วรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน

September 17, 2017 | Author: SaifonSongsiengchai | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download วรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน...

Description

เรียนนิสิตปี 2 เนื่ องจากเกิดมหาอุทกภัย อาจารย์ทราบถึงความ เดือดร้อนของนิสิตทุกคน จึงเปิดโอกาสให้นิสิตที่ ลงทะเบียนรายวิชาวรรณคดีองั กฤษและอเมริกนั ขอให้ นักศึกษาเปิด www .areewan-eng.blogspot.com และ ศึกษาบทเรียนและทาแบบฝึ ดหัดให้ครบทุกบท ไม่ต้อง กังวลกับการเข้าชัน้ เรียน ไม่เข้าใจบทไหน ให้ถามในช่อง แสดงความคิดเห็น งานของนิสิต มีดงั นี้ 1. ทาแบบฝึ ดหัดให้ครบและส่งอาจารย์ทกุ แบบฝึ กหัด ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 2. ให้ไปดูภาพยนตร์ เรื่อง Paradize Lost จาก www.google.com และอ่านเรื่อง Gullliver’s Travels ของ Jonathan Swift จาก http://www.bookrags.com/notes/gt/ เพื่อทา แบบฝึ กหัด 3. ให้ส่ง ppt. โดยทารายงานดังนี้

3.1 กวีชาวอังกฤษ 1 คน + ประวัติ + ตัวอย่างกวี 1 บท ประมาณ 8 บรรทัด พร้อมบอกความหมายของบทกวีที่ นามา 3.2 กวีชาวอเมริกนั 1 คน + ประวัติ + ตัวอย่างกวี 1 บท ประมาณ 8 บรรทัด พร้อมบอกความหมายของบทกวีที่ นามา ผศ.ดร.อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด หมายเหตุ มหาลัยเปิด 28 พ.ย. 54 หากนิสติ คนใดทีย่ งั ไม่ สามารถมาเช้าชัน้ รียนได้ ให้โทร. หรือแจ้งมายัง [email protected]

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวรรณคดีองั กฤษและอเมริกนั English and American Literature (1003417)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารีวรรณ เอีย่ มสะอาด

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวรรณคดีองั กฤษและอเมริกนั English and American Literature (1003417)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารีวรรณ เอีย่ มสะอาด ศศบ. - วิชาเอกภาษาอังกฤษ - วิชาโทบริหารธุรกิจ ศศม. - การประถมศึกษา ศศด. - หลักสู ตรและการสอน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา

คานา จุดประสงค์ในการจัดทาเอกสารการสอนเล่มนี้เพื่อให้นิสิตและผูส้ นใจมีแนวทาง ในการศึกษารายวิชาวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั รหัส 1003417 ให้มีความรู ้ความเข้าใจ และมีความซาบซึ้งในการศึกษาวรรณคดีหลายยุคหลายสมัย เอกสารเล่มนี้ประกอบด้วย 6 บท ผูเ้ ขียนหวังว่าเอกสารเล่มนี้คงเป็ นประโยชน์ สาหรับผูเ้ รี ยนและผูส้ นใจ

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อารี วรรณ เอี่ยมสะอาด พฤศจิกายน 2554

สารบัญ คานา สารบัญ บทที่ 1 บทนา ความหมายวรรณคดี ความแตกต่างระหว่างวรรณกรรมและวรรณคดี ประเภทวรรณกรรม แนวทางการศึกษาวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั ประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดี ประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั บทที่ 2 ศัพท์ ภาษาอังกฤษทางวรรณคดีทคี่ วรรู้

(1) (2) 1 1 2 4 5 6 6 7

บทที่ 3 วิวฒ ั นาการของวรรณคดีองั กฤษ

13

1. สมัยแองโกล – แซกเซิ่ น (The Anglo-Saxon Period) 2. มัธยสมัย (Middle English literature) 3. สมัยพระนางอลิซาเบตที่หนึ่ง (The Elizabethan Age) 4. สมัยคริ สศตวรรษที่ 17 (The Seventeenth Century) 5. สมัยคริ สศตวรรษที่ 18 (The Eighteenth Century) 6. ยุคโรแมนติค (The Romantic Age) 7. สมัยพระนางวิคตอเรี ย (The Victorian Age) 8. สมัยใหม่ (The Modern Age) บทที่ 4 วิวฒ ั นาการของวรรณคดีอเมริกนั 1. ยุคแห่งการก่อสร้างประเทศในฐานะอาณานิคม- คริ สตวรรษที่ 17 (The colonial Age) 2. ยุคแห่งการก่อสร้างประเทศในฐานะประเทศอิสระ – คริ สต์ศตวรรษที่ 18

13 16 17 20 22 25 26 27 29

(The Rise of a New Nation) 3. ยุคโรแมนติคของสังคมอเมริ กนั -คริ สต์ศตวรรษที่ 19 (The Romantic Era) 4. ยุคแห่งการต่อสู ้เพื่อสันติภาพ – คริ สต์ศตวรรษที่ 20

29

(The Struggle to Establish Peace)

29

30 31

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 5 ภาษาภาพพจน์ หรือภาษาโวหาร 1. อุปมา (simile) 2. อุปลักษณ์ (metaphor) 3. การใช้คาพูดเกินจริ ง หรื ออติพจน์ (overstatement หรื อ hyperbol) 4. การใช้คาพูดที่นอ้ ยไปกว่าความจริ ง (understatement) 5. สัญลักษณ์ (Symbol) บทที่ 6 การอ่านกวีนิพนธ์ บรรณานุกรม Exercise

32 32 33 34 34

34 36 39 41

เกณฑ์การประเมิ นผล 1. Evaluation Semester Work Individual and group work Mid-semester test 2. Final Examination

70% 50% 20% 30%

Grading Criteria Grade meaning Level of points Percentage A Excellent 4.0 B+ Very Good 3.5 B Good 3.0 C+ Fair 2.5 C Moderate 2.0 D+ Poor 1.5 D Very Poor 1.0 E Fail 0.0

more than 86 80 - 85 74 - 79 68 - 73 62 - 67 56 - 61 50 - 55 0 - 49

บทที่ 1 บทนา บทนี้เป็ นการนาเสนอความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความแตกต่างวรรณคดีและ วรรณกรรม ประเภทวรรณกรรม แนวทางการศึกษาวรรณคดีวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั ประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีและประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั ความหมายวรรณคดี มีนกั การศึกษาและนักวิชาการได้ให้ความหมายของคาว่าวรรณคดี ดังนี้ จินตนา พุทธเมตะ (2554) ได้อา้ งถึงผูใ้ ห้ความหมายของคาว่า “วรรณคดี” ไว้หลายคน ดังนี้ วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ ถึงขนาด เช่น พระ ราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่ องขุนช้างขุนแผน (ราชบัณฑิตยสถาน. 2542: 1055) เสฐียรโกเศศ ได้แปลความหมายของวรรณคดี ไว้ดงั นี้ Literature คือ การแสดงความคิด ออกมาโดยเขียนขึ้นไว้เป็ นหนังสื อ ข้อเขียนหรื อบทประพันธ์ที่แต่งขึ้นเองทั้งหมด ซึ่งเป็ นของ ประเทศชาติใดๆหรื อยุคสมัยใดๆ ไม่วา่ ภาษาใดหรื อว่าด้วยเรื่ องใดๆ (ยกเว้นเรื่ องวิทยาศาสตร์) บท โวหารพรรณนา (Bellsletters) หรื อข้อเขียนซึ่ งมีสานวนโวหารเพราะพริ้ ง มีลกั ษณะเด่นในเชิง ประพันธ์ มณี ปิ่น พรหมสุ ทธิ รักษ์ ได้ให้ความหมายของวรรณคดีวา่ หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับ การยกย่องตามความหมายของวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์ หรื อที่มีความหมายแคบ ซึ่งหมายถึงงาน ประพันธ์ที่มีลกั ษณะเด่นมีความงามในเชิงวรรณศิลป์ มีคุณค่าทางอารมณ์และให้ความรู ้สึกแก่ผอู ้ ่าน หรื อผูฟ้ ัง วรรณคดีสโมสร ได้กาหนดว่าวรรณคดี คือหนังสื อที่แต่งดี คือใช้วธิ ี เรี ยบเรี ยงใดๆ ก็ ตามแต่ตอ้ งเป็ นภาษาไทยที่ดี ถูกต้องตามเยีย่ งอย่างที่ใช้ในโบราณกาล หรื อปั จจุบนั กาล วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2554) วรรณคดี ในภาษาอังกฤษ คือ Literature ซึ่งมาจากภาษาลาติน แปลว่า การศึกษา ระเบียบของภาษา ซึ่ งในภาษาอังกฤษจะมีความหมายหลายอย่าง ดังนี้ 1. อาชีพการประพันธ์ 2. งานเขียนในสมัยใดสมัยหนึ่ง 3. งานประพันธ์ที่ได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์ และผูอ้ ่านทัว่ ไป แต่ในภาษาไทย วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรื องานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมี คุณค่าทางวรรณศิลป์ วรรณคดี เป็ นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทาให้ผอู ้ ่าน เกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็ นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับ รู ้ เพราะ สามารถ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู ้วา่ อะไรควรหรื อไม่ควร

พงษ์ศกั ดิ์ สังขภิญโญ. (2554). ได้อา้ งถึงผูใ้ ห้ความหมายของคาว่า “วรรณคดี” ไว้หลาย คน ดังนี้ นวลจันทร์ รัตนากร (2526 : 28) อธิ บายว่าวรรณคดีหมายถึง งานประพันธ์ชิ้นเลิศ สมบูรณ์ ด้วยคุณค่าทางวรรณศิลป์ ไม่วา่ ใครจะเป็ นผูเ้ ขียน และเขียนในสมัยใด เช่น ลิลิตพระลอ อิเหนาขุน ช้างขุนแผน ส่ วนวรรณกรรม หมายถึงงานเขียนทัว่ ๆ ไป ทุกชนิดทุกประเภท ที่สามารถสื่ อความได้ ดังนั้นงานเขียนทั้งหมดจึงเป็ นวรรณกรรม แต่มีงานเขียนบางชิ้นเท่านั้นที่เป็ นวรรณคดี ชลธิรา กลัดอยู่ (2517 : 83-84) กล่าวว่า วรรณคดี ต้องมีความพร้อมในคุณค่าทั้งสองด้าน คืองานเขียนที่มีคุณค่าด้านเนื้ อหาสาระและคุณค่าทางศิลปการประพันธ์ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2554) กล่าวว่า วรรณกรรม ในภาษาอังกฤษ คือ Literature หมายถึง งานเขียนที่แต่งขึ้นหรื องานศิลปะ ที่เป็ นผลงานอันเกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้ว เรี ยบเรี ยง นามาบอกเล่า บันทึก ขับร้อง หรื อสื่ อออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ ด้วยเหตุน้ ี วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้าง ถึง ประวัติ นิทาน ตานาน เรื่ องเล่า ขาขัน เรื่ องสั้น นวนิยาย บทเพลง คาคม เป็ นต้น วรรณกรรมเป็ น ผลงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา เพื่อการสื่ อสารเรื่ องราวให้เข้าใจระหว่างมนุ ษย์ ภาษาเป็ น สิ่ งที่มนุษย์คิดค้น และสร้างสรรค์ข้ ึนเพื่อใช้สื่อความหมาย เรื่ องราวต่าง ๆ ภาษาที่มนุษย์ใช้ในการ สื่ อสารได้แก่ 1. ภาษาพูด โดยการใช้เสี ยง 2. ภาษาเขียน โดยการใช้ตวั อักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ และภาพ 3. ภาษาท่าทาง โดยการใช้กิริยาท่าทาง หรื อประกอบวัสดุอย่างอื่น ความงามหรื อศิลปะในการใช้ภาษาขึ้นอยูก่ บั การใช้ภาษาให้ถูกต้อง ชัดเจน และ เหมาะสมกับเวลา โอกาส และบุคคล นอกจากนี้ ภาษาแต่ละภาษายังสามารถปรุ งแต่ง ให้เกิดความ เหมาะสม ไพเราะ หรื อสวยงามได้ นอกจากนี้ ยังมีการบัญญัติคาราชาศัพท์ คาสุ ภาพ ขึ้นมาใช้ได้ อย่างเหมาะสม แสดงให้เห็นวัฒนธรรมที่เป็ นเลิศทางการใช้ภาษาที่ควรดารงและยึดถือต่อไป ผู ้ สร้างสรรค์งานวรรณกรรม เรี ยกว่า นักเขียน นักประพันธ์ หรื อ กวี (Writer or Poet) พงษ์ศกั ดิ์ สังขภิญโญ. (2554). ได้อา้ งถึงพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2539 : 754) กล่าวว่า วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสื อ งานนิพนธ์ที่ทาขึ้นทุกชนิด ไม่วา่ แสดง ออกมาโดยวิธีหรื อรู ปแบบ อย่างใด ส่ วนวรรณคดี หมายถึง หนังสื อที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี จากความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดพอจะสรุ ปได้วา่ วรรณคดี หมายถึง งานเขียนที่มีวรรณศิลป์ หรื อแสดงศิลปะของการแต่ง และการประสาน

องค์ประกอบอื่น ๆ เข้าด้วยกันอย่างเหมาะสมกลมกลืน เช่น ความงามของภาษา ความงามของ เนื้อหาที่กลมกลืนกับรู ปแบบ ความงามความมีสาระ ข้อคิดเห็นหรื อแนวคิดที่แทรกแฝงอยูใ่ นเนื้ อ เรื่ อง วรรณกรรม หมายถึง หนังสื อที่แต่งขึ้นไม่วา่ จะเป็ นหนังสื อดีหรื อไม่ดี กล่าวคือไม่มีการ ประเมินค่าหนังสื อแต่อย่างใด ความแตกต่ างระหว่างวรรณกรรมและวรรณคดี พงษ์ศกั ดิ์ สังขภิญโญ. (2554). ได้อา้ งถึงผูใ้ ห้แง่คิด การนาเสนอความแตกต่างระหว่าง วรรณกรรมและวรรณคดี ไว้หลายคน ดังนี้ วันเนาว์ ยูเด็น (2537 : 5) กล่าวว่า วรรณกรรมและวรรณคดีแตกต่างกันตรงที่วา่ งานไหนมี คุณค่าทางศิลปะ ก็ถือเป็ นวรรณคดี ส่ วนวรรณกรรมจะหมายถึงงานทางหนังสื อทัว่ ๆ ไป ซึ่งอาจจะ มีคุณค่าเพียงทางด้านวิชาการ หรื อความคิดเห็นอย่างเดียวก็ได้ หรื อหมายถึงงานที่เป็ นวรรณศิลป์ ก็ ได้ ดังนั้นความหมายของคาว่าวรรณกรรมจึงกว้างกว่าคาว่า วรรณคดี บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ (2514 : 58-133) ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่าง วรรณกรรมและวรรณคดีไว้ดงั นี้วรรณกรรมและวรรณคดี ถือว่าเป็ นศิลปกรรมชนิดหนึ่ ง มีถอ้ ยคา ในภาษาที่พดู และเขียน วรรณกรรมใดเราใคร่ เก็บรักษาไว้เป็ นมรดกตกทอดถึงคนรุ่ นหลัง เพื่อหวังประโยชน์ทางวรรณศิลป์ วรรณกรรมนั้นจึงเข้าข่ายของวรรณคดี กุสุมา รักษมณี (2534 : 15-17) ให้ความเห็นว่า วรรณคดีใช้ในความหมายเจาะจงว่าเป็ นงาน ประพันธ์ในสมัยก่อน และเป็ นงานที่มีคุณค่า มีผยู ้ กย่องเป็ นเพราะกาลเวลาที่ผา่ นมาพิสูจน์เป็ นที่ ยอมรับ ส่ วนวรรณกรรมใช้ในความหมายกว้างกว่า เป็ นงานประพันธ์ทวั่ ๆ ไป และความหมาย เจาะจงว่าเป็ นงานประพันธ์ร่วมสมัย พร้อมกันนี้ได้อา้ งถึงข้อคิดเห็นของพระยาอนุมานราชธนว่า หนังสื อที่แต่งขึ้นและเขียนตีพิมพ์เป็ นเรื่ องแล้ว ย่อมเรี ยกได้วา่ เป็ นวรรณคดี แต่หนังสื อที่วรรณคดี สโมสรยกย่องสมควรได้รับประโยชน์คือ หนังสื อที่มีลกั ษณะตามที่กาหนดเงื่อนไขไว้ในพระราช กฤษฎีกานั้นส่ วนหนังสื ออื่นๆ ซึ่ งไม่เข้าอยูใ่ นข่ายแห่งข้อความในพระราชกฤษฎีกาก็ตอ้ งถือว่าเป็ น วรรณคดีดว้ ยเหมือนกัน และอธิ บายเพิ่มเติมว่าวรรณคดี เป็ นศัพท์บญั ญัติมาจากคาว่า Literature ซึ่ง มี 2 ความหมายดังนี้ 1. ข้อเขียนที่แต่งขึ้นเป็ นหนังสื อ จะแต่งดีหรื อไม่ดีเป็ นเรื่ องดีหรื อเลว จะเป็ นหนังสื อของชาติ ใด ภาษาใด หรื อยุคใดสมัยใดก็ได้ชื่อว่าเป็ นวรรณคดีท้ งั นั้น 2. บทประพันธ์ซ่ ึ งมีลกั ษณะเด่นในเชิงประพันธ์ มีค่าทรงอารมณ์ และความรู ้สึกแก่ผอู ้ ่านผูฟ้ ัง เป็ นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์

หากพิจารณาตามความหมายที่พระยาอนุมานราชธนได้ให้ไว้ ความหมายแรก ซึ่งเป็ น ความหมายกว้างของคาว่าวรรณคดี น่าจะหมายถึง วรรณกรรม ส่ วนความหมายที่สองเป็ น ความหมายเฉพาะของคาว่าวรรณคดี ซึ่ งหมายถึงหนังสื อที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี จากข้อคิดเห็นของกุสุมา รักษมณี ได้สอดคล้องกับแนวความคิดของ รัญจวน อินทรกาแหง, สมพันธุ์ เลขะพันธุ์และ ประทีป วาทิกทินกร (2519 : 4-5) ที่ได้กล่าวถึงความแตกต่างของวรรณกรรม และวรรณคดีวา่ นอกจากจะถือคุณสมบัติดา้ นวรรณศิลป์ เป็ นเครื่ องแบ่ง วรรณคดีกบั วรรณกรรม ดังกล่าวแล้ว ยังมีผถู ้ ือคุณสมบัติดา้ นเวลา หรื อความเก่า - ใหม่ เป็ นเครื่ องแบ่งวรรณกรรมกับ วรรณคดีดว้ ย กล่าวคือ จะถือว่าหนังสื อซึ่ งเขียนขึ้นตั้งแต่ตน้ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึ่ งเป็ นเวลาที่ยงั ไม่ได้รับอิทธิ พลจากวรรณกรรมตะวันตกเป็ นหนังสื อ ประเภทวรรณคดี และถือว่าหนังสื อที่เขียนขึ้นหลังจากนั้นอันเป็ นเวลาที่ได้รับอิทธิ พลจาก วรรณกรรมตะวันตกแล้ว เป็ นหนังสื อประเภทวรรณกรรม และยังสอดคล้องกับแนวความคิดของรุ่ ง วิทย์ สุ วรรณอภิชน (ม.ป.ป. : 1) ซึ่ งกล่าวว่าคาว่า "วรรณคดี" หรื อ "วรรณกรรม" ต่างแปลมาจากคา ว่า "Literature" โดยขออนุ ญาตใช้คาว่า "วรรณคดี" ในกรณี ที่พาดพิงถึงงานเขียนในอดีต และใช้คาว่า "วรรณกรรม" กรณี ที่กล่าวถึงงานเขียนร่ วมสมัยหรื องานเขียนปั จจุบนั บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ (2539 : 155) ใช้คาว่าวรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่อง แน่ชดั แล้วส่ วนคาว่าวรรณกรรม ใช้เพื่อหมายถึง งานประพันธ์ที่ใช้วาจาเล่าบอก ร้องเป็ นเพลง โดย ยังไม่ได้เขียนลงเป็ นตัวอักษรเลยก็มี ในที่น้ ีจะใช้วรรณกรรม ในความหมายกว้างที่สุด ครอบคลุมถึง งานเขียน งานประพันธ์ที่ได้รับการยกย่องไปจนถึงเรื่ องเล่าและบทร้องที่ยงั ไม่ได้เขียนเป็ นตัวอักษร ด้วย จากความแตกต่างระหว่างวรรณคดีและวรรณกรรม ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดพอจะสรุ ปได้วา่ ความแตกต่างนั้นมีอยู่ 2 ประการ คือ คุณภาพของงาน และกาลเวลาของการผลิตงาน ทาให้เกิดความ แตกต่างขึ้น นัน่ ก็คือ วรรณกรรม หมายถึง หนังสื อที่แต่งขึ้นไม่วา่ จะเป็ นหนังสื อดีหรื อไม่ดี กล่าวคือไม่มีการประเมินค่าหนังสื อแต่อย่างใด ส่ วนวรรณคดี หมายถึง งานเขียนที่มีวรรณศิลป์ หรื อแสดงศิลปะของการแต่ง และการประสานองค์ประกอบอื่น ๆ เข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม กลมกลืน เช่น ความงามของภาษา ความงามของเนื้อหาที่กลมกลืนกับรู ปแบบ ความงามความมี สาระ ข้อคิดเห็นหรื อแนวคิดที่แทรกแฝงอยูใ่ นเนื้ อเรื่ อง

ประเภทวรรณกรรม เนื่องจาก วรรณคดี เป็ นส่ วนหนึ่งของวรรณกรรม ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แม้จะมีความแตกต่าง บ้างก็ตาม แต่ เมื่อกล่าวถึงประเภทของวรรณกรรม ก็จะกล่าวถึง ประเภทของวรรณคดีดว้ ยเช่นกัน ซึ่งได้มีผเู้ ขียน ได้แบ่งประเภท ตามเกณฑ์และลักษณะต่าง ๆ มากมาย ซึ่ งพอสรุ ปได้ดงั นี้ 1.) แบ่ งตามลักษณะการประพันธ์ มี 2 ประเภท คือ 1. วรรณกรรมร้ อยแก้ ว คือ วรรณกรรมที่ไม่กาหนดบังคับคาหรื อฉันทลักษณ์ เป็ นความ เรี ยงทัว่ ไป การเขียนในลักษณะนี้ยงั แบ่งย่อยออกเป็ น 1.1 บันเทิงคดี (Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความเพลิดเพลินแก่ผอู ้ ่านเป็ นประการ สาคัญ และให้ขอ้ คิด คตินิยม หรื อ สอนใจ แก่ผอู ้ ่านเป็ นวัตถุประสงค์รอง ดังที่ ม.ล. บุญเหลือ เทพย สุ วรรณ (2518 : 9) กล่าวว่า บันเทิงคดี เป็ นวรรณกรรมที่ผปู้ ระพันธ์มีจุดประสงค์ที่ให้ความ เพลิดเพลิน แต่ท้ งั นี้มิได้หมายความว่าบันเทิงคดีเป็ นวรรณกรรมที่ไร้สาระ บันเทิงคดีอาจมีสาระใน ด้านปรัชญา ด้านความเข้าใจการเมือง หรื อประวัติศาสตร์ ดีกว่าหนังสื อสารคดีบางเรื่ องก็ได้ วรรณกรรม ประเภทนี้ผปู ้ ระพันธ์มุ่งหมายให้ความบันเทิง ต้องกระทบอารมณ์ผอู ้ ่าน มิใช่สาหรับให้ ผูอ้ ่านได้ความรู ้หรื อความคิดเห็น บันเทิงคดีสามารถจาแนกย่อยได้ดงั นี้ 1.1.1 นวนิยาย (Novel) คือ การเขียนผูกเรื่ องราวของชีวติ อันมีพฤติกรรมร่ วมกัน มี ความสัมพันธ์กนั ในลักษณะจาลองสภาพชีวติ ของสังคมส่ วนหนึ่งส่ วนใด โดยมีความมุ่งหมายให้ ความบันเทิงใจแก่ผอู ้ ่าน คือให้ผอู ้ ่านเกิดสะเทือนอารมณ์ไปกับเนื้อเรื่ องอย่างมีศิลปะ 1.1.2 เรื่ องสั้น (Short Story) คือ การเขียนเรื่ องจาลองสภาพชีวติ ในช่วงสั้น คือมุมหนึ่ง ของชีวติ หรื อเหตุการณ์หนึ่ง หรื อช่วงระยะหนึ่งของชีวติ เพื่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจผูอ้ ่าน หรื อ นิยามอีกอย่างหนึ่ง ว่า เรื่ องสั้น คือ วิกฤตการณ์ชุดหนึ่ง มีความสัมพันธ์สืบเนื่องกัน และนาไปสู่ จุด ยอดหนึ่ง (Climax) (ธวัช บุณโณทก 2537 : 12) 1.1.3 บทละคร (Drama) คือการเขียนที่ใช้ประกอบการแสดงเพื่อให้เกิดความบันเทิง เช่น บทละครวิทยุ บทละครพูด และบทละครโทรทัศน์ เป็ นต้น 1.2 สารคดี (Non-Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู ้ หรื อ ความคิด เป็ นคุณประโยชน์ สาคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิ บายเชิงวิจารณ์ เชิงพรรณนาสั่งสอน โดยอธิบายเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง อย่างมี ระบบมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู ้ เพื่อมุ่งตอบสนองความอยากรู ้อยากเห็นให้แก่ผอู ้ ่าน และ ก่อให้เกิดคุณค่าทางปั ญญาแก่ผอู ้ ่าน ซึ่ ง ธวัช ปุณโณทก ( 2527 : 11 ) ได้แบ่งย่อยดังนี้ 1.2.1 ความเรี ยง (Essay) คือ การถ่ายทอดความรู ้ อาจจะได้มาจากการประสบ หรื อตารา วิชาการ มาเป็ นถ้อยความตามลาดับขั้นตอนเพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจตามความรู ้ ความคิดที่ผเู้ ขียนเสนอมา

บางครั้งมีผเู ้ รี ยกว่า "สารคดีวิชาการ" 1.2.2 บทความ (Article) คือความคิดเห็นของผูเ้ ขียนต่อเรื่ องราวที่ประสบมาหรื อต่อ ข้อเขียนของผูอ้ ื่น หรื อต่อเหตุการณ์อย่างหนึ่งอย่างใด ในการเขียนบทความผูเ้ ขียนมุ่งที่จะบอกถึง ความเห็น ความรู ้สึกนึกคิดมากกว่าที่จะถ่ายถอดความรู ้เหมือนความเรี ยง 1.2.3. สารคดีท่องเที่ยว (Travelogue) คือ การบันทึกการท่องเที่ยวและเรื่ องราวต่าง ๆ ที่ ประสบพบเห็นขณะที่ท่องเที่ยวไป โดยมุ่งที่จะให้ความรู ้แก่ผอู ้ ่านและให้ความเพลิดเพลินด้วย 1.2.4. สารคดีชีวประวัติ (Biography) คือ การบันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคลิกภาพหนึ่ง มุ่งที่จะให้เห็นสภาพชีวิตประสบการณ์ของบุคลิกภาพนั้นทุกแง่ทุกมุม แต่ไม่ใช่ประวัติศาสตร์ และ นิยาย 1.2.5. อนุทิน (Diary) คือการบันทึกประจาวันที่เกิดขึ้นแก่ตนเอง จะเป็ นการบันทึกความรู ้สึก นึกคิดของตนเองในประจาวัน หรื ออาจจะบันทึกประสบการณ์ในชีวติ ประจาวัน หรื อบันทึก เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเตือนความจา 1.2.6. จดหมายเหตุ ( Archive) คือ การบันทึกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ของทางราชการ หรื อบันทึก เหตุการณ์สาคัญ ๆ ของสถาบัน หน่วยงานหรื อตระกูล โดยมีความมุ่งหมายเพื่อเก็บไว้เป็ นหลักฐาน เชิงประวัติเหตุการณ์ของชาติ หรื อของสถาบัน หรื อหน่วยงานราชการ หรื อของตระกูล 2. วรรณกรรม ร้ อยกรอง คือ วรรณกรรมที่การเขียนมีการบังคับรู ปแบบด้วยฉันทลักษณ์ต่างๆ เช่น บังคับคณะ บังคับคา และแบบแผนการส่ งสัมผัสต่าง ๆ บางครั้งเรี ยกงานเขียนประเภทนี้วา่ กวี นิพนธ์ หรื อ คาประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย ลิลิต เป็ นต้น นอกจากนี้ วรรณกรรมร้อย กรองยังแบ่งเป็ นชนิดย่อย ๆ ดังนี้ 2.1. วรรณกรรมประเภทบรรยาย (Narrative) คือ วรรณกรรมร้อยกรองที่มีโครงเรื่ อง ตัวละคร และเหตุการณ์ต่าง ๆ ผูกเป็ นเรื่ องราวต่อเนื่องกันไป เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี อิเหนา เป็ น ต้น 2.2. วรรณกรรมประเภทพรรณนา หรื อ ราพึงราพัน ( Descriptive or Lyrical) มักเป็ นบทร้อย กรองที่ผแู ้ ต่งมุ่งแสดงอารมณ์ส่วนตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่มีโครงเรื่ อง เช่น นิ ราศ และเพลงยาว เป็ น ต้น (ประทีป เหมือนนิล . 2519 : 22-23.) 2.3. วรรณกรรมประเภทบทละคร (Dramatic) เป็ นบทร้อยกรองสาหรับการอ่านและใช้เป็ นบท สาหรับการแสดงด้วย เช่น บทพากย์โขน บทละครร้อง บทละครรา เป็ นต้น (http://www.eduzones.com/knowledge-2-1-1852.html) แนวทางการศึกษาวรรณคดีอังกฤษและอเมริกนั

แนวทางการศึกษาวรรณคดีวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั แบ่งเป็ น 3 วิธี 1. ศึกษาตามยุคสมัย ศึกษาตามยุคสมัยเพื่อให้เข้าใจวิวฒั นาการของงานประชาสัมพันธ์ในเชิง สัมพันธ์ กับสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และปรัชญาความคิดของยุคสมัย วิวฒั นาการวรรณคดีองั กฤษ ซึ่งประกอบด้วย 8 ยุคสมัย และวิวฒั นาการวรรณคดีอเมริ กนั ซึ่งประกอบด้วย 12 ยุคสมัย การศึกษาวิวฒั นาการวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั ในแต่ละยุคสมัยจะทาให้ ทราบถึงผลผลิตชิ้นงานที่ปรากฏออกมาในรู ปวรรณกรรมต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องสั้น บทละคร นว นิยาย กลอนและบทประพันธ์ต่าง ๆ บางสมัยบทประพันธ์จะเป็ นการเขียนเพื่อกระทบการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และสงคราม 2. ศึกษางานประพันธ์ ประเภทต่ าง ๆ ศึกษางานประพันธ์ประเภทต่าง ๆ เช่น นวนิยาย เรื่ องสั้น บทละคร และกวี นิพนธ์ ฯลฯ เพื่อให้เข้าใจรู ปแบบและลักษณะ เฉพาะของวรรณคดีประเภทต่าง ๆ ตลอดจนแนวความคิด ของผู้ ประพันธ์ ถ้าศึกษาผูป้ ระพันธ์แต่ละคนจะทาให้ทราบถึงภูมิหลังซึ่ งสะท้อนให้เห็นถึงผลผลิต ชิ้นงานในรู ปวรรณกรรมต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องสั้น บทละคร นวนิยาย กลอนและบทประพันธ์ต่าง ๆ บางสมัยบทประพันธ์จะเป็ นการสะท้องถึงเรื่ องความรัก ความตาย การไม่สมหวังในความรัก 3. สั มมนานักเขียน

สัมมนานักเขียน เป็ นการศึกษางานสาคัญของนักเขียนที่สาคัญหนึ่งหรื อสอง คน โดยเน้นพัฒนาการทางความคิดและแนวการประพันธ์ของนักเขียน นักเขียนแต่ละยุคสมัยมีแรงบันดาลใจในการเขียนบทประพันธ์ที่แตกต่างกัน ผูเ้ รี ยนจึงต้องศึกษาประวัติ จะทาให้เข้าใจบทประพันธ์ ประโยชน์ ในการศึกษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดีมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ทาให้เข้าใจวิวฒ ั นาการของงานประพันธ์ในเชิงสัมพันธ์กบั สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และปรัชญาความคิดของยุคสมัยที่ส่งผลถึงบทประพันธ์ 2. ได้ศึกษางานประพันธ์ประเภทต่าง ๆ เช่น นวนิยาย เรื่ องสั้น บทละคร และกวี นิพนธ์ ฯลฯ ทาให้เข้าใจรู ปแบบและลักษณะ เฉพาะของวรรณคดี ตลอดจนแนวความคิดของผูป้ ระพันธ์

3. ได้ศึกษางานสาคัญของนักเขียนโดยเน้นพัฒนาการทางความคิดและแนวการประพันธ์

ของนักเขียน 4. สามารถศึกษาวิชาในภาควิชาอื่น ๆ เป็ นวิชาเลือกตามความสนใจ ซึ่ งช่วยสร้างพื้น ฐานความรู้ความ เข้าใจในชีวติ และสังคม เสริ ม สร้างความรอบรู้และทัศนคติที่กว้างขวาง 5. ให้คุณค่าทางอารมณ์ต่าง ๆ เพราะวรรณคดีเป็ นเรื่ องศิลปะของการถ่ายทอดความรู ้สึกและ อารมณ์ดว้ ยวิธีร้อยกรองถ้อยคาที่มีชีวติ จิตใจ ทาให้ผอู ้ ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม ได้รับรส สุ นทรี ยภาพของวรรณคดี 6. ช่วยสะท้อนภาพสังคม สภาพชีวติ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ต่าง ๆ และความเป็ นอยูข่ องแต่ละยุคสมัย 7. ช่วยขัดเกลาจิตใจและยกระดับจิตใจของผูอ้ ่านให้สูงขึ้น ช่วยจรรโลงจิตใจ ทาให้ผอู ้ ่านเห็น ตัวอย่างของความทุกข์ ความสุ ข และปั ญหาชีวติ ต่าง ๆ ทาให้ผอู ้ ่านมองชีวติ ด้วยความเข้าใจมากขึ้น และวรรณคดีจะช่วยสอดแทรกธรรมผ่านตัวอักษรเป็ นการสอนใจผูอ้ ่านด้วย (http://www.eduzones.com/knowledge-2-1-1852.html) ประโยชน์ ในการศึกษาวรรณคดีองั กฤษและอเมริกนั การศึกษาวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั มีประโยชน์ ดังนี้ 1. ได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งทางด้านการอ่าน การเขียน และการแปล ฯลฯ 2. ได้เรี ยนรู ้คาศัพท์ ไวยากรณ์ การใช้คาวลี ประโยคและการเรี ยบเรี ยงข้อความ 3. ได้ขอ้ คิดที่ใหม่ แปลก และลึกซึ้ งจากวรรณคดีองั กฤษและอเมริ กนั 4. มีความเข้าใจวัฒนธรรมและจิตใจคนอังกฤษและอเมริ กนั มากยิง่ ขึ้น http://www.sheetram.com/main/products_detail.php?pid=2720

บทที่ 2 ศัพท์ ภาษาอังกฤษทางวรรณคดีทคี่ วรรู้ บทนี้เป็ นการนาเสนอศัพท์ภาษาอังกฤษทางวรรณคดีที่ควรรู้ ซึ่งมีคาหลายคาที่ผเู้ รี ยนควร ทราบเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและง่ายต่อการศึกษา ดังตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงศัพท์ภาษาอังกฤษและภาษาไทยพร้อมความหมาย ศัพท์ภาษาอังกฤษ Poetry Poet Poem

Essay Drama prose Fiction science fiction Haiku literature

ศัพท์ภาษาไทย

ความหมาย

กวีนิพนธ์

บทประพันธ์ที่เป็ นบทร้อยกรอง

นักประพันธ์

ผูเ้ ขียนบทประพันธ์

บทประพันธ์

กลอนภาษาอังกฤษ เป็ นงานเขียนประเภทหนึ่ งที่มีรูปร่ าง ลักษณะเฉพาะแบบ นอกจากจะมีจุดมุ่งหมายที่มุ่งให้ความรื่ นรมย์ หรื อความบันเทิงใจแก่ผอู ้ ่านแล้ว ยังสะท้อนความรู้สึกนึกคิดหรื อ ปฏิกิริยาของผูเ้ ขียน หรื อกวีที่มีต่อประสบการณ์บางอย่าง

ข้อเขียน บทความ ความเรี ยง บทละคร

เรี ยงความร้อยแก้ว, ข้อเขียนสั้น ๆ

บทประพันธ์ความเรี ยง

ข้อเขียนที่เป็ นร้อยแก้ว

นวนิยาย

บทประพันธ์ที่เป็ นนวนิ ยายทัว่ ไป

นวนิยายวิทยาศาสตร์

บทประพันธ์ที่เป็ นนวนิยายวิทยาศาสตร์

ไฮกุ

บทกวีญี่ปนุ่

วรรณคดี/วรรณกรรม

เป็ นงานวรรณศิลป์ ประเภทหนึ่งที่เน้นในด้านการแสดง

English literature American literature Plot

วรรณคดีองั กฤษ

เล่มชิ้นงานเขียนที่แสดงศิลปะของการแต่งมีขอ้ คิดเห็นหรื อแนวคิด ที่แทรกแฝงอยูใ่ นเนื้ อเรื่ อง วรรณคดีที่เขียนเป็ นภาษาอังกฤษ โดยนักประพันธ์ไม่จากัดสัญชาติ

วรรณคดีอเมริ กนั

บทกวีในยุคต่าง ๆ ของประเทศอเมริ กา

ลาดับเรื่ อง

Theme character Climax Fiction

แก่นเรื่ อง

การจัดลาดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามความประสงค์ของผูป้ ระพันธ์ วรรณกรรม ใจความสาคัญของเนื้ อเรื่ องหรื อข้อความ

ตัวละคร

ลักษณะตัวละครของแต่ละคน

ไคล์แมกซ์

ตอนตื่นเต้นที่สุดของเรื่ อง

นวนิยาย

เรื่ องที่แต่งขึ้นเขียนเป็ นแบบร้อยแก้ว

Tale Fable gothic novel miracle play

นิทาน

เป็ นเรื่ องเล่าที่มีเค้าโครงและภาษาง่าย ๆ

นิทานสุภาษิต

เป็ นเรื่ องเล่าที่มีเค้าโครงและภาษาง่าย เป็ นเรื่ องสาหรับเด็ก

นวนิ ยายน่ากลัว

มักอาศัยสิ่ งเกินปกติวิสยั เป็ นส่ วนประกอบ เช่น ประสาทผีสิง

บทละครอิงศาสนา

morality play Ballad

บทละครจริ ยธรรม

บทละครที่นาเหตุการณ์ตอนใดตอนหนึ่ งของพระคัมภีร์ไบเบิ้ลมา แสดง บทละครที่แสดงการต่อสู ้ระหว่างความดีและความชัว่

ศัพท์ภาษาอังกฤษ sonnets

คาประพันธ์ร้อยกรอง

ศัพท์ภาษาไทย โคลงชนิดหนึ่งมี 14 บรรทัด

สาหรับขับร้อง มักมีเนื้ อเรื่ องเป็ นนวนิ ยาย หรื อเหตุการณ์อนั น่ า ตื่นเต้น มี 4 บรรทัด

ความหมาย มีรูปแบบการสัมผัสตายตัว โดยใช้มาตราแบบ iambic

pentameterแต่ละบรรทัดประกอบด้วย 10 พยางค์ (หรื ออาจเป็ น 9-11 พยางค์ก็ได้) ลักษณะสัมผัสท้ายประโยคเป็ นดังนี้ a-b-a-b / c-d-c-d / e-f-e-f / g-g Let me not to the marriage of true minds (a) Admit impediments, love is not love (b) Which alters when it alteration finds, (a) Or bends with the remover to remove. (b) O no, it is an ever fixed mark (c) That looks on tempests and is never shaken; (d) It is the star to every wand'ring bark, (c) Whose worth's unknown although his height be taken. (d) Love's not time's fool, though rosy lips and cheeks (e) Within his bending sickle's compass come, (f) Love alters not with his brief hours and weeks, (e) But bears it out even to the edge of doom: (f) If this be error and upon me proved, (g) I never writ, nor no man ever loved. (g) epic หรื อ heroic

โคลงขนาดยาว

เขียนด้วยลีลาหรื อโวหารมุ่งแสดงความยิง่ ใหญ่

poem lyric narrative poetry Meter Satire Author

denotation

โคลงสั้น ๆ บทกวีเรื่ องเล่า

พรรณนา บรรยายถึงธรรมชาติ หรื ออารมณ์ ความ สะเทือนใจ หรื อ ความรู้สึกนึกคิดส่วนตัวของผูแ้ ต่งหรื อของตัวละครที่สมมติข้ ึน เรื่ องที่เล่าหรื อบรรยาย การเล่าเรื่ องย้อนกลับไปในอดีต

อัตราจังหวะในเพลง

การจัดกลุ่มของจังหวะตบหรื อการจัดกลุ่มการเคาะ และการเน้น

จังหวะเคาะอย่างสม่าเสมอ โดยปกติจงั หวะที่ 1 จัดเป็ นจังหวะที่ หนักที่สุด การเหน็บแนว การเสี ยดสี การ การใช้คาพูดในบทกวีที่แสดงถึงการเหน็บแนว การเสี ยดสี การ เหยียดหยัน เหยียดหยัน ผูเ้ ขียน ผูเ้ ขียนงานต่างๆ ความหมายโดยตรง คาที่มีความหมายตามพจนานุกรม เช่น house ,home แปลว่า

connotation

ความหมายโดยนัย

Image

ภาพลักษณ์

บ้าน เป็ นความหมายแฝงของคา เช่น home มีความหมายแฝงบ่งถึง ครอบครัว มีความรัก ความอบอุ่น การจาแนกภาพออกตามการรับรู ้ทางประสาทสัมผัสได้เป็ น 6 อย่าง คือ 1. ภาพที่เกิดจากการมองเห็น (visual image) เช่น gray sea ทะเล สี เทา 2. ภาพที่เกิดจากการได้ยนิ (auditory image) เช่น the noise of

life เสี ยงแห่งชีวิต 3. ภาพที่เกิดจากการได้กลิ่น (olfactory image) เช่น sea-scented

beach ชายหาดที่อบอวลไปด้วยกลิ่นน้ าเค็ม 4. ภาพที่เกิดจากการรับรู ้รส (gustatory image) เช่น sweet white

wine ไวน์ขาวรสหวานละมุน ศัพท์ ภาษาอังกฤษ

ศัพท์ ภาษาไทย

ความหมาย 5. ภาพที่เกิดจากการสัมผัส (tactile image) เช่น the slushy

sand ทรายแฉะ 6. ภาพที่สื่อความรู้สึกและการเคลื่อนไหว (kinetic and kinesthetic images)

Imagery

กระบวนจินตภาพ

figurative Language

ภาษาภาพพจน์หรื อภาษา โวหาร

เช่น I weep like a child for the past ฉันร้องไห้คร่ า ครวญหาอดีตราวกับเด็ก ภาพในความนึ กคิด ภาษาที่ถ่ายทอดประสบการณ์ออกมาเป็ นภาพ หรื อการรับรู้มโนคติเป็ นภาพลักษณ์ การใช้อุปมา อุปไมย คาที่แสดงในบทประพันธ์ในรู ปของ 1. อุปมา (simile)

2. อุปลักษณ์ (metaphor) 3. การใช้คาพูดเกินจริ ง หรื ออติพจน์ (overstatement หรื อ hyperbol) 4. การใช้คาพูดที่นอ้ ยไปกว่าความจริ ง (understatement) 5. สัญลักษณ์ (Symbol) simile

อุปมา

metaphor

อุปลักษณ์

overstatement หรื อ hyperbole) understatement

อติพจน์ หรื อการกล่าวเกินจริ ง

symbol Tone sound and sense

เป็ นการเปรี ยบเทียบระหว่างสิ่ งที่ต่างจาพวกกันและมีคาเชื่ อม as, as if ,as though, as when, like คากริ ยาที่ใช้ appear, compare, resemble, seem การใช้คาหรื อสานวนเปรี ยบเทียบขัดแย้งกัน เป็ นการเปรี ยบเทียบสิ่ ง ที่ต่างจาพวกกันแต่ไม่มีคาเชื่ อม สังเกตจากลักษณะ 3 ประการ คือ 1. การใช้คากริ ยา to be เปรี ยบสิ่ งหนึ่ งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ ง 2. การขยายนามโดยใช้ noun แต่ไม่มีกริ ยา 3. การใช้ความหมายของสองสิ่ งที่ตอ้ งการเปรี ยบเทียบผสมผสาน ไปในคากริ ยาเดียวกัน การแสดงคาพูดในบทกวีที่เกินความจริ ง

การใช้คาพูดที่นอ้ ยไปกว่า ความจริ ง สัญลักษณ์

การแสดงคาพูดในบทกวีที่นอ้ ยกว่าความจริ ง

น้ าเสี ยง

การแสดงความรู้สึกและทัศนคติของผูเ้ ขียน

เสี ยงและความหมาย

การสัมผัสในบทกวี ดังนี้

การแสดงสัญลักษณ์ในบทกวี

การสัมผัสอักษร (Alliteration) การกระทบสระ (Assonance) การสัมผัสสระกลางคา ((internal assonance)

rime หรื อ rhyme

สัมผัสสระ

exact rime, perfect rime

การสัมผัสท้ายคาโดยมีเสี ยง สระและเสี ยงอื่น ๆ ที่ตามหลัง สระมาพ้อง การสัมผัสท้ายคาโดยมีเสี ยง พยัญชนะเหมือนกันแต่มีเสี ยง

slant rime, halfrime, near- rime , off- rime, ศัพท์ ภาษาอังกฤษ

partial- rime masculine rime

การซ้ าเสี ยงพยัญชนะ (Consonance) เสี ยงสัมผัสสระในบทกวี คาที่มีเสี ยงคล้องจอง ปกติบทกวีจะมี สัมผัสที่พยางค์สุดท้ายของแต่ละบรรทัดและสัมผัสนี้ มีรูปแบบ ต่าง ๆ 7 ชนิ ด เช่น Golden girls and lads all must

As chimney sweepers, come to dust. He who the ox to wrath has moved Shall never be by woman loved

ศัพท์ ภาษาไทย สระต่างกัน การสัมผัสท้ายคา พยางค์ทา้ ย

ความหมาย เช่น

And both that morning equally lay

ของคาสุ ดท้ายในแต่ละบรรทัด ของโคลงซึ่งมีเสี ยงหนัก

feminine rime eye rime rime riche end rime

Stanza

In leaves no step had trodden blacks. Oh, I kept the first for another day! Yet knowing how way leads on to way, I doubted if I should ever come back. เช่น take her up tenderly. Fashioned so slenderly.

การสัมผัสท้ายคา พยางค์ทา้ ย ของคาสุ ดท้ายในแต่ละบรรทัด ของโคลงซึ่งมีเสี ยงเบา การสัมผัสท้ายคาที่เสี ยงต่างกัน เช่น bread / bead แต่มีรูปคล้ายกัน การสัมผัสท้ายคา ที่ออกเสี ยง เช่น knight / might เหมือนกันแต่ตวั สะกดและ ความหมายต่างกัน สัมผัสที่พยางค์สุดท้ายของแต่ Two roads diverged in a yellow wood, ละบรรทัด

โคลงซึ่งประกอบด้วยหลาย บรรทัด อาจมี 2 – 8 บรรทัด ซึ่ งจะมีชื่อเรี ยกแตกต่างกัน คือ

2 lines = Couplet 3 lines = Tercet 4 lines = Quatrain 5 lines = Cinquain, Quintain (poetry) 6 lines = Sestet 7 lines = Septet 8 lines = Octave

And sorry I could not travel both And be one traveler long I stood And looked down as far as I could To where it bent in the undergrowth;\ The tide rises, the tide falls, The twilight darkens, the curlew calls; Along the sea-sands damp and brown The traveler hastens toward the town, And the tide rises, the tide falls. Darkness settles on roofs and walls, But the sea, the sea in darkness calls;

line couplet

บรรทัด

บรรทัดหนึ่งในบทกลอน

บทที่ประกอบไปด้วย 2 บรรทัด

เช่น

triplet หรื อ Tercet

บทที่มี 3 บรรทัด

เช่น

I think that I shall never see. A poem lovely as a tree.

a b a a b a a b b a a a

Rain, sun, and rain ! and the tree blossom blows; Sun,rain, and sun! and where is he who knows? From the great deep to the great deep he goes quatrain

บทที่ประกอบขึ้นด้วย 4 บรรทัด

ศัพท์ ภาษาอังกฤษ

quatrain paradox

Sound Rhythm Foot alliteration

เช่น

"Get out of bed, you silly fool! Get up right now, it's time for school.

ศัพท์ ภาษาไทย

บทกวีซ่ ึงมี 4 บรรทัด

ความหมาย

If you don't dress without a fuss, I'll throw you naked on the bus!" มักมีจงั หวะแบบ abab ,abba ,abcb

ประโยคหรื อกลุ่มของประโยค ที่เป็ นจริ งอย่างชัดเจน แต่ นาไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง คาพูดที่ดูเหมือนขัดแย้งกัน เสี ยง

ตัวอย่างประโยค

จังหวะ

เกิดจากการเน้นเสี ยงหนักเบาของพยางค์ในแต่ละ บรรทัดหรื อช่วง ของการหยุดออกเสี ยงในตอนท้ายของแต่ละบรรทัด ประกอบขึ้นด้วยพยางค์ที่ออกเสี ยงหนักและเสี ยงเบา

หน่วยเสี ยง การสัมผัสอักษรโดยการซ้ า เสี ยงพยัญชนะภายในบรรทัด

consonance

การซ้ าเสี ยงพยัญชนะ

assonance

การสัมผัสเสี ยงสระที่ เหมือนกันภายในบรรทัด

`I always lie' is a paradox because if it is true it must be false. ระดับเสี ยงสู งต่า รวมทั้งเสี ยงสระและ พยัญชนะ

การใช้เสี ยงสัมผัสพยัญชนะต้นคา (initial alliteration) เช่น

For winter’s rain and ruins are over, And all the season of snows and sins; The day dividing lover and lover, The light and loses, the light that wins. การใช้เสี ยงสัมผัสของพยัญชนะ มี 2 ลักษณะ คือ 1.การใช้เสี ยงพยัญชนะที่อยูท่ า้ ยคาซ้ ากัน เช่น first / last 2.การใช้เสี ยงพยัญชนะที่ตน้ คาและที่อยูท่ า้ ยคาซ้ ากัน เช่น wood / weed การใช้เสี ยงสัมผัสของสระซ้ า ๆ กันในคาที่อยูใ่ กล้กนั ภายใน บรรทัดเดียวกันหรื อหลายบรรทัดต่อเนื่ องกัน มีท้ งั สัมผัสสระต้น เช่น lady baby free tree

initial assonance internal assonance

การสัมผัสพยัญชนะต้นคา

เช่น all the awful auguries

การสัมผัสสระกลางคา

เช่น Her forehead ivory white ……

Rhyme

การสัมผัสคาสุ ดท้ายระหว่าง บรรทัด

เช่น

I was angry with my friend. I told my wrath, my wrath did end. I was angry with my foe. I told it not, my wrath did grow. จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าคาสุ ดท้ายของบรรทัดที่ 1 คือ “friend” สัมผัสกับคาว่า “end” ในบรรทัดที่ 2 และ “foe “คาสุดท้ายของ บรรทัดที่ 3 จะสัมผัสกับคาว่า “grow” ซึ่งเป็ นคาสุดท้าย ของ บรรทัดที่ 4 ตามลาดับ

บทที่ 3 วิวฒ ั นาการของวรรณคดีองั กฤษ วรรณคดีองั กฤษแบ่งออกเป็ นหลายยุค มีววิ ฒั นาการแบบค่อยเป็ นค่อยไปจากกรอบของ หลายปั จจัย ทั้งอิทธิ พลของศาสนา ความรู ้ภาษาอ่านออกเขียนได้ของคน (Literacy) วัฒนธรรม (Culture) ในแง่ขนบธรรมเนียมประเพณี และรู ปแบบการดาเนินชี วติ ที่มีท้ งั คล้อยตามและขัดแย้งกับ กระแสสังคม จนถึงเรื่ องสงคราม ที่พว่ งกับเศรษฐกิจ สะท้อนให้เห็นความมัง่ คัง่ ที่เกิดขึ้นในยาม สงบ ก่อให้เกิดสุ นทรี ยภาพในการใช้ชีวติ ของบางชนชั้น และกาลังทรัพย์ในการสร้างและอุปถัมภ์ ความรุ่ งเรื องของศิลปะตามมาอีก บทนี้เป็ นการนาเสนอวิวฒั นาการวรรณคดีองั กฤษ ซึ่งประกอบด้วย 8 ยุคสมัย คือ 1. สมัยแองโกล-แซ็กซอน (The Anglo-Saxon Period) 2. มัธยสมัย (Middle English literature) 3. สมัยพระนางอลิซาเบตที่หนึ่ง (The Elizabethan Age) 4. สมัยคริ สศตวรรษที่ 17 (The Seventeenth Century) 5. สมัยคริ สศตวรรษที่ 18 (The Eighteenth Century) 6. ยุคโรแมนติค (The Romantic Age) 7. สมัยพระนางวิคตอเรี ย (The Victorian Age) 8. สมัยใหม่ (The Modern Age) ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. สมัยแองโกล-แซ็กซอน (The Anglo-Saxon Period) ในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 5 ชนหลายกลุ่มในเยอรมนี , ฮอลแลนด์ และ เดนมาร์ กเริ่ มเข้ามา รุ กรานบริ เตนซึ่ งเป็ นดินแดนที่ถูกทิง้ หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ตามที่เชื่อกันมา หัวหน้าเผ่าจูทสองคนเฮนเจสต์ และ ฮอร์ซา ได้รับสัญญาจากพระเจ้าแผ่นดินบริ เตนวอร์ ติเกิร์น (Vortigern) ว่าจะมอบดินแดนให้ถา้ สามารถกาจัดผูร้ ุ กรานชาวพิคท์ได้ ตาม “พงศาวดารแองโกลแซ็กซอน” หลังจากที่ได้รับชัยชนะต่อพิคท์แล้วฝ่ ายจูทก็ “ส่ งข่าวไปยังแองเกลนและเรี ยกกองกาลัง ให้มาสมทบเพิ่มขึ้น และกล่าวถึงความไร้คุณค่าของชนบริ เตน และคุณค่าของดินแดน” ซึ่ งเท่ากับ เป็ นการเริ่ มต้นการเข้ามารุ กรานและการพิชิตตอนกลางและตอนใต้ของบริ เตนโดยกลุ่มชนต่างๆ ของกลุ่มชนเจอร์มานิคที่รวมทั้ง จูท แองเกิลส์ และ แซ็กซอน ชนเคลต์ที่ต้ งั ถิ่นฐานอยูก่ ่อนหน้าในบ ริ เตนนั้นถูกสังหารไปราว 50 เปอร์ เซ็นต์ในช่วงเวลานั้น หลังจากนั้นแองโกล-แซ็กซอนก็สามารถ ก่อตั้งอาณาจักรขึ้นหลายอาณาจักรที่มีความสาคัญและความยัง่ ยืนต่างๆ กันจนกระทัง่ มาถึงรัชสมัย

ของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (ค.ศ. 849-ค.ศ. 899) แห่งเวสเซ็กซ์ผทู ้ รงนากลุ่มแองโกล-แซ็ก ซอนต่างๆ ในการต่อต้านกองการรุ กรานของเดนส์ และเริ่ มการรวบรวมอังกฤษเข้าเป็ นอันหนึ่งอัน เดียวกัน ที่มาสาเร็ จเอาในปี ค.ศ. 926 เมื่อนอร์ทธัมเบรี ยถูกผนวกโดยสมเด็จพระเจ้าเอเธลสตันผู้ ทรงเป็ นพระราชนัดดาของพระเจ้าอัลเฟรด แองโกล-แซ็กซอนได้นาวัฒนธรรมของพวกตนที่ติดมาจากมาตุภูมิ อันเป็ นดินแดนยุโรป ตอนเหนื อแถบที่เป็ นที่ต้ งั ของประเทศเดนมาร์ ก (Denmark) ในปัจจุบนั วัฒนธรรมของแองโกล-แซ็กซอนเป็ นไปในรู ปที่เราสังเกตได้จากพงศาวดารคากลอน (epic) ชื่อ Beowul สังคมประกอบด้วยกษัตริ ย ์ หัวหน้าชั้นรอง บุคคลชั้นสู ง แล้วจึงถึงชนชั้นสามัญ ได้ แก่ ชาวนาและ ชาวปศุสัตว์ การปกครองเป็ นแบบประชาธิ ปไตย กษัตริ ยแ์ ละแม่ทพั เป็ นตาแหน่งเลือกตั้ง มีการประชุม ออกเสี ยงลงคะแนนในกิจการของชาติ ในด้านศาสนาพวกแองโกล-แซ็กซอนนับถือเทพเจ้าโอดิน (Odin) และเทพอื่น เช่น เทพแห่ง สงคราม เทพแห่งความรักและเทพแห่งพายุ ในด้านนิสัยพวกแองโกล-แซ็กซอน มีนิสัยซื่ อตรง เปิ ดเผย รักความสัตย์ จงรักภักดีต่อ หัวหน้าและซื่ อสัตย์ต่อมิตร กล้าหาญแต่มกั มีอารมณ์เศร้า เชิดชูความอดทนและนิยมการต่อสู ้ ชอบ การกีฬาที่ตอ้ งใช้ศิลปะการต่อสู ้ และความอดทน นิยมการใช้กาลังแบบมีน้ าใจเป็ นนักกีฬา ในยามสงครามพวกแองโกล-แซ็กซอน กล้าหาญ รักพวกพ้อง ไม่ทอดทิ้งกันแต่เหี้ ยมโหดต่อ ศัตรู ในยามว่างจากศึกสงคราม การรบหรื อการล่าสัตว์ พวกแองโกล-แซ็กซอนจะจัดงานเลี้ยงที่หอ้ ง โถง และมีกวีขบั บทกวีให้มีความเพลิดเพลิน วรรณกรรมในสมัยแองโกล-แซ็กซอนจึงเป็ นบทกวีที่ขบั ขานในงานเลี้ยง มักจะเป็ นเรื่ องราว ของการผจญภัยของวีรบุรุษ นิยามเรื่ องการเดินทางของกวี บทเพลงสรรเสริ ญ เทพแห่ งฤดูเก็บเกี่ยว และบทเพลงปริ ศนา ภาษาที่ใช้เป็ นภาษาอังกฤษโบราณ (Old English) ลักษระคาประพันธ์เป็ นคากลอน (verse) แต่ ละบทจานวนบรรทัดไม่จากัด แต่ละบรรทัดแบ่งออกได้เป็ นสองตอน การพรรณนามักใช้คา เปรี ยบเทียบ ปัจจุบนั มีงานเขียน 9 ชิ้น คือ โคลงสั้น ๆ 7 ชิ้น พงศาวดารคากลอน 2 ชื้น คือ Beowulf และ Andreas

วรรณกรรมที่สาคัญที่สุด คือ Beowulf เป็ นบทกวีมหากาพย์เกี่ยวกับวีรบุรุษยุคอังกฤษโบราณ แต่งโดยผูป้ ระพันธ์หลายคนที่ไม่ทราบชื่อ งานวรรณกรรมภาษาแองโกลแซกซอนชิ้นนี้คาดว่าแต่ง

ขึ้นในระหว่างคริ สต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 11 โดยมีตน้ ฉบับที่หลงเหลือมาถึงปั จจุบนั คาดว่าเขียนขึ้นใน ราวปี ค.ศ. 1010 มีความยาวทั้งสิ้ น 3183 บรรทัด ซึ่ งถือเป็ นบทกวีที่มีความยาวมาก ได้รับยกย่องเป็ น วรรณกรรมมหากาพย์แห่งประเทศอังกฤษ เนื้ อหาในบทกวี เล่าถึงวีรบุรุษชาวกีตส์คนหนึ่งชื่ อ เบวูล์ฟ และการสู ้รบกับศัตรู ของเขาสามตัวคือ เกรนเดล มารดาของเกรนเดล และมังกร เขาได้รับ บาดเจ็บสาหัสจากการรบครั้งสุ ดท้าย หลังจากเสี ยชีวติ บริ วารช่วยกันฝังร่ างของเขาไว้ในสุ สาน แห่งกีตส์แลนด์ โครงเรื่อง การรบกับเกรนเดล บทกวีเบวูลฟ์ เริ่ มต้นด้วยเรื่ องราวของกษัตริ ยร์ ็ อดการ์ (Hroðgar) ผูส้ ร้างหอเมรัยขนาดใหญ่ ชื่อ เฮร็ อต (Heorot) สาหรับเป็ นสโมสรของพลเมือง ทั้งองค์กษัตริ ย ์ พระชายา และบรรดานักรบต่าง พากันร้องราทาเพลง เฉลิมฉลองอยูใ่ นหอเมรัย จนกระทัง่ เกรนเดล ผูถ้ ูกขับจากชุมชน ทนไม่ไหว และเข้ามาบุกทาลายหอเมรัย กับสังหารนักรบของร็ อดการ์ ระหว่างหลับเสี ยชีวติ ไปมาก แต่เกรนเด ลกลับไม่กล้าแตะต้องบัลลังก์แห่งร็ อดการ์ ด้วยว่าองค์กษัตริ ยน์ ้ นั ได้รับการพิทกั ษ์จากเทพเจ้า แต่ร็ อดการ์ กบั พลเมืองของพระองค์ก็จาต้องละทิ้งเฮร็ อตเสี ย เบวูลฟ์ เป็ นนักรบหนุ่มชาวกีตส์ เขาได้ยนิ เรื่ องความวิบตั ิที่เกิดกับแผ่นดินของร็ อดการ์ ต่อมาร็ อด การ์ ได้เชิ ญให้เขาเดินทางออกจากแผ่นดินของตนเพื่อมาช่วยเหลือ เบวูลฟ์ กับนักรบของเขาค้างคืน ในเฮร็ อต หลังจากพวกเขาหลับไป เกรนเดลก็เข้ามาโจมตี และสังหารคนของเบวูลฟ์ ไปคนหนึ่ง เบวูลฟ์ นั้นแสร้งหลับอยู่ จึงโจนขึ้นจับแขนของเกรนเดลไว้ ทั้งสองต่อสู ้กนั อย่างหนักหน่วงจนหอ เมรัยแทบถล่มทลาย นักรบของเบวูลฟ์ ชักดาบออกและเข้าไปช่วยเหลือ แต่ดาบของพวกเขาไม่อาจ ทาร้ายเกรนเดลได้เลย เพราะมันลงอาคมใส่ ดาบของพวกมนุษย์ ในที่สุด เบวูลฟ์ ฉี กแขนของเกรน เดลหลุดจากร่ าง ขาดจนถึงหัวไหล่ เกรนเดลหนีกลับไปยังรังของมันได้และเสี ยชีวติ การรบกับมารดาของเกรนเดล คืนต่อมา มีการเฉลิมฉลองใหญ่ที่เบวูลฟ์ สังหารเกรนเดลได้ จากนั้นร็ อดการ์ กบั คนของ พระองค์ก็นอนในเฮร็ อต คืนนั้นมารดาของเกรนเดลปรากฏตัวขึ้นและเข้าทาลายหอเมรัยอีก นาง สังหารนักรบฝี มือดีของร็ อดการ์ไปมาก โดยเฉพาะคนฝี มือดีที่สุดคือ Æschere เพื่อแก้แค้นให้เกรน เดล ร็ อดการ์ เบวูลฟ์ และเหล่านักรบ สะกดรอยตามมารดาของเกรนเดลไปจนถึงรังของนางซึ่ งอยู่ ใต้ทะเลสาบประหลาดแห่งหนึ่ง เบวูลฟ์ เตรี ยมตัวเข้าไปรบกับนาง เขาได้รับดาบวิเศษเล่มหนึ่งจาก นักรบคนหนึ่งชื่อ อุนเฟี ยร์ ธ ดาบนั้นมีชื่อว่า รุ นทิง (Hrunting) หลังจากต่อรองผลประโยชน์ตอบแทน และพินยั กรรมของเบวูลฟ์ แล้ว เขาจึงดาน้ าลงไปในทะเลสาบนั้น เมื่อล่วงล้ าเข้าไป เขาก็ถูกมารดา

ของเกรนเดลโจมตีทนั ที แต่นางไม่สามารถทาอันตรายแก่เบวูลฟ์ ได้ เพราะเขาสวมเกราะอยู่ นาง ลากตัวเบวูลฟ์ ลงไปยังถ้ าที่กน้ ทะเลสาบ ที่ซ่ ึ งร่ างของเกรนเดลและเหล่านักรบที่ปีศาจทั้งสองสังหาร ไปนอนแน่นิ่งอยู่ แล้วทั้งสองก็ต่อสู ้กนั อย่างหนัก ในช่วงแรก มารดาของเกรนเดลเป็ นฝ่ ายมีเปรี ยบ เบวูลฟ์ พบว่าดาบรุ นทิงของเขาไม่ สามารถทาอันตรายต่อนางได้เลย ต่อมาเบวูลฟ์ หันไปหยิบดาบขนาดใหญ่ในหมู่สรรพาวุธที่สะสม อยูใ่ นถ้ า (ในบทกวีบอกว่า ไม่มีผใู ้ ดสามารถยกดาบนั้นขึ้นใช้ในการรบได้เลย) แล้วเบวูลฟ์ จึงตัด ศีรษะนางเสี ย เขาสารวจลึกเข้าไปในถ้ าจนพบร่ างของเกรนเดล ก็ตดั เอาศีรษะมันมาด้วย เขาเดินทาง กลับออกมาสู่ ผวิ น้ าอีกครั้งใน "ชัว่ โมงที่เก้า" (คือเวลาประมาณบ่ายสามโมง) [8] และเดินทางกลับไป ยังเฮร็ อต ร็ อดการ์ พระราชทานของขวัญให้แก่เขามากมาย รวมทั้งดาบ Nægling ซึ่งเป็ นมรดกประจา ตระกูลของพระองค์

ภาพวาดการต่อสู ้ระหว่างเบวูลฟ์ กับมังกร โดย เจ. อาร์ . สเกลตัน ค.ศ. 1908 การรบกับมังกร เบวูลฟ์ เดินทางกลับบ้าน ต่อมาเขาได้เป็ นกษัตริ ยข์ องพลเมืองของเขา จนวันหนึ่งเมื่อเบวูล์ ฟอยูใ่ นวัยชรา ทาสคนหนึ่งลอบขโมยถ้วยทองคาออกมาจากรังมังกรที่ไม่ปรากฏชื่อตัวหนึ่ง เมื่อ มังกรรู ้ตวั ว่าถ้วยทองคาถูกขโมยไป ก็ออกตามหาด้วยความโกรธแค้น และเผาทุกสิ่ งทุกอย่างที่ขวาง หน้า เบวูลฟ์ กับเหล่านักรบของเขาออกมาต่อสู ้กบั มังกร แต่ปรากฏว่ามีเพียงนักรบหนุ่มชื่อ วิกลัฟ เพียงคนเดียว ที่กล้าออกไปร่ วมรบเคียงไหล่กบั เบวูลฟ์ เพราะคนที่เหลือพากันหวาดกลัว เบวูลฟ์ สามารถสังหารมังกรได้ดว้ ยความช่วยเหลือของวิกลัฟ แต่เขาก็ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนเสี ยชีวติ

หลังจากเผาศพแล้ว เบวูลฟ์ ถูกฝังอยูใ่ นกีตส์แลนด์ เหนื อหน้าผาที่มองออกไปสู่ ทอ้ งทะเล ซึ่ งเหล่ากลาสี สามารถมองเห็นหลุมฝังศพของเขาได้ ส่ วนสมบัติของมังกรถูกฝังไปพร้อมกับเขาด้วย มิได้นาออกแจกจ่ายพลเมือง เพราะในสมบัติของมังกรมีคาสาปอยู่ นอกจากนี้ยงั เป็ นประเพณี ของ ชาวเยอรมันและสแกนดิเนเวีย ในการฝังทรัพย์สมบัติไปพร้อมกับผูต้ ายด้วย (http://th.wikipedia.org/wiki) 2. มัธยสมัย (Middle English literature)

นอร์ มัน (Normans) มาจากคาว่า “นอร์สเม็น” หรื อ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรื อ Northmen) ตาม ชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผูก้ ่อตั้งนอร์ มงั ดี หรื อ “นอร์ธมานเนีย” คือกลุ่มชนผูใ้ ห้นามแก่ดินแดน นอร์มงั ดีซ่ ึงเป็ นบริ เวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์ มนั สื บเชื้อสายมาจากไวกิงผูไ้ ด้รับชัย ชนะต่อผูต้ ้ งั ถิ่นฐานอยูแ่ ต่เดิมที่เป็ นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็ น “ชนนอร์ มนั ” เริ่ มเป็ นที่รู้จกั กันเป็ นครั้งแรกราวครึ่ งแรกของคริ สต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวฒั นาการเรื่ อยมาในคริ สต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทัง่ สู ญหายไปจากการเป็ นกลุ่มชนที่เป็ น เอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 13 ชนนอร์มนั มีบทบาทสาคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มนั มีชื่อเสี ยงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริ สต์ ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ ว สาเนียงการ พูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็ นภาษานอร์มนั ซึ่งเป็ นภาษาที่มีความสาคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ มงั ดี (Duchy of Normandy) ที่เป็ นดินแดนที่เกิดจากสนธิ สัญญากับราชบัลลังก์ ฝรั่งเศส ซึ่ งเป็ นอาณาบริ เวณการปกครองที่มีความสาคัญที่สุดบริ เวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์ มนั ขยายดินแดนโดยการรุ กรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครอง อังกฤษในการรุ กรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 และการรุ กรานและยึดครองอิตาลีตอนใต้ นอกจากในด้านการเมืองและการปกครองแล้วชนนอร์ มนั ก็ยงั มีชื่อเสี ยงทางด้านการสถาปั ตยกรรม ที่มีพ้นื ฐานมาจากสถาปั ตยกรรมโรมาเนสก์ และความสามารถทางด้านดนตรี อิทธิพลของนอร์มนั ในด้านต่างๆ แผ่ขยายจากบริ เวณที่ยดึ ครองตั้งแต่อาณาจักรครู เสดต่างๆ ในตะวันออกใกล้ไปจนถึง สกอตแลนด์ และเวลส์ ในสหราชอาณาจักร และในไอร์แลนด์ สังคมอังกฤษได้ถูกปฏิรูปด้วยลัทธิ 3 ลัทธิ คือ 1. ลัทธิศักดินา (Feudalism) ในชั้นสู งสุ ดมีพวกนักรบหรื ออัศวิน (King) ชนชั้นกลางมีชนสามัญ (Commoner) ในชั้นต่ามีทาส (serf)

2. ลัทธิอัศวิน (Chivalry) ผูท้ ี่ควรได้รับการยกย่อง ได้แก่ผทู ้ ี่เป็ นนักรบที่กล้าหาญที่ให้เกียรติ และรับใช้สตรี 3. คริสต์ ศาสนา (Christianity) ส่ วนมากนักถือศาสนาคริ สต์ ภาษาที่ใช้แต่งคาประพันธ์เป็ นภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) ลักษณะของคา ประพันธ์เป็ นร้อยกรอง แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ ประเภทแรก ได้แก่วรรณกรรมที่ประพันธ์ข้ ึนจากนิยายปรัมปรา (legend) แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ 1. Ballad มีลกั ษณะเป็ นนิทานสาหรับขับร้อง เนื้อเรื่ องมักเกี่ยวกับวีรบุรุษ หญิงงาม การผจญภัย ความรัก ความตาย นิยมขับขานในหมู่ชนชั้นสามัญ ตามบ้านและในที่สาธารณะที่มีผคู ้ นหนาแน่น เช่น Sir Patrick Spens, Robin Hood/s Death and Burial และ Bonnic George Campbell 2. Romance เป็ นนิยามคากลอน เนื้อเรื่ องมักเกี่ยวกับชีวติ วีรบุรุษในบรรยากาศของลัทธิ อศั วิน

เต็มไปด้วยการผจญภัย สงครามและความรัก นิยมอ่านกันในหมู่ชนชั้นสู ง เช่น Morte d’ Arthur และ Havelock the Dave ประเภททีส่ อง ได้แก่วรรณกรรมที่ประพันธ์ข้ ึนโดยผูกเรื่ องและสร้างตัวละครขึ้นใหม่ วรรณกรรมประเภทนี้มีลกั ษณะเป็ นนิทานคากลอน (Verse tale) เช่น The Canterbury Tales และ The Vision of Piers

วรรณกรรมประเภทที่สอง มีอีกชนิดหนึ่งเรี ยกว่า fabliau เนื้ อเรื่ องมักตลกปนสัปดน เสี ยดสี สังคม ประเภททีส่ าม ได้แก่วรรณกรรมที่ประพันธ์ข้ ึนในรู ปบทละคร ถ้าเอาเนื้ อเรื่ องและตัวละคร มาจากพระคัมภีร์ไบเบิ้ล (The Bible) เรี ยกว่า miracle plays เช่น Noah, Flood และ Last Supper ถ้าแต่งขึ้น ใหม่โดยอิงคาสอนทางศาสนาแต่สมมติให้อะไรต่าง ๆ ที่มิใช่คนพูดได้และประพฤติเช่น คน เรี ยกว่า morality plays เช่น Everyman วรรณกรรมสาคัญของมัธยสมัย คือ Sir Gawain and the Green Knight, The Canterbury Tales, The Canterbury Tales

เรื่องย่ อ The Canterbury Tales ตานานแคนเตอร์ เบอรี (อังกฤษ: The Canterbury Tales) เป็ นวรรณกรรมที่เขียนโดยเจฟฟรี ย ์ ชอเซอร์ ในคริ สต์ศตวรรษที่ 14 เป็ นเรื่ องย่อยที่รวบรวมกันเป็ นหนังสื อ (สองเล่มเป็ นร้อยแก้ว อีก ยีส่ ิ บสองเล่มเป็ นร้อยกรอง) ที่เป็ นตานานที่เล่าโดยนักแสวงบุญแต่ละคนจากซัทเธิ ร์ค (Southwark)

ในลอนดอนที่เดินทางกันไปแสวงบุญที่ชาเปลของนักบุญทอมัส เบ็คเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี [1] “ตานานแคนเตอร์บรี ” เขียนเป็ นภาษาอังกฤษกลาง เรื่ องราวต่างถือกันว่าเป็ นหนึ่งในมหา วรรณกรรม (magnum opus) ที่ได้รับอิทธิพลมาจาก “ตานานสิ บราตรี ” (The Decameron) ที่เขียน โดยกวีชาวอิตาลีจิโอวานนิ โบคคาชโช ในคริ สต์ศตวรรษที่ 14 ที่กล่าวกันว่าชอเซอร์ ได้อ่านเมื่อ เดินทางไปท่องเที่ยวในอิตาลีก่อนหน้านั้น แต่ผทู ้ ี่เล่าเรื่ องในตานานของชอเซอร์ เป็ น “มนุษย์เดิน ดิน” แทนที่จะเป็ นเรื่ องของชนชั้นขุนนางเช่นใน “ตานานสิ บราตรี ” ของโบคคาชโช ในวันหนึ่งในเดือนเมษายนกลุ่มนักแสวงบุญพบปะกันหน้าโรงแรมทาบาร์ ดไม่ไกลจาก ลอนดอนพร้อมกับเจ้าของโรงแรม เพื่อจะเดินทางจากลอนดอนไปยังแคนเตอร์บรี เพื่อจะไป สักการะหลุมศพของนักบุญทอมัส เบ็คเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ชอเซอร์ บรรยายสมาชิกแต่ละ คนในกลุ่มอย่างละเอียดที่มาจากชนชั้นต่างๆ ทั้งชนชั้นสู ง ชั้นกลาง และชั้นต่า ที่มีอาชี พต่างๆ กัน ทั้งนักบวช แม่ชี คนเรื อ คนสี ขา้ ว ช่างไม้ เจ้าหน้าที่ ผูด้ ีทอ้ งถิ่น อัศวิน และอื่นๆ แฮรี เบลลียเ์ จ้าของ โรงแรมเสนอให้ทุกคนในกลุ่มเล่าเรื่ องของตนเองระหว่างการเดินทางซึ่ งก็เป็ นที่ตกลงกันว่าแต่ละ คนเล่าเรื่ องคนละสี่ เรื่ องสองเรื่ องขาไปและอีกสองเรื่ องขากลับ ผูท้ ี่เล่าเรื่ องที่น่าฟังที่สุดที่ตดั สิ นโดย เบลลียก์ ็จะได้กินอาหารฟรี โดยสมาชิกช่วยกันจ่ายให้ ผูเ้ ล่าเรื่ องคนแรกคือขุนนาง เรื่ องแต่ละเรื่ องก็ สะท้อนให้เห็นถึงฐานะทางสังคมของผูเ้ ล่า หรื อบางเรื่ องก็เป็ นเรื่ องที่เล่าขึ้นเพื่อเสี ยดสี ผอู ้ ื่นในกลุ่ม แต่ในตอนจบก็ไม่มีเรื่ องใดที่ได้รับเลือกว่าเป็ นเรื่ องที่ดีที่สุด และนักแสวงบุญก็ไม่ได้เล่าเรื่ องกันทุก คน ในบทสุ ดท้ายชอเซอร์ ก็กล่าวขอขมาถ้าเรื่ องราวที่เล่าไปก้าวก่ายผูใ้ ด 3. สมัยพระนางอลิซาเบตที่หนึ่ง (The Elizabethan Age) ตั้งแต่ปี ค.ศ.1485-1625 ประเทศอังกฤษได้รวมตัวกันเข้าเป็ นดินแดนที่มีการปกครองโดยมี กษัตริ ยเ์ ป็ นศูนย์กลางและเป็ นประมุขมีอานาจ ในด้านศาสนาก็ดิ้นรนออกมาจากอานาจปกครองของสันตะปาปา (Pope) แห่งกรุ งโรม ในด้านการศึกษา เริ่ มมีโรงเรี ยนสอนภาษาอังกฤษ ในด้านความมัง่ คัง่ และอานาจของประเทศ มีนกั เดินเรื อที่ออกไปท่องมหาสมุทรเพื่อค้นหา แผ่นดินใหม่ ทาให้ได้ดินแดนเป็ นอาณานิคม การค้นพบโลกใหม่ ๆ ดาเนินไปพร้อม ๆ กับการค้นพบโลกเก่า คนอังกฤษได้พบข้อเขียน ของ Greeks และ Romans โบราณซึ่ งเรี ยกว่า The Classics ความสนใจของมนุษย์เริ่ มหันเหจากโลก หน้า คือ สวรรค์และนรกสู่ โลกปั จจุบนั จากพระผูเ้ ป็ นเจ้ามาสู่ มนุษย์และมาสู่ ตนเอง เรี ยกว่ามนุษย์ นิยม (Humanism) ลักษณะสาคัญของวรรณกรรมยุคนี้

มุ่งเป็ นการยอเกียรติหรื อเป็ นการพรรณนาความดีของใครโดยตรง มีโคลงชนิด sonnets เกิดขึ้นมากมาย ส่ วนใหญ่ยกยอความงามและความรัก มีการแสดงที่เรี ยกว่า masque มีการประพันธ์ชนิดร้อยแก้ว (prose) เกิดขึ้น มีศิลปะการละครและนิยมแต่งด้วยกลอนเปล่า (blank verse) มีบทประพันธ์ร้อยกรองชนิ ดที่เรี ยกว่า romance เหลืออยูเ่ พียงเรื่ องเดียว คือ The Faerie Queene โดย Edmund Spenser นักกวีที่มีชื่อเสี ยง คือ Edmund Spenser, William Shakespeare, Francis Bacan และ Christopher Marlowe ยุคทองของวรรณคดีองั กฤษ คือ Elizabethan Literature 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Sonnet 18 by William Shakespeare Shall I compare thee to a summer’s day? Thou art more lovely and more temperate: Rough winds do shake the darling buds of May, And summer’s lease hath all too short a date: Sometime too hot the eye of heaven shines, And often is his gold complexion dimm’d; And every fair from fair sometime declines, By chance or nature’s changing course untrimm’d; But thy eternal summer shall not fade Nor lose possession of that fair thou owest; Nor shall Death brag thou wander’st in his shade, When in eternal lines to time thou growest: So long as men can breathe or eyes can see, So long lives this, and this gives life to thee.

Summary The speaker opens the poem with a question addressed to the beloved: “Shall I compare thee to a summer’s day?” The next eleven lines are devoted to such a comparison. In line 2, the speaker stipulates what mainly differentiates the young man from the summer’s day: he is “more lovely and more temperate.” Summer’s days tend toward extremes: they are shaken by “rough winds”; in them, the sun (“the eye of heaven”) often shines “too hot,” or too dim. And summer is fleeting: its date is too short, and it leads to the withering of autumn, as “every fair from fair sometime declines.” The final quatrain of the sonnet tells how the beloved differs from the summer in that respect: his beauty will last forever (“Thy eternal summer shall not fade...”) and never die. In the couplet, the speaker explains how the beloved’s beauty will accomplish this feat, and not perish because it is preserved in the poem, which will last forever; it will live “as long as men can breathe or eyes can see.” Commentary This sonnet is certainly the most famous in the sequence of Shakespeare’s sonnets; it may be the most famous lyric poem in English. Among Shakespeare’s works, only lines such as “To be or not to be” and “Romeo, Romeo, wherefore art thou Romeo?” are better-known. This is not to say that it is at all the best or most interesting or most beautiful of the sonnets; but the simplicity and loveliness of its praise of the beloved has guaranteed its place. On the surface, the poem is simply a statement of praise about the beauty of the beloved; summer tends to unpleasant extremes of windiness and heat, but the beloved is always mild and temperate. Summer is incidentally personified as the “eye of heaven” with its “gold complexion”; the imagery throughout is simple and unaffected, with the “darling buds of May” giving way to the “eternal summer”, which the speaker promises the beloved. The language, too, is comparatively unadorned for the sonnets; it is not heavy with alliteration or assonance, and nearly every line is its own self-contained clause—almost every line ends with some punctuation, which effects a pause. Sonnet 18 is the first poem in the sonnets not to explicitly encourage the young man to have children. The “procreation” sequence of the first 17 sonnets ended with the speaker’s

realization that the young man might not need children to preserve his beauty; he could also live, the speaker writes at the end of Sonnet 17, “in my rhyme.” Sonnet 18, then, is the first “rhyme”— the speaker’s first attempt to preserve the young man’s beauty for all time. An important theme of the sonnet (as it is an important theme throughout much of the sequence) is the power of the speaker’s poem to defy time and last forever, carrying the beauty of the beloved down to future generations. The beloved’s “eternal summer” shall not fade precisely because it is embodied in the sonnet: “So long as men can breathe or eyes can see,” the speaker writes in the couplet, “So long lives this, and this gives life to thee.” 4. สมัยคริสศตวรรษที่ 17 (The Seventeenth Century) สมัยคริ สตวรรษที่ 17 ( The seventeenth Century) คือระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1625 ถึงปี ค.ศ. 1700 ยุคนี้เป็ นยุคที่ปั่นป่ วน ในด้านการเมือง มีความปั่ นป่ วนและผันแปรที่สาคัญหลายประการเริ่ มด้วยความขัดแย้ง ระหว่างพระเจ้า Charles I และพวก Royalists กับรัฐสภาและพวก Puritans อันนาไปสู่ สงครามกลาง เมืองในปี ค.ศ.1642 รัฐสภาเป็ นฝ่ ายชนะสงคราม Olive Cromwell ปกครองประเทศอังกฤษในตาแหน่ง Lord Protector พวก Puritans พลอยมีอิทธิพลไปด้วยจน Cromwell สิ้ นชีพลงไปใน ค.ศ. 1658 พระเจ้า Charles II ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1660 ประชาชนพากันล้มเลิกข้อบังคับเข้มงวด หนักไปในทางศาสนาของพวก Puritans และหันไปหาความบันเทิงมาก พระเจ้า James II เสวยราชย์สมบัติในปี ค.ศ. 1685 และพยายามจะตั้งนิกายคอธอลิคเป็ น นิกายประจาชาติแทนนิกายโปรแตสแตนท์ ประชาชนไม่พอใจจึงเกิดการปฏิวตั ิโดยไม่เสี ยเลือดเนื้ อ ขึ้น ในปี 1688 รัฐสภาได้ออกกฎหมายชื่อ The Bill of Rights บัญญัติให้กษัตริ ยแ์ ห่งอังกฤษปกครอง ประเทศภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ ในด้านสังคม ประชาชนเริ่ มสนใจเหตุการณ์บา้ นเมืองมากขึ้น มีความคิดเห็นรุ นแรงและแบ่ง พรรคแบ่งพวกในด้านการเมือง ศาสนา และวรรณคดี ในด้านศิลปวิทยา ราชบัณฑิตยสมาคม (The Royal Society) ได้ก่อกาเนิ ดขึ้นในปี ค.ศ. 1662 มีสมาชิกผูม้ ีชื่อเป็ นอมตะ เช่น Issac Newton, John lock และ Sir Christopher Wren

ในด้านศาสนา มีขอ้ ขัดแย้งระหว่างผูถ้ ือนิกาย Protestantism กับผูถ้ ือสิ ทธิ Catholicism ฝ่ ายที่ ถือนิกาย Protestantism ได้ชยั ชนะแต่ก็ยงั ต้องผจญกับการแบ่งแยกในกลุ่มของตนเอง คือ มีพวก Puritans ในด้านวรรณคดี แม้จะมีความผันผวนทางการเมืองและขัดแย้งทางศาสนา ความเจริ ญทาง วรรณคดีมิได้หยุดชะงัก ประพันธ์การในยุคนี้มี (1) กลุ่ม กวีแห่ งราชสานัก (Cavalier Poets) เขียนกวีนิพนธ์ที่หลักแหลมมีลีลาสง่าผ่า เผยและรื่ นเริ งเช่น Robert Herrick, George Wither, Sir John Suckling และ John Bunyan (2) กลุ่มนักเคร่ งศาสนา (Puritans) เขียนวรรณกรรมที่เกี่ ยวกับกัญหาชี วิตและความ เชื่อถือในเรื่ องสวรรค์และนรก เช่น John Donne, John Milton และ John Bunyan (3) กลุ่มนักเขียนสมัยคืนสู่ ราชบัลลังก์ (The Restoration Authors) เขียนวรรณกรรม เบาสมองรื่ นเริ ง ล้อเลียนสังคมที่เคร่ งศาสนา เช่ น Samnel Butler, ?John Dryden และ Willliam Congreve วรรณกรรมที่สาคัญในยุคนี้ ได้แก่วรรณกรรมซึ่ ง ประพันธ์ในกลุ่มเคร่ งศาสนา และกลุ่ม สมัยคืนสู่ ราชบัลลังก์เป็ นผูป้ ระพันธ์ โดยเฉพาะเรื่ อง Paradise Lost ของ John Milton The Pilgrims’ Progress ของ John Dryden และ The way of the world ของ William Congreve ตัวอย่างบทกวี Paradise Lost ของ John Milton เป็ นบทกวีมหากาพย์ในกลอนเปล่า ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน 1667 INTRODUCTION Paradise Lost is about Adam and Eve—how they came to be created and how they came to lose their place in the Garden of Eden, also called Paradise. It's the same story you find in the first pages of Genesis, expanded by Milton into a very long, detailed, narrative poem. It also includes the story of the origin of Satan. Originally, he was called Lucifer, an angel in heaven who led his followers in a war against God, and was ultimately sent with them to hell. Thirst for revenge led him to cause man's downfall by turning into a serpent and tempting Eve to eat the forbidden fruit. SUMMARY

The story opens in hell, where Satan and his followers are recovering from defeat in a war they waged against God. They build a palace, called Pandemonium, where they hold council to determine whether or not to return to battle. Instead they decide to explore a new world prophecied to be created, where a safer course of revenge can be planned. Satan undertakes the mission alone. At the gate of hell, he meets his offspring, Sin and Death, who unbar the gates for him. He journeys across chaos till he sees the new universe floating near the larger globe which is heaven. God sees Satan flying towards this world and foretells the fall of man. His Son, who sits at his right hand, offers to sacrifice himself for man's salvation. Meanwhile, Satan enters the new universe. He flies to the sun, where he tricks an angel, Uriel, into showing him the way to man's home. Satan gains entrance into the Garden of Eden, where he finds Adam and Eve and becomes jealous of them. He overhears them speak of God's commandment that they should not eat the forbidden fruit. Uriel warns Gabriel and his angels, who are guarding the gate of Paradise, of Satan's presence. Satan is apprehended by them and banished from Eden. God sends Raphael to warn Adam and Eve about Satan. Raphael recounts to them how jealousy against the Son of God led a once favored angel to wage war against God in heaven, and how the Son, Messiah, cast him and his followers into hell. He relates how the world was created so mankind could one day replace the fallen angels in heaven. Satan returns to earth, and enters a serpent. Finding Eve alone he induces her to eat the fruit of the forbidden tree. Adam, resigned to join in her fate, eats also. Their innocence is lost and they become aware of their nakedness. In shame and despair, they become hostile to each other. The Son of God descends to earth to judge the sinners, mercifully delaying their sentence of death. Sin and Death, sensing Satan's success, build a highway to earth, their new home. Upon his return to hell, instead of a celebration of victory, Satan and his crew are turned into serpents as punishment. Adam reconciles with Eve. God sends Michael to expel the pair from Paradise, but first to reveal to Adam future events resulting from his sin. Adam is saddened by these visions, but ultimately revived by revelations of the future coming of the Savior of mankind. In sadness, mitigated with hope, Adam and Eve are sent away from the Garden of Paradise.

5. สมัยคริสศตวรรษที่ 18 (The Eighteenth Century) สมัยคริ สศตวรรษที่ 18 (The Eighteenth Century) คือระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1700 ถึงปี ค.ศ. 1800 เป็ นสมัยแห่งความเชื่อมัน่ ในอานาจใฝ่ สู งของมนุษย์ที่จะสามรถเข้าใจและใช้เหตุผล ใน ความสามารถที่จะสร้างสรรค์มาจะเป็ นในด้านศิลปะวิทยาการ ระเบียบประเพณี หรื อข้าวของ เครื่ องใช้ ในด้านการเมือง ประชาชนอังกฤษร่ วมแรงร่ วมใจแข่งขัน และต่อสู ้กบั ฝรั่งเศสและสเปน ประเทศอังกฤษได้กลายเป็ นมหาอานาจ ชิ้นหนึ่งเทียบเท่าอาณาจักรโรมันโบราณ ในด้านศิลปะวิทยา ทางวิทยาศาสตร์ ได้มีการค้นพบและประดิษฐ์สิ่งใหม่ หลายสิ่ ง เช่น เครื่ องทอผ้าของ Arkwright และเครื่ องจักรไอน้ าของ James Watt ศิลปะการละครก็รุดหน้าไปไกล ทั้งในด้านการแต่งบทละครและด้านการแสดง ในด้านสังคม ประชาชนนิยมแต่งกายอย่างหรู หราสวยงาม สร้างกฎเกณฑ์การปฏิบตั ิตน ขึ้นมาให้วจิ ิตรพิสดาร อุทิศเวลาให้แก่การสังคมสังสรรค์เป็ นอันมาก การพบปะนั้น ทากับตาม คฤหาสน์โอ่อ่า บ้านเล็กบ้านน้อย และร้านกาแฟ สุ ดแท้แต่ฐานะเพศและรสนิยม วรรณกรรมแขนงหนึ่ง ได้ก่อกาเนิดขึ้นมาในยุตนี้เป็ นครั้งแรกในประวัติของวรรณคดี อังกฤษ คือ novel (นวนิยาย) นักเขียนนวนิยายที่สาคัญได้แก่ Daniel Defoe, Samuel Richardson, Henry Fielding และ Tobias Smollett เนื้ อเรื่ องของนวนิยายก็เป็ นชีวติ ของชนชั้นกลางและชนชั้น ต่า มิใช่เรื่ องชนชั้นสู งดังแต่ก่อน ส่ อให้เห็นความสนใจและความเห็นอกเห็นใจ คนทั้งสองชั้นนี้ เพิ่มพูนขึ้นกว่าเดิมในสังคมอังกฤษ วรรณกรรมที่สาคัญในยุคมีมากมายที่ยกมาให้เห็นต่อไปนี้ เป็ นวรรณกรรมที่รู้จกั กัน แพร่ หลายคือ นวนิยายชื่อ Robinson Crasoe ของ Daniel Defoe นวนิยาย ชื่อ Pamela ของ Samuel Richardson นว นิยายชื่อ Tom Jones ของ Henry Fielding นวนิยาย ชื่อ Gullliver’s Travels ของ Jonathan Swift Gullliver’s Travels ของ Jonathan Swift เรื่ องการผจญภัยของกัลลิเวอร์ ถือเป็ นงานชิ้นเอกของสวิฟท์ที่เขียนโดยใช้นามปากกา มี ลักษณะเป็ นบันทึกการเดินทาง ที่ถือโอกาสบรรยายเชิงวิจารณ์สังคมไปในตัว กาหนดเนื้อเรื่ อง ประมาณ ค.ศ. 1669-1713 ดาเนินเรื่ องในอังกฤษกับดินแดนสมมติหลายแห่ง พิมพ์ครั้งแรกระหว่าง ค.ศ.1726-1727

เรื่องย่อ เลมูลเอล กัลลิเวอร์ นักฟิ สิ คส์ทาหน้าที่เป็ นหมอประจาเรื อ Antelope ออกเดินทางจาก เมืองบริ สตอลมุ่งสู่ ทะเลใต้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1699 ขณะที่เรื อแล่นมาถึงบริ เวณใกล้เกาะทัสมา เนีย เรื อก็ล่มเพราะถูกพายุ กัลลิเวอร์ พยายามว่ายน้ าเข้าฝั่ง ซึ่ งแม้ในที่สุดเขาจะรอดตายแต่ก็หมดสติ ไปนานเท่าใด ก็คงไม่สามารถจะจดจาได้ แถมเมื่อรู ้สึกตัวตื่นขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เขาก็พบว่าตัวเองนั้น ถูกมัดกลิ้งอยูบ่ นพื้นทราย ในฐานะเป็ นเชลยของมนุษย์ตวั เล็กสู งเพียง 6 นิ้วเสี ยแล้ว มนุ ษย์ตวั เล็ก หรื อคนแคระเหล่านั้นช่วยกันลากกัลลิเวอร์ ข้ ึนรถเทียมม้า(ที่ตวั เล็กเหมือนกัน) ถึง15,000 ตัว พากัน เดินทางไปถึงเมืองลิลลิพุท (Lilliput) บรรดาคนแคระเหล่านั้นช่วยกันจับกัลลิเวอร์ ล่ามโซ่ไว้ในห้อง โถงขนาดใหญ่ที่สุดของเมือง ในระหว่างที่ถูกขังอยู่ กัลลิเวอร์ ไม่ได้ปล่อยให้เวลาสู ญเปล่า เขาได้เรี ยนรู้ภาษาของคนแคระ และต่อมาเมื่อถูกนาตัวไปเฝ้ าพระราชา กัลลิเวอร์ ก็สามารถพูดภาษา และปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียม ของคนแคระได้ นับเป็ นสิ่ งที่น่าพอใจสาหรับคนแคระที่เห็นว่าควรจะให้เสรี ภาพแก่กลั ลิเวอร์ ฝ่ าย กัลลิเวอร์ เองก็ได้พบว่าเมืองน้อยๆ นี้มีสภาพไม่ต่างไปจากบ้านเมืองในยุโรปเลย ต่อมาเมืองลิลลิพุทก็ตกอยูใ่ นอันตรายจากการรุ กรานของเพื่อนบ้าน แห่งอาณาจักรเบลฟัส คู (Blefuscu) กัลลิเวอร์ อาสาสมัครช่วยเหลือพระราชา เขาบุกตะลุยเข้าไปที่กองเรื อศัตรู ที่จอดรอ กระแสลมอยูก่ ลางทะเลประมาณ 800 หลา จากฝั่งเมืองลิลลิพุท กัลลิเวอร์ ใช้สายเคเบิลผูกโอบลาก กองเรื อเหล่านั้นเข้าฝั่ง และฝ่ ายเบลฟัสคูตอ้ งยอมแพ้ กัลลิเวอร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นขุนนาง และก็คง จะเป็ นที่พอพระทัยของพระราชาตลอดไป ถ้าไม่บงั เอิญได้เกิดขัดแย้งกัน เมื่อพระราชาต้องการกด พวกเบลฟัสคูลงเป็ นทาส แต่กลั ลิเวอร์ ตอ้ งการปลดปล่อยพวกนั้นไป ฝ่ ายสนับสนุนกัลลิเวอร์ พากัน ไปที่รัฐสภา เพื่อเจรจาสงบศึก ทาให้ฝ่ายราชสานักไม่พอใจกัลลิเวอร์ กลั ลิเวอร์ ตดั สิ นใจเดินทางไป เมืองเบลฟัสคู พระราชา และชาวเมืองนั้นให้การต้อนรับกัลลิเวอร์ อย่างดี จนวันหนึ่งเขาได้พบเรื อ เล็กลอยมาติดชายฝั่ง ช่างฝี มือของเบลฟัสคู ช่วยกันซ่อมแซมเรื อนั้น จนสามารถใช้เดินทางกลับไป ยังเมืองศิวไิ ลซ์ของเขาได้ กัลลิเวอร์ ขนวัว และแกะจานวนหนึ่งไปด้วย ระหว่างการเดินทางเขาก็ ได้รับความช่วยเหลือ จากขบวนเรื ออังกฤษรับตัวเดินทางกลับไปอังกฤษ แต่คงจะเป็ นด้วยใจรักการ เดินทาง ทาให้กลั ลิเวอร์ สามารถอยูก่ บั ครอบครัวได้ไม่นานก็เตรี ยมตัวออกเดินทางต่อไปกับเรื อชื่ อ แอดเวนเจอร์ (Adventure) มุ่งไปอินเดีย กระแสลมพัดพาเรื อไปถึงดินแดนส่ วนหนึ่งของไซบีเรี ย (Great Tartary) และขณะที่ลูกเรื อพากันขึ้นฝั่ง เพื่อเตรี ยมจัดหาเสบียงเพิ่มเติม ยักษ์ใหญ่ตนหนึ่งไล่ ตามคนเหล่านั้นวิง่ กลับไปที่เรื อ ส่ วนกัลลิเวอร์ ที่แยกกลุ่มไปเดินเล่นบนท้องนากลับถูกชาวนาตัว ใหญ่สูงถึง 40 ฟุตจับตัวไว้ เขาต้องเปลี่ยนสภาพเป็ นเสมือนสัตว์เลี้ยงของครอบครัว ชาวนาที่พากัน เห็นเขาเป็ นตัวตลกขบขัน มีลูกสาวชาวนาอายุ 9 ขวบที่ยงั สู งไม่ถึง 40 ฟุตทาหน้าที่เป็ นผูด้ ูแล

ชาวนาพากัลลิเวอร์ ไปเปิ ดการแสดงครั้งแรกที่ตลาด แล้วต่อจากนั้นก็เข้าไปในเมืองใหญ่ใน ฐานะเป็ นสัตว์เลี้ยงตัวน้อยๆ การแสดงซ้ าๆ หลายครั้งทาให้สุขภาพของกัลลิเวอร์ ย่าแย่ใกล้ตาย ชาง นาจึงขายเขาให้พระราชินี พระนางจัดหาหมอมารักษา และทดลองเล่นกับเขาอย่างเป็ นตัวประหลาด กัลลิเวร์ ตอ้ งเผชิ ญกับหนูที่ตวั เท่าสิ งห์โต และคนแคระที่สูงถึง 30 ฟุต มดตะนอยที่ตวั ใหญ่เท่านก กระทา แอปเปิ ลที่ลูกใหญ่เท่าลูกตุม้ และก้อนกรวดที่ลูกใหญ่เท่าลูกเทนนิส ต่อมา กัลลิเวอร์ ได้เข้าเฝ้ าพระราชาที่ทรงซักถามเรื่ องราวของประเทศอังกฤษ เขาก็เล่าไป เท่าที่รู้ และเวลาก็ผา่ นไปถึงสองปี ที่อาณาจักรโบรบดิงนัล (Brobdingna) เมืองยักษ์แห่งนั้น กัลลิ เวอร์จึงสามารถหลบหนีออกมาได้ราวปาฎิหารย์ โดยเกาะติดกล่องที่นกพาบินมาทิ้งลงในเรื อที่มุ่ง เดินทางไปอังกฤษ เมื่อเขากลับมาถึงบ้านครั้งนี้ กัลลิเวอร์ มีความสุ ขมากที่ได้มาอยูท่ ่ามกลางผูค้ นที่มีขนาดใกล้เคียงกับเขา แต่แล้ว กัลลิเวอร์ ก็เกิดความต้องการที่จะเดินทางอีกครั้งหนึ่ง เขาเดินทางไปกับเรื อตามเคย และก็คงจะซ้ ารอยเดิม เมื่อเรื อถูกปล้น กัลลิเวอร์ ตอ้ งตุหรัดตุเหร่ ไปกับเรื อเล็กๆ ไปถึงเกาะแห่งหนึ่ง เขาได้เห็นสิ่ งลอยได้อย่างหนึ่ งตกลงมาจากบนฟ้ า มันเป็ นเกาะชื่อลาปูตา (Laputa) มีพระราชา และ ประชาชนที่โง่จนต้องมีที่ปรึ กษาคอยแนะนาทุกเรื่ อง แม้แต่วา่ ควรจะสนทนาเรื่ องอะไร แผ่นดิน ลอยนี้เคลื่อนไปลอยอยูเ่ หนื อทวีปบัลนิบารี (Balnibari) กัลป์ ลิเวอร์ได้รับอนุญาตให้ลงไปเที่ยว เขา ได้เห็นวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่มีการแสดงโครงการปรับปรุ งด้านเกษตรกรรมหลายร้อยโครงการที่ มองดูแล้วไม่น่าจะทาได้เลย กัลลิเวอร์ ลงเรื อเดินทางต่อไปเมืองพ่อมดชื่อกลับบ์ดบั ดริ บ( Glubbdubdrib) พ่อมดแห่ งเมือง นี้สามารถแปลงตัวเป็ นพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ มหาราชของกรี ซ เป็ นฮันนิบีล ซีซาร์ ปอมเปย์ และ เซอร์ โทมัส มอร์ ทาให้กลั ลิเวอร์ ได้มีโอกาสสนทนากับบุคคลเหล่านั้น จนได้รู้วา่ แท้จริ งแล้วการ บันทึกประวัติศาสตร์ ที่เขาได้เรี ยนรู ้น้ นั ยังมีหลายเรื่ องที่คลาดเคลื่อน กัลลิเวอร์ ออกเดินทางต่อไปถึงเมืองลักก์นักก์ (Luggnagg) เขาได้เฝ้ าพระราชาที่ทรงมีชีวติ เป็ น อมตะ คือไม่ตาย ก่อนที่เขาจะเดินทางต่อไปถึงญี่ปุ่น แล้วจึงเดินทางกลับอังกฤษที่เขาจากไปนาน กว่าสามปี หลังจากการเดินทางไปหลายเมืองที่ผา่ นมา เขาจึงได้กลับมาอยูบ่ า้ นอีกครั้งหนึ่ง น่าแปลกที่ ครั้งนี้ กัลลิเวอร์ กลายเป็ นพวกที่ไม่สามารถจะอยูท่ ี่เดียวอย่างสงบ เขาจึงออกเดินทางจากเมือง ปอร์ทมัธ ในเดือนสิ งหาคม ค.ศ.1710 เพื่อมุ่งไปทะเลใต้ แต่ลูกเรื อก่อกบฎจับกัปตันกัลลิเวอร์ ขงั ไว้ นานเป็ นเดือนกว่าที่เขาหนี ออกมาได้อีก ครั้งนี้เขาเดินทางไปถึงเกาะของคนครึ่ งลิงครึ่ งมนุษย์ที่พา กันตกใจเมื่อเห็นม้า ทาให้กลั ลิเวอร์ รู้วา่ เขาเดินทางมาถึงเกาะม้า Houyhnhnms ที่มีความฉลาดหลัก แหลมกว่าคนถ่อยยาฮู Yahoos กัลลิเวอร์ ตอ้ งอาศัยดารงชี วิตด้วยการกินเค้กข้าวโอ๊ต และนมแบบ

เดียวกับพวกคนม้าเหล่านั้น และที่ทาให้พวกคนม้ารู ้สึกตกใจก็คือการที่กลั ลิเวอร์ เล่าว่า ม้าใน อังกฤษนั้นกลับต้องรับใช้คนที่มีรูปร่ างเหมือนคนถ่อยยาฮู และมีฐานะเป็ นสัตว์ป่าด้วยซ้ า นอกจากนี้ กัลลิเวอร์ ยงั เล่าเรื่ องต่างๆ อีกหลายเรื่ องเช่นเรื่ องการตัดสิ นคดี และความเป็ นอยูข่ องชาว อังกฤษให้มา้ แสนฉลาดเหล้านั้นฟัง กัลลิเวอร์ ทาเหมือนกับที่เวลาเขาไปถึงดินแดนอื่นๆ มาแล้วคือ พยายามเล่าถึงประเทศของตน ซึ่ งม้าเหล่านี้พากันตกตกใจไม่นอ้ ย กับเรื่ องที่ได้รับรู ้วา่ ม้ากลายเป็ น ทาสของคนในบ้านเมืองของกัลลิเวอร์ กัลลิเวอร์ อาศัยอยูท่ ี่เมืองม้านานจนวันหนึ่ง ที่ประชุม สภาม้าได้มีการประชุมตัดสิ นว่า กัลลิเวอร์ ควรจะมีชีวติ อยูต่ ่อไปที่เมืองม้า โดยมีฐานะเช่นเดียวกับ พวกยาฮู หรื อควรจะปล่อยให้เขาว่ายน้ ากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา กัลลิเวอร์ ไม่อยากว่ายน้ า จึงแอบต่อเรื อหนี โชคดีที่เขาได้พบกับกองเรื อปอร์ ตุเกส แต่อาจจะเป็ นด้วยเขาอยูเ่ มืองม้านาน พอที่จะซึ มซับว่ามนุษย์คือยาฮูแสนโง่ เขาจึงพลอยเกลียดมนุษย์ เมื่อมาถึงปอร์ ตุเกส และได้เดินทาง กลับอังกฤษ เมื่อพบครอบครัว เขากลับรู ้สึกรังเกียจที่ภรรยาจูบเขาถึงกับเป็ นลม เขาเริ่ มจะชินเสี ย แล้วว่าเขาเกลียดมนุษย์ บัดนี้เขาเหลือเพียงม้าเท่านั้นที่เป็ นมิตรแท้ในโลก ข้ อคิดจากนิยายเรื่องนี้ ไม่เชิงเป็ นการสัง่ สอนให้ประพฤติปฏิบตั ิอย่างใดโดยตรง แต่จะแสดงความเบื่อสังคมมนุษย์ ที่มีการเสแสร้ง ทั้งแสดงว่าตนเป็ นผูร้ ู ้ โดยไม่รู้จริ ง หรื อแม้แต่การเป็ นผูท้ ี่ไม่รู้วา่ ตนไม่รู้ สถานที่ หลายแห่งที่กลั ลิเวอร์ เดินทางไปถึงมีความหลากหลาย เหมือนกับจะทาให้ผอู ้ ่านตระหนักว่า คนเรา อย่าคับแคบฝังใจอยูท่ ี่ใดที่หนึ่งเท่านั้น เพราะจะทาให้ไม่เป็ นผูร้ ู ้จริ ง ชื่ อเมืองต่างๆ ที่ดูแปลกก็ เหมือนจะเป็ นสัญญาณจากผูเ้ ขียนให้ระลึกได้วา่ เมืองที่เขาอ้างถึงนั้นไม่ได้มีอยูจ่ ริ ง การสรุ ปเรื่ องที่เมืองคนม้าแสดงถึงการที่มนุษย์ไม่ควรหลงตนเองว่า มีความเจริ ญกว่าสัตว์ โลกประเภทอื่น เพราะในทางกลับกันนั้น มนุษย์ก็อาจถูกมองจากสัตว์โลกอื่นว่าเป็ นพวกป่ าเถื่อน ด้อยความเจริ ญก็ได้ ความลึกซึ้ ง และมุ่งมัน่ ในการเขียนเรื่ องเป็ นเชิงดูหมิ่นมนุษย์ของสวิฟท์น้ ี อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากการเสี ยชีวติ ของสตรี สองนาง คือผูท้ ี่ถูกสมมุติวา่ เป็ นวาเนสซา และสเตลลา ในเรื่ อง Stella and Vanessa ซึ่ งหนึ่งในสองนั้นเป็ นสตรี ที่สวิฟท์ผกู พันด้วย สวิฟท์คลุม้ คลัง่ ถึงเธอ และในที่สุดก็เสี ยสติ ก่อนถึงแก่กรรมอย่างเดียวดายในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ.1745 6. ยุคโรแมนติค (The Romantic Age) ยุคโรแมนติค (The Romantic Age) คือระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1800 ถึงปี 1837

เป็ นยุคแห่งความเชื่อว่า มนุษย์มีความสู งส่ งเป็ นธาตุแท้อยูใ่ นตัวไม่ควรกดดันหรื อดัดแปลง ด้วยกฎเกณฑ์ แต่ควรจะไดรับเสรี ภาพอย่างเต็มที่ท้ งั ในด้านส่ วนตัวและด้านการเมือง ในด้ านการเมือง ประเทศอังกฤษต้ องหวัน่ ไหวด้ วยความผันผวน ทั้งภายนอกและภายใน - ทางด้านภายนอกนั้น ได้แก่ การทาสงครามกับอาณานิ คมอเมริ กนั (ค.ศ. 1775 – ค.ศ. 1783) และการทาสงครามกับฝรั่งเศส (ค.ศ. 1763 – ค.ศ. 1802 และ ค.ศ. 1803- ค.ศ. 1815) - ทางด้านภายในได้เกิดการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ( Industrial Revolution) เริ่ มมีอิทธิ พล มากข้นและสร้ างความเดื อดร้ อนให้แก่คนชั้นกรรมาชี พ ด้วยระบบเศรษฐกิ จแบบตัว ใครตัวมันดังทฤษฎีของ Adam Smith ซึ่ งแถลงไว้ในหนังสื อชื่ อ The Wealth of Nations ในด้ านสั งคม พวกพ่ อค้ าอุตสาหกรรม (Barons of industry) เริ่ มมีอิทธิ พลมากขึ้นและ สร้างความเดือดร้อนให้แก่คนชั้นกรรมาชีพ ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบตัวใครตัวมันดังทฤษฎีของ Adam Smith ซึ่งแถลงไว้ในหนังสื อชื่อ The wealth of Nations ในด้านการศึกษา สภาพของสถานศึกษา และการเรี ยนการสอนดีข้ ึน ในด้านศาสนา ได้มีการลดหย่อนกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดเฉพาะกับพวกที่นบั ถือคริ สศาสนานิ กานคาธอลิค ในด้านสภาพแวดล้อมดังได้พรรณนามานี้ วรรณคดีองั กฤษได้บ่ายโฉมหน้าไปในแนวใหม่ เป็ นแนวที่มีลกั ษณะพอสรุ ปได้ดงั นี้ (1) สนใจเป็ นพิเศษในความงามของธรรมชาติ และความงามตามธรรมชาติ (2) สนใจ และเห็นใจมนุษย์โดยทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนสิ้ นไร้ไม้ตอก (3) มีเนื้อหาหนักไปในทางจินตนาการ (4) มีลกั ษณะต่อต้านการาใช้อานาจกดขี่ สนับสนุนเสรี ภาพส่ วนบุคคล (5) สะท้อนให้เห็นความสนใจในนิยายปรัมปราและประเพณี โบราณแต่มีความเชื่อมัน่ ว่า อนาคตจะต้องดีกว่าปั จจุบนั (6) นิยมความเศร้าละความเปล่าเปลี่ยวใจ (7) ให้ความสาคัญแก่ความรู ้สึกไม่นอ้ ยกว่าเหตุผล ลักษณะที่ได้พรรณนามาทั้ง 7 ข้อนี้ มีอยูใ่ นกวีนิพนธ์ (poetry) ของยุคโรแมนติค มากกว่าวรรณกรรมสาขาอื่นๆของยุคเดียวกัน และมากกว่า วรรณคดีที่ทุกสาขาของยุคอื่นๆ วรรณกรรมสาคัญของยุคนี้

- ที่ดีเด่น ได้แก่ ประเภทร้อยกรอง (poetry) - ขั้นรองลงมา ได้แก่ นวนิยาย (novel) - ขั้นดีปานกลาง ได้แก่ ความเรี ยง (essay) - ขั้นใช้ไม่ได้เลย ได้แก่ บทละคร (drama) วรรณกรรมสาคัญของยุคนีใ้ นประเภทร้ อยกรอง (poetry) ได้แก่ The Seasons และ The Castle of Indolence ของ James Thomson Auld Lang Syne, Sweet Afton และ Bonnie Doon ของ Robert Burns Songs of Innocence และ Songs of Experience ของ William Blake, Old to a Nightingale และ To Autumn ของ John Keats ประเภทนวนิยาย (novel) ได้แก่ The Castle of Otranto ของ Horace Walpole, Frankensteir ของ Mary Godwin, Sense and Sensibility อง Jane Austen Longsword ของ Daniel Defore, The Hear of Midlothian, Ivanhoe และ Kenilworth ของ Sir Walter Scott ประเภทความเรียง (essay) ได้แก่ The essay of Elia, Old China และ Valentine’s Day ของ Charles Lamb 7. สมัยพระนางวิคตอเรีย (The Victorian Age) สมัยพระนางวิคตอเรีย (The Victorian Age) คือระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1873 ถึงปี ค.ศ. 1900 เป็ นยุคแห่งความก้าวหน้า ความมัน่ คง และความสลับซับซ้อน อาณาจักรอังกฤษแผ่ไพศาล ออกไปจนได้รับสมญาว่า เป็ นแผ่นดินที่พระอาทิตย์ไม่เคยตกดิน ในด้านการเมือง ประเทศอังกฤษได้กา้ วไปสู่ ความเป็ นประชาธิ ปไตยที่สมบูรณ์ยงิ่ ขึ้นไปอีก สิ่ งสาคัญที่ช่วยให้เป็ นไปดังนี้ ได้แก่ขบวนการที่ได้รับสมญาว่า The chartists พวกนี้ได้พยายาม เรี ยกร้องให้รัฐบาลอังกฤษปรับปรุ งแนวปฏิบตั ิตามหลัก 6 ประการ คือ (1) ให้ (ผูช้ าย) ทุกคนมีสิทธิ์ ออกเสี ยงเลือกตั้ง (2) ให้ใช้วธิ ีออกเสี ยงโดยลงคะแนนลับ (3) ให้มีการประชุมรัฐสภาปี ละหนึ่งสมัย (4) ให้ยกเลิกข้อบังคับว่าด้วยปริ มารของทรัพย์สินในการกาหนดคุณสมบัติผสู ้ มัครรับ เลือกตั้งเป็ นสมาชิกรัฐสภา (5) ให้จ่ายเงินเดือนแก่สมาชิดรัฐสภา

(6) ให้กาหนดเขตเลือกตั้งโดยให้แต่ละเขตมีจานวนประชากรเท่าๆกัน ในด้านสังคม การขยายตัวทางอุตสาหกรรมทาให้ ผูค้ นอพยพจากชนบทเข้าสู่ เมืองใหญ่ๆ เข้าทางานเป็ นกรรมกรตามโรงงานอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดปั ญหาเรื่ องที่อยูอ่ าศัยแออัดยัดเยียด ใน ท่ามกลางปั ญหาดังว่านี้ มีการถกเถียงกันว่า การแก้ไขควรดาเนินไปในแนวใด ที่สาคัญมีอยู่ 3 แนว คือ (1) แนวเสรี ปฏิบตั ิ (laissez-faire) ของ Adam Smith (2) แนวยึดประโยชน์ของคนส่ วนใหญ่เป็ นหลัก (utilitarianism) ของ Jeremy Bentham (3) แนวทางานเพื่อผลบุญมากกว่าเพื่อเงินทอง ซึ่ ง Thomas Carlyle เป็ นผูเ้ สนอ ในด้ านวรรณคดี มีความเปลี่ยนแปลงที่น่าสั งเกตดังต่ อไปนี้ (1) นักประพันธ์เริ่ มเขียนเพื่อผูอ้ ่านทัว่ ๆไป (2) นักประพันธ์มกั จะเป็ นนักพูดที่สามารถอยูด่ ว้ ย (3) นิตยสารมีมากขึ้น และจัดโฉมหน้าให้ตอ้ งกับรสนิยมของทุกชนชั้น (4) มีนกั ประพันธ์หญิงที่สามารถหลายคน เช่น George Eliot (5) เนื้อหาของวรรณกรรมมักจะเป็ นส่ วนผสมระหว่าง Romanticism และ Realism (6) นักประพันธ์มกั มุ่งจะสอนศีลธรรมให้แก่ผอู ้ ่านพร้อมกันไปกีบการให้ความ บันเทิง กวีในยุคนี้สนใจในปั ญหาเรื่ องความทุกข์สุขของเพื่อนมนุ ษย์อย่างยิง่ ยวด Elizabeth Barrett Browning พรรณนาความทุกข์ยากของเด็กที่ทางานเป็ นกรรมกรในโรงงาน อุตสาหกรรมไว้ในกวีนิพนธ์ชื่อ Cry of the Children Lord Tennyson, Charles Kingsley และ William Morris ก็ลว้ นแต่สนใจกับปั ญหาสังคมทั้งสิ้ น ความเรียงในยุคนีม้ ีลกั ษณะประณีตและเอาจริงเอาจัง นักเขียนความเรียงนั้นมีอยู่ 2 ฝ่ าย 1. เชื่อว่าวิทยาศาสตร์ และเครื่ องจักรกลจะนามนุษยชาติไปสู่ ความเจริ ญ 2. เชื่อว่าวิทยาศาสตร์ และเครื่ องจักรและจะนามนุษย์ไปสู่ ความวิบตั ิ

นวนิยายเป็ นวรรณกรรมแขนงที่เจริ ญมากที่สุดในยุคนี้ คนนิยมอ่านนวนิยายมากที่สุด ตัว อย่างนวนิยายที่มีเค้าโครงเรื่ องไม่กระชับ และขาดความสัมพันธ์ที่รัดกุม เช่นเรื่ อง Pickwick Papers ของ Charles Dickens ในด้านกวีนิพนธ์ (poetry) ได้แก่ โคลงส่ วนใหญ่ของ Lord Tennyson, Robert Browning, Elizabeth Barrett Browning ในด้านความเรี ยง (essay) ได้แก่ Diana of the Crossway ของ George Meredith Kidnapped ในด้านการละคร (drama) ได้แก่เรื่ อง The Importance of Being Earnest ของ Ocar Wilds 8. สมัยใหม่ (The Modern Age) สมัยใหม่ (The Modern Age) คือระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900 เป็ นต้น เป็ นยุคแห่ง ความก้าวหน้าทางวิทยาการ แห่งสงครามและแห่งความสับสน ในด้านการเมือง ประเทศอังกฤษต้องต่อสู ้ในสงครามโลกถึง 2 ครั้ง ในด้านวิทยาการ ได้มีการค้นพบใหม่ๆ ในวิยาการแขนงต่างๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และ มนุษยศาสตร์ ทฤษฎีทสี่ าคัญ คือ 1. ทฤษฎีสัมพันธ์ (law of relativity) ของ Albert Einstein ทาให้เราประจักษ์ในความจริ งข้อ ที่วา่ เรารู ้สิ่งใดเพียงเท่าที่สิ่งนั้นมีผลต่อจิตของเรา แต่สิ่งนั้นจะมีสภาพอันแท้จริ งอย่างไรนั้น เราไม่ อาจทราบได้ 2. ทฤษฎีปฏิกริ ิยาทีถ่ ูกกาหนด (Theory of conditioned reflex) ของ John Broadus Watson ทาให้เราประจักษ์ในความจริ งข้อที่วา่ ความรู ้สึกและความคิดของเราถูกกาหนดได้ดว้ ยประสบการณ์ เก่าๆ ของเราเอง 3. ทฤษฎีเรื่องจิตใต้ สานึก (Theory of the subconscious mind ) ของ Sigmund Freud ทาให้ เราประจักษ์ในความจริ งข้อที่วา่ ความปรารถนาหรื อความนึกคิดของเราอาจเกิดขึ้นได้โดยเราไม่ รู ้ตวั คือ เกิดขึ้นได้และยังอยูภ่ ายใต้ หรื อนอกเขตจิตใต้สานึกของเรา ในด้านสังคม สมัยใหม่เป็ นสมัยที่ชนชั้นสามัญมีสิทธิ และมีบทบาทสาคัญมากกว่าชนชั้นสู ง ในด้ านวรรณคดี มีปรากฏการณ์ดังต่ อไปนี้ (1) นักเขียนแบ่งออกเป็ น 3 ฝ่ าย

1. ยึดมัน่ อยูใ่ นแนวความคิดที่ยืนยาวตลอดมาในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติวา่ โลก นี้เป็ นดินแดนอันงดงามและชีวติ เป็ นสิ่ งนาพิสมัย นักเขียนที่สาคัญ ได้แก่ William Butler Yeats 2. มองเห็นว่าชีวติ นี้ไร้ความหมาย ไม่อาจก่อให้เกิดคุณความดีหรื อความชัว่ คนเรา นั้นบางทีก็เปรี ยบได้กบั เครื่ องจักรกลหรื อสัตว์ มิได้มีธาตุแท้พิเศษอันใดอยูจ่ ึงไม่มีนรก ไม่มีสวรรค์ นักเขียนที่สาคัญ ได้แก่ Wilfred Ower 3. เชื่อว่ามนุษย์สามารถจรรโลง เชื้อชาติของตนให้อยูร่ อดโดยปลอดภัยและมีศกั ดิ์ศรี นักเขียนที่สาคัญได้แก่ Cecil Day, Lewis, Wystan Hugh Auden (2) นักเขียนอังกฤษได้ถ่ายทอดแนวการาเขียนของนักเขียนต่างชาติมาเป็ นของตน (3)

วิธีการเขียนเป็ นไปแนวเน้นหนักในเรื่ องความคิดเห็นที่แฝงอยูใ่ นเนื้ อเรื่ อง (Internal thoughts)

มากกว่าลักษณะของบทประพันธ์ (external form) (4) จานวนนักเขียน และผลงานที่ผลิตออกมามีมากมาย (5)

ขอบข่ายของเนื้อเรื่ องและเนื้ อหาที่นามาเขียนเน้นกว้างมาก

(6)

จุดสนใจของบทประพันธ์ มักเกี่ยวกับปั ญหาสังคมและปั ญหาชีวิต

(7)

ลีลาการเขียนมักเป็ นแบบ Journalistic style คือ พูดสั้น ตรงเป้ า และไม่เอาตัวเอง เข้ามา

เกี่ยวในข้อเขียนของตัว

บทที่ 4 วิวฒ ั นาการของวรรณคดีอเมริกนั บทนี้เป็ นการนาเสนอวิวฒั นาการวรรณคดีอเมริ กนั ซึ่ งประกอบด้วย 4 ยุคสมัย คือ 1. ยุคแห่งการก่อสร้างประเทศในฐานะอาณานิคม- คริ สตวรรษที่ 17 (The colonial Age) 2. ยุคแห่งการก่อสร้างประเทศในฐานะประเทศอิสระ – คริ สต์ศตวรรษที่ 18 (The Rise of a New Nation) 3. ยุคโรแมนติคของสังคมอเมริ กนั -คริ สต์ศตวรรษที่ 19 (The Romantic Era) 4. ยุคแห่งการต่อสู ้เพื่อสันติภาพ – คริ สต์ศตวรรษที่ 20 (The Struggle to Establish Peace) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ยุคแห่ งการก่ อสร้ างประเทศในฐานะอาณานิคม- คริสตวรรษที่ 17 ( The colonial Age) การก่อกาเนิ ดและเจริ ญเติบโตของสังคมซึ่ งก่อสร้างประเทศอเมริ กาขึ้นซึ่ งในขั้นแรกนี้ ยงั เป็ นประเทศอาณานิคมของประเทศอังกฤษ สั งคมทีว่ ่ านีป้ ระกอบด้ วย ชนอังกฤษ 2 กลุ่ม - กลุ่มแรก มาตั้งหลักแหล่งในบริ เวณที่ต่อมากลายเป็ นมลรัฐ Virginia ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1607 เป็ นชายฉกรรจ์นกั แสวงโชคล้วนๆ ได้ช่วยกันก่อสร้างรากฐานของเมือง James Town ขึ้น - กลุ่มสอง ได้ แก่ ชนอังกฤษผู้นับถือ ศาสนาคริสต์ นิกาย Calvinism ซึ่ งได้รับฉายาว่าเป็ น พวก Puritans พวกนี้ได้เดินทางออกจากประเทศอังกฤษเพื่อหนีความกดขี่ทางด้านศาสนาของตนได้ อย่างเคร่ งครัด เหตุน้ ีทาให้พวกนี้ได้ชื่อว่าเห็นพวก Pilgrims พวกนี้เดินทางมาถึงดินแดน ซึ่ งต่อมา ได้นามว่ามลรัฐ Massachusetts’ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ.1620 วรรณกรรมอเมริ กนั ในยุคเริ่ มแรกนี้มีปริ มาณน้อย ส่ วนใหญ่เป็ นผลงานของกลุ่ม Puritans ซึ่ งเป็ นกลุ่มที่มีการศึกษาและวัฒนธรรมสู งและปฏิบตั ิตามหลักศาสนานิกายของตน วรรณกรรมชิ้นที่สาคัญในยุคนี้ โคลงทานองเทศนาชื่ อ Gods Determinations ของ Edward Taylor

2. ยุคแห่ งการก่ อสร้ างประเทศในฐานะประเทศอิสระ – คริสต์ ศตวรรษที่ 18 (The Rise of a New Nation) เป็ นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงทั้งในด้านการเมือง ศาสนาและสังคม ในด้านการเมือง ประชาชนสนใจอย่างลึกซึ้ งในเรื่ องความยุติธรรมทางด้านการเมือง ในด้านศาสนา ข้อค้นพบของ Issac Newton ที่วา่ ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของสุ ริย จักรวาล ทาให้คนอเมริ กนั ส่ วนหนึ่งเริ่ มเห็นว่า วิถีทางของธรรมชาติน่าจะเป็ นวิถีทางบัญญัติโดย พระผูเ้ ป็ นเจ้า ในด้านสังคม ประชาชนส่ วนใหญ่เริ่ มสงสัยในสิ ทธิ ของสถาบันต่างๆอิทธิ พลของฝ่ าย ศาสนาเริ่ มเสื่ อมคลาย ประชาชนหันมาสนใจเรื่ องทางโลกมากขึ้น สนใจในวิทยาการ การใช้ เหตุผล การจัดระบบสังคม และเริ่ มมีความรู ้สึกชาตินิยม (nationalism) รุ นแรง วรรณกรรมอเมริ กนั ในยุคนี้สะท้อนให้เห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วหลายอย่างใน วัฒนธรรมอเมริ กนั และสะท้อนให้เห็นความขัดแย้งในแนวคิดและท้ายที่สุดสะท้อนให้เห็นการ รู้จกั ประนีประนอม (Spirit of compromise) ของคนอเมริ กนั เพื่อเห็นแก่ความมัน่ คงของ ประเทศชาติ วรรณกรรมสาคัญในยุคนี้ มีดังต่ อไปนี้ คือ ประเภทศาสนา (theological works) ได้แก่ A careful and Strict Inquiry…..of……Freedom of Will ของ Jonathan Edwards ประเภทบทละคร (drama) ได้แก่ The Prince of Parthia ของ Thomas Godfrey ประเภทกวีนิพนธ์ (poetry) ได้แก่ M’Fingal ของ John Trumbull ประเภทนวนิยาย (fiction) ได้แก่ A Pretty Story ของ Francis Hopkinson 3. ยุคโรแมนติคของสั งคมอเมริกนั -คริสต์ ศตวรรษที่ 19 (The Romantic Era) เป็ นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงจากนโยบายยึดมัน่ กับขนบธรรมเนียมเดิมไปสู่ นโยบายสร้าง แนวความคิดใหม่ๆ ในด้านการเมือง Thomas Jefferson ได้พยายามบัน่ ทอนการรวมอานาจการปกครอง ประเทศเข้าไว้ในมือของรัฐบาลกลาง และได้พยายามเฉลี่ยสิ ทธิ ทางการเมืองจากกามือของผูม้ ีฐานะ วงศ์สกุล และความรู ้ความสามารถสู งไปสู่ ชนชั้นสามัญ ความขัดแย้งภายในประเทศระหว่างรัฐทางเหนื อและรัฐทางใต้ได้ประทุ เป็ นสงครามกลาง เมือง (Civil war) ในปี ค.ศ.1861 และยืดเยื้ออยูจ่ นถึงปี ค.ศ.1765 ปั ญหาสาคัญ คือ สิ ทธิ ในการ มีทาสผิวดาไว้ในครอบครอง

ในด้านสังคม แนวทางชี วติ ของคนอเมริ กนั ในดินแดนแถบ New England เคยถูกกาหนด ด้วยความเชื่อถือในนิกาย Calvinism ซึ่ งสอนว่าพระผูเ้ ป็ นเจ้ามี 3 ภาค (The Trinity) มนุษย์ทุกคน มีบาปติดตัวสื บต่อกันมาจากปฐมบุรุษ ทุกคนต้องทางานหนัก ในสมัยยุคโรแมนติค ได้เกิดนิกาย ใหม่ชื่อ Unitarianism ขึ้น นิกายนี้ สอนว่า พระผูเ้ ป็ นเจ้ามีภาคเดียว ในด้านวรรณคดี ให้พยายามเขียนเรื่ องเกี่ยวกับประเทศอเมริ กาตั้งแต่ทิวทัศน์ ฤดูกาล วีรบุรุษอเมริ กนั ในสงครามทะเล ในสงครามกลางเมืองและวีรบุรุษที่ท่องเที่ยวไปตามแดน ทุรกันดารในอเมริ กา วรรณกรรมที่สาคัญในยุคนี้แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ประเภทที่หนึ่ง เป็ นกวีนิพนธ์ (poetry) ได้แก่ โคลงส่ วนใหญ่ของ Henry William, Henry Wadsworth Longfellow ประเภทที่สอง เป็ นนวนิยาย (novel) ได้แก่ The Spy the Deer slayer, The Last of the Mohicans ของ James Fenimore Cooper ประเภททีส่ าม เป็ นเรื่องสั้ น (short story) ได้แก่เรื่ องสั้นส่ วนใหญ่ของ Edgar Allan Poe, O. Henry และ Stepphen Crane 4. ยุคแห่ งการต่ อสู้ เพือ่ สั นติภาพ – คริสต์ ศตวรรษที่ 20 (The Struggle to Establish Peace) เป็ นยุคแห่งการขยายตัวทางอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทาง Technology เป็ นยุคที่ ประเทศอเมริ กาจาต้องรับบทบาทการเป็ นหัวแรงในการพยายามผดุงสันติภาพของโลก ในด้าน สังคมความเจริ ญทางวิทยาศาสตร์ และทางการใช้เครื่ องจักรกลทาให้อเมริ กนั มี เครื่ องมือ อานวยความสะดวกมากมาย และให้เครื่ องจักกลทางานต่าง ๆ แทนคนมาขึ้นทุกที แนวความคิดก็เริ่ มหันเหไปในการทางสอดคล้องกับวิธีปฏิบตั ิการของเครื่ องจักรกลเหล่านั้น ทาให้ เกิดมีผวู ้ ติ กว่าสังคม อเมริ กนั มีลกั ษณะวัตถุนิยม (materialistic) จนเกินไปการศึกษาและการคิด ในแนววิทยาศาสตร์ จาต้องอาศัยกฎเกณฑ์และสถิติ จิตใจของคนอเมริ กนั ที่หมกมุ่นและนิยม การศึกษา และคิดในแนววิทยาศาสตร์ จึงหันเหไปในทางนิยมความเป็ นมาตาฐาน (standardization) นอกจากนั้น การฝักใฝ่ ในวิทยาศาสตร์ ยงั ชักนาให้คนอเมริ กนั เกิดความสนใจ ในแนวความคิดแบบประจักษ์นิยม (realism) ซึ่ งถือความจริ ง ตามที่ปรากฏอยูแ่ ละเหตุผลเป็ น สาคัญ วรรณกรรมสาคัญของยุคนี้ คือ

ในด้ านกวีนิพนธ์ (poetry) ได้แก่ Complete Poems ของ Robert Frost, Two Lives ของ William Ellery Leonard, Complete Poems ของ Carl Sandberg The Age of Anxiety ของ Wystan Hugh Auden. ในด้ านละคร (drama)ได้แก่ Lceman Cometh ของ Eugene O’Neuk Dykey, A Streetcar Named Desire ของ Tennessee Williams และ Death of a Salesman ของ Arthur Miller ประเภทนวนิยาย (novel) ได้แก่ Kingsblood Royal ของ Sinclair Lewis, The Great Gatsby ของ Francis Scott Fitzgerald, Intruder in the Dust ของ William Faulkner A Farewell to Arms ของ Ernest Heming way และ East of Eden ของ John Steinbeck Opus 21 ประเภทเรื่องสั้ น (short stories) Winesburge และ Ohio ของ Sherwood Anderson นักกวีชาวอเมริกนั ทีไ่ ด้ รับรางวัลโนเบล (American Nobel Prize in Literature winners) 1930: Sinclair Lewis (novelist) 1936: Eugene O'Neill (playwright) 1938: Pearl S. Buck (biographer and novelist) 1948: T. S. Eliot (poet and playwright) 1949: William Faulkner (novelist) 1954: Ernest Hemingway (novelist) 1976: Saul Bellow (novelist) 1978: Isaac Bashevis Singer (novelist, wrote in Yiddish) 1987: Joseph Brodsky (poet, wrote in Russian and English) 1993: Toni Morrison (novelist)

บทที่ 5 ภาษาภาพพจน์ หรือภาษาโวหาร ภาษาภาพพจน์หรื อภาษาโวหาร (figurative Language) หมายถึง การใช้อุปมา อุปไมย คาที่ แสดงในบทประพันธ์ในรู ปดังต่อไปนี้ 1. อุปมา (simile) 2. อุปลักษณ์ (metaphor) 3. การใช้คาพูดเกินจริ ง หรื ออติพจน์ (overstatement หรื อ hyperbol) 4. การใช้คาพูดที่นอ้ ยไปกว่าความจริ ง (understatement) 5. สัญลักษณ์ (Symbol) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. อุปมา (simile) หมายถึง การเปรี ยบเทียบระหว่างสิ่ งที่ต่างจาพวกกันและมีคาเชื่อม as, as if ,as though, as when, like คากริ ยาที่ใช้ appear, compare, resemble, seem ตัวอย่าง A Red, Red Rose by Robert Burns 1759-1796 O My Luve's like a red, red rose, That's newly sprung in June; O My Luve's like the melodie That's sweetly played in tune. Example : Simile examples: 1. Bob runs like a deer. 2. The willow’s music is like a soprano. 3. She slept like a log. 4. He fights like a lion. 5. She swims like a dolphin. 6. He slithers like a snake. 7. He runs like a cheetah. 8. He drinks like a fish.

9. She kicks like a mule. 10. He flopped like a fish out of water 11. She is as sweet as candy. 12. He is as thin as a rail. 13. When he got the tools out, he was as precise and thorough as a surgeon. 14. She walks as gracefully and elegantly as a cat. 15. He was as brave as a lion in the fight. 16. He was as tough as a bull. 17. She was as bendy as a snake. 18. She danced as gracefully as a swan. 2. อุปลักษณ์ (metaphor) หมายถึง การใช้คาหรื อสานวนเปรี ยบเทียบขัดแย้งกัน เป็ นการเปรี ยบเทียบสิ่ งที่ต่างจาพวก กันแต่ไม่มีคาเชื่ อม สังเกตจากลักษณะ 3 ประการ คือ 1. การใช้คากริ ยา to be เปรี ยบสิ่ งหนึ่งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง เช่น “Hope” is the thing with feathers เปรี ยบความหวังเป็ นอะไรบางอย่างที่ประดับด้วยขนนก 2. การขยายนามโดยใช้ noun แต่ไม่มีกริ ยา เช่น Life the hound (เปรี ยบชีวิตเป็ นสุ นขั ล่า สัตว์) 3. การใช้ความหมายของสองสิ่ งที่ตอ้ งการเปรี ยบเทียบผสมผสานไปในคากริ ยาเดียวกัน เช่น When thickest dark did trance the sky trance หมายถึงการสะกดจิตกับความมืด เปรี ยบความมืดมิด เป็ นนักสะกดจิตที่กาลังทาให้ทอ้ งฟ้ าเกิดความเคลิบเคลิ้มเมื่อยามรัตติกาลเข้ามาเยือน ต ัวอย่าง Metaphor Poe Hope" by Emily Dickinson "Hope" is the thing with feathers -That perches in the soul -And sings the tune without the words -And never stops -- at all -And sweetest -- in the Gale -- is heard -And sore must be the storm --

That could abash the little Bird That kept so many warm -I've heard it in the chillest land -And on the strangest Sea -Yet, never, in Extremity, It asked a crumb -- of Me.

Metaphor examples: 1. My dad is a bear. 2. The bar of soap was a slippery eel. 3. The light was the sun during our test. 4. He hogged the road. 5. She toyed with the idea. 3. การใช้ คาพูดเกินจริง หรืออติพจน์ (overstatement หรื อ hyperbol) หมายถึง การแสดงคาพูดในบทกวีที่เกินความจริ ง เช่น A Red, Red Rose by Robert Burns 1759-1796 As fair art thou, my bonnie lass, So deep in luve am I; And I will luve thee still, my dear, Till a' the seas gang dry, my dear While the sands o' life shall run. 4. การใช้ คาพูดทีน่ ้ อยไปกว่ าความจริง (understatement) หมายถึง การแสดงคาพูดในบทกวีที่นอ้ ยกว่าความจริ ง เช่น Fire and Ice กล่าวถึงการทาลาย ล้างโลก แต่กวีพดู น้อยเกินความจริ ง Fire and Ice by Robert Frost

Some say the world will end in fire, Some say in ice. From what I've tasted of desire I hold with those who favor fire. But if it had to perish twice, I think I know enough of hate To say that for destruction ice Is also great And would suffice 5. สั ญลักษณ์ (Symbol) หมายถึง การแสดงสัญลักษณ์ในบทกวี เช่น The Road Not Taken – Road เป็ นสัญลักษณ์ หมายถึงทางเลือกในชีวติ The Road Not Taken Two roads diverged in a yellow wood, And sorry I could not travel both. And be one traveler, long I stood And looked down one as far as I could To where it bent in the undergrowth; Then took the other, as just as fair, And having perhaps the better claim, Because it was grassy and wanted wear;

Though as for that, the passing there Had worn them really about the same, And both that morning equally lay In leaves no step had trodden black. Oh, I kept the first for another day!

Yet knowing how way leads on to way, I doubted if I should ever come back. I shall be telling this with a sigh Somewhere ages and ages hence: Two roads diverged in a wood, and II took the one less traveled by, And that has made all the difference. ……………..

บทที่ 6 การอ่านกวีนิพนธ์ เพื่อค้นหาความหมายของกวีนิพนธ์ ผูอ้ ่านจะต้องค้นหา 1. การค้นหาความหมาย 2. ความหมายรวบยอด 3. รายละเอียดที่สาคัญ 4. เจตนาของผูเ้ ขียน ตัวอย่าง Cargoes by John Masefield QUINQUIREME of Nineveh from distant Ophir, Rowing home to haven in sunny Palestine, With a cargo of ivory, And apes and peacocks, Sandalwood, cedarwood, and sweet white wine. Stately Spanish galleon coming from the Isthmus, Dipping through the Tropics by the palm-green shores, With a cargo of diamonds, Emeralds, amythysts, Topazes, and cinnamon, and gold moidores. Dirty British coaster with a salt-caked smoke stack, Butting through the Channel in the mad March days, With a cargo of Tyne coal, Road-rails, pig-lead, Firewood, iron-ware, and cheap tin trays

อธิบายศัพท์ Quinquireme = เรื อโบราณมีฝีพาย 5 แถว cargo = สิ นค้า ivory = งาช้าง Ophir = ดินแดนที่ร่ ารวยไปด้วยทอง apes = ลิงไม่มีหาง peacocks = นกยูง Sandalwood, = ไม้หอม cedarwood = ไม้จนั ทร์ galleon = เรื อรบหรื อเรื อสิ นค้าแบบโบราณ Isthmus = ทางแคบอิสมุส diamonds, Emeralds, amythysts, Topazes= เพชรนิลจินดา มรกต cinnamon = อบเชย เครื่ องเทศ gold moidores = เหรี ยญทอง smoke stack = เครื่ องจักรไอน้ า ปล่องเรื อ coaster = เรื อเดินริ มฝั่ง ภายในประเทศ butting = ใช้หวั ดันแบบอาการขวิดของแพะ coal = ถ่านหิ น Road-rails = เหล็กทารางรถไฟ pig-lead = แท่งตะกัว่ Firewood = เชื้อเพลิง iron-ware = เครื่ องเหล็ก ความหมายรวบยอด ผูเ้ ขียนพรรณนาสิ นค้านานาชนิดที่บรรทุกในเรื อต่างลาต่างยุค ต่างสมัยกันไป สามสมัย รายละเอียดทีส่ าคัญ กวีมิได้มุ่งหมายเพียงบรรยายสิ นค้าเท่านั้น แต่ตอ้ งการชี้ให้เราเห็นว่า ปั จจุบนั แตกต่างกับ อดีตอย่างไร ในอดีตกาล สิ นค้าที่มีค่า มีราคาคือสิ นค้าที่สวยงาม แต่ไร้ประโยชน์ ในปั จจุบนั สิ นค้า ไม่น่าดู เป็ นของธรรมดาพื้นบ้าน ถูกแต่มีประโยชน์

เจตนาของผู้เขียน บอกเป็ นนัยว่า ยุคปั จจุบนั มีความสวยงามน้อยกว่าในอดีต Cross by Langston Hughes My old man's a white old man And my old mother's black. If ever I cursed my white old man I take my curses back. If ever I cursed my black old mother And wished she were in hell, I'm sorry for that evil wish And now I wish her well My old man died in a fine big house. My ma died in a shack. I wonder were I'm going to die, Being neither white nor black? อธิบายศัพท์ cross cursed wished hell evil

= ลูกผสม,สายผสม = สาปแช่ง = ปรารถนา = นรก = ชัว่ ร้าย

ความหมายรวบยอด เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับชาติพนั ธ์ คนผิวดาไม่เป็ นที่ยอมรับ รายละเอียดทีส่ าคัญ ในบทกวีน้ ีแลงสตันฮิวจ์สะท้อนให้เห็นถึงความคิดของการเป็ นทาสในอเมริ กาที่เกิดขึ้น เป็ นเวลานานที่ผา่ นมา แลงสตันนี้แสดงให้เห็นโดยการเปรี ยบเทียบพ่อและแม่ของเขา ผูป้ กครอง ทั้งสองมีการแข่งขันที่แตกต่างกัน

เจตนาของผู้เขียน ไม่วา่ สี ดาหรื อสี ขาวก็ถึงแก่ความตายเหมือนกัน

Exercise 1 Direction : Answer the questions. (20 points) 1. What is the meaning of literature? ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. What is the meaning of English literature? ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. What is the meaning of American literature? ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

4. What is the advantages to study English and American literature? ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

Exercise 2 Direction: Match the words. (15 points) 1. sonnet 2. satire

…………. …………

3. English literature ………… 4. American literature ………… 5. prose 6. poetry

………… …………

7. novel 8. simile

………… …………

9. metaphor

…………

10. overstatement

…………

11. understatement

…………

12. alliteration

…………

13. assonance

…………

a. is a unit within a larger poem. b. is a literary figure of speech that uses an image, story or tangible thing to represent a less tangible thing or some intangible quality or idea. c. is a form of literary art. d. to represent as greater than is actually the case. e. is strong irony or sarcasm. f. is a form of speech which contains an expression of less strength than what would be expected. g. is one of several forms of poetry has 14 line. h. is the repetition of vowel sounds to create internal rhyming within phrases or sentences. i. used to evoke mental images, the visual sense, sensation (touch, taste, smell, sound, orientation) and emotion. j. the repetition of a particular sound in the first syllables of a series of words and phrase. k. is the most typical form of written language, applying ordinary grammatical structure. l. is the literature written in the English language. m. is the written or literary work produced in the area of the United States and its

14. stanza 15. imagery

………… …………

preceding colony. n. is a book of long narrative in literary prose. o. is a figure of speech that directly compares two different things, usually by employing the words "like", "as.

Exercise 3 Direction: Read the story and answer the questions. (10 points) Beowulf: The Epic Poem The epic poem, "Beowulf", describes the most heroic man of the Anglo-Saxon times. The hero, Beowulf, is a seemingly invincible person with all the extraordinary traits required of a hero. He is able to use his super-human physical strength and courage to put his people before himself. He encounters hideous monsters and the most ferocious of beasts, but he never fears the threat of death. His leadership skills are superb and he is even able to boast about all his achievements. Beowulf is the ultimate epic hero who risks his life countless times for immortal glory and for the good of others. Beowulf is a hero in the eyes of his fellow men through his amazing physical strength. He fought in numerous battles and returned victorious from all but his last. In his argument with Unferth, Beowulf explains the reason he "lost" a simple swimming match with his youthful opponent Brecca. Not only had Beowulf been swimming for seven nights, he had also stopped to kill nine sea creatures in the depths of the ocean. Beowulf is also strong enough to kill the monster Grendel, who has been terrorizing the Danes for twelve years, with his bare hands by ripping off his arm. When Beowulf is fighting Grendel's mother, who is seeking revenge on her son's death, he is able to slay her by slashing the monster's neck with a Giant's sword that can only be lifted by a person as strong as Beowulf. When he chops off her head, he carries it from the ocean with ease, but it takes four men to lift and carry it back to Herot mead-hall. This strength is a key trait of Beowulf's heroism. Another heroic trait of Beowulf is his ability to put his peoples welfare before his own. Beowulf's uncle is king of the Geats, so he is sent as an emissary to help rid the Danes of the evil Grendel. Beowulf risks his own life for the Danes, asking help from no one. He realizes the dangers, but fears nothing for his own life. After Beowulf had served his people as King of the Geats for fifty years, he goes to battle one last time to fight a horrible dragon who is frightening all of his people. Beowulf is old and tired but he defeats the dragon in order to protect his people.

Even in death he wished to secure safety for the Geats, so a tall lighthouse is built in order to help the people find their way back from sea. The most heroic of traits within Beowulf is that he is not afraid to die. He always explains his death wishes before going into battle and requests to have any assets delivered to his people. "And if death does take me, send the hammered mail of my armor to Higlac, return the inheritance I had from Hrehtel, and from Wayland. Fate will unwind as it must! (18)" He is aware of the heroic paradox; he will be glorified in life or death for his actions. He knows that when he fights an enemy like Grendel or Grendel's mother he will achieve immortality as the victor or the loser. "When we crossed the sea, my comrades and I, I already knew that all my purpose was this: to win the good will of your people or die in battle, pressed in Grendel's fierce grip. Let me live in greatness and courage, or here in this hall welcome my death! (22)" Even with the enormous amount of confidence Beowulf possesses, he understands that Fate or Wyrd will work its magic no matter what and he could be killed at any point in his life. He faces that reality by showing no fear and preparing for a positive or a fatal outcome. Beowulf is the prime example of an epic hero. His bravery and strength surpass all mortal men; loyalty and the ability to think of himself last makes him revealed by all. Beowulf came openly and whole heartedly to help the Danes which was an unusual occurrence in a time of war and wide-spread fear. He set a noble example for all human beings relaying the necessity of brotherhood and friendship. Beowulf is most definitely an epic hero of epic proportions ………………. 1. What is Beowulf? ………………………………………………………………………………………………………. . 2. How did Beowulf injure Grendel? ………………………………………………………………………………………………………. .

3. Who was Beowulf's last foe? ……………………………………………………………………………………………………… …. 4. What weapon did Beowulf use to kill Grendel's mother? ……………………………………………………………………………………………………… …. 5. What is the significance of Grendel being descended from Cain? ………………………………………………………………………………………………………. . 6. How does Beowulf embody the characteristics of the ideal Anglo-Saxon king and warrior? ………………………………………………………………………………………………………. 7. What is the name of the sword that Unferth gave to beowolf? ………………………………………………………………………………………………………. . 8. How are Wiglaf and Beowulf similar?(2 points) …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… … 9. How does Beowulf embody the characteristics of the ideal Anglo-Saxon king and warrior? ………………………………………………………………………………………………………

Exercise 4 Direction: Read the story and answer the questions. (10 points) The Canterbury Tales Summary by Geoffrey Chaucer The Canterbury Tales begins with the introduction of each of the pilgrims making their journey to Canterbury to the shrine of Thomas a Becket. These pilgrims include a Knight, his son the Squire, the Knight's Yeoman, a Prioress, a Second Nun, a Monk, a Friar, a Merchant, a Clerk, a Man of Law, a Franklin, a Weaver, a Dyer, a Carpenter, a Tapestry-Maker, a Haberdasher, a Cook, a Shipman, a Physician, a Parson, a Miller, a Manciple, a Reeve, a Summoner, a Pardoner, the Wife of Bath, and Chaucer himself. Congregating at the Tabard Inn, the pilgrims decide to tell stories to pass their time on the way to Canterbury. The Host of the Tabard Inn sets the rules for the tales. Each of the pilgrims will tell two stories on the way to Canterbury, and two stories on the return trip. The Host will decide whose tale is best for meaningfulness and for fun. They decide to draw lots to see who will tell the first tale, and the Knight receives the honor. The Knight's Tale is a tale about two knights, Arcite and Palamon, who are captured in battle and imprisoned in Athens under the order of King Theseus. While imprisoned in a tower, both see Emelye, the sister of Queen Hippolyta, and fall instantly in love with her. Both knights eventually leave prison separately: a friend of Arcite begs Theseus to release him, while Palamon later escapes. Arcite returns to the Athenian court disguised as a servant, and when Palamon escapes he suddenly finds Arcite. They fight over Emelye, but their fight is stopped when Theseus finds them. Theseus sets the rules for a duel between the two knights for Emelye's affection, and each raise an army for a battle a year from that date. Before the battle, Arcite prays to Mars for victory in battle, Emelye prays to Diana that she may marry happily, and Palamon prays to Venus to have Emelye as his wife. All three gods hear their prayers and argue over whose should get precedence, but Saturn decides to mediate. During their battle, Arcite indeed is victorious, but as soon as he is crowned victor, he is killed. Before he dies, he reconciles with Palamon and tells him that he deserves to marry Emelye. Palamon and Emelye marry.

When the Knight finishes his tale, everybody is pleased with its honorable qualities, but the drunken Miller insists that he shall tell the next tale. The Miller's Tale, in many ways a version of the Knight’s, is a comic table in which Nicholas, a student who lives with John the carpenter and his much younger wife, Alison, falls in love with Alison. Another man, the courtly romantic Absolon, also falls in love with Alison. Nicholas contrives to sleep with Alison by telling John that a flood equal to Noah's flood will come soon, and the only way that he, Nicholas and Alison will survive is by staying in separate kneading tubs placed on the roof of houses, out of sight of all. While John remained in this kneading tub, Nicholas and Alison leave to have sex, but are interrupted by Absolon, singing to Alison at her bedroom window. She told him to close his eyes and he would receive a kiss. He did so, and she pulled down her pants so that he could kiss her arse. The humiliated Absolon got a hot iron from a blacksmith and returned to Alison. This time, Nicholas tried the same trick, and Absolon branded his backside. Nicholas shouted for water, awakening John, who was asleep on the roof. Thinking the flood had come, he cut the rope and came crashing through the floor of his house, landing in the cellar. The pilgrims laughed heartily at this tale, but Oswald the Reeve takes offense, thinking that the Miller meant to disparage carpenters. In response, The Reeve's Tale tells the story of a dishonest Miller, Symkyn, who repeatedly cheated his clients, which included a Cambridge college. Two Cambridge students, Aleyn and John, went to the miller to buy meal and corn, but while they were occupied Symkyn let their horses run free and stole their corn. They were forced to stay with Symkyn for the night. That night, Aleyn seduced the miller's daughter, Molly, while John seduced the miller's wife. Thanks to a huge confusion of whose bed is who in the dark, Aleyn tells Symkyn of his exploits, thinking he is John: and the two fight. The miller's wife, awaking and thinking the devil had visited her, hit Symkyn over the head with a staff, knocking him unconscious, and the two students escaped with the corn that Symkyn had stolen. …………………. The Canterbury Tales Quiz 1 1. What is the first Canterbury Tale? a. The Cook's Tale c. The Knight's Tale

b. The Reeve's Tale d. The Miller's Tale

2. Which tale in the first fragment seems to be unfinished? a. The Cook's Tale b. The Reeve's Tale c. The Miller's Tale d. The Knight's Tale 3. Which tale tells the story of Symkyn the miller? a. The Wife of Bath's Tale b. The Shipman's Tale c. The Reeve's Tale d. The Miller's Tale 4. Which characters are in love with Alison in the Miller's Tale? a. Gervase and Nicholas b. Absolon and Nicholas c. John, Absolon and Nicholas d. Absolon and Gervase 5. What is the name of the carpenter in the Miller's Tale? a. Fred b. John c. Absolon d. Nicholas 6. Who farts in Absolon's face? a. Alison b. John c. Gervase d. Nicholas 7. Who cries out "Water" because their arse has been branded with a hot iron? a. Alison b. John c. Absolon d. Nicholas 8. What is the genre of tales to which the Miller's Tale might belong? a. prose poem b. romance c. modernist narrative d. fabliaux 9. Which two characters are thought to be indistinguishable from each other in the Knight's Tale? a. Arcite and Palamon b. Arcite and Theseus c. Theseus and Hippolyta d. Theseus and Palamon 10. Who dies at the end of the Knight's Tale? a. Arcite b. Hippolyta c. Palamon d. Theseus ……………………

Exercise 5 Direction: Read the poem and answer the questions. (15 points) Sonnet 18 by William Shakespeare Shall I compare thee to a summer’s day? Thou art more lovely and more temperate: Rough winds do shake the darling buds of May, And summer’s lease hath all too short a date: Sometime too hot the eye of heaven shines, And often is his gold complexion dimm’d; And every fair from fair sometime declines, By chance or nature’s changing course untrimm’d; But thy eternal summer shall not fade Nor lose possession of that fair thou owest; Nor shall Death brag thou wander’st in his shade, When in eternal lines to time thou growest: So long as men can breathe or eyes can see, So long lives this, and this gives life to thee. ……………….. Read the following questions before you come to class to help you understand the poem. Lines 1+2 1. What does "thee" and "thou" mean? What is the difference between them? …………………………………………………………………………………………………… 2. How is the speaker's beloved different/ similar to Summer? …………………………………………………………………………………………………… Lines 3+4 3. Is May a Summer's month?

…………………………………………………………………………………………………… 4. How is Summer described in these lines? how different is that from the speaker's beloved? …………………………………………………………………………………………………… Lines 5+6 5. What is "the eye of heaven"? What figure of speech is used here? …………………………………………………………………………………………………… 6. "his gold complexion" refers to who/ what? …………………………………………………………………………………………………… Lines 7+8: 7. What is the significance of the repletion of the word "fair"? Does it mean the same in both places? ……………………………………………………………………………………………………… 8.. How similar is the human beauty to the season of Summer?

……………………………………………………………………………………………………… Lines 9+10: 9. What does "thy" mean? ……………………………………………………………………………………………………… 10. How is the beauty of the beloved described here? ……………………………………………………………………………………………………… Line 11+12 11. What figure of speech is used in line 12?

……………………………………………………………………………………………………… 12. Why are they called eternal? ………………………………………………………………………………………………………. Line 13+14\ 14. What will immortalize the beauty of his beloved? …………………………………………………………………………………………………… 15. What exactly is the speaker celebrating in these lines? ……………………………………………………………………………………………………

Exercise 6 Direction: Read the story (Book 10) and answer the questions. (10 points) 1. Who is sent from Heaven to judge Adam and Eve after the fall? ………………………………………………………………………………………………… 2. What is Adam and Eve’s punishment for their disobedience to God? …………………………………………………………………………………………………… 3. How does the Son judge the Serpent (Satan) for tempting Eve? …………………………………………………………………………………………………… 4. What will Eve’s descendants do to the Serpent’s offspring? …………………………………………………………………………………………………… 5. Who helps to bring Adam out of the depths of despair? ……………………………………………………………………………………………………

Exercise 7 Direction: Read the story (Book 10) and answer the questions. (25 points) เปิ ด http://www.bookrags.com/notes/gt/ 1.

How does Gulliver end up stranded in Lilliput? a. He survives a shipwreck b. His crew abandons him c. He is dropped there by an enormous eagle d. He stops there for provisions and is trapped while he sleeps

2.

How do the Lilliputians offer Gulliver something to drink? a. They break down their town reservoir

b. They divert a river

c. They summon the rains 3.

d. They roll out barrels of wine

How does Gulliver earn the title of Nardac in Lilliput? a. By capturing the Blefuscudian fleet b. By putting out the fire in the empress’s quarters c. By showing lenience toward a group of soldiers who earlier attack him d. By helping the Lilliputians construct a new palace

4.

Instead of killing him outright, the Lilliputians decide on which of the following punishments for Gulliver? a. Blinding him and slowly starving him to death c. Cutting off his hands

5.

b. Exiling him d. Poisoning him

What is the line of doctrine over which the Blefuscudians and Lilliputians differ? a. “All true believers shall break their eggs at the small end.” b. “All true believers shall break their eggs at the big end c. All true believers shall break their eggs as they see fit.”

d. All true believers shall break their eggs at the convenient end.”\ 6.

Who is Gulliver’s main caretaker in Brobdingnag? a. The farmer

b. The queen

c. Reldresal 7.

d. Glumdalclitch

How does Gulliver leave Brobdingnag? a. He builds himself a sailboat b. He is exiled c. He is carried away by a giant eagle d. He is taken back to England by Don Pedro

8.

9.

Who first discovers Gulliver in Brobdingnag? a. The farmer

b. A field worker

c. Glumdalclitch

d. Lord Munodi

What does the farmer make Gulliver do in order to earn money? a. Perform tricks for spectators farmers

b. Spy on neighboring

c. Work in the fields 10.

11.

d. Kill rats

Who is Gulliver’s main enemy in the royal court of Brobdingnag? a. The dwarf

b. The king

c. The queen

d. Reldresal

What human invention does Gulliver propose to the king of Brobdingnag that the king finds revolting? a. Gunpowder c. Lawyers

b. Christianity d. Lying

12.

13.

14.

How does Gulliver end up in Laputa? a. Pirates attack his ship

b. His crew mutinies

c. He is shipwrecked

d. He stops there for provisions

What do “flappers” do for the people of Laputa? a. Keep them cool by fanning them

b. Protect them from birds and insects

c. Keep them engaged in conversations

d. Introduce them to other people

Why does Gulliver seem stupid to the Laputans? a. He does not speak their language b. He is ignorant of music and mathematics c. He is unwilling to use a flapper d. He does not understand how the floating island works

15.

Why does Gulliver summon the shades of René Descartes and Pierre Gassendi to talk to Aristotle? a. Descartes and Gassendi were supporters of Aristotle’s theories b. Descartes, Gassendi, and Aristotle were all political satirists c. Descartes and Gassendi were philosophers who revised many of Aristotle’s theories d. Descartes and Gassendi were friends of Swift

16.

Why is Gulliver exiled from the land of the Houyhnhnms? a. He urinates on the queen’s palace b. He steals from his Houyhnhnm master c. The Houyhnhnms decide that it is not right for a Yahoo to live among them d. The Houyhnhnms decide to exterminate the Yahoos

17.

Why is Lord Munodi looked down upon by the government in Lagado?

a. He uses traditional methods of agriculture and architectur b. He is ignorant of music and mathematics c. He breaks his eggs on the little end d. He once tried to lead a coup against the current government 18.

Who are Gulliver’s closest friends after he returns from his time with the Houyhnhnms?

His wife and children

19.

a. Lord Munodi

b. Two horses

c. Don Pedro de

d. Mendez

How does the king of Luggnagg dispose of his enemies in the court? a. By slipping poison into the wine they drink to his health b. By poisoning the floor they are required to lick as they approach him c. By poisoning their clothes d. By exiling them from the island

20.

On which island is Gulliver given the opportunity to summon the shades of the dead? a. Luggnagg

b. Glubbdubdrib

c. Laputa 21.

What is different about the Struldbrugs of Luggnagg? a. They are immortal

c. They have no capacity for memory consume food 22.

d. Lagado b. They are blind d. They have no need to

Which of the following kinds of specialized language does Swift not ridicule? a. Legal c. Culinary

b. Naval d. Scientific

23.

24.

Which of the human societies that he visits does Gulliver find most appealing? a. Lagado

b. Brobdingnag

c. England

d. Blefuscu

Which of the following adjectives best describe Gulliver’s personality in the first three voyages? a. Direct and perspicacious c. Gullible and honest

25.

b. Cynical and bitter d. Kind and condescending

Which of the following places does Gulliver visit last? a. Brobdingnag c. Houyhnhnmland

b. Lilliput d. Laputa

Exercise 8 Direction: Write the moral of the poem. (10 points) A Poison Tree From Songs of Experience I was angry with my friend: I told my wrath, my wrath did end. I was angry with my foe: I told it not, my wrath did grow. And I watered it in fears Night and morning with my tears, And I sunned it with smiles And with soft deceitful wiles. And it grew both day and night, Till it bore an apple bright, And my foe beheld it shine, And he knew that it was mine, And into my garden stole When the night had veiled the pole; In the morning, glad, I see My foe outstretched beneath the tree. ต้นไม้พิษ

ฉันอัดอั้นขึ้งโกรธเพราะโทษเพื่อน ฉันรี บเตือนเพื่อนรักโกรธจักหาย ฉันแค้นเคืองศัตรู ไม่รู้คลาย กลับเก็บไว้เพื่อโทสะจะเติบโต ฉันรดน้ าความอาฆาตอย่างหวาดหวัน่ ด้วยน้ าตาที่หมายมัน่ กลั้นโมโห ให้แดดมันด้วยหน้างามยามยิม้ โชว์ พร้อมเล่ห์เหลี่ยมหลอกคนโง่ให้งมงาย มันเติบโตทุกคืนวันเจ้าความโกรธ จนช่วงโชติออกผลปลัง่ สุ กใส ศัตรู ฉนั เห็นมันเข้าทันใด เขารู้ได้เจ้าของมันคือฉันเอง จึงปี นป่ ายหมายขโมยมันจากต้น ใต้เงามือเขาสอยหล่นอย่างรี บเร่ ง เช้าตื่นนอนฉันแสนสุ ขลุกร้องเพลง ผลสุ กเปล่งฆ่าศัตรู ร้ายใต้ไม้งาม The moral of the poem……………………………………………………………………………… ……….. ………………………………………………………………………………… …………………………. Exercise 9 Direction: Write the most favorite English poem with the reason . (10 points)

Exercise 10 Direction: Write the most favorite American poem with the reason . (10 points) Exercise 11 Direction: Write similes. 1. A friend is like ____________. or Friendship is like ____________. 2. A friend is as ___________ as _____________. 3. When I am tired, I am as ________________. 4. When I am sad, I am like ________________. 5. The dog was as fast as __________________. Direction: Write metaphors. 1. A friend is _____________. 2. Friendship is_______________. 3. Feeling tired is _____________. 4. He was a ____________ through all their trouble. Direction: Identify the Words and Meaning of Metaphors and Similes. On your own paper, find the simile or metaphor and write it down. Next, write the words being compared on your notebook paper. Finally, write the meaning of the simile or metaphor based on the context of the sentence. 1. The baby was like an octopus, grabbing at all the cans on the grocery store shelves. 2. As the teacher entered the room she muttered under her breath, “This class is like a three-ring circus!” 3. The giant’s steps were thunder as he ran toward Jack. 4. The pillow was a cloud when I put my head upon it after a long day. 5. I feel like a limp dishrag. 6. Those girls are like two peas in a pod. 7. The fluorescent light was the sun during the test. 8. No one invites Harold to parties because he’s a wet blanket. 9. The bar of soap was a slippery eel during the dog’s bath. 10.Ted was as nervous as a cat with a long tail in a room full of rocking chairs.

Key Answers 1. baby – octopus 2. class – three-ring circus 3. steps – thunder 4. pillow – cloud 5. I – limp dishrag 6. girls – peas in a pod 7. light – sun 8. he (Harold) – wet blanket 9. bar of soap – slippery eel 10. Ted – cat

Exercise 12 Direction: Write the sentences that are overstatement and translate in Thai. A Red, Red Rose by Robert Burns O MY Luve 's like a red, red rose That 's newly sprung in June: O my Luve 's like the melodie That's sweetly play'd in tune As fair art thou, my bonnie lass, So deep in luve am I: And I will luve thee still, my dear, Till a' the seas gang dry: Till a' the seas gang dry, my dear, And the rocks melt wi' the sun; I will luve thee still, my dear, While the sands o' life shall run. And fare thee weel, my only Luve, And fare thee weel a while! And I will come again, my Luve, Tho' it were ten thousand mile. Exercise 13 Direction: Write the sentences that are understatement and translate in Thai. Fire and Ice by Robert Frost Some say the world will end in fire, Some say in ice.

From what I've tasted of desire I hold with those who favor fire. But if it had to perish twice, I think I know enough of hate To say that for destruction ice Is also great And would suffice. ………………… Exercise 14 Direction: Summary in Thai. Stopping by Woods on a Snowy Evening by Robert Frost Whose woods these are I think I know. His house is in the village though; He will not see me stopping here To watch his woods fill up with snow. My little horse must think it queer To stop without a farmhouse near Between the woods and frozen lake The darkest evening of the year. He gives his harness bells a shake To ask if there is some mistake. The only other sound's the sweep Of the easy wind and downy flake. The woods are lovely, dark, and deep,

But I have promises to keep, And miles to go before I sleep, And miles to go before I sleep. ความหมายรวบยอด …………………………………………………………………………………………… ……………. รายละเอียดทีส่ าคัญ …………………………………………………………………………………………… ……………. เจตนาของผู้เขียน …………………………………………………………………………………………… ……………

Edgar Allan Poe

A Dream In visions of the dark night I have dreamed of joy departedBut a waking dream of life and light Hath left me broken-hearted. Ah! what is not a dream by day To him whose eyes are cast On things around him with a ray Turned back upon the past?

That holy dream- that holy dream, While all the world were chiding, Hath cheered me as a lovely beam A lonely spirit guiding. What though that light, thro' storm and night, So trembled from afarWhat could there be more purely bright In Truth's day-star?

ความหมายรวบยอด …………………………………………………………………………………………… ……………. รายละเอียดทีส่ าคัญ …………………………………………………………………………………………… ……………. เจตนาของผู้เขียน …………………………………………………………………………………………… ……………

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF