 1.................................................................... เลขที่ ........... 2.................................................................... เลขที่ ........... 3.................................................................... เลขที่ ........... 4.................................................................... เลขที่ ........... 5.................................................................... เลขที่ ........... 6.....................................................................เลขที่ ........... 7. ...................................................................เลขที่ ........... 8. ...................................................................เลขที่ ........... 9. ...................................................................เลขที่ ........... ตอนที่ 2 เปนความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมในการทํางานกลุม โดยใหนักเรียนสังเกต แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน การปฏิบัติ รายการพฤติกรรม สม่ําเสมอ( 2 ) บางครั้ง (1) ไมเคย (0) 1.จัดแบงหนาที่และเปลี่ยนหนาที่กนั ทํางาน 2.ตั้งใจทํางานในกลุม 3.มีการตรวจสอบขอมูลโดยซักถามๆ ในกลุม และเขาใจตรงกันทุกคน 4. ทุกคนในกลุมชวยกันแสดงความคิดเห็นเพื่อ หาคําตอบที่ดีที่สุด

5. สมาชิกทุกคนมีความสามัคคีและ ชวยเหลือกันเมื่อมีปญหา 6. รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกทุกคนในกลุม 7. ทุกคนมีความกระตือรือรนที่จะชวยเหลืองาน ของกลุม 8. มีปญหาจะซักถามครูเมื่อทุกคนในกลุม ไมเขาใจและทําไมไดแลว 9. ยินดีอธิบายและตอบคําถามเมื่อเพื่อนมี ปญหา 10. การทํางานของกลุมเสร็จเรียบรอยทันตาม เวลาที่กําหนด ผลการประเมิน ไดคะแนนรวม.......... คะแนน พฤติกรรมในการทํางานกลุม อยูในระดับ ..........

ลงชื่อ ..................................................... (ผูประเมิน) (...................................................) ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน … ตนเอง

แบบประเมินการเขียนรายงาน

กลุมที่

ชื่อ - สกุล

เนื้อหาสาระของ รายงาน รูปแบบของการ รายงาน วิธีการนําเสนอ ขอมูล ความสะอาด เรียบรอย

คําชี้แจง โปรดกรอกคะแนนที่ไดแตละประเด็นในตารางขวามือ โดยพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน ประเด็นการประเมิน

5

5

5

5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน

คะแนน รวม 20

เกณฑการประเมินการเขียนรายงาน

รายการประเมิน 5 1. เนื้อหาสาระ ครอบคลุมจุดประสงค ของรายงาน ทันเหตุการณ และมี แหลงอางอิง

ระดับคะแนน 3 ครอบคลุมจุดประสงค ทันเหตุการณ ไมมีแหลงอางอิง

1 ไมครอบคลุม จุดประสงค ไมทัน เหตุการณ ไมมี แหลงอางอิง 2. รูปแบบของ มีความครบถวนสมบูรณ บกพรองบางสวน เชน บกพรองหลาย การรายงาน ปก คํานํา สารบัญ เนื้อหา ปก คํานํา สารบัญเนื้อหา สวน ทําใหขาดความ และเอกสารอางอิง และเอกสารอางอิง บรรณานุกรมไมสมบูรณ สมบูรณ 3. วิธีการนําเสนอ มีองคประกอบครบทั้ง ขาดไป 1 องคประกอบ ขาดไป 2 ขอมูล ขั้นนํา เนื้อหา และสรุป องคประกอบ 4. ความสะอาด ผลงานสะอาด เรียบรอย สะอาดเรียบรอยแตไม ผลงานไมสะอาด เรียบรอย ประณีต แสดงถึงความ ประณีต และไมเรียบรอย ตั้งใจทําตลอดทั้งเลม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

แบบประเมินการรายงานหนาชั้นเรียน

การสรุปและ นําไปใช

ชื่อ - สกุล

ความถูกตองตาม ขั้นตอนการทํางาน

เลขที่

การนําเสนอ

คําชี้แจง โปรดกรอกคะแนนที่ไดแตละประเด็นในตารางขวามือ โดยพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน กลุมที่..............ชื่อกลุม.............................................. วันที่...........เดือน.........................พ.ศ. .......................... ประเด็นการประเมิน

4

3

3

คะแนน รวม

1 2 3 4 5 6 7 8 9 ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน

10

เกณฑการประเมินการรายงานหนาชัน้ เรียน ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 1. ความถูกตอง รูปแบบการ ชัดเจนของ นําเสนอชัดเจน การนําเสนอ เปนระบบ

3 2 1 รูปแบบการ รูปแบบการ การนําเสนอ นําเสนอชัดเจนแต นําเสนอไมคอย ไมเปนระบบ ไมคอยเปนระบบ ชัดเจน ไมชัดเจน

2. ความแปลก ใหมนาสนใจ 3. ความถูกตอง ตามขั้นตอน การทํางาน

แปลกใหม นาสนใจ แสดงวิธีทําเปน ขั้นตอนถูกตอง ผลงานถูกตอง

นาสนใจ

ไมคอยนาสนใจ ไมนาสนใจ

4. คุณภาพ ผลงาน 5. การสรุป

คุณภาพดีเยีย่ ม

แสดงวิธีทําเปน ขั้นตอนถูกตอง คอนขางมาก ผลงานถูกตอง คุณภาพดี

แสดงวิธีทําไม ครบทุกขั้นตอน แตผลงาน ถูกตอง คุณภาพพอใช

มีการสรุปลักการ ในการคิดและ เสนอแนวทาง การนําไปใชบา ง

การสรุปไม มีการสรุป หลักเกณฑ หรือ ชัดเจน การนําไปใช อยางใดอยาง หนึ่งอยางชัดเจน

มีการสรุป หลักการในการ คิดและเสนอ แนวทาง การนํา ไปใชอยางชัดเจน

รวม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ไมแสดงวิธีทํา แตผลงาน ถูกตอง ไมมีคุณภาพ

ใบความรู เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค *************************************************************************** กําเนิดระบบสุริยะ

ภาพถาย Orion Nebula ซึ่งเปนบริเวณที่มดี าวกําลังเกิดใหมอยู (ที่มา: NASA, JPL) ระบบสุริยะถือกําเนิดขึ้นจากกลุมแกสเมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลว กลุมแกสเหลานี้ ประกอบไปดวย ไฮโดรเจน ฮีเลียมและธาตุหนักอีกเล็กนอย แรงโนมถวงจะทําใหกลุมแกสยุบตัวลง ทําใหแกสมีความหนาแนนมากขึ้น ในที่สุดบริเวณใจกลางของดวงอาทิตยจะมีความหนาแนนสูง แกสจะอัดแนนและรอนขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งสามารถเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรกลายเปนดาวฤกษ หรือดวงอาทิตย กําเนิดดาวเคราะห กลุมฝุนแกสที่อยูโดยรอบดาวที่กําลังเกิดใหม จะรวมกันเปนกอนโคจรรอบดาวเกิดใหม จากนั้นแรงดึงดูดระหวางมวลจะดึงดูดกอนเหลานี้เขาดวยกันจนกลายเปนวัตถุที่มีขนาดใหญขึ้น ซึ่งจะรวมกันกลายเปนดาวเคราะห โดยกอนฝุนที่รวมกันที่บริเวณดานในของระบบสุริยะประกอบ ไปดวยหินแข็งเปนสวนมาก เมื่อกอนฝุนเหลานี้รวมตัวกันมากขึ้นเรื่อยๆทําใหเกิดดาวเคราะหวงใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลกและดาวอังคาร ซึ่งระหวางที่เกิดปรากฏการณนี้ยังคงมีการรวมตัว

ของกอนฝุนเขามาเรื่อยๆ ทําใหภายในของดาวเคราะหมีการแบงออกเปนชั้นๆ ไดแก แกนแมนเทิล และเปลือก โดยสสารที่หนักที่สุด เชน เหล็ก จะจมลงสูใจกลางกลายเปนแกน สวนธาตุที่เบาลงมา เชน ซิลิเกต ออกไซดของเหล็กและแมกนีเซียมจะอยูรอบๆ แกนในชั้นของแมนเทิล สวนสสาร ที่เบาจะอยูดานบนสุดและแข็งตัวกลายเปนเปลือก ชั้นบรรยากาศของดาวเคราะหจะเกิดขึ้นระหวางและหลังจากการกําเนิดของดาวเคราะห เนื่องจากการชนของอุกกาบาตและกลไกการเย็นตัวของดาวเคราะห ซึ่งกลไกการเย็นตัวนี้จะใชเวลา มากหรือนอยขึ้นอยูกับขนาดของดาวเคราะห โดยดาวเคราะหที่มีขนาดเล็ก เชนดวงจันทรจะใชเวลา ประมาณ 3 พันลานป ในขณะที่ดาวเคราะหที่มีขนาดใหญใชเวลาในการเย็นตัวนานขึ้น กอนฝุน ที่ อยู ใ นบริ เ วณที่ หา งออกไปเป น กอ นฝุน ประกอบไปดว ย น้ํ า แอมโมเนี ย และมีเ ทน ในสภาพ ที่เปนของแข็งรวมกับหินแข็งอีกเล็กนอย กอนฝุนเหลานี้จะรวมตัวกันจนมีขนาดประมาณโลก กอนฝุนเหลานี้จะดึงดูดแกสไฮโดรเจนและฮีเลียมจากกลุมแกสที่อยูโดยรอบเขาไป โดยกอนฝุน ที่มีมวลมาก เชน ดาวเสารและดาวพฤหัสบดีจะสามารถดึงดูดแกสไฮโดรเจนและฮีเลียมเขาไว ไดมากจนมีอัตราสวนเทียบกับธาตุอื่นๆในอัตราที่ใกลเคียงกับอัตราสวนของธาตุในดวงอาทิตย สวนดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน มีมวลไมมากดังนั้นปริมาณของไฮโดรเจนและฮีเลียมที่ดึงดูดไวจึงมี ไมมากนักเมื่อเทียบกับปริมาณธาตุชนิดอื่นไดแก คารบอน ไนโตรเจน ออกซิเจน ซิลิกอนและเหล็ก ดวงจันทรของดาวเคราะหบางดวง เชน ดวงจันทรของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร ถือกําเนิดขึ้น ดวยกระบวนการเดียวกันกับดาวเคราะหแตมีขนาดเล็กกวา แตบางดวงเชน ดวงจันทรของโลก เกิดขึ้นภายหลังโดยหลุดออกมาจากดาวเคราะห บริเวณกอนฝุนในระบบสุริยะที่ไมสามารถรวมกัน จนมีขนาดใหญพอจะเป นดาวเคราะหหรื อดวงจันทรของดาวเคราะหได เชน ในบริ เวณที่ไกล จากดวงอาทิตยมากๆ ซึ่งมีอุณหภูมิต่ํามากทําใหกอนฝุนเหลานี้เปนเหมือนกับน้ําแข็งกอนเล็กๆ ซึ่งแบงออกเปน 2 บริเวณ ไดแก แถบไคเปอร (Kuiper Belt) ที่อยูเลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป และกลุมเมฆออรท (Oort Cloud) ที่อยูไกลออกไปถึงขอบของระบบสุริยะ ในบางครั้งกอนน้ําแข็ง ที่อยูในกลุมเมฆออรท อาจหลุดเขามาใกลดวงอาทิตยเกิดเปน ดาวหาง (Comet) นอกจากนี้ ยั งมี บริ เ วณที่ก อ นฝุ น ไม รวมกัน อยู ร ะหวา งดาวอั ง คารและดาวพฤหั ส บดี โดยกอนฝุนในบริเวณนี้จะมีองคประกอบหลักเปนหินแข็ง เรียกกอนฝุนเหลานี้วา ดาวเคราะหนอย (Asteroids) ดาวเคราะหนอยเหลานี้ไมสามารถรวมกันได เนื่องจากแรงดึงดูดจากดาวพฤหัสบดี อยางไรก็ดีในปจจุบันบางสวนของดาวเคราะหนอยไมอยูในแถบดาวเคราะหนอย (Asteroid Belt) แตกระจัดกระจายอยูทั่วไปในระบบสุริยะ

วาระสุดทายของระบบสุริยะ อีกประมาณ 5 ถึง 6 พันลานปหลังจากนี้ ปริมาณไฮโดรเจนในดวงอาทิตยจะเริ่มนอยลง จนไมเพียงพอที่จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรไดตอไป ในระหวางนี้บริเวณใจกลางของดวงอาทิตย จะเริ่มยุบตัวและรอนขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่บริเวณรอบนอกจะขยายออกและเย็น ลง ดวงอาทิตย จะขยายออกเป น หลายเท า โดยอาจจะขยายขนาดจนถึ ง วงโคจรโลกกลายเป น ดาวยั ก ษ สี แ ดง (Red Giant) หลังจากนั้นสวนนอกของดาวจะเกิดการระเบิดออกกลายเปนเนบิวลาดาวเคราะห (Planetary Nebula) สวนบริเวณใจกลางจะเหลือซากของดาวเปนดาวแคระขาว (White Dwarf) กลุ ม แก ส ที่ อ อกมาจากการระเบิ ด ออกของดาวนี้ จ ะนํ า ไปสู ก ารก อ ตั ว ของดาวฤกษ ด วงใหม โดยมีองคประกอบเปนธาตุหนัก เชน ไนโตรเจน ออกซิเจน องคประกอบของระบบสุรยิ ะ • ดวงอาทิตย (The Sun) เปนดาวฤกษที่อยูตรงตําแหนงศูนยกลางของระบบสุริยะ และเปนศูนยกลางของแรงโนมถวงทําใหดาวเคราะหและบริวารทั้งหลายโคจรลอมรอบ

ภาพ ระบบสุรยิ ะ (ที่มา: NASA, JPL) • ดาวเคราะห มีทั้งหมด 8 ดวง เรียงตามระยะหางจากดวงอาทิตยนอยที่สุดถึงไกลที่สุด ตามลําดับ ดังนี้ ดาวพุธ ดาวศุก ร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส บดี ดาวเสาร ดาวยูเรนั ส และดาวเนปจูน บางดวงมีดวงจันทรเปนบริวารแตบางดวงก็ไมมีดวงจันทรเปนบริวาร • ดาวเคราะหแคระ (Dwarf Planets) เปนนิยามใหมของสมาพันธดาราศาสตรสากล (International Astronomical Union) ที่กลาวถึงวัตถุขนาดเล็กที่มีรูปรางคลายทรงกลม แตมีว งโคจรเปน รูปรีซอนทับกับ ดาวเคราะหด วงอื่ น และไมอยูใ นระนาบของสุริย วิ ถี ซึ่งไดแก ซีรีส พัลลาส พลูโตและดาวที่เพิ่งคนพบใหม เชน อีริส เซ็ดนา วารูนา เปนตน

ภาพ ขนาดของดาวเคราะหแคระเปรียบเทียบกับโลก (ที่มา: NASA, JPL) • ดาวเคราะหนอย (Asteroids) เกิดจากวัสดุที่ไมสามารถรวมตัวกันเปนดาวเคราะหได เนื่องจากแรงรบกวนจากดาวเคราะหขนาดใหญ เชน ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร จะพบวา ประชากรของดาวเคราะหนอยสวนใหญอยูที่ “ แถบดาวเคราะหนอย ” (Asteroid belt) ซึ่งอยูระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ซีรีส จัดวาเปนดาวเคราะหนอย ที่มีขนาดใหญที่สุด (เสนผานศูนยกลาง 900 กิโลเมตร) จนถูกจัดใหเปนดาวเคราะหแคระ

ภาพ แถบดาวเคราะหนอย (ที่มา: Pearson Prentice Hall, Inc) • ดาวหาง (Comets) ดาวหางประกอบดว ยฝุน และน้ําแข็งสกปรก เมื่อโคจรเขา ใกล ดวงอาทิตย น้ําแข็งจะระเหิดกลายเปนหางแกสและหางฝุนใหเราเห็นเปนทางยาว ดาวหาง ที่มีคาบการโคจรสั้นก็จะวนเวียนอยูภายในระบบสุริยะ แตดาวหางสวนใหญจะมาจาก บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะที่เรียกวา แถบไคเปอร (Kuiper's belt) ที่นับตั้งแตบริเวณ วงโคจรของดาวพลูโตออกไปเปนระยะทาง 500 AU จากดวงอาทิตยและเมฆออรท (Oort Cloud) ที่อยูถัดจากแถบไคเปอรออกไปถึง 50,000 AU จากดวงอาทิตย

ภาพ ดาวหาง (ที่มา: NASA, JPL) การเกิ ด หางของดาวหาง เมื่ อ ดาวหางอยู ที่ บ ริ เ วณขอบนอกระบบสุ ริ ย ะจะเป น เพี ย ง กอนน้ําแข็งสกปรกที่ไมมีหาง นิวเคลียส (nucleus) ประกอบไปดวยน้ําแข็ง แอมโมเนีย คารบอนไดออกไซด มีเทนและมีเศษฝุนปะปนอยูกับน้ําแข็ง เมื่อโคจรเขาใกลดวงอาทิตย น้ําแข็งเหลานี้จะระเหิดกลายเปนแกส โดยเฉพาะบริเวณที่รับแสงอาทิตยจะมีการประทุ ของแกสอยางรุนแรงปรากฏอยูลอมรอบนิวเคลียส เรียกวา โคมา (coma) แกสเหลานี้ จะถู ก ลมสุ ริ ย ะพั ด ออกไปเป น ทางยาวในทิ ศ ทางตรงกั น ข า มกั บ ดวงอาทิ ต ย ก ลายเป น หางแกส (gas tail) แสงสีตางๆ ที่ปรากฏบนหางแกสเกิดจากโมเลกุลของแกสเรืองแสง หลังจากไดรับความรอนจากดวงอาทิตย หางฝุน (dust tail) ของดาวหาง เกิดจากฝุนที่พุง ออกมาจากนิวเคลียสถูกแรงดันจากแสงอาทิตยผลักออกจากดาวหาง ฝุนเหลานี้สามารถ สะทอนแสงไดดีจึงปรากฏเปนทางโคงสวางใหเห็นตามแนวทิศทางของวงโคจร นิวเคลียส ของดาวหางมีเสนผานศูนยกลางโดยทั่วไปประมาณ 10 กิโลเมตร สวนโคมาของดาวหาง โดยทั่วไปแผออกไปกวางเปนรัศมีหลายแสนกิโลเมตรและหางของดาวหาง มีความยาวถึง 100 ลานกิโลเมตร • ดาวตก (Meteor) ดาวตก หรือผีพุงไต (Meteor) เปนเพียงอุกกาบาต (Meteoroids) เศษวัตถุ เล็กๆ หรือฝุนที่เกิดตามทางโคจรดาวหาง เมื่อเศษวัตถุเหลานี้ตกผานชั้นบรรยากาศโลก จะถูกเสียดสีและเผาไหมเกิดเปนแสงใหเห็นในยามค่ําคืน ในบางครั้งวัตถุมีขนาดใหญ ไมสามารถลุกไหมหมดจึงเหลือบางสวนผานชั้นบรรยากาศและตกถึงพื้นโลกได เรียกวา “ กอนอุกกาบาต ” (Meteorite) การที่ดาวหางโคจรเขาใกลดวงอาทิตยไดทิ้งเศษฝุนและวัตถุ ขนาดเล็กตามแนวเสนทางโคจรในแตละปโลกจะโคจรผานบริเวณดังกลาว เมื่อเศษฝุน เหล า นี้ ผ า นเข า มาสู ชั้ น บรรยากาศของโลกจะถู ก เสี ย ดสี ด ว ยชั้ น บรรยากาศทํ า ให เ กิ ด

ความรอนและเผาไหมเศษวัตถุนั้นภายในเวลาเพียงไมกี่วินาที ปรากฏใหเห็นเปนเสนสวาง สวยงามจํานวนมาก เราจึงเรียกวา “ ฝนดาวตก ” (Meteor shower)

ภาพ ดาวตก (ที่มา: NASA, JPL) • วัตถุในแถบไคเปอร (Kuiper Belt Objects) เปนวัตถุที่หนาวเย็นเชนเดียวกับดาวหาง แตมีวงโคจรอยูถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึงเรียกวา Trans Neptune Objects ทั้งนี้แถบไคเปอรจะอยูในระนาบของสุริยวิถี โดยมีระยะหางออกไปตั้งแต 40 – 500 AU (AU ยอมาจาก Astronomical Unit หรือ หนวยดาราศาสตร เทากับระยะทางระหวางโลก ถึงดวงอาทิตย คือ150 ลานกิโลเมตร) ดาวพลูโตเองก็จัดวาเปนวัตถุในแถบไคเปอร รวมทั้ง ดาวเคราะหแคระซึ่งคนพบใหม เชน อีริส เซ็ดนา วารูนา เปนตน ปจจุบันมีการคนพบวัตถุ ในแถบไคเปอรแลวมากกวา 35,000 ดวง

ภาพ แถบไคเปอร และวงโคจรของดาวพลูโต (ที่มา: NASA, JPL) • เมฆออรท (Oort Cloud) เปนสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตรชาวเนเธอรแลนด ชื่อ แจน ออรท (Jan Oort) ซึ่งเชื่อวา ณ สุดขอบของระบบสุริยะรัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิ ต ย ระบบสุ ริ ย ะของเราห อ หุ ม ด ว ยวั ส ดุ แ ก ส แข็ ง ซึ่ ง หากมี แ รงโน ม ถ ว ง

จากภายนอกมากระทบกระเทือนแกสแข็งเหลานี้ก็จะหลุดเขาสูวงโคจรรอบดวงอาทิตย กลายเปนดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period comets)

ภาพ ตําแหนงของแถบไคเปอรและเมฆออรท (ที่มา: NASA, JPL)

ใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชัน้ ที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ชื่อ..................................................................ชั้น...........เลขที่...........ชื่อกลุม...................................... วันที่............เดือน.................................พ.ศ. ............................. *************************************************************************** จงเติมคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง 1. ระบบสุริยะมีอายุประมาณ....................................ป 2. ระบบสุริยะทัง้ หมด ประกอบดวย............................................................................................. ................................................................................................................................................

ระบบสุริยะ 3. จากรูปของระบบสุริยะหมายเลข 2 คือ...............หมายเลข 7 คือ...............หมายเลข 9 คือ............... 4. ดาวเคราะหนอ ยโคจรอยูระหวางดาวหมายเลข..............และดาวหมายเลข................. 5. โลกคือดาวหมายเลข....................................... 6. ดาวหางประกอบดวย.................................................................................................................... 7. เมื่ออยูขอบระบบสุริยะที่ไกลจากดวงอาทิตยดาวหางจะมีหาง......................และเมื่อเขาใกล ดวงอาทิตยหางของดาวหางจะ.......................และชี้ไปในทิศ................................................. 8. ดาวตกหรืออุกาบาตรคือ.......................................................................................................... 9. ฝนดาวตกเกิดขึ้นเมื่อโลกโคจรเขาใกล........................................................................................ 10. ดาวเคราะหแคระ เชนดาวพลูโตจัดเปนวัตถุในบริเวณที่เรียกวา.................................................

เฉลยใบงาน เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริย หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่องระบบสุริยะ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค ชื่อ...................................................................ชั้น...........เลขที่...........ชื่อกลุม..................................... วันที่............เดือน.................................พ.ศ. ............................. ***************************************************************************** จงเติมคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง 1. ระบบสุริยะมีอายุประมาณ 4600 ลาน ป 2. ระบบสุริยะทัง้ หมด ประกอบดวย ดวงอาทิตย ดาวเคราะหและบริวาร ดาว เคราะหนอย ดาวหาง ดาวเคราะหแคระและอุกกาบาต

ระบบสุริยะ

3. จากรูปของระบบสุริยะหมายเลข 2 คือ ดาวพุธ หมายเลข 7 คือดาวเสารหมายเลข 9 คือ ดาวเนปจูน 4. ดาวเคราะหนอ ยโคจรอยูระหวางดาวหมายเลข 5 และดาวหมายเลข 6 5. โลกคือดาวหมายเลข 4 6. ดาวหางประกอบดวย ฝุนและน้ําแข็งสกปรก 7. เมื่ออยูขอบระบบสุริยะที่ไกลจากดวงอาทิตยดาวหางจะมีหาง สั้น และเมื่อเขาใกลดวงอาทิตย หางของดาวหางจะ ยาวขึ้น และชี้ไปในทิศ.ตรงขามกับดวงอาทิตย 8. ดาวตกหรืออุกกาบาตคือ ดาวเคราะหนอยหรือเศษวัตถุในอวกาศที่ถูกแรงโนมถวงของโลกดึง เขาสูบรรยากาศโลก เสียดสีกับบรรยากาศจนเกิดความรอนและแสงสวาง 9. ฝนดาวตกเกิดขึ้นเมื่อโลกโคจรเขาใกล ดาวหาง 10. ดาวเคราะหแคระ เชนดาวพลูโตจัดเปนวัตถุในบริเวณที่เรียกวา ไคเปอร

แบบทดสอบ เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ คําชี้แจง ใหนกั เรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแลวทําเครื่องหมาย ± ลงในกระดาษคําตอบที่แจกให 1. ขอใดไมเกี่ยวของกับการเกิดของระบบสุริยะ ก. เกิดจากกลุมแกสยุบตัว ข. เกิดปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน ค. เกิดเปนระบบดาวที่มีดาวฤกษเปนศูนยกลาง ง. ดวงจันทรบริวารอาจเกิดพรอมดาวเคราะห 2. ระบบสุริยะทัง้ หมดประกอบดวยอะไรบาง ก. ดวงอาทิตย ดาวเคราะหและบริวาร ดาวแคระขาวและดาวแคระดํา ข. ดาวเคราะหนอ ย ดาวหาง อุกกาบาตและดาวเคราะหแคระ ค. ดาวเคราะหและบริวาร ดาวเคราะหนอย ดาวหาง อุกกาบาตและดาวเคราะหแคระ ง. ดวงอาทิตย ดาวเคราะหและบริวาร ดาวเคราะหนอย ดาวหาง ดาวเคราะหแคระ และอุกกาบาต

ระบบสุริยะ 3. ดาวพฤหัสบดีและดาวเสารคือดาวเคราะหหมายเลขใด ก. ดาวเคราะหหมายเลข 2 และ 3 ข. ดาวเคราะหหมายเลข 4 และ 5 ค. ดาวเคราะหหมายเลข 6 และ 7 ง. ดาวเคราะหหมายเลข 8 และ 9

4. ดาวเคราะหนอยโคจรอยูร ะหวางดาวเคราะหคูใด ก. ดาวเคราะหหมายเลข 3 กับดาวเคราะหหมายเลข 4 ข. ดาวเคราะหหมายเลข 4 กับดาวเคราะหหมายเลข 5 ค. ดาวเคราะหหมายเลข 5 กับดาวเคราะหหมายเลข 6 ง. ดาวเคราะหหมายเลข 6 กับดาวเคราะหหมายเลข 7 5. ขอใดเรียงลําดับของดาวเคราะหตามระยะทางที่อยูหางจากดวงอาทิตยจากมากไปหานอย ก. ดาวศุกร ดาวอังคาร โลก ดาวพุธ ข. ดาวอังคาร โลก ดาวศุกร ดาวพุธ ค. ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ง. โลก ดาวพุธ ดาวอังคาร ดาวศุกร 6. ขอใดไมจัดวาเปนสมาชิกของระบบสุริยะ ก. ดาวตก ข. ดาวหาง ค. ดาวลูกไก ง. ดาวเคราะหแคระ 7. ตั้งแตวนั ที่ 24 สิงหาคม 2549 วัตถุใดในระบบสุริยะที่นักดาราศาสตรจัดใหเปน ดาวเคราะหแคระ ก. ดาวพลูโต ข. ดวงจันทรบริวารดาวพลูโต ค. ดาวเคราะหนอ ย ง. ดาวเนปจูน 8. ตอไปนี้ขอใด กลาวผิด เกี่ยวกับดาวหาง ก. โคจรรอบดวงอาทิตยดว ยระยะทางที่มีบางชวงไกลกกวาดาวเคราะหทกุ ดวง ข. ยิ่งเขาใกลดวงอาทิตยมากหางยิ่งยาวขึ้น ค. หางของดาวหางจะชี้ในทิศตรงขามกับดวงอาทิตยเสมอ ง. ดาวหางไมใชสมาชิกในระบบสุริยะ

9. มีปรากฏการณฝนดาวตกทีน่ าตื่นตาบนโลกเปนระยะๆ ฝนดาวตกเหลานี้เกิดขึ้นเพราะโลก โคจรผานเขาไปใกลหางของดาวหาง นักเรียนคิดวาโลกจะเขาไปอยูใ นบริเวณสวนกลางหาง ของดาวหางเมือ่ ใด ก. อยูในระนาบเดียวกันเรียงตามลําดับ ดาวอาทิตย โลก ดาวหาง ข. อยูในระนาบเดียวกันเรียงตามลําดับ ดวงอาทิตย ดาวหาง โลก ค. อยูในระนาบเดียวกันเรียงตามลําดับ ดาวหาง โลก ดวงอาทิตย ง. เมื่อดาวหางเขามาอยูในแถบดาวเคราะหนอ ย 10. วัตถุใดลักษณะใดถาเปนสมาชิกของระบบสุริยะแลวจะไมสามารถพบไดในแถบไคเปอร ก. ดาวเคราะหแคระที่มีพื้นผิวแข็ง ข. ดาวเคราะหแคระแกสที่รอนระอุ ค. วัตถุที่มีอุณหภูมิหนาวเย็น ง. ดาวหาง

เฉลยแบบทดสอบ เรื่องกําเนิดและองคประกอบของระบบสุริยะ ขอที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คําตอบ ข ง ค ค ข ค ก ง ข ข

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 เรื่องดาวเคราะห ในระบบสุริยะ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 33101 หนวยการเรียนรูที่ 8 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

เวลา 2 ชั่วโมง ชวงชั้นที่ 3 ปที่ 3 เรื่องระบบสุริยะ โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค

5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò5Ò

1. มาตรฐานการเรียนรู ว 7.1 : เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน 2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของดาวเคราะหในระบบสุริยะ วิเคราะหขอมูลและอธิบาย สภาวะบนดาวเคราะหที่เอื้อตอการดํารงชีวติ ได 3. จุดประสงคการเรียนรู 3.1 ดานความรู 3.1.1 สืบคนขอมูล อธิบายลักษณะของดาวเคราะหและเกณฑการจําแนกดาวเคราะห พรอมทั้งยกตัวอยางได 3.1.2. สามารถสืบคนและอธิบายลักษณะทางโคจรของดาวเคราะหในระบบสุริยะได 3.13. เปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห เวลาในการหมุนรอบตัวเองและเวลา ในการโคจรรอบดวงอาทิตย 3.1.4. วิเคราะหขอมูลและอธิบายสภาวะบนดาวเคราะหที่เอื้อตอการดํารงชีวิตได 3.2 ดานทักษะกระบวนการ 3.2.1. นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุม 3.2.2. นักเรียนมีทักษะในการสื่อสาร 3.3 ดานคุณลักษณะที่พึงประสงค 3.3.1. นักเรียนมีความรับผิดชอบ 3.3.2 นักเรียนมีความสามัคคี

4. สาระ/ เนื้อหา ระบบสุริยะมีดาวเคราะหที่เปนบริวาร 8 ดวงโดยเรียงลําดับตามระยะหางจากดวงอาทิตย จากนอยไปมาก ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวเคราะหที่สามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลาจากโลกมี 5 ดวง ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร การแบงดาวเคราะหนกั ดาราศาสตรจัดแบงหลายรูปแบบเชน - แบงโดยใชกลุมดาวเคราะหนอยเปนตัวแบง จะแบงเปน 2 กลุม คือ 1) ดาวเคราะหชั้นในมี 4 ดวง ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร 2) ดาวเคราะหชั้นนอกมี 4 ดวง ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน - แบงโดยใชลักษณะพืน้ ผิวเปนเกณฑจะแบงดาวเคราะหเปน 2 กลุมคือ 1) ดาวเคราะหที่เปนของแข็งทัง้ ดวง ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร 2) ดาวเคราะหทไี่ มเปนของแข็งทั้งดวงไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน - แบงโดยใชโลกเปนตัวแบงจะแบงดาวเคราะหเปน 2 กลุม คือ 1) ดาวเคราะหวงในมี 2 ดวง ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร 2) ดาวเคราะหวงนอกมี 5 ดวงไดแก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวเคราะหบางดวงมีสิ่งมีชวี ิตอาศัยอยู เชน โลก มีสภาวะที่เอื้อตอการดํารงชีวิต ดังนี้ 1) โลกอยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ 150 ลานกิโลเมตรเปนระยะที่พอเหมาะ จึงสงผลใหอุณหภูมิของผิวโลกพอเหมาะ คือ 288 K (15 °C) ถึง 293 K (20 °C) 2) โลกมีแกสในบรรยากาศเหมาะกับการดํารงชีวิตและมีบรรยากาศหอหุมโลก ทําให อุณหภูมิของบรรยากาศพอเหมาะและยังชวยกรองรังสีอัลตราไวโอเลต ทั้งนี้ ถารังสีอัลตราไวโอเลตทะลุลงมาที่พื้นผิวโลกในปริมาณที่มากจะเปนอันตรายตอ สิ่งมีชีวิต 3) โลกมีสวนประกอบเปนหินและเหล็ก จึงมีมวล ความหนาแนน แรงโนมถวงมาก พอ ที่จะดึงดูดน้ําและแกสตางๆ ไวในบรรยากาศไมหลุดลอยออกไปนอกโลก 4) สวนสวนประกอบของแกนโลกที่มีเหล็กหนืดและเคลื่อนที่จึงทําใหเกิด สนามแมเหล็กหอหุมโลกชวยปองกันอนุภาคที่มีประจุไฟฟา รังสีคลื่นสั้นที่เปน อันตรายตอสิ่งมีชีวิต

5) โลกมีน้ําซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เนื่องจาก 5.1) น้ําเปนตัวทําละลาย เพื่อใหแรธาตุเขาสูเซลลได 5.2) น้ําเปนตัวกอใหเกิดปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต 5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา 5.1.1 ครูซักถามความพรอมในการนําเสนอผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุม 5.2 ขั้นสอน 5.2.1 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลการสังเกตดาวเคราะห หนาชั้นเรียนและรวมกันอภิปรายสิ่งที่สังเกตเห็นและการบันทึกขอมูลความรู เกี่ยวกับดาวเคราะหที่สืบคนพรอมทั้งตอบคําถามตอไปนี้ - จากการสังเกตดวงดาวในทองฟา บอกไดหรือไมวาดวงใดเปนดาวเคราะห - ตําแหนงของดาวในทองฟาใกลเคียงกับขอมูลที่สืบคนมาหรือไม อยางไร - นักเรียนจะสังเกตดาวเคราะหอยางไรจึงจะทราบวาดาวเคราะหมี การเคลื่อนที่ 5.2.2 นักเรียนศึกษาใบความรู เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 5.2.3 ครูถามนักเรียนวานอกจากโลกของเราแลวนักเรียนคิดวาจะมีสิ่งมีชีวิตอยูที่อื่น อีกหรือไม ถามีสถานที่นั้นควรมีลักษณะอยางไร 5.2.4 นักเรียนทํากิจกรรม 7.3 วิเคราะหขอมูลโดยศึกษาตารางขอมูลของดาวเคราะห ชั้นในและดาวเคราะหชั้นนอกแลวรวมกันอภิปรายในหัวขอตอไปนี้ - ในการจําแนกดาวเคราะหใชหลักเกณฑใด - ดาวเคราะหดวงใดบางทีจ่ ัดเปนดาวเคราะหชั้นใน - ดาวเคราะหดวงใดบางทีจ่ ัดเปนดาวเคราะหชั้นนอก - ดาวเคราะหชั้นในมีลักษณะอยางไร - ดาวเคราะหชั้นนอกมีลักษณะอยางไร - ดาวเคราะหชั้นในดวงใดมีขนาดเล็กทีส่ ุดและใหญที่สุด - ดาวเคราะหชั้นในดวงใดใชเวลาโคจรรอบดวงอาทิตยนอยที่สุดและ มากที่สุด - ดาวเคราะหชั้นในดวงใดใชเวลาหมุนรอบตัวเองนอยที่สุด - ดาวเคราะหชั้นนอกทุกดวงมีสวนประกอบเหมือนกันหรือไม อยางไร - ดาวเคราะหชั้นนอกใดมีขนาดเล็กที่สุดและใหญที่สุด

- ดาวเคราะหชั้นในและชัน้ นอกแตกตางกันอยางไร - ระยะเวลาของการโคจรรอบดวงอาทิตยของดาวเคราะหมีความสัมพันธ กับระยะหางจากดวงอาทิตยอยางไร เหตุใดจึงเปนเชนนัน้ 5.2.5 ครูนําเสนอ สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบ สุริยะ 5.2.6 นักเรียนรวมกลุมอภิปรายในหัวขอที่ไปสืบคนมาเรื่องสิ่งมีชีวิตในโลกอื่น 5.2.7 ใหตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอขอสรุปที่ไดจากการอภิปราย ในกลุมหนาชั้นเรียนเรื่องสิ่งมีชีวิตในโลกอื่นและสิ่งที่เอื้อในการดํารงชีวิต 5.2.8 นักเรียนทําใบงาน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 5.3 ขั้นสรุป 5.3.1. นักเรียนรวมกันสรุป เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 5.3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบ เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 6.

สื่อและแหลงเรียนรู 6.1 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ ( นักเรียนสามารถคัดลอกเพื่อนําไปทบทวนที่บานได ) 6.2 ใบความรู เรื่อง ดาวเคราะหในระบบสุริยะ 6.3 ใบงาน เรือ่ ง ดาวเคราะหในระบบสุริยะ 6.4 แบบทดสอบ เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 6.5 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ชวงชั้นที่ 3 กระทรวงศึกษาธิการ 6.6 หนังสือ คูมือครูสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ ชวงชัน้ ที่ 3 กระทรวงศึกษาธิการ 6.7. รายชื่อเว็บไซต ที่สามารถสืบคนขอมูลเรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ http://www.rscience.net/ http://www.sci-educ.nfe.go.th/main/index.php http://thaiastro.nectec.or.th/ http://www.astroschool.in.th/public/indx_ans_inc.php http://www.darasart.com http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/astronomy.shtml

http://www.geocities.com/witit_mink/solarsystem.htm http://www.doodaw.com/ http://www.planetscapes.com/ http://www.nasa.gov/ http://store.tkc.go.th/multimedia/tun/18.SolarSystem/main.html http://www.mreclipse.com/Special/SEprimer.html http://eclipse.gsfc.nasa.gov/eclipse.html http://www.lesaproject.com/ http://sunflowercosmos.org/ 7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 วิธีการวัดผล 7.1.1 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 7.1.2 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 7.1.3 ตรวจใบงานเรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 7.1.4 แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ดาวเคราะหในระบบสุริยะ 7.1.5 ประเมินการนําเสนอผลการบันทึกการสังเกตดาวเคราะหหนาชั้นเรียน เรื่องการสังเกตดาวเคราะห 7.1. 6 การบันทึกขอมูลดาวเคราะห 7.2 เครื่องมือวัดผลและประเมินผล 7.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 7.2.2 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 7.2.3. ใบงานเรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 7.2.4 แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ดาวเคราะหในระบบสุริยะ 7.2.5 แบบประเมินการนําเสนอผลการบันทึกการสังเกตดาวเคราะหหนาชั้นเรียน เรื่องการสังเกตดาวเคราะห 7.2.6 แบบประเมินผลการบันทึกการสังเกตดาวเคราะห

7.3 วิธีการใหคะแนน คะแนนรายกลุม พฤติกรรมการปฏิบัติงานของกลุม การนําเสนอหนาชั้นเรียน การบันทึกขอมูล ระดับคุณภาพ คะแนน 50-60 คะแนน คะแนน 40-49 คะแนน คะแนน 30-39 คะแนน คะแนน ต่ํากวา 30 คะแนน คะแนนรายบุคคล การมีสวนรวมและรับผิดชอบ ใบงาน แบบทดสอบ ระดับคุณภาพ คะแนน 50-60 คะแนน คะแนน 40-49 คะแนน คะแนน 30-39 คะแนน คะแนน ต่ํากวา 30 คะแนน

20 20 20

คะแนน คะแนน คะแนน

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

20 20 20

คะแนน คะแนน คะแนน

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

8. กิจกรรมเสนอแนะ 8.1 เตรียมลวงหนาสําหรับนักเรียน 8.1.1 สืบคนขอมูล เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 8.1.2 ทํากิจกรรมที่ 7.2 สังเกตดาวเคราะห 8.2 เตรียมลวงหนาสําหรับครู 8.2.1 สื่อการสอนดวยโปรแกรม Power Point เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 8.2.2 ใบความรู เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 8.2.3 ใบงาน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ 8.2.4 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องดาวเคราะหในระบบสุริยะ

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู 6. ผลการเรียนรู ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 7. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 8. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 9. ปญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 10. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................

ลงชื่อ

ผูสอน

( นางรัตนา บุญนอม )

แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ชื่อ……………….………………………...ชั้น………………เลขที่………...…….… ชื่องาน/ กิจกรรม…………………………………………………………………………… คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย Dในตารางขวามือที่ตรงกับความเปนจริงที่สุด โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนแตละประเด็นดังนี้ คะแนน 4 หมายถึง แสดงพฤติกรรมทุกครั้ง คะแนน 3 หมายถึง แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง คะแนน 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมเปนบางครั้ง คะแนน 1 หมายถึง แสดงพฤติกรรมนาน ๆ ครั้ง พฤติกรรมที่นักเรียนแสดง

ระดับคะแนน 4 3 2 1

บันทึกเพิ่มเติม ของผูประเมิน

1. มีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย 2. ยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงาน 3. มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ 4. มีความอดทน อดกลั้นในการทํางาน 5. รวมแสดงความคิดเห็นในการทํางาน รวม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน … ตนเอง

แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุมของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ........ รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ว 33101 ปการศึกษา 25...... โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค คําชี้แจง แบบประเมินฉบับนี้ ใหนักเรียนสํารวจการทํางานกลุมของนักเรียน เพื่อใชเปนแนวทางใน การปรับปรุงพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน โดยเกณฑการประเมินแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ปฏิบัติสม่ําเสมอ = 2 ปฏิบัติบางครั้ง = 1 ไมเคยปฏิบัติ =0 ตอนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปสําหรับนักเรียน โปรดกรอกขอความในชองวางใหสมบูรณ กลุมที่......... สํารวจครั้งที่ ...........นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป....... รายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัส ว 33101 การทํางานกลุม เรื่อง............................................................................ วันที.่ ...........เดือน................. ...พ.ศ. 25............. เวลา ............... ปการศึกษา 25........ รายชื่อสมาชิกในกลุม 1.................................................................... เลขที่ ........... 2.................................................................... เลขที่ ........... 3.................................................................... เลขที่ ........... 4.................................................................... เลขที่ ........... 5.................................................................... เลขที่ ........... 6.....................................................................เลขที่ ........... 7. ...................................................................เลขที่ ........... 8. ...................................................................เลขที่ ........... 9. ...................................................................เลขที่ ........... ตอนที่ 2 เปนความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมในการทํางานกลุม โดยใหนักเรียนสังเกต แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน การปฏิบัติ รายการพฤติกรรม สม่ําเสมอ( 2 ) บางครั้ง (1) ไมเคย (0) 1.จัดแบงหนาที่และเปลี่ยนหนาที่กนั ทํางาน 2.ตั้งใจทํางานในกลุม 3.มีการตรวจสอบขอมูลโดยซักถามๆ ในกลุม และเขาใจตรงกันทุกคน 4. ทุกคนในกลุมชวยกันแสดงความคิดเห็นเพื่อ หาคําตอบที่ดีที่สุด

5. สมาชิกทุกคนมีความสามัคคีและ ชวยเหลือกันเมื่อมีปญหา 6. รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกทุกคนในกลุม 7. ทุกคนมีความกระตือรือรนที่จะชวยเหลืองาน ของกลุม 8. มีปญหาจะซักถามครูเมื่อทุกคนในกลุม ไมเขาใจและทําไมไดแลว 9. ยินดีอธิบายและตอบคําถามเมื่อเพื่อนมี ปญหา 10. การทํางานของกลุมเสร็จเรียบรอยทันตาม เวลาที่กําหนด ผลการประเมิน ไดคะแนนรวม.......... คะแนน พฤติกรรมในการทํางานกลุม อยูในระดับ ..........

ลงชื่อ ..................................................... (ผูประเมิน) (...................................................) ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน … ตนเอง

แบบประเมินผลการบันทึกการสังเกตดาวเคราะห

5

5

วิธีการนําเสนอ ขอมูล ความสะอาด เรียบรอย

ชื่อ - สกุล

รูปแบบ

กลุมที่

เนื้อหาสาระ

คําชี้แจง โปรดกรอกคะแนนที่ไดแตละประเด็นในตารางขวามือ โดยพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน ประเด็นการประเมิน

5

5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน

คะแนน รวม 20

เกณฑการประเมินการบันทึกขอมูล

รายการประเมิน 5 1. เนื้อหาสาระ ครอบคลุมจุดประสงค ทันเหตุการณ และมี แหลงอางอิง

ระดับคะแนน 3 ครอบคลุมจุดประสงค ทันเหตุการณ ไมมีแหลงอางอิง

1 ไมครอบคลุม จุดประสงค ไมทัน เหตุการณ ไมมี แหลงอางอิง 2. รูปแบบของ มีความครบถวนสมบูรณ บกพรองบางสวน เชน บกพรองหลาย การบันทึก ปก คํานํา สารบัญ เนื้อหา ปก คํานํา สารบัญเนื้อหา สวน ทําใหขาดความ และเอกสารอางอิง และเอกสารอางอิง บรรณานุกรมไมสมบูรณ สมบูรณ 3. วิธีการนําเสนอ มีองคประกอบครบทั้ง ขาดไป 1 องคประกอบ ขาดไป 2 ขอมูล ขั้นนํา เนื้อหา และสรุป องคประกอบ 4. ความสะอาด ผลงานสะอาด เรียบรอย สะอาดเรียบรอยแตไม ผลงานไมสะอาด เรียบรอย ประณีต แสดงถึงความ ประณีต และไมเรียบรอย ตั้งใจทําตลอดทั้งเลม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

แบบประเมินการนําเสนอหนาชั้นเรียน

การสรุปและ นําไปใช

ชื่อ - สกุล

ความถูกตองตาม ขั้นตอนการทํางาน

เลขที่

การนําเสนอ

คําชี้แจง โปรดกรอกคะแนนที่ไดแตละประเด็นในตารางขวามือ โดยพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน กลุมที่..............ชื่อกลุม.............................................. วันที่...........เดือน.........................พ.ศ. .......................... ประเด็นการประเมิน

4

3

3

คะแนน รวม

1 2 3 4 5 6 7 8 9 ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ผูประเมิน … ครูผูสอน … เพื่อน

10

เกณฑการประเมินการนําเสนอหนาชั้นเรียน ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 1. ความถูกตอง รูปแบบการ ชัดเจนของ นําเสนอชัดเจน การนําเสนอ เปนระบบ

3 2 1 รูปแบบการ รูปแบบการ การนําเสนอ นําเสนอชัดเจนแต นําเสนอไมคอย ไมเปนระบบ ไมคอยเปนระบบ ชัดเจน ไมชัดเจน

2. ความแปลก ใหมนาสนใจ 3. ความถูกตอง ตามขั้นตอน การทํางาน

แปลกใหม นาสนใจ แสดงวิธีทําเปน ขั้นตอนถูกตอง ผลงานถูกตอง

นาสนใจ

ไมคอยนาสนใจ ไมนาสนใจ

4. คุณภาพ ผลงาน 5. การสรุป

คุณภาพดีเยีย่ ม

แสดงวิธีทําเปน ขั้นตอนถูกตอง คอนขางมาก ผลงานถูกตอง คุณภาพดี

แสดงวิธีทําไม ครบทุกขั้นตอน แตผลงาน ถูกตอง คุณภาพพอใช

มีการสรุปลักการ ในการคิดและ เสนอแนวทาง การนําไปใชบา ง

การสรุปไม มีการสรุป หลักเกณฑ หรือ ชัดเจน การนําไปใช อยางใดอยาง หนึ่งอยางชัดเจน

มีการสรุป หลักการในการ คิดและเสนอ แนวทาง การนํา ไปใชอยางชัดเจน

รวม ระดับคุณภาพ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

18 - 20 15 - 17 10 - 14 1-9

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดีมาก ดี ผานเกณฑการประเมิน ปรับปรุง

ไมแสดงวิธีทํา แตผลงาน ถูกตอง ไมมีคุณภาพ

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF