4 Real

February 15, 2017 | Author: phasu | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download 4 Real...

Description

DGDGDGDGDG

อริยสัจทีปนี DGDGDGDGDG

วาดวยหลักความจริงแหงพระอริยะ

พสุ การคา (เรียบเรียง)

2

คํานํา อันอริยสัจทีปนีเลมนี้ มีจุดมุงหมายในการที่จะกอใหเกิดความกระจางแจงและเขาใจตอ ความหมายแหงความจริงของพระอริยะอันมีอยู 4 ประการ โดยทั่วไปนิยมเรียกกันวาอริยสัจ 4 ประการ ที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงคนพบและประกาศสัง่ สอนแกมวลมนุษยทงั้ หลาย จุดมุงหมายแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจานั้นคือการชี้ทางแหงความหลุดพนจากวัฏฏะแหง ความทุกข ของการเวียนวายตายเกิดไปตามอํานาจของกิเลสและกรรมของมวลมนุษยทงั้ หลาย นั้นเอง โดยไดทรงชี้ใหเห็นความจริงประการแรกทีว่ า ความเกิด (ชาติ) ความแก (ชรา) ความ ตาย (มรณะ) ความโศกเศรา (โสกะ) ความร่ําไรรําพัน (ปริเทวะ) ความทุกขกาย (ทุกข) ความ ทุกขใจ (โทมนัส) ความคับแคนใจ (อุปายาส) ความประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก (อัปปเยหิ สัมปโยค) ความพลัดพรากจากสิง่ อันเปนที่รัก (ปเยหิวปิ ปโยค) และความตองการสิ่งใดไมไดสิ่ง นั้น (ยัมปจฉังนลภติตัมป) ของผูคนทัง้ หลายทีเ่ กิดมาบนโลกนี้นนั้ แทที่จริงแลวมันเปนทุกข (ทุกข) ทรงชีใ้ หเห็นความจริงประการตอมาวา เหตุใดเราจึงเกิดขึ้นมาเพื่อจํายอมรับ ความแก ความตาย ความโศกเศรา ความร่าํ ไรรําพัน ความทุกขกาย ความทุกขใจ ความคับแคนใจ ความประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รกั และความตองการสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น ซึ่งจะเปนสิ่งทีต่ ามมาโดยไมมีใครสามารถที่จะหลีกเลีย่ งได ซึ่งก็เปนเพราะกิเลสและ กรรมของตนเปนเหตุนั่นเอง (ทุกขสมุทัย) ทรงชี้ใหเห็นความจริงประการที่สามวา ความดับทุกขที่ กลาวมานั้นเปนเชนไร (ทุกขนิโรธ) และทรงชี้ใหเห็นความจริงประการสุดทายวาหนทางสูความดับ ทุกข (ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา) คือทางใด กลาวคือมรรคประกอบดวยองคธรรม 8 ประการซึ่งเรา เรียกกันวามรรคมีองค 8 โดยองคธรรมทัง้ 8 ประการนัน้ สามารถสรุปรวมลงเปนหลักปฏิบัติได 3 ขอ ที่เราเรียกกันวาไตรสิกขาไดแก ศีล สมาธิ และปญญา ดวยประโยชนแหงอริยสัจ 4 ประการเปนแรงจูงใจของขาพเจา ขาพเจาจึงศึกษาอริยสัจ 4 ประการที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงคนพบ โดยพยายามเก็บรายละเอียดและสรุป ใจความสําคัญจากตําราสําคัญๆทางพระพุทธศาสนา มารวบรวมไวเปนหนังสือใหอยูภายในเลม เดียวใหจงได เพื่อความไมฟนเฝอซึง่ เปนเหตุแหงความทอในการศึกษา เพื่อใหเกิดความสะดวก ในการพกพาไปกับตนได เพื่อยังความไมประมาทใหถงึ ที่สุดของขาพเจา และเพื่อนมนุษยผู ปรารถนาความพนทุกขเชนเดียวกันทัง้ มวล พสุ การคา (กันยายน 2546)

3

สารบัญ หนา คํานํา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . สารบัญ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . บทที่ 1 ทุกข . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

10

• ทุกขโดยนัยทีห่ นึง่ 12 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

10

• ทุกขโดยนัยทีส่ อง 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

12

บทที่ 2 ทุกขสมุทัย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

16

• ตัณหา 3 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

16

• อกุศลกรรมบถ 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

17

• นิวรณ 5 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

20

• สังโยชน 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

21

• อาสวะ 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

24

• โอฆะ 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

25

• โยคะ 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

27

• คันถะ 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

28

• อุปาทาน 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

29

• อนุสัย 7 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

30

• กิเลส 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

31

บทที่ 3 ทุกขนิโรธ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

36

• พระอรหันต 6 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

36

• พระอนาคามี 5 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

38

• พระสกทาคามี 5 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

39

• พระโสดาบัน 3 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

41

• อรูปพรหม 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

41

2 3

4 • รูปพรหม 16 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

45

• เทวดา 6 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

51

• มนุษย 5 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

60

• สัตวเดรัจฉาน 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

62

• อสุรกาย 3 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

63

• เปรต 21 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

65

• สัตวนรก 23 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

75

บทที่ 4 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หมวดที่ 1 ปริยัติธรรมพื้นฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

93

• จิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

95

• วิถีจิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

120

• เจตสิก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

142

• รูป . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

158

หมวดที่ 2 ศีล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

194

• ปาฏิโมกขสังวรศีล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

195

• อินทรียสังวรศีล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

205

• อาชีวปาริสุทธิศีล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

207

• ปจจัยสันนิสิตศีล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

212

หมวดที่ 3 สมาธิ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

215

• ปลิโพธ 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

216

• สัปปายะ 7 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

217

• จริต 6 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

223

• สมาธิ 3 ระดับ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

230

• นิมิต 3 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

231

• ฌาน 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

231

94

5 • วสี 5 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

234

สมถกรรมฐาน 40 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

236

• ตารางสําหรับเลือกสมถกรรมฐาน 40 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

237

กสิณ 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

238

• ปฐวีกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

238

• อาโปกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

255

• เตโชกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

256

• วาโยกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

258

• นีลกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

260

• ปตกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

261

• โลหิตกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

263

• โอทาตกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

264

• อาโลกกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

265

• ปริจฉินนากาสกสิณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

267

อสุภ 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

269

• อุทธุมาตกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

269

• วินีลกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

272

• วิปุพพกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

273

• วิจฉิททกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

275

• วิกขายิตกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

276

• วิกขิตตกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

277

• หตวิกขิตตกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

278

• โลหิตกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

280

• ปุฬุวกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

281

• อัฏฐิกกรรมฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

282

6 อนุสติ 10 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

283

• พุทธานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

284

• ธัมมานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

288

• สังฆานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

290

• สีลานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

292

• จาคานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

294

• เทวตานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

295

• มรณานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

296

• กายคตาสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

299

• อานาปานสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

325

• อุปสมานุสติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

332

อัปปมัญญา 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

334

• เมตตา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

334

• กรุณา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

341

• มุทิตา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

345

• อุเบกขา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

349

อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . จตุธาตุววัฏฐาน 1 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . อรูป 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

352

• อากาสานัญจายตนะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

364

• วิญญาณัญจายตนะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

365

• อากิญจัญญายตนะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

366

• เนวสัญญานาสัญญายตนะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

367

หมวดที่ 4 ปญญา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

368

358 364

7 สติปฏฐาน 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

369

• อุทเทสวารกถา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

369

• กายานุปสสนาสติปฏฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - อานาปานบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - อิริยาบถบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - สัมปชัญญบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - ปฏิกูลมนสิการบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - ธาตุมนสิการบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - นวสีวถิกาบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

370

• เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

370 371 372 372 373 374 374

• จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

375

• ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - นีวรณบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - ขันธบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - อายตนบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - โพชฌงคบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . - สัจจบรรพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

376

• อานิสงสแหงสติปฏฐาน 4 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

376 378 379 380 382 384

วิปสสนาญาณ 16 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

385

• นามรูปปริจเฉทญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

385

• นามรูปปจจัยปริคคหญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

388

• สัมมสนญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

392

• อุทยัพพยญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

400

• ภังคญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

406

• ภยญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

407

• อาทีนวญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

408

8 • นิพพิทาญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

409

• มุญจิตุกัมยตาญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

410

• ปฏิสังขาญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

411

• สังขารุเปกขาญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

414

• อนุโลมญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

419

• โคตรภูญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

420

• มรรคญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

422

• ผลญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

424

• ปจจเวกขณญาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

424

• อุปมาในวิปสสนาญาณ 16 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

425

นิพพานกถา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ภาคผนวก กายวิภาคของมนุษย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . บรรณานุกรม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

429

™™™™

435 437

9

DGDGD

ทุกข

DGDGD

10

บทที่ 1 ทุกข ทุกข คือ สภาพทีท่ นอยูไดยาก สภาพที่คงทนอยูไมได เพราะถูกบีบคั้นดวยความ เกิดขึ้นและความดับสลาย เนื่องจากตองเปนไปตามเหตุปจจัยที่ไมขนึ้ ตอตัวเอง แบงเปน 2 นัย • ทุกขโดยนัยทีห่ นึง่ 12 ประการ • ทุกขโดยนัยทีส่ อง 10 ประการ

ทุกขโดยนัยที่หนึ่ง 12 ทุกขโดยนัยทีห่ นึง่ มี 12 ประการ ไดแก ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาส อัปปเยหิสัมปโยค ปเยหิวิปปโยค ยัมปจฉังนลภติตัมป และอุปาทานขันธ 5

1 . ชาติ ชาติ คือ ความเกิด การกาวลง การบังเกิด ความปรากฏแหงขันธทั้งหลาย การ กลับมาไดอายตนะทั้งหลาย อุปมาเหมือนวัตถุสงิ่ หนึง่ ที่อยูในที่ลับ เวลาปรากฏขึ้นมา อาการ ของวัตถุนนั้ เปนเพียงลักษณะที่ปรากฏ แตไมใชตัววัตถุ

2 . ชรา ชรา คือ ความแก เชน ฟนหัก ผมหงอก หนังหอเหี่ยว ความเสื่อมแหงอายุ ความ เสื่อมแหงอินทรีย อุปมาเหมือนน้าํ ลมและไฟ ไมปรากฏทางไป จะปรากฏไดก็เพราะอาศัยหญา และตนไม ซึง่ โคนลมและมีรองรอยวาถูกไฟไหม

3 . มรณะ มรณะ คือ ความตาย จุติ ความเคลือ่ น การแตกทําลาย ความหายไป ความแตก ไปของขันธทงั้ หลาย การทอดทิ้งรางกาย การขาดไปแหงชีวิตินทรีย อุปมาเหมือนกับตนไมทยี่ ืน ตนตายแหง หรือตนไมตายแหงที่มีลําตนอันทอดลงดิน ดูไรสาระและไมมีประโยชนอันใด

4 . โสกะ โสกะ คือ ความโศกเศรา กิริยาโศกเศรา สภาพโศกเศรา ความแหงผากภายใน ความแหงกรอบภายใน ความเกรียมใจ ความโทมนัส ของผูท ี่ถูกกระทบดวยความเสื่อมญาติ

11 ความเสื่อมโภคทรัพย ความเสื่อมเกี่ยวดวยโรค ความเสื่อมศีล หรือความเสื่อมทิฏฐิ ของผู ประกอบดวยความเสื่อมอยางใดอยางหนึง่ ของผูท ี่ถูกกระทบดวยเหตุแหงทุกขอยางใดอยางหนึง่

5 . ปริเทวะ ปริเทวะ คือ ความรองไห ความคร่ําครวญ กิริยารองไห กิรยิ าคร่าํ ครวญ สภาพ รองไห สภาพคร่ําครวญ ความบนถึง ความพร่ําเพอ ความร่าํ ไห ความพิไรร่ํา กิริยาพิไรร่ํา สภาพพิไรร่ํา ของผูทถี่ ูกกระทบดวยความเสื่อมญาติ ความเสื่อมโภคทรัพย ความเสื่อมเกี่ยว ดวยโรค ความเสื่อมศีล หรือความเสื่อมทิฏฐิ ของผูประกอบดวยความเสื่อมอยางใดอยางหนึง่ ของผูที่ถกู กระทบดวยเหตุแหงทุกขอยางใดอยางหนึง่

6 . ทุกข ทุกข คือ ความไมสบายกาย ความทุกขกาย ความเสวยอารมณทไี่ มสบายเปนทุกข อันเกิดแตกายสัมผัส กิริยาเสวยอารมณที่ไมสบายเปนทุกข อันเกิดแตกายสัมผัส

7 . โทมนัส โทมนัส คือ ความไมสบายใจ ความทุกขใจ ความเสวยอารมณทไี่ มสบายเปนทุกข อันเกิดแตเจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณที่ไมสบายเปนทุกข อันเกิดแตเจโตสัมผัส

8 . อุปายาส อุปายาส คือ ความคับแคนใจ ความขุน แคนใจ สภาพคับแคนใจ สภาพขุนแคนใจ ของผูที่ถกู กระทบดวยความเสื่อมญาติ ความเสื่อมโภคทรัพย ความเสื่อมเกี่ยวดวยโรค ความ เสื่อมศีล หรือความเสื่อมทิฏฐิ ของผูประกอบดวยความเสื่อมอยางใดอยางหนึง่ ของผูทถี่ ูก กระทบดวยเหตุแหงทุกขอยางใดอยางหนึง่

9 . อัปปเยหิสัมปโยค อัปปเยหิสัมปโยค คือ การประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก คือ การประสบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ ที่ไมนาปรารถนา ไมนาใคร ไมนาพอใจ เชน ความเสือ่ ม ลาภ ความเสื่อมยศ ถูกนินทา ประสบความทุกขกาย ทุกขใจ เปนตน

10 . ปเยหิวิปปโยค ปเยหิวิปปโยค คือ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รกั คือ ความพลัดพรากจาก รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ ที่นา ปรารถนา นาใคร นาพอใจ เชน คนที่เรารัก เคารพตองลมหายตายจาก สัตว สิง่ ของ และสังขารอันเปนที่รัก ตองถึงความวิบตั ิ เปนตน

12 11 . ยัมปจฉังนลภติตัมป ยัมปจฉังนลภติตัมป คือ ความตองการสิ่งใดไมไดสิ่งนั้น ในความปรารถนาทีว่ า 1 . ขอเราจงอยามี ชาติ เลยหนอ 2 . ขอเราจงอยามี ชรา เลยหนอ 3 . ขอเราจงอยามี มรณะ เลยหนอ 4 . ขอเราจงอยามี โสกะ เลยหนอ 5 . ขอเราจงอยามี ปริเทวะ เลยหนอ 6 . ขอเราจงอยามี ทุกข เลยหนอ 7 . ขอเราจงอยามี โทมนัส เลยหนอ 8 . ขอเราจงอยามี อุปายาส เลยหนอ

12 . อุปาทานขันธ 5 อุปาทานขันธ 5 คือ ความยึดมั่นถือมั่นในรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ อันเปนบอเกิดแหงทุกขทงั้ หลาย ดังที่ไดกลาวมาแลว 11 ประการในขางตน

ทุกขโดยนัยที่สอง 10 ทุกขโดยนัยทีส่ องมี 10 ประการ ไดแก นิพทั ธทุกข พยาธิทกุ ข อาหารปริเยฏฐิทุกข สภาวทุกข วิวาทมูลกทุกข สหคตทุกข วิปากทุกข ปกิณณกทุกข สันตาปทุกข และทุกขขันธ

1 . นิพัทธทุกข นิพทั ธทุกข คือ ทุกขเนืองนิตยหรือทุกขตลอดเวลา ไดแก ความไมสบายกายที่เกิดจาก อากาศหนาว อากาศรอน ความหิว ความกระหาย อาการปวดอุจจาระ อาการปวดปสสาวะ ซึ่งเปนทุกขทางกาย อันเปนสมบัติของทุกชีวิตทีเ่ กิดมาบนโลกนี้

2 . พยาธิทุกข พยาธิทกุ ข คือ ทุกขอันเกิดจากโรคภัยไขเจ็บที่รุมเราเบียดเบียน กอใหเกิดความไม สบายกายนานับประการ ดวยเหตุแหงความผิดปรกติของรางกาย ประการใดประการหนึง่

3 . อาหารปริเยฏฐิทุกข อาหารปริเยฏฐิทุกข คือ ทุกขอันเกิดจากการที่มีหนาที่ตองแสวงหาอาหารมาเลีย้ งชีพ จนกวาจะตายไปจึงจะหมดหนาที่ ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู ก็ตองดิน้ รนเพื่อใหไดอาหารมาบํารุง

13 4 . สภาวทุกข สภาวทุกข คือ ทุกขอันเกิดจาก ชาติ ชรา และมรณะ เปนทุกขที่เปนสมบัติของผู เกิดอีกประการ อันไมมีตัวตนบุคคลใดสามารถหลีกเลีย่ งไปได

5 . วิวาทมูลกทุกข วิวาทมูลกทุกข คือ ทุกขอันเกิดจากการทะเลาะวิวาทหรือขัดแยงกับผูอื่น เนื่องดวยการ ใชชีวิต การกินอยูห ลับนอน การทําการทํางานในชีวิตประจําวัน ซึง่ หลีกเลี่ยงไมไดที่จะตอง เชื่อมตอปฏิสัมพันธกับบุคคลใดบุคคลหนึง่ เปนที่แนนอน ดวยความที่วัตถุอนั จะหามาสนองตอบ ตอความตองการของมนุษยนนั้ เปนสิ่งที่มีความจํากัด และดวยความที่เปนปุถชุ นผูยงั มีกิเลสอยู จึงอาจมีการกระทบกระทั่งซึง่ กันและกันบางในบางครั้ง

6 . สหคตทุกข สหคตทุกข คือ ทุกขอันเกิดจากความมีอัตตาใน ลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุขที่ ตนมีอยู ตองคอยดูแลทรัพยสินของตนมิใหสูญหายหรือถูกขโมย มีตัวกูของกูในยศฐาบรรดาศักดิ์ กระหยิม่ ยิ้มยองยินดีในคําสรรเสริญเยินยอของผูอื่น สําคัญตนเปนนัน่ เปนนี่จนจมไมลง และตัก ตวงมอมเมาในวัตถุกามตางๆนานา โดยคิดเอาวาเปนกําไรชีวิตที่ตอ งรีบเรงสวาปามใหมากที่สดุ เทาที่จะมากได กอนที่ตนจะตายจากโลกนี้ไป

7 . วิปากทุกข วิปากทุกข คือ ทุกขอันเกิดจากอกุศลกรรมที่ตนไดเคยกอเอาไว ไมวาในชาตินหี้ รือชาติ ปางกอนก็ตาม กลับมาสงผลใหตองรับทุกขรับกรรม ในสิ่งที่ตนไดเคยกระทําลงไป

8 . ปกิณณกทุกข ปกิณณกทุกข มี 3 ประการ ไดแก 1 . ทุกขอันเกิดจากการประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก คือ การประสบกับ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ ที่ไมนา ปรารถนา ไมนา ใคร ไมนาพอใจ เชน ความเสื่อมลาภ ความเสื่อมยศ ถูกนินทา ประสบความทุกขกาย ทุกขใจ 2 . ทุกขอันเกิดจากความพลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รัก คือ ความพลัดพรากจากรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ ที่นา ปรารถนา นาใคร นาพอใจ เชน คนที่เรารัก เคารพตองลมหายตายจาก สัตว สิง่ ของ และสังขารอันเปนที่รักตองถึงความวิบัติ 3 . ทุกขอันเกิดจากความตองการสิง่ ใดไมไดสิ่งนั้น ในความปรารถนาที่วา

14 1 . ขอเราจงอยามี 2 . ขอเราจงอยามี 3 . ขอเราจงอยามี 4 . ขอเราจงอยามี 5 . ขอเราจงอยามี 6 . ขอเราจงอยามี 7 . ขอเราจงอยามี 8 . ขอเราจงอยามี

ชาติ เลยหนอ ชรา เลยหนอ มรณะ เลยหนอ โสกะ เลยหนอ ปริเทวะ เลยหนอ ทุกข เลยหนอ โทมนัส เลยหนอ อุปายาส เลยหนอ

9 . สันตาปทุกข สันตาปทุกข คือ ทุกขอันเกิดจากการถูกกิเลสเผาลน เชน ความโลภ ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความปรารถนา และความใคร จนรอนรุมในใจไปหมด ไมสามารถที่จะละ วางลงได ตราบใดที่ยงั ไมไดสนองตอบตอความตองการของตน

10 . ทุกขขันธ ทุกขขันธ คือ ทุกขจากการยึดมั่นถือมัน่ ในขันธทั้ง 5 ไดแก รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งเรียกการยึดมัน่ ถือมั่นนี้วา " อุปาทานขันธ 5 " นัน่ เอง

™™™™

15

DGDGDGDGD

ทุกขสมุทัย

DGDGDGDGD

16

บทที่ 2 ทุกขสมุทัย ทุกขสมุทัย คือ เหตุใหเกิดทุกข เกิดสภาพที่ทนอยูไดยาก มี 11 ประการ • ตัณหา 3 • อกุศลกรรมบถ 10 • นิวรณ 5 • สังโยชน 10 • อาสวะ 4 • โอฆะ 4 • โยคะ 4 • คันถะ 4 • อุปาทาน 4 • อนุสัย 7 • กิเลส 10

ตัณหา 3 ตัณหา คือ ความทะยานอยาก ความดิ้นรน ความปรารถนา ความเสนหาอาลัย มี 3 ประการ ไดแก กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา

1 . กามตัณหา กามตัณหา คือ ความทะยานอยากในกามคุณ 5 ไดแก รูป เสียง กลิน่ รส และ สัมผัส เปนรูปที่นา ปรารถนา เสียงทีน่ า ปรารถนา กลิ่นที่นา ปรารถนา รสทีน่ าปรารถนา และ สัมผัสที่นา ปรารถนา

2 . ภวตัณหา ภวตัณหา คือ ความปรารถนาใหกามคุณ 5 ทีน่ าใครนาพอใจนัน้ เทีย่ ง คือ ปรารถนา ใหรูปที่นา ใครนาพอใจเทีย่ ง ปรารถนาใหเสียงที่นา ใครนาพอใจเทีย่ ง ปรารถนาใหกลิ่นที่นา ใคร

17 นาพอใจเทีย่ ง ปรารถนาใหรสที่นาใครนา พอใจเทีย่ ง และปรารถนาใหสัมผัสทีน่ า ใครนาพอใจ เที่ยง

3 . วิภวตัณหา วิภวตัณหา คือ ความปรารถนาใหกามคุณ 5 ที่ไมนาใครไมนาพอใจนั้นไมเที่ยง คือ ปรารถนาใหรปู ที่ไมนา ใครไมนาพอใจไมเที่ยง ปรารถนาใหเสียงที่ไมนาใครไมนา พอใจไมเทีย่ ง ปรารถนาใหกลิ่นที่ไมนาใครไมนาพอใจไมเที่ยง ปรารถนาใหรสที่ไมนา ใครไมนาพอใจไมเที่ยง และปรารถนาใหสัมผัสที่ไมนาใครไมนา พอใจไมเที่ยง

อกุศลกรรมบถ 10 อกุศลกรรมบถ คือ ทางแหงกรรมชั่ว อันเปนทางนําไปสูทุคติ มี 10 ประการ แบงเปน ทางกาย 3 ประการ ไดแก ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมจิ ฉาจาร ทางวาจา 4 ประการ ไดแก มุสาวาท ปสุณาวาท ผรุสวาท และสัมผัปปลาปะ ทางใจ 3 ประการ ไดแก อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ

1 . ปาณาติบาต ปาณาติบาต คือ การฆาสัตวตัดชีวิต เบียดเบียนทางกายใหไดรับทุกข ประกอบดวย คุณสมบัติดังตอไปนี้ สัตวนั้นยังมีชีวิตอยูจริงๆ เราก็รูวาสัตวนั้นมีชวี ิตอยู มีจิตหรือเจตนาทีจ่ ะ ฆาสัตวนั้นใหตาย ทําความเพียรเพื่อจะฆาสัตวนั้น สัตวนนั้ ก็ตายเพราะความเพียรนั้น ผลของ ปาณาติบาตในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตว เดรัจฉาน ผลของปาณาติบาตในปวัตติกาล ไดแก ทุพพลภาพ รูปไมงาม กําลังกายออนแอ กําลังกายเฉื่อยชา กําลังปญญาไมวองไว เปนคนขลาดหวาดกลัว ฆาตนเองหรือถูกผูอื่นฆา โรคภัยเบียดเบียน เกิดความพินาศของบริวาร และอายุสั้น

2 . อทินนาทาน อทินนาทาน คือ การลักขโมย การจี้ การปลน ประกอบดวยคุณสมบัติดังตอไปนี้ ทรัพยนนั้ เปนทรัพยของผูอนื่ ผูกระทําการลักทรัพยก็รโู ดยชัดแจงวาทรัพยนนั้ เปนทรัพยของผูอนื่ มีจิตหรือมีเจตนาพยายามทีจ่ ะลักทรัพยนนั้ ใหได มีความเพียรพยายามที่จะลักทรัพยนั้น ได ทรัพยมาสําเร็จเพราะความเพียรที่จะลักทรัพยนนั้ ผลของอทินนาทานในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติ ภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของอทินนาทานในปวัตติกาล

18 ไดแก ดอยทรัพย ยากจนคนแคน มีความอดอยาก ไมไดสิ่งที่ตนปรารถนา พินาศในการคา ขาย ทรัพยของตนพินาศเพราะอัคคีภัย อุทกภัย และภัยจากโจรขโมย

3 . กาเมสุมิจฉาจาร กาเมสุมิจฉาจาร คือ การประพฤติผิดในกาม การลวงละเมิดลูกเมียผูอื่น ประกอบดวยคุณสมบัติดังตอไปนี้ ผูน นั้ เปนผูที่ไมสมควรเสพตามกฏหมายหรือตามประเพณี มี จิตคิดที่จะเสพ มีความพากเพียรพยายามที่จะเสพ ทําการเสพ ผลของกาเมสุมิจฉาจารใน ปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของ กาเมสุมิจฉาจารในปวัตติกาล ไดแก มีผเู กลียดชังมาก มีผูปองรายมาก ขัดสนในทรัพย ยากจนอดอยาก เปนกะเทย เปนชายในตระกูลต่ํา ไดรับความอับอายเปนอาจิณ รางกายไม สมประกอบ มากไปดวยความวิตกหวงใย และพลัดพรากจากผูที่ตนรัก อนึ่ง การดื่มสุราหรือการเสพของมึนเมา ก็จัดอยูในอกุศลกรรมประเภทกาเมสุมิจฉาจาร ดวย องคประกอบของการดื่มสุรา ไดแก สิ่งนั้นเปนของมึนเมา มีเจตนาเพื่อทีจ่ ะดื่มหรือเสพ หรือกิน กระทําการดื่มการเสพการกิน สุรานั้นลวงลําคอลงไปแลว ผลของการดืม่ สุราหรือการ เสพของมึนเมาในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตว เดรัจฉาน ผลของการดื่มสุราหรือการเสพของมึนเมาในปวัตติกาล ไดแก ทรัพยถูกทําลาย เกิด วิวาทบาดหมาง เปนบอเกิดของโรค เสือ่ มเกียรติ หมดยางอาย และปญญาเสือ่ มถอย

4 . มุสาวาท มุสาวาท คือ การพูดเท็จ การพูดโกหก การพูดปด การพูดหลอกลวง ประกอบดวย คุณสมบัติดังตอไปนี้ เรื่องที่พูดนั้นเปนเรือ่ งที่ไมจริง มีจิตหรือเจตนาที่คิดจะพูดโกหก ประกอบดวยความเพียรทีโ่ กหกใหคนเชื่อ ผูท ี่ไดฟงหรืออานลายลักษณอักษรแลวก็มีความเชื่อ ตามนัน้ ผลของมุสาวาทในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของมุสาวาทในปวัตติกาล ไดแก พูดไมชัด ฟนไมมีระเบียบ ปากเหม็น มาก ไอตัวรอนจัด ตาไมอยูในระดับปกติ พูดดวยปลายลิน้ หรือปลายปาก ทาทางไมสงาผา เผย และจิตไมเที่ยงคลายคนวิกลจริต

5 . ปสุณาวาท ปสุณาวาท คือ การพูดสอเสียด พูดใหเขาแตกราวกัน ประกอบดวยคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ มีคนหมูม ากหรือนอยที่ตองการใหเขามีความแตกแยกซึ่งกันและกันเกิดขึ้น มีความ ปรารถนาหรือเจตนาตองการใหคนหมูน นั้ แตกแยกกัน เพียรพยายามที่จะใหเขาแตกแยกกัน ผล

19 ของปสุณาวาทในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตว เดรัจฉาน ผลของปสุณาวาทในปวัตติกาล ไดแก มักกลาวตําหนิตนเอง แตกแยกจากมิตร สหาย มักถูกลือโดยปราศจากมูลความจริง และถูกบัณฑิตตําหนิติเตียน

6 . ผรุสวาท ผรุสวาท คือ การพูดหยาบ พูดคําไมรนื่ หู ประกอบดวยคุณสมบัติดังตอไปนี้ มีคนอื่น ที่จะพึงดาวาใหเขามีความเจ็บช้ําน้าํ ใจ เหตุที่จะกลาวใหเขามีความเจ็บช้ําน้าํ ใจนัน้ เพราะเหตุวา มี จิตโกรธเคืองเขา แสดงคําหยาบหรือแสดงอาการหยาบเพื่อใหเขาเจ็บช้ําน้าํ ใจ ผลของผรุสวาทใน ปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของ ผรุสวาทในปวัตติกาล ไดแก พินาศในทรัพย มีกายวาจาหยาบ ไดยินเสียงเกิดความไมพอใจ และตายดวยอาการงงงวย

7 . สัมผัปปลาปะ สัมผัปปลาปะ คือ การพูดเพอเจอ พูดไรสาระไมเปนประโยชน ประกอบดวย คุณสมบัติดังตอไปนี้ มุงกลาวคําที่ไรแกนสารไมมีประโยชน กลาวคําที่ไมมีประโยชนนั้นออกไป ผลของสัมผัปปลาปะในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และ สัตวเดรัจฉาน ผลของสัมผัปปลาปะในปวัตติกาล ไดแก เปนอธัมมวาทบุคคล ไมมีอํานาจ ไม มีผูเลื่อมใสในคําพูด และจิตไมเที่ยงคลายคนวิกลจริต

8 . อภิชฌา อภิชฌา คือ ความเพงเล็งอยากไดของเขา ความคิดจองเอาของผูอ ื่น ประกอบดวย คุณสมบัติดังตอไปนี้ ทรัพยหรือของเหลานัน้ เปนของผูอ ื่น มีความเพงเล็งทีจ่ ะใหไดทรัพยหรือของ เหลานั้นมาเปนของตน ผลของอภิชฌาในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของอภิชฌาในปวัตติกาล ไดแก ปฏิสนธิในตระกูลต่ํา มักได รับคําติเตียน ขัดสนในลาภสักการะ และเสื่อมในทรัพยและคุณงามความดี

9 . พยาบาท พยาบาท คือ ความคิดที่จะทํารายผูอนื่ ความคิดที่จะเบียดเบียนผูอนื่ ประกอบดวย คุณสมบัติดังตอไปนี้ มีสัตวอื่นเพื่อทําลาย มีจิตหรือเจตนาคิดทําลายเพื่อใหสัตวนั้นประสบความ พินาศ ผลของพยาบาทในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย

20 และสัตวเดรัจฉาน ผลของพยาบาทในปวัตติกาล ไดแก มีรูปทราม อายุสนั้ มีโรคภัย เบียดเบียน และตายโดยถูกประทุษราย

10 . มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นผิดทํานองคลองธรรม เชนเห็นวากฎแหงกรรมไมมีจริง ประกอบดวยคุณสมบัติดังตอไปนี้ มีความตั้งมัน่ อยูในอารมณที่ผิด เชื่อและยินดีพอใจในอารมณ ที่ผิดนัน้ ผลของมิจฉาทิฏฐิในปฏิสนธิกาล คือ ทุคติภูมิ 4 ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน ผลของมิจฉาทิฏฐิในปวัตติกาล ไดแก มีปญญาทราม เปนผูมีฐานะไมเทา เทียมผูอนื่ ปฏิสนธิในพวกคนปาปราศจากความเจริญ และหางไกลจากรัศมีแหงพระธรรม

นิวรณ 5 นิวรณ คือ ธรรมที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ ขวางกัน้ จิตไมใหสงบแนวแนลงเปนสมาธิ มี 5 ประการ ไดแก กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจกิ จิ ฉา

1 . กามฉันทะ กามฉันทะ คือ ความชอบความพอใจในการแสวงหา การไดมา การใชสอย การเก็บ สะสม การจําหนายจายแจก ในกามคุณ 5 ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส เพราะ อํานาจแหงตัณหา 3 ไดแก กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา

2 . พยาบาท พยาบาท คือ ความไมพอใจ ความผูกอาฆาตจองเวรกัน ยังบุคคลอื่นใหเดือดรอน เกิดขึ้นดวยเหตุตางๆ ไดแก มีอัธยาศัยทางพยาบาทมาแตกําเนิดเปนเหตุ จากความคิดตื้นๆไม รอบคอบลึกซึ้งเปนเหตุ จากการศึกษาและปฏิบัติธรรมนอยไปเปนเหตุ จากการประสบกับ อารมณที่ไมดไี มนาปรารถนาเปนเหตุ อาฆาตวัตถุ หรือมูลเหตุใหเกิดความพยาบาทมี 10 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําความเสื่อมเสียใหแกเรามาแลว” 2 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําความเสื่อมเสียใหแกเรา” 3 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําความเสื่อมเสียใหแกเรา” 4 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รักทีพ่ อใจของเรามาแลว” 5 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รกั ที่พอใจของเรา”

21 6 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 7 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรามาแลว” 8 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 9 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 10 . ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไมสมควร เชน เดินสะดุดตอไมและเกิดความโกรธขึ้น

3 . ถีนมิทธะ ถีนมิทธะ คือ ความงวงงุน ความเซื่องซึม ความออนใจทอใจ ความงวงหงาวหา วนอน ความไมเอาการเอางาน เปนเครื่องกั้นความเจริญไมใหบรรลุมรรคผล ทําใหหลงๆลืมๆ หางไกลจากพระสัทธรรม

4 . อุทธัจจกุกกุจจะ อุทธัจจกุกกุจจะ คือ ความฟุงซาน ความหงุดหงิดรําคาญ เกิดขึ้นดวยเหตุตา งๆ ไดแก ทุจริตที่ตนทําไวแลว สุจริตอันตนยังมิไดกระทํา และการใสใจโดยอุบายอันมิแยบคาย

5 . วิจิกิจฉา วิจิกิจฉา คือ ความสงสัยลังเลใจ ความตัดสินใจไมได มีลักษณะของการจับอารมณไว หลายอยาง ทําใหการศึกษาและการปฏิบัติไมกาวหนา ทําใหขาดจากศีล สมาธิ และปญญา อุปมาเหมือนเสือโครงใหญ คอยดักกินนักเดินทางที่เดินทางผานทาง 2 แพรง พอนักเดินทางคน ใดสงสัยลังเลใจวาจะไปทางไหนดี เสือโครงก็คาบไปกินเสียกอน ตัวอยางของวิจิกจิ ฉา เชน สงสัยในพระพุทธเจา สงสัยในพระธรรม สงสัยในพระสงฆ สงสัยในสิกขาบท สงสัยในขันธที่ เปนอดีต สงสัยในขันธที่เปนอนาคต และสงสัยในปฏิจจสมุปบาท

สังโยชน 10 สังโยชน คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว ธรรมที่มัดสัตวไวกับภพกับชาติมี 10 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา

1 . สักกายทิฏฐิ สักกายทิฏฐิ คือ ความเขาใจผิดในขันธ 5 คือเห็นวาขันธนั้นเปนสัตว เปนบุคคล ตัวตน เราเขา เชน ในการยืนเขาใจวาเรายืน ในการเดินเขาใจวาเราเดิน ในการนั่งเขาใจวาเรานัง่ ใน

22 การนอนเขาใจวาเรานอน ซึ่งแทที่จริงเราไมไดยืน เราไมไดเดิน เราไมไดนั่ง และเราไมไดนอน หากแตเปนการประกอบกันขึ้นแหงรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ตางหากที่เปน ตัวกระทํา

2 . วิจิกิจฉา วิจิกิจฉา คือ ความสงสัยลังเลใจ ความตัดสินใจไมได มีลักษณะของการจับอารมณไว หลายอยาง ทําใหการศึกษาและการปฏิบัติไมกาวหนา ทําใหขาดจากศีล สมาธิ และปญญา อุปมาเหมือนเสือโครงใหญ คอยดักกินนักเดินทางที่เดินทางผานทาง 2 แพรง พอนักเดินทางคน ใดสงสัยลังเลใจวาจะไปทางไหนดี เสือโครงก็คาบไปกินเสียกอน ตัวอยางของวิจิกจิ ฉา เชน สงสัยในพระพุทธเจา สงสัยในพระธรรม สงสัยในพระสงฆ สงสัยในสิกขาบท สงสัยในขันธที่ เปนอดีต สงสัยในขันธที่เปนอนาคต และสงสัยในปฏิจจสมุปบาท

3 . สีลัพพตปรามาส สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือศักดิส์ ิทธิ์ ดวยเขาใจวา จะมีไดดวยศีลหรือพรต อยางนัน้ อยางนี้ หมายความวา เปนการปฏิบัติที่ผิดไปจากความจริง ผิดไปจากทางที่ถูก หรือ การถือผิดนัน่ เอง เชนการยึดถือวา ศีลทีป่ ฏิบัติอยางนี้ วัตรที่ปฏิบัติอยางนี้ จะพาใหเราพนทุกข ไดเปนแนๆ หรือความเขาใจผิดที่วา การแสดงความเคารพนับถือดวยการกราบไหววิงวอน เชน บวงสรวงเทพยดา เจาปา เจาเขา ภูตผีปศาจตางๆ ดวยความหวังวา เมื่อตนละจากโลกนี้ไป แลวจะมีความสุข หรือความเขาใจผิดทีว่ า การบําเพ็ญอัตตกิลมถานุโยค โดยการนอนบนหนาม ใชเข็มแทงตน ยืนขาเดียว เปนทางนําไปสูความสุขอันเปนนิรนั ดร หรือความเขาใจผิดที่วา การ บําเพ็ญกามสุขัลลิกานุโยค โดยการบําเรอตนดวยกามสุขตางๆนานา เปนทางนําไปสูความสุขอัน เปนนิรนั ดร ความเขาใจผิดเหลานี้ ลวนเปนสีลพั พตปรามาสทั้งสิน้

4 . กามราคะ กามราคะ คือ ความชอบความพอใจในกามคุณ 5 ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และ สัมผัส ที่เขามากระทบ เรียกอีกอยางวา " โลภะ " แบงเปน 3 ประการ ประการแรกไดแกกาม ราคะทีน่ ําไปสูอ บายภูมิ เนือ่ งจากกามคุณที่มายั่วยวนนั้น นําไปสูการลวงอกุศลกรรมบถ เชน การลวงกาเมสุมิจฉาจาร ประการตอมาไดแกกามราคะอยางหยาบ คือเมื่อกามคุณมายั่วยวน จะเกิดความพอใจอยูภายในใจเพียงเล็กนอย ไมอาจผลักดันใหถึงกับทุศีลได และประการ สุดทายไดแกกามราคะอยางละเอียด คือเมื่อกามคุณมายัว่ ยวน ก็ไมอาจกอใหเกิดความพอใจใน ใจขึ้นได แมเพียงเล็กนอย

23 5 . ปฏิฆะ ปฏิฆะ คือ ความไมชอบความไมพอใจในกามคุณ 5 ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส ทีเ่ ขามากระทบ เรียกอีกอยางวา " โทสะ " แบงเปน 3 ประการ ประการแรกไดแก ปฏิฆะที่นาํ ไปสูอบายภูมิ เนื่องจากกามคุณที่มายัว่ ยวนนัน้ นําไปสูก ารลวงอกุศลกรรมบถ เชน การลวงปาณาติบาต ประการตอมาไดแกปฏิฆะอยางหยาบ คือเมือ่ กามคุณมายัว่ ยวน จะเกิด ความไมพอใจอยูภายในใจเพียงเล็กนอย ไมอาจผลักดันใหถงึ กับทุศลี ได และประการสุดทาย ไดแกปฏิฆะอยางละเอียด คือเมื่อกามคุณมายั่วยวน ก็ไมอาจกอใหเกิดความไมพอใจในใจขึ้นได แมเพียงเล็กนอย

6 . รูปราคะ รูปราคะ คือ ความพอใจยินดีในรูปภพ คือมีความพอใจในการปฏิบตั ิสมถกรรมฐานใน สวนรูปฌาน ดวยคาดหมายวา เมื่อตนละจากโลกนี้ไปแลว จะไดไปปฏิสนธิในรูปภพ เหตุที่ กลาววาการมุง ปฏิบัติสมถกรรมฐานนั้น เหตุใดจึงเปนสังโยชน ก็เพราะวาอานิสงสของการเจริญ สมถกรรมฐาน ยอมใหผลปฏิสนธิในรูปพรหมภูมิ อันเปนการติดอยูในรูปภพ เมื่อยังติดอยูในรูป ภพ ก็ยอมตกอยูในอํานาจของสังโยชน การทีพ่ ระพุทธศาสนาสอนใหเจริญสมาธินั้น ก็เพื่อจะให เอาสมาธินนั้ มาเปนบาทของปญญา หมายความวา เมือ่ ปฏิบัติสมถกรรมฐานจนไดรูปฌานแลว ก็ใหเอารูปฌานนัน้ มาเปนบาทสําหรับเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไป ไมใหติดอยูกบั สมาธิ เพราะ ถาติดอยูกับสมาธิ ผูน นั้ ก็ไดชื่อวาติดอยูในสังโยชน ไมสามารถจะพนจากกิเลสและกองทุกขได

7 . อรูปราคะ อรูปราคะ คือ ความพอใจยินดีในอรูปภพ คือมีความพอใจในการปฏิบัติสมถกรรมฐาน ในสวนอรูปฌาน ดวยคาดหมายวา เมือ่ ตนละจากโลกนี้ไปแลว จะไดไปปฏิสนธิในอรูปภพ เหตุทกี่ ลาววาการมุงปฏิบัตสิ มถกรรมฐานนั้น เหตุใดจึงเปนสังโยชน ก็เพราะวาอานิสงสของการ เจริญสมถกรรมฐาน ยอมใหผลปฏิสนธิในอรูปพรหมภูมิ อันเปนการติดอยูในอรูปภพ เมื่อยังติด อยูในอรูปภพ ก็ยอมตกอยูใ นอํานาจของสังโยชน การที่พระพุทธศาสนาสอนใหเจริญสมาธินนั้ ก็เพื่อจะใหเอาสมาธินนั้ มาเปนบาทของปญญา หมายความวา เมื่อปฏิบัติสมถกรรมฐานจนได อรูปฌานแลว ก็ใหเอาอรูปฌานนั้นมาเปนบาทสําหรับเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไป (สําหรับอรูป ฌานนั้น ตองถอยกลับมาสูรูปฌานกอน หรือออกจากอรูปฌานกอน จึงจะเจริญวิปสสนา กรรมฐานตอไปได) ไมใหติดอยูกับสมาธิ เพราะถาติดอยูกับสมาธิ ผูน ั้นก็ไดชื่อวาติดอยูใน สังโยชน ไมสามารถจะพนจากกิเลสและกองทุกขได

24 8 . มานะ มานะ คือ ความถือตัวในความเปนเราเปนเขา ความเห็นผิด ความเห็นที่ยงั ไมถูกตอง ตามสภาวะทีแ่ ทจริง มานะจําแนกไดเปน 9 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 2 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาเสมอเขา 3 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาเลวกวาเขา 4 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 5 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาเสมอเขา 6 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาเลวกวาเขา 7 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 8 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาเสมอเขา 9 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาเลวกวาเขา

9 . อุทธัจจะ อุทธัจจะ คือ เจตสิกทีฟ่ ุงซานไปตามอารมณ ไมสามารถที่จะตั้งอยูใ นอารมณอันเดียว ไดนาน จับอารมณไมมั่น จับอารมณไมแนนอน เปนธรรมที่กนั้ ใจคนไวไมใหเกิดมหากุศล ไมใหเกิดสมาธิ ไมใหเกิดปญญา หางจากพระสัทธรรม

10 . อวิชชา อวิชชา คือ ความรูในสิง่ ทีไ่ มควรรู ความไมรูในสิ่งที่ควรรู ความไมเขาใจในขันธ 5 ความไมเห็นอริยสัจ 4 ปกปดความจริง ความบอดแหงจิต (โดยนัยแหงอภิธรรมเนนเฉพาะความ ไมรูในอริยสัจ 4 ไดแก ความไมรูในทุกข ความไมรูในเหตุแหงทุกข ความไมรูในความดับทุกข และความไมรใู นหนทางสูความดับทุกข)

อาสวะ 4 อาสวะ คือ กิเลสทีห่ มักหมมหรือดองอยูในสันดาน ไหลซึมซานไปยอมจิตเมื่อประสบ กับอารมณตางๆ มี 4 ประการ ไดแก กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ และอวิชชาสวะ

25 1 . กามาสวะ กามาสวะ คือ กิเลสอันหมักหมมหรือดองอยูในสันดาน ที่ทาํ ใหเกิดความใครและจมอยู หรือติดใจอยูในการแสวงหากามคุณทัง้ 5 ประการ ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส

2 . ภวาสวะ ภวาสวะ คือ กิเลสอันหมักหมมหรือดองอยูในสันดาน ที่ทาํ ใหอยากมีอยากเปนและจม อยูหรือติดใจอยูในความชอบใจยินดีตอภพใดภพหนึ่งใน 3 ภพนี้ ไดแก กามภพ (ภพของมนุษย) รูปภพ (ภพของรูปพรหม) และอรูปภพ (ภพของอรูปพรหม)

3 . ทิฏฐาสวะ ทิฏฐาสวะ คือ กิเลสอันหมักหมมหรือดองอยูในสันดาน ที่ทาํ ใหเกิดทิฏฐิและจมอยูหรือ ติดใจอยูในความเห็นผิดจากความเปนจริงแหงสภาวธรรม หรือผิดจากทํานองคลองธรรม เชน เห็นวาเทีย่ ง เห็นวาเปนสุข และเห็นวาเปนตัวเปนตน

4 . อวิชชาสวะ อวิชชาสวะ คือ กิเลสอันหมักหมมหรือดองอยูในสันดาน ที่ทาํ ใหไมรูตามความเปนจริง และจมอยูหรือติดใจอยูในความไมรูเหตุผลตามความเปนจริงนั้น เชน การไมรูในทุกข การไมรู ในเหตุที่ทาํ ใหเกิดทุกข การไมรูในความดับทุกข และการไมรูในหนทางที่ทาํ ใหถึงความดับทุกข

โอฆะ 4 โอฆะ คือ หวงน้ําแหงสงสาร หวงน้ําแหงการเวียนวายตายเกิด กิเลสอันเปนดุจ กระแสน้ําหลากทวมใจสัตว มี 4 ประการ ไดแก กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ และอวิชโชฆะ

1 . กาโมฆะ กาโมฆะ คือ หวงแหงกาม ไดแก ความใคร ความพอใจ ความยินดี ปรารถนา ตองการ ความอยากได ในสิ่งตางๆทีเ่ ปนวัตถุกาม ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส อันตนผูกใจวา สิง่ เหลานั้นนาใคร นาปรารถนา นาพอใจ และในจิตของตนไดมี " กามธาตุ " คือธาตุความใครในสิ่งนัน้ อยู เมื่อเปนเชนนี้ จิตของเขาก็จะดําริถงึ รูปเปนตนเหลานัน้ ดวยแรง ปรารถนา จากการดําริถึงดวยความใครนี้เอง ทําใหความเรารอนเพราะแรงปรารถนาเกิดขึ้น จึง มีการแสวงหาเพื่อสนองตอบความตองการของตน ดวยทางถูกบางผิดบาง จนไดสิ่งเหลานัน้ มาไว ในครอบครอง แตก็ตองเปนทุกขดวยการรักษา การเสื่อมสลายหรือแตกดับไปของสิ่งเหลานั้น

26 ทุกชวงของความคิดที่เกีย่ วกับสิ่งเหลานัน้ ใจของบุคคลเหมือนถูกทวมทับดวยกระแสน้ํา ยิ่งคิด มาก แสวงหามาก ไดมามาก จิตก็จะถูกทวมทับดวยแรงความใครได ใครมีในวัตถุกาม เหลานั้น จนหาที่สิ้นสุดไมได เพราะใจของคนที่ถูกทวมทับดวยกาโมฆะ เปนจิตที่พรองอยูเปน นิตย ไมอาจใหเต็มใหอิ่มได และดวยการพยายามตอบสนองความตองการที่เกิดขึ้น ความทุกข ที่เกิดจากกาโมฆะทวมทับ ก็จะบังเกิดขึน้ โดยไมมที ี่สนิ้ สุด

2 . ภโวฆะ ภโวฆะ คือ หวงแหงภพ ไดแก ความใครในความมีความเปน เพราะความฝงใจวา ยศตําแหนงหรือฐานะนั้นๆ เปนภาวะที่นาํ ความสุขความยิ่งใหญมาใหแกตน ทัง้ ในกาลปจจุบัน และอนาคต ทั้งชาติปจจุบนั และชาติหนา ความใครและความพอใจในฐานะตางๆนั้น จะแสดง อาการออกมาทํานองเดียวกับกาโมฆะ คือจิตจะดําริถึงสิ่งที่ตนพอใจมากๆ จนเกิดการกําหนด หมายที่จะไดฐานะนัน้ ๆ เกิดความเรารอนเพราะแรงปรารถนา จนตองแสวงหาตอสูแยงชิงกัน จนบางครั้งมีการลมตาย มีคนเปนจํานวนไมนอยเลย ที่ความปรารถนาของตนยังไมเต็มแตก็ตอง มาตายไปเสียกอน ยิ่งถาเปนความตองการใหภาวะทีต่ นตองการนัน้ บังเกิดขึ้นในอนาคตกาล ดวยแลว จิตก็จะมีแตความวิตกกังวลขาดความเปนอิสระ เสมือนวาถูกทวมทับดวยกระแสน้าํ และเมื่อเปนเชนนี้ ก็เปนการยากที่จะทําตนใหสวัสดีได

3 . ทิฏโฐฆะ ทิฏโฐฆะ คือ หวงแหงความเห็นผิด คําวา " ทิฏฐิ " นัน้ แปลวาความเห็น โดยปกติเปน คํากลางๆ คือไมมีความหมายวาดีหรือชั่ว แตเมื่อมาคําเดียวไมมีคาํ อื่นตอหนาหรือหลัง ทาน หมายเอาความเห็นที่ไมดี ในทีน่ ี้มีความหมายไปในทางที่ไมดีโดยตรง เพราะเปนชื่อของกิเลส ความเห็นที่เปนโอฆะคือทิฏฐิ เชน เห็นวาทําดีไมไดดี ทําชั่วไมไดชวั่ มารดาบิดาไมมีคุณ กรรมที่ไดชื่อวาบุญบาปไมมี การกระทําที่วา เปนดีเปนชั่วจึงไมมี ผลที่เกิดขึ้นในชีวิตของคนไมมี เหตุ ชาติกอนหรือชาติหนาก็ไมมี เปนตน ความเห็นผิดในลักษณะตางๆดังกลาวนี้ มีอทิ ธิพล อยางสําคัญในชีวิตของคน เพราะคนเราจะทําหรือจะพูด ทางกายหรือทางวาจา ก็เกิดมาจาก ความเห็นภายในจิตใจของเขาเปนสําคัญ เมื่อมีความเห็นผิดๆ การกระทําของเขาก็ยอมจะผิด ตามไปดวย และที่เปนอันตรายมากก็คอื เมื่อเขาปฏิเสธบาปและบุญ ทั้งที่เปนสวนเหตุและผล ทําใหเขาขาดความรับผิดชอบในการกระทํา โอฆะคือทิฏฐิจะทวมทับใจของเขา ใหไหลไปตาม อํานาจของความเห็นผิดนั้นๆ กอใหเกิดซึง่ ความทุกขความเดือดรอนทัง้ แกตนเองและผูอื่น

27 4 . อวิชโชฆะ อวิชโชฆะ คือ หวงแหงความมืดบอดทางปญญา คือความไมรูแจงเห็นจริงในสิ่ง ทั้งหลาย ซึง่ จัดเปนอวิชชา 8 ประการ ไดแก ความไมรูในทุกข ความไมรูในเหตุแหงทุกข ความไมรูในความดับทุกข ความไมรูหนทางสูความดับทุกข ความไมรูอดีต ความไมรูอนาคต ความไมรูทงั้ ในอดีตและในอนาคต และความไมรูในธรรมที่เปนปจจัยของกันและกัน อาศัยกัน และกันเกิดขึ้นและดับไป ผูไ มรูสิ่งเหลานี้ โอฆะคืออวิชชายอมทวมทับใจของเขา

โยคะ 4 โยคะ คือ เครื่องผูกตรึงไวกับสงสาร เครื่องผูกตรึงไวกับการเวียนวายตายเกิด กิเลสอัน เปนดุจเครื่องผูกตรึงใจสัตว มี 4 ประการ ไดแก กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ และอวิชชา โยคะ

1 . กามโยคะ กามโยคะ คือ เครื่องผูกตรึงไวกับกาม พาสัตวใหตรึงติดอยูในกามคุณทั้ง 5 ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส

2 . ภวโยคะ ภวโยคะ คือ เครื่องผูกตรึงไวกับภพ พาสัตวใหตรึงติดอยูในภพใดภพหนึ่งใน 3 ภพนี้ ไดแก กามภพ (ภพของผูยงั เสวยกามคุณ) รูปภพ (ภพของผูเขาถึงรูปฌาณ) และอรูปภพ (ภพ ของผูเขาถึงอรูปฌาณ)

3 . ทิฏฐิโยคะ ทิฏฐิโยคะ คือ เครื่องผูกตรึงไวกับความเห็นผิด พาสัตวใหตรึงติดอยูในความเห็นผิด จากความเปนจริงแหงสภาวธรรม หรือผิดทํานองคลองธรรม เชน เห็นวาเทีย่ ง เห็นวาเปนสุข และเห็นวาเปนตัวเปนตน

4 . อวิชชาโยคะ อวิชชาโยคะ คือ เครื่องผูกตรึงไวกับความมืดบอดทางปญญา พาสัตวใหตรึงติดอยูใน ความไมรูเหตุผลตามความเปนจริง เชน ไมรูทุกข ไมรูเหตุเกิดแหงทุกข ไมรูความดับทุกข และไมรูทางใหถงึ ความดับทุกข

28

คันถะ 4 คันถะ คือ กิเลสที่รอยรัดมัดใจสัตวใหตดิ อยูในสังสารวัฏมี 4 ประการ ไดแก อภิชฌา กายคันถะ พยาบาทกายคันถะ สีลัพพตปรามาสกายคันถะ และอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ

1 . อภิชฌากายคันถะ อภิชฌากายคันถะ คือ กิเลสที่ผูกมัดอยูก ับความยินดี ชอบใจ อยากได อภิชฌาที่ เปนคันถะนี้แตกตางกับอภิชฌาที่เปนมโนทุจริต คือ อภิชฌาที่เปนมโนทุจริตนัน้ เปนโลภะอยาง หยาบ มีสภาพอยากไดทรัพยสมบัติของผูอื่นมาเปนของตนโดยไมชอบธรรม สวนอภิชฌาที่เปน คันถะนี้ เปนไดทั้งโลภะอยางหยาบและอยางละเอียด ทั้งหมดทีเ่ กี่ยวกับความอยากได ความชอบใจในทรัพยสมบัตขิ องผูอื่น หรือแมของตนเอง จะโดยชอบธรรมก็ตามหรือไมชอบธรรม ก็ตาม จัดเปนอภิชฌากายคันถะทั้งสิน้

2 . พยาบาทกายคันถะ พยาบาทกายคันถะ คือ กิเลสที่ผูกมัดอยูกับความโกรธ จะถึงกับคิดปองรายดวยหรือไม ก็ตาม พยาบาทที่เปนคันถะนี้ แตกตางกับพยาบาททีเ่ ปนมโนทุจริต คือ พยาบาทที่เปนมโน ทุจริตนัน้ เปนโทสะอยางหยาบ เกี่ยวกับการปองรายผูอื่น ตลอดจนการนึกคิดใหเขามีความ ลําบาก เสียหายตางๆ หรือนึกแชงผูอนื่ ที่ไมชอบนัน้ ใหถงึ แกความตาย สวนพยาบาทที่เปนคัน ถะนี้ เปนไดทั้งโทสะอยางหยาบและอยางละเอียด คือเปนไดทั้งความไมชอบใจ ไมพอใจ โกรธ เกลียด กลัว กลุมใจ เสียใจ ตลอดไปจนถึงการทําปาณาติบาต ผรุสวาท เหลานี้จัดเปน พยาบาทกายคันถะทั้งสิน้

3 . สีลัพพตปรามาสกายคันถะ สีลัพพตปรามาสกายคันถะ คือ กิเลสทีผ่ ูกมัดใหอยูในความชอบใจในการปฏิบตั ิที่ผิด วาการปฏิบัติอยางนี้เองหรือเชนนีเ้ อง เปนทางทีท่ ําใหพน ทุกขได โดยเขาใจวาเปนการปฏิบัติที่ ถูกตองแลวชอบแลว แตถาหากวามีผูรูแนะนําสัง่ สอนทางที่ถูกตองให ก็สามารถจะกลับใจได

4 . อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ คือ กิเลสทีผ่ ูกมัดอยูในความชอบใจในการปฏิบัติที่ผดิ แต วารุนแรงมั่นคงแนวแนมากกวาสีลพั พตปรามาสกายคันถะ นอกจากนั้นแลว ยังดูหมิ่นและ เหยียบย่ําทับถมวาทะ หรือมติของผูอื่นดวย ถึงแมวา จะมีผูรูมาชี้แจงแสดงเหตุผลในทางที่ถูกที่ ชอบประการใดๆ ก็ไมยอมกลับใจไดเลย

29

อุปาทาน 4 อุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่นดวยอํานาจกิเลส มี 4 ประการ ไดแก กามุปาทาน ทิฏุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน

1 . กามุปาทาน กามุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมัน่ ในกาม การที่จิตเขาไปยึดถือในวัตถุกามทัง้ 5 ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส อันตนกําหนดวา นาใคร นาปรารถนา นาพอใจ ความยึดถือของจิตนัน้ จะมีความรูสึกวา " นัน่ เปนของเรา " เชน เห็นรูปสวยงามเขาก็อยากไดมา เปนของตนดวยอํานาจตัณหา และเมื่อไดมาไวในครอบครองแลว ก็จะเกิดความยึดมั่นถือมัน่ วา “ รูปนั่นของเรา ” ในขณะเดียวกัน ก็พรอมที่จะยึดถือรูปเปนตน อยางอืน่ ในทํานองเดียวกัน ความทุกขในชีวิตก็จะเกิดขึ้น เพราะการแสวงหา การครอบครอง การเปลี่ยนแปลง หรือการ พลัดพรากไปของวัตถุกามเหลานั้น

2 . ทิฏุปาทาน ทิฏุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมัน่ ดวยอํานาจทิฏฐิ ความเห็นผิด เชน ยึดถือในลัทธิ ธรรมเนียมหรือความเชื่อถือตางๆ โดยขาดการใชปญญาพิจารณาหาเหตุผล เชน ยึดถือวาการ กระทําดีชั่วไมมี ความสุขความทุกขในชีวติ ของคนไมไดเกิดมาจากเหตุอะไรทั้งนัน้ ไมมีบุญบาป ไมมีบิดามารดา ไมมพี ระอริยบุคคล เปนตน ความยึดถือบางอยางนอกจากจะละไดยากแลว ยังนําไปสูการแตกแยกหรือทะเลาะเบาะแวง จนเปนผลถึงตองใชกําลังประทุษรายกันก็มี

3 . สีลัพพตุปาทาน สีลัพพตุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่นในศีลวัตรและขอปฏิบัติตางๆ ที่ตนประพฤติมา จนชิน ดวยความเขาใจวาขลังวาศักดิ์สิทธิ์ หรือเขาใจวาถูกตอง เปนตน โดยทัว่ ไปเชนการยึด ติดในธรรมเนียมบางอยางหรือพิธีกรรมบางประเภท ถือฤกษผานาที ทิศดีทิศไมดี วันดีวนั ราย จนถึงการถือวัตรปฏิบัติที่งมงายตางๆ เชน การทําตนเลียนแบบสุนขั บาง โคบาง โดยเขาใจวา จากการกระทําเชนนัน้ จะทําใหตนไดประสบบุญและเปนทีโ่ ปรดปรานของพระเจา จนถึงจะหมด สิ้นทุกขเพราะการกระทําเชนนัน้ เปนตน

4 . อัตตวาทุปาทาน อัตตวาทุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่นวาทะวา “ ตน ” โดยความหมายทั่วไปหมายถึง ความยึดถือในทํานองแบงเปนเราเปนเขา เปนพวกเราเปนพวกเขา จนถึงการยึดถือวามีตัวตนที่

30 เที่ยงแทอยู ตนนัน้ เองเปนผูมีเปนผูรับ และเปนผูไปในภพตางๆ เปนผูเสวยผลบุญผลบาปตางๆ ที่ตนไดเคยกระทําไว โดยขาดการพิจารณาตามหลักความเปนจริงวา สรรพสิ่งทัง้ หลายเหลานัน้ ลวนแตเกิดขึ้น เพราะการประชุมโดยพรอมกันแหงเหตุปจจัยทัง้ หลายทัง้ มวล

อนุสัย 7 อนุสัย คือ กิเลสอยางละเอียดที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน เหมือนตะกอนนอนอยูที่ กนภาชนะ ตะกอนจะฟุง ขึ้นมาทําน้าํ ใหขุนเพราะมีคนไปกระทบหรือกวนในภาชนะนัน้ ฉันใด อนุสัยกิเลสก็เชนเดียวกัน จะฟุง ขึ้นมาทําจิตใหขุนมัวตอเมื่อมีอารมณภายนอกมากระทบก็ฉนั นัน้ อนุสัยมี 7 ประการ ไดแก กามราคานุสยั ภวราคานุสัย ปฏิฆานุสัย มานานุสยั ทิฏฐานุสยั วิจิกิจฉานุสยั และอวิชชานุสัย

1 . กามราคานุสัย กามราคานุสยั คือ กิเลสทีแ่ ฝงตัวนอนเนือ่ งอยูในสันดาน มาปรุงแตงจิตใหเกิดความ กําหนัด พอใจ ปรารถนาในวัตถุกามทัง้ หลาย ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส ซึ่งมา กระทบจิตแลว ทําจิตใหเกิดความรูสึกดังกลาว

2 . ภวราคานุสัย ภวราคานุสยั คือ กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน ที่มาปรุงแตงจิตใหเกิดความ กําหนัดติดในภพ ไดแก การพอใจในฐานะ ตําแหนง ยศ ฐานันดรเปนตนที่ตนเห็นวา นา ปรารถนา นาพอใจ ตลอดจนการเกิดความพอใจ ติดใจในความสุข ที่ไดจากการอุบัติในภพ ตางๆ ไมวา จะเปนกามภพ รูปภพ หรืออรูปภพ แลวเกิดความอยากจะเกิดในภพนั้นๆอีก

3 . ปฏิฆานุสัย ปฏิฆานุสัย คือ กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน ที่มาปรุงแตงจิตใหเกิดความ หงุดหงิดไมพอใจ การกระทบกระทั่งทางใจ อันอาศัยรูปเปนตนดังกลาว แตเปนไปในทางไมนา ปรารถนา ไมนาพอใจ เมือ่ สิ่งเหลานัน้ มากระทบจิต ความรูสึกหงุดหงิดขัดเคือง จนถึงโกรธ ประทุษรายก็จะเกิดขึ้นแกจติ

4 . มานานุสัย มานานุสยั คือ กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน ทีม่ าปรุงแตงจิตใหเกิดความ มานะความถือตัว มานะนีอ้ าจเกิดมาจากชาติ ตระกูล ทรัพย ตําแหนงหนาทีก่ ารงาน หรือ

31 ยศฐาบรรดาศักดิ์ โดยมีการเปรียบเทียบตนวา ตนสูงกวาเขา ตนเสมอเขา หรือตนเลวกวาเขา โดยคําเรียกทีว่ า " อติมานะ " หมายความวาดูหมิ่นเขาและ " อวมานะ " หมายความวาดูหมิ่นตน

5 . ทิฏฐานุสัย ทิฏฐานุสัย คือ กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน ทีม่ าปรุงแตงจิตใหเกิดความเห็น ผิด เชน เห็นวาทําดีไมไดดีทําชัว่ ไมไดชั่ว มารดาบิดาไมมีบุญคุณใดๆแกตน เปนตน โดยทิฏฐิ เหลานี้อันนอนสงบนิ่งอยูภายในจิต เมื่อไดรับอารมณอันเปนฝายเดียวกับตนมากระทบก็จะเกิด พองฟู และยิง่ จะเพิ่มทิฏฐิความเห็นผิดใหสะสมมากขึ้นไปเรื่อยๆ

6 . วิจิกิจฉานุสัย วิจิกิจฉานุสยั คือ กิเลสทีแ่ ฝงตัวนอนเนือ่ งอยูในสันดาน ที่มาปรุงแตงจิตใหเกิดความ ลังเลสงสัย ตัดสินใจใหเด็ดขาดลงไปไมได ความสงสัยนัน้ อาจสรุปลงในความสงสัยในคุณของ พระรัตนตรัย ไตรสิกขา กาลเวลาทัง้ ในอดีตและอนาคต และกฏแหงปฏิจจสมุปบาท

7 . อวิชชานุสัย อวิชชานุสัย คือ กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูในสันดาน ที่มาปรุงแตงจิตใหเกิดความ เขลา ความไมรู ไดแก ความไมรูแจงเห็นจริงในสิง่ ทั้งหลายตามความเปนจริง ความไมรูในทุกข ความไมรูในเหตุแหงทุกข ความไมรูในความดับทุกข และความไมรใู นหนทางสูความดับทุกข

กิเลส 10 กิเลส คือ สิง่ ทีท่ ําใหใจเศราหมอง ความชั่วที่แฝงอยูในความรูสึกนึกคิด ทําใหจติ ใจขุน มัวไมบริสุทธิ์ กิเลสมี 10 ประการ ไดแก โลภกิเลส โทสกิเลส โมหกิเลส มานกิเลส ทิฏฐิ กิเลส วิจกิ ิจฉากิเลส ถีนกิเลส อุทธัจจกิเลส อหิรกิ กิเลส และอโนตตัปปกิเลส

1 . โลภกิเลส โลภกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะยินดีชอบใจในอารมณ ความกําหนัด ความคลอยตามอารมณ ความยินดี ความเพลิดเพลิน ความหมกมุน ความ ใคร ความของอยู ความจมอยู ความหวังรูป ความหวังเสียง ความหวังกลิน่ ความหวังรส ความหวังสัมผัส ความหวังลาภ ความหวังทรัพย ความหวังบุตร ความหวังชีวติ ความใครใน อารมณดีๆ ความกําหนัดในฐานะอันไมควร ความโลภเกินพอดี ความติดใจ กิริยาที่ติดใจ

32 ความปรารถนา ความกระหยิ่มใจ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ตัณหาในรูปภพ และ ตัณหาในอรูปภพ

2 . โทสกิเลส โทสกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะไมชอบใจในอารมณ ความขัดเคือง ความกระทบกระทัง่ ความแคน ความเคือง ความขุนเคือง ความพลุงพลาน ความคิดประทุษราย ความมุงคิดประทุษราย ความขุนจิต โกรธ กิริยาที่โกรธ ความโกรธ การคิดปองราย กิริยาที่คิดปองราย ความคิดปองราย ความไมแชมชื่นแหงจิต มีอาฆาตวัตถุ หรือมูลเหตุใหเกิดความพยาบาท 10 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําความเสื่อมเสียใหแกเรามาแลว” 2 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําความเสื่อมเสียใหแกเรา” 3 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําความเสื่อมเสียใหแกเรา” 4 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รักทีพ่ อใจของเรามาแลว” 5 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รักที่พอใจของเรา” 6 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําความเสื่อมเสียใหแกคนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 7 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้ไดทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรามาแลว” 8 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้กาํ ลังทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 9 . ความอาฆาตเกิดขึ้นดวยคิดวา “ผูนี้จกั ทําประโยชนแกคนผูไมเปนที่รักทีพ่ อใจของเรา” 10 . ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไมสมควร เชน เดินสะดุดตอไมและเกิดความโกรธขึ้น

3 . โมหกิเลส โมหกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะความมัวเมาลุม หลง ปราศจากสติสัมปชัญญะ ความไมรูในทุกข ความไมรูในทุกขสมุทยั ความไมรูในทุกขนิโรธ ความไมรูในทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา ความไมรูในสวนอดีต ความไมรูในสวนอนาคต ความไมรู ทั้งในสวนอดีตและสวนอนาคต ความไมรูในปฏิจจสมุปปาทธรรมวา " เพราะธรรมนี้เปนปจจัย ธรรมนี้จึงเกิดขึ้น " ความไมรู ความไมเห็น ความไมตรัสรู ความไมรูโดยสมควร ความไมรูตาม ความเปนจริง ความไมแทงตลอด ความไมถือเอาโดยถูกตอง ความไมหยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไมพินิจ การไมพิจารณา การไมทาํ ใหประจักษ ความทรามปญญา ความโงเขลา ความ ไมรูชัด ความหลง ความลุมหลง ความหลงใหล ทัง้ หมดนี้แหละคือ " โมหกิเลส "

33 4 . มานกิเลส มานกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอนเพราะความทะนงตน การถือตัว การยกตน การเทิดตน การเชิดชูตนดุจธง การยกจิตขึ้น โดยมานกิเลสนัน้ สามารถจําแนกได เปน 9 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 2 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาเสมอเขา 3 . ตัวประเสริฐกวาเขา ถือตัววาเลวกวาเขา 4 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 5 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาเสมอเขา 6 . ตัวเสมอเขา ถือตัววาเลวกวาเขา 7 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาประเสริฐกวาเขา 8 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาเสมอเขา 9 . ตัวเลวกวาเขา ถือตัววาเลวกวาเขา

5 . ทิฏฐิกิเลส ทิฏฐิกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะความเห็นผิดจากเหตุผล ตามความเปนจริง เชน ความเห็นวาโลกเทีย่ ง วาโลกไมเที่ยง วาโลกมีที่สุด วาโลกไมมที ี่สุด ความผันแปรแหงทิฏฐิ ความยึดถือผิด ความตั้งมั่นผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิอนั เปนบอเกิดแหง ความพินาศ และเปนการยึดถือโดยความวิปลาส

6 . วิจิกิจฉากิเลส วิจิกิจฉากิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะความสงสัยลังเลใจ หรือความเคลือบแคลงใจในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ ในสิกขาบท ในกาลอดีต ในกาลอนาคต ทั้งในกาลอดีตและกาลอนาคต ในปฏิจจสมุปปาทธรรมวา " เพราะธรรมนีเ้ ปน ปจจัยธรรมนี้จงึ เกิดขึ้น " การเคลือบแคลง กิริยาที่เคลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็น ไปตางๆนานา ความตัดสินอารมณไมได ความเห็นเปนสองแง ความเห็นเหมือนทางสองแพรง ความสงสัย ความไมสามารถจะถือเอาโดยสวนเดียวได ความคิดสายไป ความคิดพราไป และ ความไมสามารถจะหยัง่ ลงถือเอาเปนยุติ

34 7 . ถีนกิเลส ถีนกิเลส คือ กิเลสทีท่ ําใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะหดหูท อถอยจากความเพียร ความไมสมประกอบแหงจิต ความไมควรแกการงานแหงจิต ความทอแท ความถดถอย ความ หดหู อาการที่หดหู ภาวะที่หดหู ความซบเซา อาการที่ซบเซา ภาวะทีซ่ บเซาแหงจิต

8 . อุทธัจจกิเลส อุทธัจจกิเลส คือ กิเลสที่ทาํ ใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะเกิดฟุงซานไปในอารมณ ความฟุงซานแหงจิต ความไมสงบแหงจิต ความวุนวายใจ ความพลานแหงจิต

9 . อหิริกกิเลส อหิริกกิเลส คือ กิเลสทีท่ าํ ใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะไมละอายในการกระทํา บาป กิริยาทีไ่ มละอายตอการประพฤติทจุ ริต อันเปนสิ่งทีน่ าละอาย กิริยาที่ไมละอายตอการ ประกอบอกุศลกรรมทั้งหลาย อันเปนสิง่ ที่นา ละอาย

10 . อโนตตัปปกิเลส อโนตตัปปกิเลส คือ กิเลสที่ทาํ ใหใจเศราหมองและเรารอน เพราะไมเกรงกลัวผลของ การกระทําบาป กิริยาที่ไมเกรงกลัวตอผลของการประพฤติทุจริต อันเปนสิ่งทีน่ าเกรงกลัว กิริยา ที่ไมเกรงกลัวตอผลของการประกอบอกุศลกรรมทั้งหลาย อันเปนสิง่ ที่นา เกรงกลัว

™™™™

35

DGDGDGDGD

ทุกขนิโรธ

DGDGDGDGD

36

บทที่ 3 ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธ คือ ความดับทุกข ดับกิเลสตัณหาไดโดยสิ้นเชิง เปนภาวะอันปลอดจาก ทุกขเพราะไมมีทุกขที่จะเกิดขึ้นได หมายถึงพระนิพพานอันพระอรหันตไดบรรลุแลว โดยในบทนี้ จะไดนําภพภูมิตางๆ ตั้งแตระดับพระอรหันตซงึ่ ปราศจากทุกขโดยสิน้ เชิงแลว ลงมาจนถึงระดับ ของสัตวนรก ซึ่งเปนภพภูมทิ ี่มีความทุกขแสนสาหัสและสูงสุดมาแสดง เพื่อใหเกิดความเขาใจตอ ระดับของความดับทุกขในภพภูมิตางๆ อันมี 12 ระดับ ดังตอไปนี้ • พระอรหันต 6 • พระอนาคามี 5 • พระสกทาคามี 5 • พระโสดาบัน 3 • อรูปพรหม 4 • รูปพรหม 16 • เทวดา 6 • มนุษย 5 • สัตวเดรัจฉาน 4 • อสุรกาย 3 • เปรต 21 • สัตวนรก 23

พระอรหันต 6 พระอรหันต คือ ผูสาํ เร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา เปนพระอริยบุคคลชั้น สูงสุดซึ่งไดบรรลุอรหัตตผล โดยละสังโยชนไดครบทั้ง 10 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา พระ

37 อรหันตนนั้ แบงเปน 6 ประเภท ไดแก สุกขวิปสสโก ปญญาวิมุติ อุภโตภาควิมตุ ิ เตวิชโช ฉฬภิญโญ และปฏิสัมภิทัปปตโต

1 . สุกขวิปสสโก สุกขวิปสสโก คือ พระอรหันตผูเจริญวิปส สนากรรมฐานลวนๆ สําเร็จพระอรหัตตผล โดยไมไดฌานสมบัติ ไมไดอภิญญา เจริญปญญาลวนๆจนไดบรรลุอาสวักขยญาณ (ญาณที่ กําจัดอาสวะทัง้ ปวงใหสนิ้ ไป) แตขณะบรรลุมรรคผลนั้น จะมีสมาธิระดับปฐมฌานเปนอยางนอย และจตุตถฌานเปนอยางมาก เขามาสัมปยุตโดยอัตโนมัติ

2 . ปญญาวิมุติ ปญญาวิมุติ คือ พระอรหันตผูเจริญสมถกรรมฐานเปนบาท แลวเจริญวิปสสนา กรรมฐานตอ จนสําเร็จพระอรหัตตผล โดยไดรูปฌานตั้งแตปฐมฌานจนถึงจตุตถฌานฌานใด ฌานหนึง่ แตไมไดอรูปฌาน แลวเจริญปญญาจนไดบรรลุอาสวักขยญาณ

3 . อุภโตภาควิมุติ อุภโตภาควิมุติ คือ พระอรหันตผูเจริญสมถกรรมฐานเปนบาท แลวเจริญวิปสสนา กรรมฐานตอ จนสําเร็จพระอรหัตตผล โดยไดรูปฌานจนถึงจตุตถฌาน และไดอรูปฌานมีการ หลุดพนจากอากาศบัญญัติ คืออากาสานัญจายตนะเปนอยางต่ํา แลวเจริญปญญาตอจนได บรรลุอาสวักขยญาณ อันอุภโตภาควิมุตินี้ มีความหมายวาเปนผูหลุดพนทั้งสองสวน คือหลุด พนจากรูปกายดวยอรูปสมาบัติ และหลุดพนจากนามกายดวยอริยมรรคอริยผล

4 . เตวิชโช เตวิชโช คือ พระอรหันตผเู ปนอุภโตภาควิมุติ และไดวิชชา 3 ประการ คือ 1 . บุพเพนิวาสานุสติญาณ (ญาณที่ทาํ ใหระลึกชาติในอดีตของตนได) 2 . จุตูปปาตญาณ (ญาณที่ทาํ ใหรูการเกิดการตายของสัตวโลกทัง้ หลาย) 3 . อาสวักขยญาณ (ญาณที่กําจัดอาสวะทั้งปวงใหสิ้นไป)

5 . ฉฬภิญโญ ฉฬภิญโญ คือ พระอรหันตผูเปนอุภโตภาควิมุติ และไดอภิญญา 6 ประการ คือ 1 . อิทธิวธิ ิญาณ (ญาณทีท่ ําใหแสดงฤทธิ์ตา งๆได) 2 . ทิพโสตญาณ (ญาณทีท่ ําใหมีหทู พิ ย) 3 . เจโตปริยญาณ (ญาณที่ทาํ ใหกําหนดรูถึงจิตใจผูอื่นได)

38 4 . บุพเพนิวาสานุสติญาณ (ญาณที่ทาํ ใหระลึกชาติในอดีตของตนได) 5 . ทิพจักขุญาณ (ญาณที่ทาํ ใหมีตาทิพย) 6 . อาสวักขยญาณ (ญาณที่กําจัดอาสวะทั้งปวงใหสิ้นไป)

6 . ปฏิสัมภิทัปปตโต ปฏิสัมภิทัปปตโต คือ พระอรหันตผูเปนอุภโตภาควิมุติ และเปนผูบ รรลุปฏิสัมภิทา (ปญญาอันแตกฉาน) 4 ประการ คือ 1 . อัตถปฏิสมั ภิทา หมายถึง ญาณแตกฉานในอรรถ คือ เนื้อความ ความหมาย ความมุง หมาย ผลประโยชนของหลักธรรม สามารถที่จะอธิบายหัวขอธรรมไดโดยพิสดาร เห็น เหตุใดๆก็สามารถหยั่งรูผล ที่บงั เกิดจากเหตุนนั้ ๆได 2 . ธัมมปฏิสมั ภิทา หมายถึง ญาณแตกฉานในธรรม คือ หลักธรรม เห็นคําอธิบาย โดยพิสดารก็สามารถจับใจความ มาตัง้ เปนหัวขอธรรมหรือกระทูธรรมได 3 . นิรุตติปฏิสัมภิทา หมายถึง ญาณแตกฉานในภาษา เชน ภาษาไทย บาลี สันสกฤต มคธ ฯลฯ สามารถอาน ฟง แปล และพูดได 4 . ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ญาณแตกฉานในปฏิภาณ มีปรีชาไหวพริบ ในการ ใชความคิดกลาวแก โตตอบปญหาธรรมะ ไดโดยแยบคายและทันการ

พระอนาคามี 5 พระอนาคามี คือ พระอริยบุคคลชั้นรองลงมาจากพระอรหันต ซึง่ เปนผูไดบรรลุ อนาคามิผล โดยละสังโยชนได 5 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ และปฏิฆะ พระอนาคามีนนั้ แบงเปน 5 ประเภท ไดแก อันตราปรินพิ พายี อุป หัจจปรินพิ พายี อสังขารปรินิพพายี สสังขารปรินิพพายี และอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี

1 . อันตราปรินิพพายี อันตราปรินพิ พายี คือ พระอนาคามีอริยบุคคล ที่ไปอุบัติเกิด ณ. สุทธาวาสพรหมโลก ภูมิใดภูมิหนึ่งใน 5 ภูมิแลว ก็สําเร็จเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน ภายใน อายุครึ่งแรกของสุทธาวาสภูมิพรหมโลก ที่ทา นสถิตอยูน ั้น

39 2 . อุปหัจจปรินิพพายี อุปหัจจปรินพิ พายี คือ พระอนาคามีอริยบุคคล ที่ไปอุบัติเกิด ณ. สุทธาวาสพรหมโลก ภูมิใดภูมิหนึ่งใน 5 ภูมิแลว ก็สําเร็จเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน ภายใน อายุครึ่งหลังของสุทธาวาสภูมิพรหมโลก ที่ทา นสถิตอยูน ั้น

3 . อสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี คือ พระอนาคามีอริยบุคคล ที่ไปอุบัติเกิด ณ. สุทธาวาสพรหมโลก ภูมิใดภูมิหนึ่งใน 5 ภูมิแลว ก็สําเร็จเปนพระอรหันตในภูมินั้นโดยสะดวกสบาย ไมตองใชความ เพียรพยายามมาก แลวก็ดบั ขันธเขาสูพ ระปรินิพพาน

4 . สสังขารปรินิพพายี สสังขารปรินิพพายี คือ พระอนาคามีอริยบุคคล ที่ไปอุบัติเกิด ณ. สุทธาวาสพรหมโลก ภูมิใดภูมิหนึ่งใน 5 ภูมิแลว ก็สําเร็จเปนพระอรหันตในภูมินั้นโดยตองใชความเพียรพยายามอยาง แรงกลา แลวก็ดับขันธเขาสูพ ระปรินพิ พาน

5 . อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี คือ พระอนาคามีอริยบุคคล ที่ไปอุบัติบังเกิด ณ. สุทธาวาส พรหมโลกชั้นต่ําที่สุดคือชั้น " อวิหาสุทธาวาสพรหมโลก " แลว จึงจุติไปอุบัติเกิดในสุทธาวาสพรหม โลกชั้นสูงขึ้นไปตามลําดับคือ อตัปปาสุทธาวาสพรหมโลก สุทัสสาสุทธาวาสพรหมโลก สุทัสสี สุทธาวาสพรหมโลก และอกนิฏฐสุทธาวาสพรหมโลก แลวจึงไดสําเร็จเปนพระอรหันต และดับ ขันธเขาสูพ ระปรินิพพาน ณ. อกนิฏฐสุทธาวาสพรหมโลก ซึ่งเปนสุทธาวาสพรหมโลกชั้นสูงสุด นั่นเอง

พระสกทาคามี 5 พระสกทาคามี คือ พระอริยบุคคลชั้นรองลงมาจากพระอนาคามี ซึง่ เปนผูไดบรรลุ สกทาคามิผล โดยละสังโยชนได 3 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรา มาส รวมทัง้ เปนผูมีราคะ โทสะ และโมหะ เบาบาง พระสกทาคามีนั้น แบงเปน 5 ประเภท ไดแก อิธปตวาอิธปรินิพพายี ตัตถปตวาตัตถปรินิพพายี อิธปตวาตัตถปรินิพพายี ตัตถปต วาอิธปรินิพพายี และอิธปตวาตัตถนิพพัตติตวาอิธปรินิพพายี

40 1 . อิธปตวาอิธปรินิพพายี อิธปตวาอิธปรินิพพายี คือ พระสกทาคามีอริยบุคคล ที่สําเร็จเปนพระสกทาคามี อริยบุคคลในมนุษยโลก แลวมีโอกาสกระทําความเพียร เจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปอยางไม หยุดยัง้ จนกระทั่งไดบรรลุอรหัตผลเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน ณ. มนุษย โลกนี้เอง

2 . ตัตถปตวาตัตถปรินิพพายี ตัตถปตวาตัตถปรินิพพายี คือ พระสกทาคามีอริยบุคคล ที่เปนเทพยดาเจา ไดสําเร็จ เปนพระสกทาคามีอริยบุคคลในสวรรคเทวโลก แลวมีโอกาสกระทําความเพียร เจริญวิปสสนา กรรมฐานตอไปอยางไมหยุดยั้ง จนกระทั่งไดบรรลุอรหัตผลเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพ ระ ปรินิพพาน ณ. สวรรคเทวโลกนี้เอง

3 . อิธปตวาตัตถปรินิพพายี อิธปตวาตัตถปรินิพพายี คือ พระสกทาคามีอริยบุคคล ที่สําเร็จเปนพระสกทาคามี อริยบุคคลในมนุษยโลก แลวจุติจากมนุษยไปอุบัติเกิดเปนเทพยดาเจา ณ. สวรรคเทวโลก แลวมี โอกาสกระทําความเพียร เจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปอยางไมหยุดยั้ง จนกระทั่งไดบรรลุ อรหัตผลเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน ณ. สวรรคเทวโลกนัน้ เอง

4 . ตัตถปตวาอิธปรินิพพายี ตัตถปตวาอิธปรินิพพายี คือ พระสกทาคามีอริยบุคคล ที่เปนเทพยดาเจา ไดสําเร็จ เปนพระสกทาคามีอริยบุคคลในสวรรคเทวโลก แลวจุติจากเทวดาไปอุบัติเกิดเปนมนุษยในมนุษย โลก แลวมีโอกาสกระทําความเพียร เจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปอยางไมหยุดยัง้ จนกระทัง่ ได บรรลุอรหัตผลเปนพระอรหันต และดับขันธเขาสูพระปรินิพพาน ณ. มนุษยโลกนัน้ เอง

5 . อิธปตวาตัตถนิพพัตติตวาอิธปรินิพพายี อิธปตวาตัตถนิพพัตติตวาอิธปรินิพพายี คือ พระสกทาคามีอริยบุคคล ที่สําเร็จเปนพระ สกทาคามีอริยบุคคลในมนุษยโลก แลวจุติไปอุบัติเกิดเปนเทพยดาเจา ณ. สวรรคเทวโลก ครั้น แลวจุติจากเทวดาไปอุบัติเกิดเปนมนุษยในมนุษยโลกอีกครั้งหนึ่ง แลวมีโอกาสกระทําความเพียร เจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปอยางไมหยุดยั้ง จนกระทั่งไดบรรลุอรหัตผลเปนพระอรหันต และ ดับขันธเขาสูพระปรินิพพาน ณ. มนุษยโลกนั้นเอง

41

พระโสดาบัน 3 พระโสดาบัน คือ พระอริยบุคคลชั้นรองลงมาจากพระสกทาคามี ซึง่ เปนผูไดบรรลุโสดา ปตติผล โดยละสังโยชนได 3 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา และสีลัพพตปรามาส พระโสดาบันนั้น แบงเปน 3 ประเภท ไดแก เอกพีชี โกลังโกละ และสัตตักขัตตุปรมะ

1 . เอกพีชี เอกพีชี คือ พระโสดาบันผูม ีจิตมากดวยปญญา เคยเจริญสมาธิมานอย แตเคยเจริญ ปญญามามาก ทานพระโสดาบันอริยบุคคลจําพวกนี้ นับวามีความวิเศษนัก เพราะวาทานจะ เกิดอีกเพียง 1 ชาติเทานั้น แลวก็จักมีโอกาสไดบรรลุอรหัตตผล สําเร็จเปนพระอรหันตอริยบุคคล ชั้นสูงสุดในบวรพุทธศาสนา และแลวก็จักดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน อันเปนแดนอมตสุข

2 . โกลังโกละ โกลังโกละ คือ พระโสดาบันผูที่จิตมีสมาธิและปญญาเทาๆกัน เคยเจริญสมาธิและ ปญญามาเทาๆกัน ทานพระโสดาบันอริยบุคคลจําพวกนี้ นับวามีความวิเศษรองลงมา เพราะวาทานจะเกิดอีกเพียง 2-3 ชาติเทานั้น แลวก็จกั มีโอกาสไดบรรลุอรหัตตผล สําเร็จเปนพระ อรหันตอริยบุคคลชั้นสูงสุดในบวรพุทธศาสนา และแลวก็จักดับขันธเขาสูพระปรินพิ พาน อันเปน แดนอมตสุข

3 . สัตตักขัตตุปรมะ สัตตักขัตตุปรมะ คือ พระโสดาบันผูมจี ติ มากดวยสมาธิแตปญญานอย เคยเจริญสมาธิ มามาก แตเจริญปญญามานอย ทานพระโสดาบันอริยบุคคลจําพวกนี้ นับวามีความวิเศษนอย กวาเพื่อน เพราะวาทานจะเกิดอีกอยางมากไมเกิน 7 ชาติ แลวก็จกั มีโอกาสไดบรรลุอรหัตตผล สําเร็จเปนพระอรหันตอริยบุคคลชั้นสูงสุดในบวรพุทธศาสนา และแลวก็จักดับขันธเขาสูพระ ปรินิพพาน อันเปนแดนอมตสุข

อรูปพรหม 4 อรูปพรหม คือ พรหมผูในอดีตชาติไดเจริญอรูปฌานแลว ขณะกําลังจะตาย จิตยังไม เสื่อมจากอรูปฌานชัน้ ใด ก็จะไดมาเกิดเปนพรหมในอรูปพรหมชัน้ นัน้ อรูปพรหมแบงเปน 4 ชัน้

42 ไดแก อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานา สัญญายตนะ

1 . อากาสานัญจายตนะ พนจากอกนิฏฐสุทธาวาสพรหมโลกภูมิขนึ้ ไปไกลแสนไกล จึงถึงเขตแหงพรหมโลกชัน้ ที่ 17 หรือเรียกตามประเภทอีกอยางหนึ่งวา " อรูปพรหมภูมทิ ี่ 1 " ซึ่งมีนามวา " อากาสานัญจายตน ภูมิ " ที่ไดนามเชนนี้ก็เพราะวาอรูปพรหมภูมิชั้นนี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระพรหมผูวิเศษทั้งหลายพวก หนึง่ ซึง่ มีแตนามคือจิตและเจตสิกเทานัน้ รูปพรรณสัณฐานไมมี เกิดจากฌานทีอ่ าศัยอากาศ บัญญัติซึ่งไมมีที่สิ้นสุดเปนอารมณ พระพรหมผูว ิเศษผูไมมีรูป ซึง่ อุบัติเกิด ณ. อรูปพรหมโลกแหง นี้ เพราะเหตุที่ตนปฏิสนธิดว ยอากาสานัญจายตนวิบากจิต ฉะนั้น จึงสถิตเสวยสุขอันแสนจะ ประณีตละเอียดเปนหนักหนา มีอายุยืนนานเปนยิ่งนัก ดวยอํานาจแหงอรูปฌานกุศลอันแรงกลา ที่ตนไดเคยบําเพ็ญมา โดยเหตุทวี่ า พระพรหมผูว ิเศษแตละองคที่สถิตอยูในอรูปพรหมโลกชั้นนี้ ลวนแตไดสําเร็จอรูปฌานที่ 1 มาแลวทั้งสิน้ อนึง่ ไดยินมาวา เมื่อคราวที่เขาไดสําเร็จจตุตถฌาน และมีดวงมานปรารถนาในภาวะที่ไมมีรูปกายนั้น เขาก็พลันรําพึงวา " รางกายกายานี้มโี ทษมีทกุ ข นัก จําเราจักเอาอากาศอันวางเปลาไมมที ี่สิ้นสุดเปนทีอ่ ยูแหงตัวขานีแ้ ล " แลวก็อธิษฐานเอา อากาศบัญญัตซิ ึ่งไมมีที่สนิ้ สุดเปนอารมณ เฝาภาวนาอยูแตวา " อากาศไมมที ี่สนิ้ สุดๆ " เฝาภาวนา อยูอยางนี้เรื่อยไป ดวยใจอันกอปรดวยพลังแหงสมาธิฌานอันหนักแนนมากมาย และไมทงิ้ ความ เพียรตามที่ไดร่ําเรียนมา คราทีนนั้ เขาผูม ีอธิษฐานมัน่ ก็ไดสําเร็จอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อ ไดสําเร็จอากาสานัญจายตนฌานแลว เขาก็มีใจผองแผว เต็มไปดวยความปรารถนาหนักแนนใน ดวงใจอยูตามเดิมวา " อากาศอันมากมายหนักหนาหาทีส่ ุดมิได ผลอันเราไดกระทําบําเพ็ญและ ใฝใจปรารถนา ขอตัวขาจงอยาไดมีรูปเลย " ดวยเหตุนี้ ครั้นวาเขาดับขันธสิ้นชีวติ ลง ก็ตรงมา อุบัติเกิดเปนพระพรหมผูว ิเศษ ณ. อากาสานัญจายตนภูมิอรูปพรหมโลกแหงนี้ เสวยสุขอัน ประณีตไปจนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 20,000 มหากัปป

2 . วิญญาณัญจายตนะ พนจากอากาสานัญจายตนภูมิขึ้นไปไกลแสนไกล จึงถึงเขตแหงพรหมโลกชัน้ ที่ 18 หรือ เรียกตามประเภทอีกอยางหนึ่งวา " อรูปพรหมภูมิที่ 2 " ซึ่งมีนามวา " วิญญาณัญจายตนภูมิ " ที่ได นามเชนนี้ก็เพราะวา อรูปพรหมภูมิชนั้ นี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระพรหมผูวิเศษทั้งหลายพวกหนึ่ง ซึ่งเกิดจากฌานที่อาศัยวิญญาณอันไมมที ี่สิ้นสุดเปนอารมณ พระพรหมผูวิเศษผูไมมีรูป ซึ่งอุบตั ิ เกิด ณ. อรูปพรหมโลกแหงนี้ เพราะเหตุทตี่ นปฏิสนธิดวยวิญญาณัญจายตนวิบากจิต ฉะนัน้ จึง

43 สถิตเสวยสุขอันแสนจะประณีตละเอียดเปนหนักหนา มีอายุยืนนานเปนยิง่ นัก ดวยอํานาจแหง อรูปฌานกุศลอันแรงกลาที่ตนไดเคยบําเพ็ญมา โดยเหตุที่วา พระพรหมผูวิเศษแตละองคที่สถิต อยูในอรูปพรหมโลกชัน้ นี้ ลวนแตไดสําเร็จอรูปฌานที่ 2 มาแลวทั้งสิน้ อนึง่ ไดยินมาวา เมื่อคราว ี านอันกลาเมื่อ ที่เขาไดสําเร็จอากาสานัญจายตนฌานซึง่ เปนอรูปฌานที่ 1 แลวนัน้ ตอมาเขาผูมฌ พิจารณาไปก็ใหรูสึกวา " อากาสานัญจายตนฌานนี้ยงั ไมดีนัก ยังเปนอรูปฌานชัน้ ต่ํา ยังใกลชดิ กับรูปฌานอยู " เมื่อพิจารณาและรูดังนี้ จึงมิพอใจคลายความนิยมในอากาสานัญจายตนฌานนัน้ เสีย ใครจะไดอรูปฌานชั้นสูงขึ้นไป จึงตั้งอกตั้งใจพยายามทําความเพียรเจริญภาวนาใหยิ่งขึน้ คือเอาวิญญาณอันแผไปทั่วอากาศไมมที สี่ ิ้นสุดเปนอารมณ แลวก็ตงั้ หนาอุตสาหะภาวนาตามที่ สั่งสอนสืบตอกันมาชานานวา " วิญญาณไมมีที่สิ้นสุดๆ " ภาวนาอยูอยางนี้เรื่อยไป นับเปน เวลานานบางชาบาง ตามพลังแหงสมาธิจิต หนักๆเขานิวรณธรรมทั้งหลายยอมสงบ สติยอมตั้ง มั่น จิตยอมมีความมั่นคงแนบแนนในวิญญาณบัญญัติ แลวพลันก็พนจากอากาสานัญจายตน ฌาน กาวเขาสูวิญญาณัญจายตนฌาน เมื่อเขาผูนนั้ ไดสําเร็จวิญญาณัญจายตนฌานแลว จิตใจก็ผองแผวเพราะสําเร็จสมประสงค ครั้นดับขันธสนิ้ ชีวิตลง ก็ตรงมาอุบัติบังเกิดเปนพระ พรหมผูว ิเศษ ณ. วิญญาณัญจายตนภูมอิ รูปพรหมโลกแหงนี้ เสวยสุขอันประณีตไปจนกวาจะครบ อายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 40,000 มหากัปป

3 . อากิญจัญญายตนะ พนจากวิญญาณัญจายตนภูมิขึ้นไปไกลแสนไกล จึงถึงเขตแหงพรหมโลกชัน้ ที่ 19 หรือ เรียกตามประเภทอีกอยางหนึ่งวา " อรูปพรหมภูมิที่ 3 " ซึ่งมีนามวา " อากิญจัญญายตนภูมิ " ที่ได นามเชนนี้ก็เพราะวา อรูปพรหมภูมิชนั้ นี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระพรหมผูวิเศษทั้งหลายพวกหนึ่ง ซึ่งเกิดจากฌานที่อาศัยนัตถิภาวบัญญัติเปนอารมณ พระพรหมผูวิเศษผูไมมีรูป ซึ่งอุบัติเกิด ณ. อรูปพรหมโลกแหงนี้ เพราะเหตุที่ตนปฏิสนธิดวยอากิญจัญญายตนวิบากจิต ฉะนัน้ จึงสถิต เสวยสุขอันแสนจะประณีตละเอียดเปนหนักหนา มีอายุยืนนานเปนยิ่งนัก ดวยอํานาจแหงอรูป ฌานกุศลอันแรงกลาที่ตนไดเคยบําเพ็ญมา โดยเหตุทวี่ า พระพรหมผูวิเศษแตละองคที่สถิตอยูใน อรูปพรหมโลกชั้นนี้ ลวนแตไดสําเร็จอรูปฌานที่ 3 มาแลวทัง้ สิ้น อนึง่ ไดยินมาวา เมื่อคราวที่เขา ไดสําเร็จวิญญาณัญจายตนฌานซึ่งเปนอรูปฌานที่ 2 แลวนั้น ตอมาเขาผูมีฌานกลาเมื่อพิจารณา ไปก็ใหรูสึกวา " วิญญาณัญจายตนฌานนีย้ ังไมดีนกั ยังเปนอรูปฌานชั้นต่าํ ยังไมประณีตพอ " เมื่อพิจารณาและรูดังนี้ จึงมิพอใจคลายความนิยมในวิญญาณัญจายตนฌานนั้นเสีย ใครจะได อรูปฌานชั้นสูงขึ้นไป จึงตั้งอกตั้งใจพยายามทําความเพียรเจริญภาวนาใหยงิ่ ขึ้น คือเอาความไม

44 มีอะไรเลยซึ่งเรียกวานัตถิภาวบัญญัติเปนอารมณ แลวก็ตั้งหนาอุตสาหะภาวนาตามที่สั่งสอนสืบ ตอกันมาชานานวา " ไมมีอะไรเลยๆ " ภาวนาอยูอยางนีเ้ รื่อยไป นับเปนเวลานานบางชาบาง ตามพลังแหงสมาธิจิต หนักๆเขานิวรณธรรมทั้งหลายยอมสงบ สติยอ มตั้งมั่น จิตยอมมีความ มั่นคงแนบแนนในนัตถิภาวบัญญัติ แลวพลันจิตก็พน จากวิญญาณัญจายตนฌาน กาวเขาสู อากิญจัญญายตนฌาน เมือ่ เขาผูนนั้ ไดสําเร็จอากิญจัญญายตนฌานแลว จิตใจก็ผองแผว เพราะสําเร็จสมประสงค ครั้นดับขันธสิ้นชีวิตลง ก็ตรงมาอุบัติบงั เกิดเปนพระพรหมผูวิเศษ ณ. อากิญจัญญายตนภูมิอรูปพรหมโลกแหงนี้ เสวยสุขอันประณีตไปจนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิ เปนระยะเวลาประมาณ 60,000 มหากัปป

4 . เนวสัญญานาสัญญายตนะ พนจากอากิญจัญญายตนภูมิขึ้นไปไกลแสนไกล จึงถึงเขตแหงพรหมโลกชั้นที่ 20 หรือ เรียกตามประเภทอีกอยางหนึ่งวา " อรูปพรหมภูมิที่ 4 " มีนามวา " เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ " ที่ไดนามเชนนีก้ ็เพราะวา อรูปพรหมภูมิชนั้ นี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระพรหมผูว ิเศษทั้งหลายพวก หนึง่ ซึง่ เกิดจากฌานที่อาศัยความประณีตเปนอยางยิง่ ไมมีสัญญาอยางหยาบมีแตสัญญาอยาง ละเอียดเทานัน้ หรือกลาวไดวาเปนภาวะที่มีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็ไมใชเปนอารมณ โดย พระพรหมผูวิเศษผูไมมีรูป ซึ่งอุบัติเกิด ณ. อรูปพรหมโลกแหงนี้ เพราะเหตุที่ตนปฏิสนธิดวยเนว สัญญานาสัญญายตนวิบากจิต ฉะนัน้ จึงสถิตเสวยสุขอันแสนจะประณีตละเอียดเปนหนักหนา มีอายุยนื นานเปนยิง่ นัก ดวยอํานาจแหงอรูปฌานกุศลอันแรงกลาที่ตนไดเคยบําเพ็ญมา โดยเหตุ ที่วา พระพรหมผูวเิ ศษแตละองคที่สถิตอยูในอรูปพรหมโลกชัน้ นี้ ลวนแตไดสําเร็จอรูปฌานที่ 4 มาแลวทั้งสิน้ อนึง่ ไดยินมาวา เมื่อคราวที่เขาไดสําเร็จอากิญจัญญายตนฌานซึ่งเปนอรูปฌานที่ 3 แลวนัน้ ตอมาเขาผูมีฌานกลาเมื่อพิจารณาไปก็ใหรสู ึกวา " อากิญจัญญายตนฌานนี้ยงั ไมดีนกั ยังเปนอรูปฌานชัน้ ต่ํา ยังไมประณีตพอ " เมื่อพิจารณาและรูดังนี้ จึงมิพอใจคลายความนิยมใน อากิญจัญญายตนฌานนัน้ เสีย ใครจะไดอรูปฌานชั้นสูงขึ้นไป จึงตั้งอกตั้งใจพยายามทําความ เพียรเจริญภาวนาใหยงิ่ ขึ้น คือเอาความมีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็ไมใชเปนอารมณ แลวก็ตงั้ หนาอุตสาหะภาวนาตามทีส่ ั่งสอนสืบตอกันมาชานานวา " มีสัญญาก็ไมใช ไมมีสญ ั ญาก็ไมใชๆ " ภาวนาอยูอยางนี้เรื่อยไป นับเปนเวลานานบางชาบาง ตามพลังแหงสมาธิจิต หนักๆเขานิวรณ ธรรมทั้งหลายยอมสงบ สติยอมตั้งมัน่ จิตยอมมีความมั่นคงแนบแนนในความสงบประณีตเปน ที่สุด แลวพลันก็พนจากอากิญจัญญายตนฌาน กาวเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เมื่อ เขาผูนนั้ ไดสําเร็จเนวสัญญานาสัญญายตนฌานแลว จิตใจก็ผองแผวเพราะสําเร็จสมประสงค

45 ครั้นดับขันธสนิ้ ชีวิตลง ก็ตรงมาอุบัติบังเกิดเปนพระพรหมผูวเิ ศษ ณ. เนวสัญญานาสัญญายตน ภูมิอรูปพรหมโลกแหงนี้ เสวยสุขอันประณีตไปจนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลา ประมาณ 84,000 มหากัปป

รูปพรหม 16 รูปพรหม คือ พรหมผูในอดีตชาติไดเจริญรูปฌานแลว ขณะกําลังจะตาย จิตยังไม เสื่อมจากรูปฌานชัน้ ใด ก็จะไดมาเกิดเปนพรหมในรูปพรหมชัน้ นั้น รูปพรหมแบงเปน 16 ชัน้ ไดแก พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา พรหมปริตตาภา พรหมอัปปมาณา พรหมอาภัสสรา พรหมปริตตสุภา พรหมอัปปมาณสุภา พรหมสุภกิณหา พรหมเวหัปผลา พรหมอสัญญีสัตตา พรหมอวิหา พรหมอตัปปา พรหมสุทัสสา พรหมสุทัสสี พรหมอกนิฏฐ

1 . พรหมปาริสัชชา พรหมโลกชั้นที่ 1 นี้มนี ามวา " พรหมปาริสัชชาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนที่สถิตอยูแ หงพระ พรหมทั้งหลาย ผูเปนบริษทั บริวารของเหลาทาวมหาพรหม ซึ่งสถิตอยูในชั้นมหาพรหมาภูมิ พรหมปาริสัชชาพรหมโลกนี้ ถึงแมจะเปนพรหมโลกชัน้ แรกคือชั้นต่าํ ที่สุด แตก็ตงั้ อยูเบื้องบนสูง กวาเทวโลกสวรรคชั้นสูงสุด คือปรินมิ มิตวสวัตตีสวรรคขึ้นไปถึงหาลานหาแสนแปดพันโยชน ฉะนัน้ จึงนับวาไกลจากมนุษยโลกเรานีน้ กั หนา ไมสามารถจะนับไดวาเปนกี่แสนกีล่ านโยชน ดวยเหตุฉะนี้ ทานจึงชี้ใหทราบความหางไกลระหวางมนุษยโลกกับพรหมโลกชัน้ นี้ โดยวิธีอนุมาน วา มีศิลากอนหนึ่งซึ่งมีความใหญเทาโลหะปราสาท ศิลากอนที่วา นี้เขานําเอาไปทิ้งใหตกดิ่งลง มาจากพรหมโลกชั้นพรหมปาริสัชชา ลอยละลิ่วดิ่งลงมาไมไดติดขัดที่ไหนแมแตสักนิดหนึ่งเลย กวาศิลากอนใหญนนั้ จะตกลงมาถึงแผนปฐพีในโลกมนุษยเรา ก็กนิ เวลานานนับได 4 เดือนพอดี หลับตาวาดภาพพิจารณาดูใหดีเถิดวา พรหมโลกชั้นต่ํานี้ตั้งอยูไกลจากมนุษยโลกเราเพียงไร ก็ แลพรหมโลกชัน้ นีน้ ั้น ปรากฏมีปราสาทแกวอันเรืองดวยรัศมีเปนพรหมวิมาน มีเครื่องอลังการ ดาดประดับสําหรับพรหมโลกสวยงามประณีตเปนหนักหนา ดีกวาสมบัติของเหลาเทพยดาเจา ทั้งหลายเปนไหนๆ เพราะสมบัติในพรหมโลกนี้ไซร เปนพรหมสมบัติอันประเสริฐล้ําเลิศนักแล พระพรหมแตละองค ซึง่ สถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตนในพรหมปาริสัชชาภูมินี้ ลวนแตมีคุณ วิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุปฐมฌานอยางสามัญมาแลวทัง้ สิ้น เสวยสุขอัน

46 ประณีตอยูในถิ่นพรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบ อายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 1/3 ของมหากัปป

2 . พรหมปุโรหิตา พรหมโลกชั้นที่ 2 นี้มนี ามวา " พรหมปุโรหิตาภูมิ " พรหมโลกชัน้ นี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมปาริสัชชา พระพรหมทั้งหลาย ผูสถิตอยูในพรหมปุโรหิตาภูมินี้ ยอมมีความประเสริฐ คือมีความเปนอยูล้ําเลิศวิเศษกวาเหลา พระพรหมปาริสัชชา ทั้งในดานพรหมสมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชนมีพรหม พิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและมีรูปทรงรางกายใหญกวา สวยงามกวาเปนอาทิ อนึ่ง พระพรหม แตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตนในพรหมปุโรหิตาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษโดยเคย เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุปฐมฌานอยางกลางมาแลวทัง้ สิ้น เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขยั แหงภูมิเปน ระยะเวลาประมาณ 1/2 ของมหากัปป

3 . มหาพรหมา พรหมโลกชั้นที่ 3 นี้มนี ามวา " มหาพรหมาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมปุโรหิตา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 2 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลาย ผูสถิตอยูในมหาพรหมาภูมนิ ี้ ยอมมีความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมปุโรหิตา ทั้งในดาน พรหมสมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและ มีรูปทรงรางกายใหญกวา สวยงามกวาเปนอาทิ อนึ่ง พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหม พิมานแหงตนในมหาพรหมาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุ ปฐมฌานอยางประณีตมาแลวทัง้ สิ้น เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความ เปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 1 มหากัปป

4 . พรหมปริตตาภา พรหมโลกชั้นที่ 4 นี้มนี ามวา " ปริตตาภาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนทีส่ ถิตอยูแหงพระพรหม ทั้งหลาย ผูท รงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นมหาพรหมา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญเหนือกวา พรหมภูมทิ ั้ง 3 ดังทีก่ ลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูส ถิตอยูในปริตตาภาภูมินี้ ยอมมีความ ประเสริฐ คือมีความเปนอยูล้ําเลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมชัน้ มหาพรหมา ทั้งในดานพรหม สมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและมี

47 รูปทรงรางกายใหญกวา สวยงามกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหม พิมานแหงตนในปริตตาภาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุทุติย ฌานอยางสามัญมาแลวทั้งสิ้น เสวยสุขอันประณีตอยูใ นถิ่นพรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความ เปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 2 มหากัปป

5 . พรหมอัปปมาณา พรหมโลกชั้นที่ 5 นี้มนี ามวา " อัปปมาณาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมปริตตาภา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 4 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูสถิตอยูในอัปปมาณาภูมินี้ ยอม มีความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมปริตตาภา ทัง้ ในดานพรหม สมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและมี รูปทรงรางกายใหญกวา สวยงามกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหม พิมานแหงตนในอัปปมาณาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุ ทุติยฌานอยางกลางมาแลวทั้งสิน้ เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความ เปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 4 มหากัปป

6 . พรหมอาภัสสรา พรหมโลกชั้นที่ 6 นี้มนี ามวา " อาภัสสราภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนทีส่ ถิตอยูแหงพระพรหม ทั้งหลาย ผูท รงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมอัปปมาณา เพราะเปนผูยิ่งใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 5 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูสถิตอยูในอาภัสสราภูมินี้ ยอมมี ความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมอัปปมาณา ทั้งในดานพรหม สมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและมี รูปทรงรางกายใหญกวา สวยงามกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหม พิมานแหงตนในอาภัสสราภูมินี้ ลวนแตมคี ุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุทุติย ฌานอยางประณีตมาแลวทัง้ สิ้น เสวยสุขอันประณีตอยูใ นถิ่นพรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความ เปนอยูอยางแสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 8 มหากัปป

7 . พรหมปริตตสุภา พรหมโลกชั้นที่ 7 นี้มนี ามวา " ปริตตสุภาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนทีส่ ถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมอาภัสสรา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 6 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูสถิตอยูในปริตตสุภาภูมินี้ ยอมมี

48 ความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมอาภัสสรา ทั้งในดานพรหม สมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและมี รูปทรงรางกายใหญกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตนใน ปริตตสุภาภูมินี้ ลวนแตมีคณ ุ วิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุตติยฌานอยาง สามัญมาแลวทั้งสิน้ เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยางแสน จะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 16 มหากัปป

8 . พรหมอัปปมาณสุภา พรหมโลกชั้นที่ 8 นี้มนี ามวา " อัปปมาณสุภาภูมิ " พรหมโลกชัน้ นี้ เปนที่สถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมปริตตสุภา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 7 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูสถิตอยูในอัปปมาณสุภาภูมินี้ ยอมมีความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมปริตตสุภา ทั้งในดาน พรหมสมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและ มีรูปทรงรางกายใหญกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตน ในอัปปมาณสุภาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุตติยฌาน อยางกลางมาแลวทั้งสิน้ เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยาง แสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 32 มหากัปป

9 . พรหมสุภกิณหา พรหมโลกชั้นที่ 9 นี้มนี ามวา " สุภกิณหาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนทีส่ ถิตอยูแหงพระพรหม ทั้งหลาย ผูท รงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมอัปปมาณสุภา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 8 ดังที่กลาวมาแลว พระพรหมทัง้ หลายผูสถิตอยูในสุภกิณหาภูมินี้ ยอมมี ความประเสริฐ คือมีความเปนอยูลา้ํ เลิศวิเศษกวาเหลาพระพรหมอัปปมาณสุภา ทัง้ ในดาน พรหมสมบัติและในดานสรีระรางกายอันเปนรูปทิพย เชน มีพรหมพิมานอันมีรัศมีรุงเรืองกวาและ มีรูปทรงรางกายใหญกวาเปนอาทิ อนึง่ พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตน ในสุภกิณหาภูมินี้ ลวนแตมคี ุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุตติยฌานอยาง ประณีตมาแลวทัง้ สิ้น เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยาง แสนจะสุขนักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 64 มหากัปป

49 10 . พรหมเวหัปผลา พรหมโลกชั้นที่ 10 นี้มนี ามวา " เวหัปผลาภูมิ " พรหมโลกชั้นนี้ เปนทีส่ ถิตอยูแหงพระ พรหมทั้งหลาย ผูทรงฐานะอันประเสริฐกวาเหลาพรหมชั้นพรหมสุภกิณหา เพราะเปนผูยงิ่ ใหญ เหนือกวาพรหมภูมิทั้ง 9 ดังที่กลาวมาแลว กลาวคือ 1 . เมื่อโลกถูกทําลายดวยไฟ ปฐมฌานภูมิ 3 จะถูกทําลายลง 2 . เมื่อโลกถูกทําลายดวยน้าํ ปฐมฌานภูมิ 3 ทุติยฌานภูมิ 3 จะถูกทําลายลง 3 . เมื่อโลกถูกทําลายดวยลม ปฐมฌานภูมิ 3 ทุติยฌานภูมิ 3 ตติยฌานภูมิ 3 จะถูกทําลายลง แตพระพรหมทั้งหลายผูสถิตอยูในเวหัปผลาภูมินี้ ยอมรอดพนจากการทําลายลงดวยภัย พิบัติตางๆนานา ไมตองถูกทําลายลงพรอมกับโลก จึงเรียกไดวา ไดรับผลแหงฌานกุศลอยาง ไพบูลยนนั่ เอง อนึ่ง พระพรหมแตละองคซึ่งสถิตอยู ณ. พรหมพิมานแหงตนในเวหัปผลาภูมินี้ ลวนแตมีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน คือรูปฌานชั้นสูงสุด มาแลวทั้งสิน้ เสวยสุขอันประณีตอยูในถิน่ พรหมโลกแหงนี้ มีสภาพความเปนอยูอยางแสนจะสุข นักหนา จนกวาจะครบอายุขัยแหงภูมิเปนระยะเวลาประมาณ 500 มหากัปป

11 . พรหมอสัญญีสัตตา พรหมโลกชั้นที่ 11 นี้มนี ามวา " อสัญญีสัตตาภูมิ " พรหมโลกชัน้ นี้ เปนพรหมทีม่ าจาก มนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐานจนทําใหราคะ เบาบาง เปนเหลาที่มีแตรูปไมมีนามคือสัญญา เมื่อยังเปนมนุษยนนั้ ไดบําเพ็ญในกาลทีว่ างจาก พระพุทธศาสนา เมื่อใดทีอ่ อกจากจตุตถฌานแลวก็เฝาแตเกลียดชังจิต ดวยเห็นวาทุกขท้งั หลาย เกิดมีขึ้นไดก็เพราะจิต ถาไมมีจิตความทุกขทั้งปวงจะมีมาแตไหน เมื่อใดจิตหายไปจากตน การ ไดอยูในภาวะที่ไมคิด ไมรู และไมจําอะไรๆเลยยอมเปนการดี จตุตถฌานก็รักษาไวและเมื่อออก จากฌานก็เฝาแตภาวนาอสัญญีป " ขอกูจงอยามีสัญญาเลย " เมื่อตายจากมนุษยยับยัง้ อยูดวย อิริยาบถใด ก็อุบัติเปนพรหมอสัญญีสัตตาดวยอิริยาบถนัน้ เชน เมื่อเปนมนุษยและตายลงดวย อิริยาบถนั่ง ก็อุบัติเปนพรหมในอิริยาบถนัง่ เปนตน ทัว่ ไปมักนิยมเรียกพรหมทีม่ าอุบัติในชัน้ นี้ วา " พรหมลูกฟก " เมื่อหมดอายุขัยแหงพรหมเปนระยะเวลาประมาณ 500 มหากัปปแลว ก็จุติไป อุบัติตามอํานาจกรรมที่ไดกระทําไวกอนเปนพรหม อนึ่ง พระอริยบุคคลและพระโพธิสัตวนนั้ จะ ไมอุบัติมาเปนพรหม ในอสัญญีสัตตาภูมิพรหมโลกชั้นนี้โดยเด็ดขาด

50 12 . พรหมอวิหา (สุทธาวาสที่ 1) พรหมโลกชั้นที่ 12 นี้มนี ามวา " อวิหาภูมิ " คือพรหมภูมทิ ี่ 1 ของชั้นสุทธาวาส เปนพรหม ที่มาจากมนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐานจนได บรรลุตติยมรรค ประหารสังโยชน 5 ประการแรกสําเร็จเปนพระอนาคามี ปจุบนั กําลังบําเพ็ญ อรหัตตมรรค พรหมอวิหาเปนเหลาผูไมเสื่อมจากสมาบัติของตนหรือผูไมละไปเร็ว จะอยูในพรหม ภูมิแหงนีจ้ นครบอายุพรหมคือประมาณ 1,000 มหากัปปอยางแนนอน สวนเหลาอื่นนั้นไมแนนอน พรหมอวิหานี้ เปนเหลาผูมสี ัทธินทรียแกกลากวาอินทรียอื่น

13 . พรหมอตัปปา (สุทธาวาสที่ 2) พรหมโลกชั้นที่ 13 นี้มนี ามวา " อตัปปาภูมิ " คือพรหมภูมิที่ 2 ของชัน้ สุทธาวาส เปน พรหมที่มาจากมนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐาน จนไดบรรลุตติยมรรค ประหารสังโยชน 5 ประการแรกสําเร็จเปนพระอนาคามี ปจุบนั กําลัง บําเพ็ญอรหัตตมรรค พรหมอตัปปาเปนเหลาผูไมทําความเดือดรอนใหแกใคร เขาฌานสมาบัติ หรือผลสมาบัติอยูเสมอ เปนผูมีวิรยิ ินทรียแกกลากวาอินทรียอนื่ พรหมภูมินถี้ าสิน้ อายุขยั คือ ประมาณ 2,000 มหากัปป แลวยังมิไดบรรลุเปนพระอรหันต ก็ตองจุติไปอุบัติในภูมิพรหมอกนิฏฐ และบรรลุเปนพระอรหันตในภูมิพรหมอกนิฏฐนั้น

14 . พรหมสุทัสสา (สุทธาวาสที่ 3) พรหมโลกชั้นที่ 14 นี้มนี ามวา " สุทัสสาภูมิ " คือพรหมภูมิที่ 3 ของชัน้ สุทธาวาส เปน พรหมที่มาจากมนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐาน จนไดบรรลุตติยมรรค ประหารสังโยชน 5 ประการแรกสําเร็จเปนพระอนาคามี ปจุบนั กําลัง บําเพ็ญอรหัตตมรรค พรหมสุทัสสาเปนเหลาผูมีความเห็นอยางแจมใส สามารถเห็นสภาวธรรม ไดโดยแจงชัด เปนผูมที ิพพจักษุ ธรรมจักษุ ปญญาจักษุ และเปนผูมีสตินทรียแกกลากวา อินทรียอนื่ พรหมภูมินถี้ าสิน้ อายุขยั คือประมาณ 4,000 มหากัปป แลวยังมิไดบรรลุเปนพระ อรหันต ก็ตองจุติไปอุบัติในภูมิพรหมอกนิฏฐ และบรรลุเปนพระอรหันตในภูมิพรหมอกนิฏฐนั้น

15 . พรหมสุทัสสี (สุทธาวาสที่ 4) พรหมโลกชั้นที่ 15 นี้มนี ามวา " สุทัสสีภูมิ " คือพรหมภูมิที่ 4 ของชั้นสุทธาวาส เปนพรหม ที่มาจากมนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐานจนได บรรลุตติยมรรค ประหารสังโยชน 5 ประการแรกสําเร็จเปนพระอนาคามี ปจุบนั กําลังบําเพ็ญ

51 อรหัตตมรรค พรหมสุทัสสีเปนเหลาผูมีความเห็นอยางแจมใสมากกวาพรหมสุทัสสา สามารถเห็น สภาวธรรมไดโดยแจงชัด บริบูรณดวยประสาทจักษุ ทิพพจักษุ ธรรมมจักษุ ปญญาจักษุ มากกวาพรหมสุทัสสา และเปนผูมีสมาธินทรียแกกลากวาอินทรียอนื่ พรหมภูมนิ ี้ถาสิน้ อายุขยั คือ ประมาณ 8,000 มหากัปป แลวยังมิไดบรรลุเปนพระอรหันต ก็ตองจุติไปอุบัติในภูมิพรหมอกนิฏฐ และบรรลุเปนพระอรหันตในภูมิพรหมอกนิฏฐนั้น

16 . พรหมอกนิฏฐ (สุทธาวาสที่ 5) พรหมโลกชั้นที่ 16 นี้มนี ามวา " อกนิฏฐภูมิ " คือพรหมภูมิที่ 5 ของชัน้ สุทธาวาส เปน พรหมที่มาจากมนุษยที่เจริญสมถกรรมฐานจนไดบรรลุจตุตถฌาน และเจริญวิปสสนากรรมฐาน จนไดบรรลุตติยมรรค ประหารสังโยชน 5 ประการแรกสําเร็จเปนพระอนาคามี ปจุบนั กําลัง บําเพ็ญอรหัตตมรรค พรหมอกนิฏฐเปนเหลาผูท รงคุณวิเศษไมเปนรองใคร เปนผูม ีปญญินทรีย แกกลากวาอินทรียอนื่ พรหมภูมินจี้ ักตองไดบรรลุเปนพระอรหันต ภายในอายุขัยแหงภูมิ คือ ประมาณ 16,000 มหากัปปอยางแนนอน

เทวดา 6 เทวดา คือ ผูที่ในอดีตชาติไดประกอบกุศลกรรม ไดแก การใหทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา ขณะตายจิตมิไดอยูในรูปฌานหรืออรูปฌาน เทวดาแบงเปน 6 ชัน้ ไดแก จาตุมมหาราชิกา ดาวดึงส ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรินิมมิตวสวัตตี

1 . จาตุมมหาราชิกา เทวภูมิอนั ดับที่ 1 นี้เปนแดนแหงความสุข ที่สถิตอยูแหงปวงเทพยดาชาวฟาผูอุบตั ิเทพ มี เทวราชผูยงิ่ ใหญ 4 พระองค ทรงเปนอธิบดีผูมีมเหศักดิป์ กครองดูแล เพราะฉะนั้นสรวงสวรรคชนั้ นี้จึงมีนามวา " จาตุมมหาราชิกาเทวภูมิ " ภูมิอันเปนที่อยูแหงทวยเทพ อันมีเทาจาตุมหาราชทรง เปนอธิบดี เมืองสวรรคชั้นฟาอันมีนามวาจาตุมมหาราชิกานี้ มีเมืองใหญซงึ่ เปนเทพนครอยูถงึ 4 พระนคร แตละพระนครมีปราการกําแพงทองทิพยเหลืองอรามแลดูงามนักหนา ซ้าํ ประดับประดา ไปดวยสัตตรัตนะแกว 7 ประการ บานประตูแหงกําแพงทองทิพยนนั้ แลวไปดวยแกววิเศษแสน ประเสริฐ และมีปราสาทอันรุงเรืองสวยงามอยูเหนือประตูทุกๆประตู ภายในเทพนครอันกวาง ใหญไพศาลนัน้ มีปราสาทแกวอันเปนวิมานที่อยูแหงเทพยดาชาวฟาทั้งหลาย ปรากฏตั้งอยูเรียง รายมากมาย ฝายพื้นภูมิภาคนัน้ เลา ก็หาใชเปนพืน้ แผนปฐพีดงั มนุษยโลกเรานี้ไม โดยที่แทเปน

52 พื้นแผนสุวรรณทองคํา มีสีเหลืองอรามรุงเรืองเลื่อมพรรณรายราบเรียบเสมอ มีครุวนาดุจหนา กลองและมีความวิเศษออนนิ่มดังฟูกผา เมื่อฝูงเทพยดาทัง้ หลายเหยียบลงไป ก็มลี ักษณะการ ออนยุบลงแลวก็เต็มขึ้นมาดังเดิม มิไดเห็นรอยเทาของเทพยดาทัง้ หลายเหลานั้นเลย สวรรคชั้น จาตุมมหาราชิกาเทวภูมนิ ี้ นอกจากจะมีสมบัติทิพยอันอํานวยความสุขใหแกปวงเทพยดา นานาประการแลว ยังมีสระโบกขรณีอันมีน้ําใสยิ่งกวาแกว เต็มไปดวยปทุมชาตินานาชนิดสง กลิ่นทิพยหอมตลบอบอวลไปทั่วบริเวณ เปนดังเชนมีใครแสรงเอาน้ําอบน้ําหอมไปประพรมไว ตลอดกาลฉะนั้น มีดอกไมนานาพันธุสีสนั วิจิตรตระการตา และมีรุกขชาติตนไมสวรรคอันแสน ประเสริฐนักหนา ดวยวามีผลปรากฏประกอบไปดวยโอชารสอันยิง่ แลอันวามิ่งไมในสรวงสวรรค นั้น ยอมมีดอกมีผลอันเปนทิพย ปรากฏใหเหลาชาวสวรรคไดช่นื ชมอยูตลอดกาลไมมีวันรวงโรย แลหมดไปเลย ก็เทพนครทัง้ 4 ในสรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีเทวาธิราชผูม เหศักดิ์มี มหิทธิอํานาจปกครอง ดังตอไปนี้ 1 . ทาวธตรฐมหาราช : เทพนครปราการสุวรรณอันสวยสดงดงาม ซึ่งตั้งอยูในทิศบูรพา คือทิศตะวันออกแหงแดนสุขาวดีสรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีเทวาผูย ิ่งใหญทรงพระนาม วา " ทาวธตรฐมหาราช " ทรงเปนจอมเทพผูป กครอง ก็อนั วาทานทาวธตรฐมหาราชนี้ พระองค ทรงเปนเทวาธิราช มีบุญญานุภาพมาก มีรัศมีมาก เทวาที่อุบัติเกิดเปนบุตรของพระองคมี มากมาย แตละพระองคลว นแตทรงไวซงึ่ กําลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ เปนอัน มาก พระองคทรงเปนอธิบดีผูมีอํานาจใหญ ทรงปกครองทวยเทพในเทพนครดานทิศบูรพา ณ. สรวงสวรรคชนั้ จาตุมมหาราชิกานี้โดยธรรม ยังความสุขสําราญชื่นบานหรรษา ใหบังเกิดแกมวล เทพยดาผูเปนบริวาร ตลอดทุกทิพาราตรีกาล นอกจากจะทรงเปนเทวาธิราชผูมยี ศศักดิ์และ อํานาจเหนือเทพบริษทั ในเทพนครดานทิศบูรพาดังกลาวแลว ทานทาวธตรฐมหาราชยังทรงดํารง ตําแหนงเปนอธิบดีปกครอง " หมูคนธรรพ " อีกตําแหนงหนึง่ ดวย ก็หมูคนธรรพนี้เปนเทวดาพวก หนึง่ ซึง่ นับเนื่องอยูในสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีความถนัดในการดนตรีศิลปะระบํารําฟอน และชํานาญในเพลงขับเปนยิ่งนัก มีชื่อเสียงเปนที่รูจกั กันอยูในหมูเทวดาทัง้ หลาย เชน คนธรรพ ผูหนึง่ ซึ่งมีนามวา " สุธรรมา " ชํานาญในการตีกลองประจําตัว กับคนธรรพอีกผูหนึ่งซึ่งมีนามวา " พิมพสุรกะ " ชํานาญในการตีกลองหนาเดียว เมื่อเขาทั้งสองตีกลองดวยเพลงคนธรรพอันเลื่องลือ ยอมปรากฏวามีความไพเราะ เปนที่เสนาะโสตชืน่ ชอบแหงเหลาเทพยดานักหนา ไมวาจะมี เทวสันนิบาต การชืน่ ชุมนุมเพื่อความสนุกสนานของเหลาเทวดาทั้งหลาย ณ. ที่ใด ยอมมีฝูง

53 คนธรรพทงั้ หลายไปรวมดวย โดยทําหนาที่เปนผูขับกลอมและจับระบํารําฟอนใหปวงเทพไดรับ ความชืน่ บานเริงสราญในเทวสันนิบาตสถานนั้นๆ อยูเปนนิตยเสมอมามิไดขาดสักคราเลย 2 . ทาววิรุฬหกมหาราช : เทพนครปราการสุวรรณอันสวยสดงดงาม ซึ่งตั้งอยูในทิศทักษิน คือทิศใตแหงแดนสุขาวดีสรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีเทวาผูย ิ่งใหญทรงพระนามวา " ทาว วิรุฬหกมหาราช " ทรงเปนจอมเทพผูปกครอง ก็อนั วาทานทาววิรุฬหกมหาราชนี้ พระองคทรงเปน เทวาธิราช มีบุญญานุภาพมาก มีรัศมีมาก เทวาที่อุบัติเกิดเปนบุตรของพระองคมีมากมาย แต ละพระองคลว นแตทรงไวซงึ่ กําลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ เปนอันมาก พระองค ทรงเปนอธิบดีผูมีอํานาจใหญ ทรงปกครองทวยเทพในเทพนครดานทิศทักษิน ณ. สรวงสวรรคชนั้ จาตุมมหาราชิกานีโ้ ดยธรรม ยังความสุขสําราญชื่นบานหรรษา ใหบงั เกิดแกมวลเทพยดาผูเปน บริวาร ตลอดทุกทิพาราตรีกาล นอกจากจะทรงเปนเทวาธิราช ผูม ียศศักดิ์และมีอํานาจเหนือ เทพบริษทั ในเทพนครดานทิศทักษินดังกลาวแลว ทานทาววิรุฬหกมหาราช ยังทรงดํารงตําแหนง เปนอธิบดีปกครอง " หมูก ุมภัณฑ " อีกตําแหนงหนึ่งดวย ก็หมูกมุ ภัณฑนี้ เปนพวกกายทิพยพวก หนึง่ ซึง่ มีรูปรางแปลกประหลาดพิกล คือสวนอุทรทองนั้นมีสัณฐานใหญผิดธรรมดา และมี สัญลักษณพิเศษที่สังเกตุไดงายอีกอยางหนึ่งก็คือ เหลากายทิพยพวกนี้มีอัณฑะ ซึ่งมีลักษณะ เหมือนหมอ ฉะนัน้ จึงไดนามวากุมภัณฑ ซึง่ แปลวาเหลาสัตวทมี่ ีอัณฑะเหมือนหมอ 3 . ทาววิรูปกษมหาราช : เทพนครปราการสุวรรณอันสวยสดงดงาม ซึ่งตั้งอยูในทิศปจฉิม คือทิศตะวันตกแหงแดนสุขาวดีสรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีเทวาผูยิ่งใหญทรงพระนามวา " ทาววิรูปกษมหาราช " ทรงเปนจอมเทพผูป กครอง ก็อนั วาทานทาววิรูปกษมหาราชนี้ พระองค ทรงเปนเทวาธิราช มีบุญญานุภาพมาก มีรัศมีมาก เทวาที่อุบัติเกิดเปนบุตรของพระองคมี มากมาย แตละพระองคลว นแตทรงไวซง่ึ กําลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ เปนอัน มาก พระองคทรงเปนอธิบดีผูมีอํานาจใหญ ทรงปกครองทวยเทพในเทพนครดานทิศปจฉิม ณ. สรวงสวรรคชนั้ จาตุมมหาราชิกานี้โดยธรรม ยังความสุขสําราญชื่นบานหรรษา ใหบังเกิดแกมวล เทพยดาผูเปนบริวาร ตลอดทุกทิพาราตรีกาล นอกจากจะทรงเปนเทวาธิราช ผูม ียศศักดิ์และมี อํานาจเหนือเทพบริษทั ในเทพนครดานทิศปจฉิมดังกลาวแลว ทานทาววิรูปกษมหาราช ยังทรง ดํารงตําแหนงเปนอธิบดีปกครอง " หมูน าค " อีกตําแหนงหนึ่งดวย ก็หมูนาคนี้ เปนสัตววเิ ศษ เหลากายทิพยพวกหนึ่ง ซึ่งปรากฏวามีฤทธิ์เดชมาก เพราะพิษแหงนาคทั้งหลายนั้นมีฤทธิ์กลา แข็ง เพียงถูกตองบุคคลใดบุคคลหนึ่ง พิษแหงนาค ยอมมีฤทธิ์สามารถตัดเอาผิวหนังแหงบุคคล นั้น ใหถงึ แกความตายไดในพริบตาเหมือนกับคมดาบ และเหลานาคทั้งหลายยอมรูจักนิรมิตตน

54 เมื่อมีความประสงคจะเที่ยวไปในที่ตางๆ ณ. แดนมนุษยโลกเรานี้ บางคราวเหลานาคีผูมฤี ทธิย์ อ ม นิรมิตตนเปนงู บางคราวก็ทรงเพศเปนเทพยดา แตบางคราก็นิรมิตตนเปนกระแตบาง เปนตน เที่ยวไปในราวไพรตามอัธยาศัยแหงตนอยางสุขสําราญ ในกรณีหากจะมีปญหาวา " สัตวทงั้ หลาย ในวัฏฏสงสาร ทํากรรมอะไรไว จึงไดมีโอกาสมาเกิดเปนนาคไดเลา ? " คําวิสัชชนาก็มวี า ไดมี พระภิกษุพุทธสาวกรูปหนึง่ ไดเขาไปเฝาแลวทูลถามสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พระองคผูทรง ไวซึ่งพระสัพพัญุตญาณวา " ขาแตพระองคผูทรงพระเจริญ ! อะไรหนอเปนเหตุเปนปจจัยใหคน บางคนในโลกนี้ ตายแลวไปเกิดเปนนาค ? " สมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ไดทรงมีพระมหากรุณา ตรัสวา " บุคคลบางคนในโลกนี้ เขาไดยินไดฟงมาวา พวกนาคมีอายุยืน มีวรรณะงาม มี ความสุขมาก เขาจึงชอบใจ แลวทําความดีดวยไตรทวาร แลวมีความปรารถนาวา โอหนอ เมื่อเราตายไปจากโลกนี้แลว ขอใหเราไดไปบังเกิดเปนนาค ครั้นเขาตายไปแลว ยอมเขาถึง ความเปนสหาย คือไดไปเกิดเปนนาค " พระพุทธฎีกานี้ ยอมเปนเครือ่ งชี้ใหเห็นวา ผูทปี่ ระกอบ กัลยาณกรรมความดีดวยกาย วาจา และใจ ยินดีในการบําเพ็ญกุศล เมื่อตองการไปเกิดเปน นาค ยอมไดเกิดเปนนาค ในชาติตอไปสมความปรารถนา 4 . ทาวเวสสุวรรณมหาราช : เทพนครปราการสุวรรณอันสวยสดงดงาม ซึง่ ตั้งอยูในทิศ อุดร คือทิศเหนือแหงแดนสุขาวดีสรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานี้ มีเทวาผูย ิ่งใหญทรงพระนาม วา " ทาวเวสสุวรรณมหาราช " ทรงเปนจอมเทพผูปกครอง ก็อนั วาทานทาวเวสสุวรรณมหาราชนี้ พระองคทรงเปนเทวาธิราช มีบุญญานุภาพมาก มีรัศมีมาก เทวาที่อุบัติเกิดเปนบุตรของ พระองคมีมากมาย แตละพระองคลวนแตทรงไวซงึ่ กําลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ เปนอันมาก พระองคทรงเปนอธิบดีผูมีอาํ นาจใหญ ทรงปกครองทวยเทพในเทพนครดานทิศอุดร ณ. สรวงสวรรคชั้นจาตุมมหาราชิกานีโ้ ดยธรรม ยังความสุขสําราญชืน่ บานหรรษา ใหบงั เกิดแก มวลเทพยดาผูเปนบริวาร ตลอดทุกทิพาราตรีกาล นอกจากจะทรงเปนเทวาธิราช ผูม ียศศักดิ์ และมีอํานาจเหนือเทพบริษทั ในเทพนครดานทิศอุดรดังกลาวแลว ทานทาวเวสสุวรรณมหาราช ยังทรงดํารงตําแหนงเปนอธิบดีปกครอง " หมูยกั ษ " อีกตําแหนงหนึง่ ดวย ก็หมูย ักษนี้ เปนพวก กายทิพยพวกหนึง่ ซึง่ ปรากฏวาสันดานแตกตางกัน คือบางตนก็มสี ันดานดีประกอบดวยศีลธรรม บางตนมีสันดานรายมีจิตใจมากไปดวยโทสะ โมหะ เปนอันธพาลใจแกลวกลาหาญดุดัน มิใคร จะเลื่อมใสเชื่อฟงคําแหงพระสัพพัญูเจาเอางายๆ อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ จา ตุมมหาราชิกานี้ไววา " ดูกรภิกษุทงั้ หลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวย

55 ทานมีประมาณยิ่ง ทําบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยศีลมีประมาณยิง่ ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จ ดวยภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชัน้ จาตุมมหาราชิกานี้ โดย ฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุทพิ ย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิ่นทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

2 . ดาวดึงส เทวภูมิอนั ดับที่ 2 เปนแดนแหงความสุข ซึ่งเปนที่สถิตอยูแหงปวงเทพยดาชาวฟาผูอ ุบัติ เทพ มีเทพผูเปนอธิบดีมเหศักดิ์รวม 33 องค อันมีทา นทาวสักกเทวาธิราชเปนประธานาธิบดี เพราะฉะนัน้ สรวงสวรรคชั้นนี้จงึ มีนามวา " ตาวติงสเทวภูมิ " ภูมิอันเปนที่อยูแหงทวยเทพอันมีเทพ 33 องคทรงเปนอธิบดี แดนสุขาวดีเมืองสวรรคชั้นฟาอันมีนามวาตาวติงสเทวภูมิ หรือที่เรียกให ฟงกันงายๆในหมูชาวเราวาสวรรคชั้นดาวดึงส สวรรคชนั้ นี้ตงั้ อยูเหนือจอมเขาสิเนรุราชบรรพต ปรากฏเปนเทพนครใหญกวางขวางนักหนา ปรางคปราสาทลวนแลวไปดวยแกวอันเปนทิพยแวด ลอมรอบพระนครดวยปราการกําแพงแกวทิพยอีกเชนกัน เพราะความมโหฬารกวางใหญของเทพ นครแหงนี้ จึงปรากฏวามีประตูที่กําแพงแกวถึง 1,000 ประตู และมีปราสาทยอดอันทรงรัศมี เลื่อมพรรณราย สวยสดงดงามอยูเหนือประตูทุกๆประตู เมื่อประตูเหลานัน้ เปดออกแตละครั้ง ยอมปรากฏมีเสียงดังไพเราะเปนยิง่ นัก ในดาวดึงสภูมนิ ี้ทิศตะวันออกมีสวนนันทวัน ทิศตะวันตก มีสวนจิตรลดาวัน ทิศเหนือมีสวนมิสสกวัน ทิศใตมีสวนปารุสกวัน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือมี 2 สวน สวนหนึง่ ชื่อ " ปุณฑริกะ " มีตนปาริฉัตรที่ใหญโตมาก ใตรมปาริฉัตรมีแทนปณฑุกัมพลศิลา อาสน แทนนีเ้ มื่อพระพุทธเจาเสด็จไปเทศนาโปรดพระพุทธมารดา ก็ใชเปนที่ประทับแสดงพระ ธรรมเทศนา มีศาลาสุธรรมาเปนที่ประชุมฟงธรรม มีเจดียแกวมรกตชื่อวา " พระจุฬามณี " บรรจุ พระเขี้ยวแกว (ฟนเขี้ยวขางขวาของพระผูม ีพระภาค) กับบรรจุพระเกศา (ผมที่ทรงตัดออกตอน เสด็จออกทรงผนวช) อีกสวนหนึง่ ชื่อสวนมหาวันมีสระชื่อสุนนั ทา สวนนี้เปนที่ประทับสําราญพระ อิริยาบถของทาวสักกเทวราช ที่ศาลาสุธรรมานั้น ตามปกติมีพรหมชื่อสนังกุมาระเปนผูเสด็จลง มาแสดงธรรม แตในบางโอกาสทาวสักกเทวราชหรือเทวดาองคอนื่ ทีท่ รงความรูในธรรมดี ก็เปนผู แสดง เทวดาตั้งแตชั้นดาวดึงสขึ้นไปนี้ ปฏิสนธิดวยโอปปาติกกําเนิดอยางเดียวเทานั้น เทวดา ชั้นเดียวกันยอมเห็นซึ่งกันและกันได และเห็นผูท ี่อยูชนั้ ต่าํ กวาตนได แตไมสามารถจะเห็นผูที่อยู ในชั้นที่สูงกวาตนได ทาวสักกเทวราชหรือทาวโกสียอมั รินทร ซึง่ เรียกกันสัน้ ๆวา " พระอินทร " นี้ อยูในชั้นดาวดึงส แตเปนผูปกครองเทพยดาทัง้ ในชัน้ ดาวดึงสและชัน้ จาตุมมหาราชิกาดวย บางที ก็เรียกวา " ทาวสหัสสนัย " หรือ " ทาวพันตา " เพราะจักขุดีมาก เห็นไดชัดเจนและเห็นไดไกลมาก

56 เทากับดวงตาตั้งพันดวง พระอินทรองคปจ จุบันนี้สําเร็จเปนพระโสดาบันแลว เมื่อจุติจากเทวโลก ก็จะมาบังเกิดเปนพระเจาจักรพรรดิ์ในมนุษยโลก และจะไดสําเร็จเปนพระสกทาคามี เมื่อจุติจาก มนุษยโลกจะไปบังเกิดในชั้นดาวดึงสอีก คราวนี้ไดสําเร็จเปนพระอนาคามี เมื่อจุตทิ ีนกี้ ็จะไป บังเกิดในชั้นสุทธาวาส ตั้งแตชั้นอวิหาเปนตนไปตามลําดับจนถึงชัน้ อกนิฏฐา และสําเร็จเปนพระ อรหันตแลวปรินิพพานในชัน้ นัน้ เทวดาในดาวดึงสภูมนิ ี้มี 2 พวก ไดแก ภุมมัฏฐเทวดาอาศัยพื้น แผนดินอยู และอากาสัฏฐเทวดามีวิมานลอยอยูในอากาศเปนที่อยู อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ ดาวดึงสนี้ไววา " ดูกรภิกษุทงั้ หลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยทานมี ประมาณยิง่ ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยศีลมีประมาณยิ่ง ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวย ภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชั้นดาวดึงส โดยฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุทพิ ย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิน่ ทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

3 . ยามา เทวภูมิอนั ดับที่ 3 นี้ เปนแดนสวรรค ซึง่ เปนที่สถิตอยูแ หงปวงเทพยดาชาวฟาทัง้ หลาย ผูไมมีความลําบาก แลถึงซึง่ ความสุขอันเปนทิพย มีเทพผูมเหศักดิ์ทรงนามวาสมเด็จทาวสุยามา เทวาธิราชทรงเปนอธิบดีผูปกครอง เพราะฉะนัน้ สวรรคชั้นนี้จงึ มีนามวา " ยามาเทวภูมิ " ภูมิอัน เปนที่อยูแหงทวยเทพอันมีทาวสุยามาเทวาธิราชทรงเปนอธิบดี แดนแหงความสุขคือเมืองสวรรค ชั้นฟา อันมีนามวายามาเทวภูมนิ ี้ เปนเทพนครที่ตั้งอยูเหนือสวรรคชั้นดาวดึงสขนึ้ ไปเบื้องบนไกล แสนไกล ภายในเทพนครทีว่ านี้ ปรากฏวามีปราสาทเงินและปราสาททอง เปนปราสาทพิมานที่ สถิตอยูของเทพเจาเหลาชาวสวรรคชั้นยามาทัง้ หลาย ก็แลปราสาทวิมานเหลานัน้ ยอมมีสภาวะ สวยงามวิจิตรตระการ ยิง่ กวาปราสาทวิมานในสวรรคชั้นดาวดึงส มีรัตนาปราการกําแพงแกวอัน รุงเรืองเลื่อมพรรณรายลอมรอบทุกๆวิมาน มีสวนอุทยานและสระโบกขรณีอันเปนทิพยอยู หลากหลาย ที่ควรจะจําไวงายๆก็คือในสวรรคเมืองฟาชั้นยามานี้ ไมปรากฏมีพระอาทิตยและ พระจันทรเลย เพราะอยูสูงกวาพระอาทิตยและพระจันทรมากมายนัก เทพยดาทัง้ หลายยอมแล เห็นแสงสวาง ดวยรัศมีแหงแกวและรัศมีที่ออกมาจากกายตัวแหงเทพเจาเหลานัน้ เอง การที่จักรู วันและคืนไดนั้นยอมรูไดจากบุปผชาติดอกไมทิพย ซึง่ มีอยูในสรวงสวรรคชั้นยามานั่นเองเปน สัญลักษณ ถาหากวาเห็นดอกไมทิพยบานก็เปนอันแสดงวาเปนเพลารุงกลางวัน ถาหากวา ดอกไมทิพยนนั้ หุบลงก็เปนนิมิตแสดงวาเปนเพลาราตรี อนึ่ง เหลาเทพผูมีบุญทัง้ หลายผูไดเคย

57 กอสรางกองการกุศลเอาไว และเดชะแหงกุศลนั้นสงใหมาอุบัติเกิดในสวรรคชั้นนี้ ยอมมี องคาพยพและหนาตางดงามรุงเรืองนักหนา มีชีวิตความเปนอยูอยางผาสุก แสนจะชื่นบานสุข สําราญเทพหฤทัย เสวยสมบัติอันเปนทิพยสมควรแกอัตตภาพ อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ ยามา นี้ไววา " ดูกรภิกษุทงั้ หลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวยทานมีประมาณ ยิ่ง ทําบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยศีลมีประมาณยิง่ ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวยภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชั้นยามา โดยฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุ ทิพย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิน่ ทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

4 . ดุสิต เทวภูมิอนั ดับที่ 4 นี้เปนแดนแหงความสุข ซึง่ เปนที่สถิตอยูแหงปวงเทพเจาชาวฟา ทั้งหลาย ผูมคี วามยินดีและแชมชื่นอยูเ ปนนิตย โดยมีเทพเจาผูมเหศักดิ์ทรงนามวาสมเด็จทาว สันดุสิตเทวาธิราชทรงเปนอธิบดี เพราะฉะนัน้ สรวงสวรรคชั้นนี้จึงมีนามวา " ตุสิตาเทวภูมิ " ภูมิอัน เปนที่อยูแหงทวยเทพ อันมีทานทาวสันดุสิตเทวาธิราชทรงเปนอธิบดี แดนแหงความสุขเมือง สวรรคชั้นฟา อันมีนามวาตุสิตาเทวภูมินี้ เปนเทพนครที่ตั้งอยูเหนือสวรรคชั้นยามาขึ้นไปในเบื้อง บนไกลแสนไกล ภายในเทพนครนี้ปรากฏวามีปราสาทวิมานอยู 3 ชนิด ไดแก วิมานแกว วิมานทอง และวิมานเงิน ปราสาทวิมานเหลานี้ ตัง้ อยูเรียงรายมากมาย แตละวิมานเปน ปราสาทสวยสดงดงาม มีความวิจิตรตระการตาเหลือทีจ่ ะพรรณนา และมีรัตนปราการกําแพง แกวลอมรอบทุกๆวิมาน มีรัศมีรุงเรืองเลือ่ มพรรณราย สวยงามยิง่ กวาปราสาทพิมานแหงเทพย ดาในสรวงสวรรคชั้นยามาภูมิ นอกจากนัน้ ณ. สถานทีต่ างๆในเทวสถานชั้นนี้ ยังมีสระโบกขรณี และอุทยานอันเปนทิพย สําหรับเปนทีเ่ ทีย่ วเลนใหไดรับความชืน่ บานเริงสราญแหงเทพเจาชาว สวรรคชั้นนี้มากมายนัก สําหรับปวงเทพเจาผูสถิตอยูในดุสิตสวรรคชั้นนีน้ ั้น แตละองคยอม ปรากฏมีรูปทรงสวยงาม มีความสงากวาเหลาเทพยดาชั้นรองลงมา ทั้งมีนา้ํ ใจรูบ ุญรูธรรมเปน อยางดี และมีจิตยินดีตอการสดับตรับฟงพระธรรมเทศนาเปนยิง่ นัก ทุกวันธรรมสวนะเทพเจา เหลานั้น ยอมจะมีเทวสันนิบาตประชุมฟงธรรมกันเสมอมิไดขาดเลย ทัง้ นีก้ ็เพราะเหตุที่องค สมเด็จทานทาวสันดุสิตเทวาธิราช จอมเทพผูมีอิสริยยศยิ่งใหญในสวรรคชั้นดุสิตนี้ ทรงเปนเทพ เจาผูพหูสูต เปนผูรูธรรมะแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนอันมาก จึงมีพระเทวา อัธยาศัยยินดี ในอันทีจ่ ะสดับธรรมเทศนา และอีกประการหนึง่ ตามปรกติดุสิตสวรรคนี้เปนที่

58 สถิตอยูแหงเทพบุตรผูเปนพระโพธิสัตว ซึง่ มีโอกาสจักไดตรัสรูสําเร็จเปนองคสมเด็จพระบรม ศาสดาจารยสมั มาสัมพุทธเจาในอนาคต เพราะฉะนั้น จอมเทพทานทาวสันดุสิตเทวาธิบดีจึงมัก มีเทวโองการ ตรัสอันเชิญใหเทพบุตรพระโพธิสัตวผทู รงปญญานัน้ เปนองคแสดงธรรมดังเชน ในปจุบันนี้ สมเด็จพระศรีอริยเมตไตรยโพธิสัตว ผูมีชื่อเสียงเลื่องลือปรากฏเปนที่รกู ันอยูท ั่วไปใน หมูชาวพุทธบริษัท วาจักไดตรัสรูเปนองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ในอนาคตอันตรกัปที่ 13 แหงภัทรกัปนี้ พระองคก็สถิตอยู ณ. สรวงสวรรคชั้นนี้ และมักจะไดรับอาราธนาใหเปนองคแสดง ธรรม โปรดเหลาเทพบริษทั ในดุสิตสวรรค แดนสุขาวดีนี้อยูเสมอ อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ ดุสิตนี้ ไววา " ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุทสี่ ําเร็จดวยทานมีประมาณยิง่ ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยศีลมีประมาณยิ่ง ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวยภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชั้นดุสิต โดยฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุ ทิพย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิน่ ทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

5 . นิมมานรดี เทวภูมิอนั ดับที่ 5 นี้เปนแดนสวรรค ซึ่งเปนที่สถิตอยูแหงปวงเทพเจาชาวฟาทัง้ หลาย ผูมี ความยินดีเพลิดเพลินในกามคุณอารมณ ที่เนรมิตขึ้นตามความพอใจแหงตนเอง โดยมีเทพเจา มเหศักดิท์ รงนามวาสมเด็จทานทาวสุนมิ มิตเทวาธิราช ทรงเปนอธิบดีผูปกครอง เพราะฉะนัน้ สรวงสวรรคชนั้ นี้จงึ มีนามวา " นิมมานรดีภูมิ " ภูมิอันเปนที่อยูแหงทวยเทพ อันมีทา นทาวนิมมิตเท วาธิราชทรงเปนอธิบดี แดนสวรรคเมืองฟาอันมีนามวานิมมานรดีภูมนิ ี้ เปนเทพนครที่ตั้งอยูเหนือ สวรรคชั้นดุสิตขึ้นไปในเบื้องบนไกลแสนไกล ภายในเทพนครแหงนี้ ปรากฏวามีปราสาทเงิน ปราสาททอง ปราสาทแกว และมีกําแพงแกวกําแพงทองอันเปนของทิพย เปนวิมานที่อยูของ เหลาเทวดาทัง้ หลาย นอกจากนั้นไซร พื้นภูมิภาคยังมีสภาวะเปนทองราบเรียบเสมอกัน มีสระ โบกขรณีและสวนอุทยานอันเปนทิพย สําหรับเปนทีเ่ ทีย่ วเลนสําราญแหงเหลาชาวสวรรค นิมมานรดีทงั้ หลาย เชนเดียวกับสมบัติทพิ ยในสรวงสวรรคชั้นดุสิตทุกประการ จะตางกันก็เพียง วาทุกสิ่งทุกอยางในนิมมานรดีเทวภพนี้ มีสภาวะสวยสดงดงามและประณีตกวาทิพยสมบัติใน ดุสิตเทวภพเทานัน้ เทพยดาทัง้ หลายผูสถิตเสวยทิพยสมบัติอยู ณ. นิมมานรดีแดนสุขาวดีนี้ ยอม มีรูปทรงสวยงามนาดูนา ชม ยิง่ กวาชาวสวรรคชั้นรองลงมาทั้งหลาย และมีกายทิพยซึ่งมีรัศมี รุงเรืองเปนยิ่งนัก หากเขามีความปรารถนาจะเสวยสุขดวยกามคุณอารมณสิ่งใด เขายอมเนรมิต

59 เอาไดตามความพอใจชอบใจแหงตนทุกสิง่ ทุกประการ ไมมีความขัดของและเดือดเนื้อรอนใจใน กรณีใดๆเลย พวกเขาพากันเสวยทิพยสมบัติในสรวงสวรรคชั้นนิมมานรดีนี้ โดยมีสมเด็จทานทาว สุนิมมิตเทวาธิราชเจาทรงปกครอง ใหมคี วามปรองดองรักใครกันและไดรับความสุขสําราญชื่น บานทุกถวนหนา เหลาชาวฟานิมมานรดี มีชวี ิตความเปนอยูสุดดีสุดประเสริฐนักหนา อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ นิมมานรดีนี้ไววา " ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยทาน เปนอดิเรก ทําบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวยศีลเปนอดิเรก ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยภาวนา เลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชัน้ นิมมานรดี โดยฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุทพิ ย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิน่ ทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

6 . ปรินิมมิตวสวัตตี เทวภูมิอนั ดับที่ 6 นี้ เปนแดนแหงความสุข เปนสวรรคเทวโลกชั้นสูงสุดฝายกามาวจร อันเปนที่สถิตอยูแหงปวงเทพเจาชาวฟาทัง้ หลาย ผูเสวยกามคุณอารมณที่เทวดาอืน่ รูความ ตองการของตนแลวเนรมิตให เปนที่อยูอนั ประเสริฐดวยสุขสมบัติยิ่งกวาสวรรคชั้นฟาทั้งหลาย โดยมีเทพเจาผูเปนใหญมเหศักดิ์ทรงนามวา สมเด็จทานทาวปรนิมมิตเทวาธิราชทรงเปนอธิบดี เพราะฉะนัน้ สรวงสวรรคชั้นนี้ จึงมีนามวา " ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ " ภูมิอันเปนที่อยูแ หงทวยเทพ อันมีทา นทาวปรนิมมิตเทวาธิราชทรงเปนอธิบดี ยอดสวรรคเมืองฟาแดนสุขาวดีอนั มีนามวา ปรนิมมิตวสวัตตีภูมินี้ เปนเทพนครที่ตั้งอยูเหนือสวรรคชั้นนิมมานรดีขึ้นไปในเบื้องบนไกลแสนไกล ภายในเทพนครแหงนี้ ปรากฏวามีปราสาทเงิน ปราสาททอง ปราสาทแกว และมีกําแพงแกว กําแพงทองอันเปนของทิพย เปนวิมานที่อยูของเหลาเทวดาทัง้ หลาย นอกจากนัน้ ไซรพื้นภูมิภาค ยังมีสภาวะเปนทองราบเรียบเสมอกัน มีสระโบกขรณีและสวนอุทยานอันเปนทิพย สําหรับเปนที่ เที่ยวเลนสําราญแหงเหลาชาวสวรรคปรนิมมิตวสวัตตีทงั้ หลาย เชนเดียวกับสมบัติทพิ ยในสรวง สวรรคชั้นนิมมานรดีทุกประการ จะตางกันก็เพียงวา ทุกสิง่ ทุกอยางในปรนิมมิตวสวัตตีเทวภพนี้ มีสภาวะสวยสดงดงามและประณีตกวาทิพยสมบัติในนิมมานรดีเทวภพเทานัน้ เทพยดาทั้งหลาย ผูสถิตเสวยทิพยสมบัติอยู ณ. ปรนิมมิตวสวัตตีแดนสุขาวดีนี้ ยอมมีรูปทรงสวยงาม นาดูนา ชม ยิ่งกวาชาวสวรรคชั้นรองลงมาทัง้ หลาย และมีกายทิพยซึ่งมีรัศมีรุงเรืองเปนยิ่งนัก หากเขามีความ ปรารถนาจะเสวยสุขดวยกามคุณอารมณสิ่งใด เขายอมใหเหลาเทวดาชั้นนิมมานรดีเนรมิตให ตามความพอใจชอบใจแหงตนทุกสิง่ ทุกประการ ไมมีความขัดของและเดือดเนื้อรอนใจในกรณีใดๆ

60 เลย พวกเขาพากันเสวยทิพยสมบัติในสรวงสวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตตีนี้ โดยมีสมเด็จทานทาวปร นิมมิตเทวาธิราชเจาทรงปกครอง ใหมีความปรองดองรักใครกันและไดรับความสุขสําราญชื่นบาน ทุกถวนหนา เหลาชาวฟาปรนิมมิตวสวัตตี มีชวี ิตความเปนอยูสุดดีสุดประเสริฐนักหนา อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในสวรรคชนั้ ปรนิม มิตวสวัตตีนี้ไววา " ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยทานมี ประมาณยิง่ ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยศีลมีประมาณยิ่ง ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวย ภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนสหายแหงเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตตี โดยฐานะ 10 ประการ ไดแก อายุทพิ ย วรรณทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิ่นทิพย รสทิพย และโผฏฐัพพทิพย "

มนุษย 5 มนุษย ผูที่ไดเกิดมาเปนมนุษย ก็เพราะไดอาศัยความไมลวงละเมิดในธรรมอันเปนบาท ของความเปนมนุษยซึ่งมีอยูด วยกัน 5 ประการ โดยเรานิยมเรียกกันวา " ศีล 5 " ประกอบไปดวย การไมฆาสัตวเบียดเบียนสัตว การไมลักขโมยปลนจี้ การไมประพฤติผิดในกาม การไมพูดจา โกหกหลอกลวง และการไมดื่มสุราเมรัย ก็ความละเอียดประณีตและสมบูรณของธรรมอันเปน บาทของความเปนมนุษยนี้ ไดจําแนกมนุษยออกเปน 5 ประเภท ไดแก มนุษยสเนรยิโก มนุษย สเปโต มนุษยสติรัจฉาโน มนุษยสภูโต และมนุษยสเทโว

1 . มนุษยสเนรยิโก มนุษยสเนรยิโก คือ มนุษยสัตวนรก ไดแก มนุษยผูดุราย หยาบคาย เที่ยวฆาสัตว ตัดชีวิตเขา เที่ยวจี้เทีย่ วปลนเอาทรัพยสมบัติของผูอื่นมาเปนของตน ดวยอาการทารุณดุราย เชน ฆาเจาของทรัพยตายบาง ทุบตีจนบาดเจ็บสาหัสบาง ขมขืนแลวฆาบาง เบียดเบียนผูอนื่ สัตวอื่น ทรมานผูอน่ื สัตวอนื่ โดยอาการทารุณดุราย หยาบคายนานาประการ รวมความวาเปน คนไรศีลธรรม ไมมีมนุษยธรรมคือศีล 5 ประจําตัวเลย เปนมิจฉาทิฏฐิบุคคลโดยแท

2 . มนุษยสเปโต มนุษยสเปโต คือ มนุษยเปรต ไดแก มนุษยผูมากไปดวยความโลภ มากไปดวย ตัณหา ชอบลักเล็กขโมยนอย โลภเอาของผูอื่นมาเปนของตน แยงชิงวิง่ ราว และขอทาน

61 3 . มนุษยสติรัจฉาโน มนุษยสติรัจฉาโน คือ มนุษยสัตวเดรัจฉาน ไดแก มนุษยที่ขวางศีลขวางธรรม มีจิต อันประกอบดวยโมหะ คือมีความหลงมัวเมาอยูมาก ไมรูจักบาป ไมรูจักบุญ ไมรูจักคุณ ไม รูจักโทษ ไมรูจักประโยชนและมิใชประโยชน ไมรูจักบุญคุณของผูมีพระคุณ เชน บิดามารดา ครูบาอาจารย เปนตน เปนมนุษยผูไรศีลธรรม ดื่มสุรา สูบฝน กินกัญชา

4 . มนุษยสภูโต มนุษยสภูโต คือ มนุษยแทๆ ไดแก บุคคลผูเกิดมาเปนคนแลว ไดรักษาศีล 5 มั่นเปน นิตยมิไดขาด มิไดประมาทตอศีล เพราะถือวาเปนมนุษยธรรม เปนธรรมประจํามนุษย เปน ธรรมที่ทาํ คนใหเปนคน แตมิไดบําเพ็ญกุศลจริยาอยางอื่นอีก เชน ไมไดใหทาน ไมไดฟงธรรม

5 . มนุษยสเทโว มนุษยสเทโว คือ มนุษยเทวดา ไดแก มนุษยผมู ีศีล 5 มัน่ เปนนิตย แลวยังได พยายามบําเพ็ญกุศล เพิม่ พูนบารมีอยูเ รื่อยๆ เชน ใหทาน ฟงธรรม เรียนธรรม ปฏิบัติธรรม ไหวพระ สวดมนต มีหิริโอตตัปปะ มีเทวธรรม 7 ประการ ไดแก 1 . บํารุงเลี้ยงดูบิดามารดา 2 . ประพฤติออ นนอมถอมตนตอบุคคลผูเจริญในตระกูล 3 . พูดจาไพเราะเสนาะหูออนหวานนุม นวล 4 . ไมพูดสอเสียดตอผูอื่น 5 . ลดความตระหนี่เหนียวแนน 6 . รักษาคําสัตย 7 . ไมโกรธ อนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจา ไดทรงเคยตรัสเหตุที่ใหบุคคลไดมาอุบัติเกิดในโลกมนุษยนี้ไว วา " ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยทานนิดหนอย ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยศีลนิดหนอย ไมเจริญบุญกิริยาวัตถุที่สาํ เร็จดวยภาวนาเลย เมื่อ ตายไป เขาเขาถึงความเปนผูมีสวนชัว่ ในมนุษยฯ ดูกรภิกษุทงั้ หลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําบุญกิรยิ าวัตถุที่สําเร็จดวยทานพอประมาณ ทําบุญกิริยาวัตถุสําเร็จดวยศีลพอประมาณ ไม เจริญบุญกิริยาวัตถุที่สําเร็จดวยภาวนาเลย เมื่อตายไป เขาเขาถึงความเปนผูมสี วนดีในมนุษยฯ "

62

สัตวเดรัจฉาน 4 สัตวเดรัจฉาน หมายถึง สัตวผูไปโดยขวาง คําวาขวางในที่นี้แบงออกเปน 2 นัยดวยกัน โดยนัยทีห่ นึง่ นั้น เปนการขวางโดยรางกาย คือเวลาจะเดินเคลื่อนทีไ่ ปทางไหนก็ไปโดยขวาง ยอมสังเกตุไดโดยหันหนาอกลงพืน้ ดินอยูต ลอดเวลา หัวก็จะมีทิศทางการเคลื่อนที่ขนานไปกับ พื้นดิน ไมเหมือนกับมนุษยซึ่งจะตัง้ ฉากกับพืน้ ดินตลอดเวลา ยกตัวอยางเชน หมู หมา กา ไก วัว ควาย เปนตน สวนขวางอีกนัยหนึง่ นัน้ เปนการขวางโดยจิตใจ กลาวคือขวางตอ มรรคผลนิพพาน เพราะสัตวซึ่งไปอุบัติเกิดในภูมินี้ ซึง่ ไดนามวาเดรัจฉานแลว ถึงจะพยายามทํา ดีสักเทาไร จะมีจิตใจประเสริฐเลิศลนสักแคไหน มีวาสนาบารมีมากเพียงไร การที่จะบรรลุมรรค ผลนิพพานในชาติที่เปนสัตวเดรัจฉานนั้น ยอมเปนไปไมไดเลยเปนอันขาด เพราะเปนอภัพสัตว จัดอยูในจําพวกอบายภูมิ จึงไมอาจที่จักไดบรรลุอมตสมบัติ จะไดอยางมากก็เพียงสวรรคสมบัติ เทานัน้ เพราะเหตุที่ภูมินี้ เปนที่อยูของเหลาสัตวผูไปขวางทัง้ โดยรางกายและจิตใจอยางนี้ ฉะนัน้ จึงมีชื่อเรียกวา " เดรัจฉานภูมิ " ภูมิของสัตวผูไปโดยขวาง เมื่อจะกลาวโดยประเภทแลว สัตวเดรัจฉานนั้นมีอยู 4 ประเภท ไดแก อปทเดรัจฉาน ทวิปทเดรัจฉาน จตุปทเดรัจฉาน และ พหุปทเดรัจฉาน

1 . อปทเดรัจฉาน คือ สัตวที่ไมมีเทา เชน งู ปลา และไสเดือน เปนตน 2 . ทวิปทเดรัจฉาน คือ สัตวที่มี 2 เทา เชน นก หาน เปด และไก เปนตน 3 . จตุปทเดรัจฉาน คือ สัตวทมี่ ี 4 เทา เชน ชาง มา วัว และควาย เปนตน 4 . พหุปทเดรัจฉาน คือ สัตวทมี่ ีหลายเทา เชน กิง้ กือ ตะขาบ และหนอน เปนตน เมื่อจะกลาวถึงความเปนอยู สัตวในเดรัจฉานภูมิเหลานี้ ก็ยอมมีชวี ติ ความเปนอยู ดังที่ เราทานไดเห็นกันอยูท ุกวันนีแ้ ลว เพราะเดรัจฉานภูมิเปนภูมิที่ใกลชิดกันกับมนุษยภูมิ คือโลก มนุษยเปนที่สดุ ดังนัน้ พวกสัตวเดรัจฉาน จึงมีรูปรางปรากฏเปนตัวเปนตน มนุษยหรือคนเราจึง สามารถมองเห็นไดอยูรวมกันได ไมเหมือนสัตวอบายภูมิเหลาอื่นที่เหลือ ไดแก เปรต อสุรกาย และสัตวนรก ซึ่งไมสามารถจะมองเห็นดวยตาเนื้อ เพราะมีกายเปนอทิสมานกาย นอกเสียจาก จักษุทพิ ยของอภิญญาบุคคลผูฝกดีแลวเทานัน้ ที่จะสามารถมองเห็นได อนึง่ ในการกลาวถึง ชีวิตความเปนอยูของสัตวเดรัจฉานนั้น อธิบายโดยลักษณะ 2 ประการ ไดแก โดยสถานที่และ โดยความเปนอยู โดยสถานทีน่ ั้นสัตวเดรัจฉานยอมอยูไ มเปนที่ เพราะไมมที ี่อยูของตนโดยเฉพาะ ไมเหมือนกันกับสัตวนรก เพราะในนรกนัน้ มีสถานที่อยูเ ปนขุมๆ สัตวนรกไดไปอุบัติเกิด ณ. นรก

63 ขุมไหน ก็ตองเสวยผลแหงกรรมชั่วของตนในนรกขุมนัน้ ถาบาปยังมีก็ไปเกิดอยูในขุมอื่นตอไป เมื่อหมดกรรมแลว จึงจะไปเกิดในภูมิอื่นตอไปตามยถากรรม แตสัตวเดรัจฉานนีไ้ มใชอยางนั้น คือไมมีที่อยูโดยเฉพาะ ไมมีที่อยูเปนหลักแหลง เทีย่ วอยูไปมาทั่วๆไปในพื้นปฐพีนี้ ดังที่เราทาน ทั้งหลายไดแลเห็นกันอยูทวั่ ไป สวนโดยความเปนอยูน นั้ สัตวเดรัจฉานมีความเปนอยูลําบากยาก เข็ญกวามนุษยมากมายนัก เพราะเปนสัตวที่มีภัยแหงชีวิตรอบดาน ชีวิตของเขาจะอยูรอดไปได แตละวันๆนัน้ แสนจะลําบากยากเย็น เปนชีวิตที่ตกต่ําแสนจะอาภัพไดรับแตความไมสบายรอบ ดาน ตองแสวงหาอาหารการกินอยูตลอดเวลา กวาจะไดมาก็ยากเปนนักหนา พึงดูหมูหมาเปด ไกที่อยูใกลๆเรานี้เปนตัวอยาง จองระแวงภัยอยูเปนนิตยและเกิดความสะดุงจิตไมมีหยุด ไหนจะ ภัยจากมนุษยคอยตีคอยฆาคอยประหัตประหาร และไหนจะภัยจากสัตวใหญกวาคอยขบกัด ทํา ใหตองทนทุกขทรมานเปนสัตวเดรัจฉานอยูอยางนี้ ไปจนกวาจะสิน้ กรรมที่ทาํ ไว อนึ่ง หากจะมีความสงสัยวา สัตวเดรัจฉานทั้งหลายเหลานี้ ไดประกอบกรรมทําเข็ญ อะไรไวหนอ จึงไดมาถือกําเนิดเกิดในเดรัจฉานภูมิ คําวิสัชชนาก็มวี า เหลาสัตวทมี่ าเกิดใน เดรัจฉานภูมินี้ ก็เพราะอํานาจแหงเศษบาปอกุศลกรรมที่ตนไดกระทําไวแตชาติปางกอน โดยมี เหตุแหงการเกิดเปนสัตวเดรัจฉานอยู 3 ประเภท 1 . เกิดจากเศษกรรมที่ยงั หลงเหลืออยู หลังจากไดไปเกิดชดใชกรรมชั่วของตนเปนสัตว นรก เปรต และอสุรกายตามลําดับมาแลว และเศษกรรมชั่วนัน้ ยังไมหมด จึงไดมาเกิดเปนสัตว เดรัจฉาน ในเดรัจฉานภูมินี้ 2 . เกิดจากเศษกรรมที่ยงั หลงเหลืออยู หลังจากไดไปเกิดชดใชกรรมชั่วของตนเปนสัตว นรกมาแลว โดยมิตองเปนเปรตและอสุรกายเสียกอน และเศษกรรมชั่วนัน้ ยังไมหมด จึงไดมา เกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ในเดรัจฉานภูมินี้ 3 . เกิดจากจุติจิต หรือจิตขณะที่กําลังตายในมนุษยนนั้ อันประกอบไปดวยโมหะ ความหลงผิด มีจิตมืดมนมัวเมาเขลาความคิด ขาดสติสัมปชัญญะ ไมมีสรณะที่พงึ่ จะยึดถือให มั่นคง เปนจิตที่ฟน เฟอนหลงใหล จึงไดมาเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ในเดรัจฉานภูมินี้

อสุรกาย 3 ภูมิของอสุรกายมีชื่อวา " อสุรภูมิ " หรือ " อสุรกายภูมิ " ซึ่งเปนภูมิแหงหมูสัตวจําพวกหนึง่ อันไมมีความสวางรุงโรจน คือความเปนอิสระและความสนุกสนานรืน่ เริง คําวาสวางรุงโรจนนี้

64 มิไดหมายถึงรัศมีสีแสงที่ออกจากรางกาย แตหมายความวามีความเปนอยูอยางฝดเคือง เครื่อง บริโภคก็แรนแคน เครื่องอุปโภคก็ขาดแคลน ทุกขยากลําบากกายเชนนี้ ใจคอยอมไมมีทางทีจ่ ะ สนุกสนานรื่นเริงได เขาทํานองที่วา หนาชื่นอกตรม อสุรกายเปนสัตวกายละเอียดไมสามารถ มองเห็นไดดวยตาเนื้อ จะมองเห็นไดก็ดว ยทิพยจักษุของอภิญญาบุคคลเทานัน้ โดยอสุรกายนัน้ แบงเปน 3 ประเภทดวยกัน ไดแก เทวอสุรกาย เปรตอสุรกาย และนิรยอสุรกาย

1 . เทวอสุรกาย เทวอสุรกาย คือ อสุรกายที่เปนเทวดา มี 6 ประเภท ไดแก เวปจิตติอสุรกาย สุพลิ อสุรกาย ราหุอสุรกาย ปหารอสุรกาย สัมพรุติอสุรกาย และวินิปาติกอสุรกาย โดย 5 พวกแรก อาศัยอยูใตภูเขาสิเนรุ สงเคราะหเขาในจําพวกเทวดาชั้นดาวดึงส สวนวินิปาติกอสุรกายมีรูปราง เล็กและมีอํานาจนอยกวา 5 พวกแรก อาศัยอยูในมนุษยโลก เชน ตามปาเขา ตามตนไม และ ตามศาลพระภูมิที่เขาสรางไว สงเคราะหเขาในจําพวกเทวดาชัน้ จาตุมมหาราชิกา

2 . เปรตอสุรกาย เปรตอสุรกาย คือ อสุรกายที่เปนเปรต มี 3 ประเภท ไดแก กาลัญจิกเปรตอสุรกาย วิมานิกเปรตอสุรกาย และอาวุธกิ เปรตอสุรกาย พวกแรกที่มีชื่อวากาลัญจิกเปรตอสุรกายนัน้ เปนเปรตอสุรกายที่อาศัยอยูตามปาเขา หุบเหว ทะเล มหาสมุทร และเกาะ มีรางกายใหญโต แตไมคอยมีแรงเพราะมีเลือดเนื้อนอย มีสสี ันของรูปรางคลายใบไมแหง ตาโปนออกมาคลายกับ ตาของปู มีปากเทารูเข็ม และตั้งอยูกลางศีรษะ ที่เรียกเปรตจําพวกนี้วา อสุรกาย เพราะมีชวี ิต อันไมสวางรุงโรจน คือมีชีวติ อันอับเฉา พวกที่สองที่มชี ื่อวาวิมานิกเปรตอสุรกายนั้น เปนเปรต อสุรกายทีเ่ สวยทุกขในเวลากลางวัน เสวยสุขในเวลากลางคืน เหมือนกับความสุขในชั้นดาวดึงส มีวิมานเปนทีอ่ ยูอาศัย และพวกสุดทายที่มีชื่อวาอาวุธกิ เปรตอสุรกายนัน้ เปนเปรตอสุรกายซึ่งทํา การรบพุงประหัตประหารซึ่งกันและกัน ดวยอาวุธตางๆอยูตลอดเวลา

3 . นิรยอสุรกาย นิรยอสุรกาย คือ อสุรกายที่เปนสัตวนรก มีอยางเดียว มีความเปนอยูเหมือนคางคาว เกาะอยูตามขอบจักรวาล หิวกระหายเปนกําลัง เกาะไปพลาง ไตไปพลาง ไปพบพวกเดียวกัน โผเขาไปจะจิกกินเปนอาหาร ก็พลัดตกลงไปในน้ํากรดขางลาง ละลายไปในทันที แลวเกิดขึ้นมา ใหม ตกตายไปอีกวนเวียนอยูอยางนี้จนกวาจะหมดกรรม ที่เรียกสัตวนรกจําพวกนี้เปนอสุรกาย ก็เพราะวามีอารมณตรงกันขามกับเทวดาชั้นดาวดึงส กลาวคือ เทวดาชั้นดาวดึงสมีอารมณลวน แตเปนอิฏฐารมณ สวนนิรยอสุรกายนี้มแี ตอนิฏฐารมณทั้งสิน้

65

เปรต 21 เปรต มีหมายความวา " เปนผูที่ละไปแลว " มี 2 นัยดวยกัน นัยทีห่ นึ่งนั้น เปนผูท ี่ละไป แลวจากภูมิของ " มนุษย " คือเปรตที่มาจากมนุษยที่ตายลง สวนนัยที่สองนั้น เปนผูที่ละไปแลว จากภูมิของ " สัตวนรก " คือเปรตที่มาจากสัตวนรกที่พน โทษ โดยทัง้ สองนัยนัน้ เปนเพราะเหตุที่ เศษบาปเศษกรรมของตนนัน้ ยังไมหมด ตองมารับโทษรับทุกขตอไป เปรตมี 21 ประเภท ไดแก อัฏฐิสังขสิกเปรต มังสเปสิกเปรต มังสปณฑเปรต นิจฉวิปริสเปรต อสิโลมเปรต สัตติโลม เปรต อุสุโลมเปรต สูจิโลมเปรต ทุติยสูจิโลมเปรต กุมภัณฑเปรต คูถกูปนิมุคคเปรต คูถขา ทกเปรต นิจฉวิตกเปรต ทุคคันธเปรต โอคิลินีเปรต อสีสเปรต ภิกขุเปรต ภิกขุณีเปรต สิก ขมานเปรต สามเณรเปรต และสามเณรีเปรต

1 . อัฏฐิสังขสิกเปรต อัฏฐิสังขสิกเปรต คือ เปรตโครงกระดูก อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นโครงกระดูกลอยอยูในเวหาส พวกแรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามเจาะ จิก ทึ้งโครงกระดูกนัน้ ไดยินวา โครงกระดูก นั้น สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็ จักมี ยักษแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ ็จักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพึงเชื่อถือ เรา ขอนัน้ พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมค คัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฆาโคอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยัง เหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพทีเ่ ห็นปานนี้ "

2 . มังสเปสิกเปรต มังสเปสิกเปรต คือ เปรตชิ้นเนื้อ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระ มหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมพี ระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนทีท่ านไดไป เห็นมาวา " เมือ่ ผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นชิน้ เนื้อลอยอยูในเวหาส พวกแรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึง้ ชิน้ เนื้อนัน้ ไดยินวา ชิ้นเนื้อนัน้ สงเสียงรองครวญ

66 คราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ ก็จักมี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนั้นแล พระผูมพี ระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหา โมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณ ไว หากวาเราพึงพยากรณสตั วนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใช ประโยชน เพือ่ ความทุกขสนิ้ กาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ ไดเปนคนฆาโคอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการได อัตภาพที่เห็นปานนี้ "

3 . มังสปณฑเปรต มังสปณฑเปรต คือ เปรตกอนเนื้อ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระ มหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมพี ระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนทีท่ านไดไป เห็นมาวา " เมือ่ ผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นกอนเนื้อลอยอยูในเวหาส แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึง้ กอนเนื้อนัน้ ไดยินวา กอนเนื้อนัน้ สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฆานกขายอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

4 . นิจฉวิปริสเปรต นิจฉวิปริสเปรต คือ เปรตชายไมมหี นัง อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษไมมีผิวหนังลอยอยูในเวหาส แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึ้ง บุรุษนัน้ ไดยินวา บุรุษนั้น สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย

67 กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฆาแกะขายอยูในพระนครราชคฤหนเี้ อง ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

5 . อสิโลมเปรต อสิโลมเปรต คือ เปรตทีม่ ขี นเปนดาบ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษผูมีขนเปนดาบลอยอยูในเวหาส ดาบ เหลานั้นของบุรุษนั้น ลอยขึ้นไปๆ แลวก็ตกลงทีก่ ายของบุรุษนัน้ ไดยินวาบุรุษนัน้ สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฆาสุกรขายอยูในพระนครราชคฤหนเี้ อง ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

6 . สัตติโลมเปรต สัตติโลมเปรต คือ เปรตทีม่ ีขนเปนหอก อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษมีขนเปนหอกลอยอยูในเวหาส หอก เหลานั้นของบุรุษนั้น ลอยขึน้ ไปๆ แลวก็ตกลงทีก่ ายของบุรุษนัน้ เอง ไดยนิ วา บุรุษนั้น สง เสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัส อธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนัน้

68 พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฆาเนื้อขายอยูใ นพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

7 . อุสุโลมเปรต อุสุโลมเปรต คือ เปรตทีม่ ขี นเปนลูกธนู อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษมีขนเปนลูกธนูลอยอยูในเวหาส ลูกธนู เหลานั้นของบุรุษนั้น ลอยขึน้ ไปๆ แลวก็ตกลงทีก่ ายของบุรุษนัน้ เอง ไดยนิ วา บุรุษนั้น สง เสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัส อธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนัน้ พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนเพชฌฆาตอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

8 . สูจิโลมเปรต สูจิโลมเปรต คือ เปรตทีม่ ขี นเปนประตัก อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมือ่ ทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษมีขนเปนประตักลอยอยูในเวหาส ประตักเหลานัน้ ของบุรุษนั้น ลอยขึน้ ไปๆ แลวก็ตกลงทีก่ ายของบุรษุ นั้นเอง ไดยนิ วา บุรุษนัน้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัส อธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนฝกมาอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึง

69 หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

9 . ทุติยสูจิโลมเปรต ทุติยสูจิโลมเปรต คือ เปรตที่มีขนเปนเข็ม อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อ ทานพระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนทีท่ า น ไดไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษมีขนเปนเข็มลอยอยูในเวหาส เข็ม เหลานั้นของบุรุษนั้น เขาไปในศีรษะแลวออกทางปาก เขาไปในปากแลวออกทางอก เขาไปใน อกแลวออกทางทอง เขาไปในทองแลวออกทางขาออน เขาไปในขาออนแลวออกทางแขง เขาไป ในแขงแลวออกทางเทา ไดยินวา บุรุษนัน้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ ก็จักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูม พี ระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนัน้ พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนสอเสียดอยูในพระนครราชคฤห นี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอัน มาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

10 . กุมภัณฑเปรต กุมภัณฑเปรต คือ เปรตทีม่ ีอัณฑะใหญเทาหมอ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัย เมื่อทานพระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนที่ ทานไดไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษมีอัณฑะใหญเทาหมอลอยอยูใน เวหาส บุรุษนั้น แมเมื่อเดินไปก็แบกอัณฑะนัน้ ไวบนบา แมเมื่อนัง่ ก็ทับอัณฑะอยูอีก แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึ้ง บุรุษนัน้ ไดยินวา บุรุษนั้น สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนผูพพิ ากษาตัดสินคดีดวยความมิชอบอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผล

70 ของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของ กรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

11 . คูถกูปนิมุคคเปรต คูถกูปนิมุคคเปรต คือ เปรตในหลุมคูถ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาค เจาถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษจมอยูในหลุมคูถจนมิดศีรษะ ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี การได อัตภาพแมเห็นปานนีก้ ็จักมี " ครั้งนั้นแล พระผูมพี ระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะ วา " ดูกรโมคคัลลานะ เมือ่ กอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวา เราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อ ความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ไดเปนคนทําชูก ับ ภรรยาของผูอื่นอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการได อัตภาพที่เห็นปานนี้ "

12 . คูถขาทกเปรต คูถขาทกเปรต คือ เปรตกินคูถ อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระมหา โมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนทีท่ า นไดไปเห็นมา วา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นบุรุษผูจมอยูใ นหลุมคูถ ใชมือทั้งสองกอบคูถกิน ผม คิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ ็จักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูม พี ระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัล ลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใช ประโยชน เพือ่ ความทุกขสนิ้ กาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น สัตวนี้ ไดเปนพราหมณอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง พราหมณนั้นนิมนตพระภิกษุสงฆในพระศาสนาของ พระสัมมาสัมพุทธเจาดวยภัตแลว เอาคูถใสจนเต็มรางแลว ใชใหคนไปบอกเวลาแลว กลาววา ทานเจาขา ขอพวกทานจงฉัน และจงนําไปจนพอแกความตองการเถิด ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยัง เหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพทีเ่ ห็นปานนี้ "

71 13 . นิจฉวิตกเปรต นิจฉวิตกเปรต คือ เปรตหญิงไมมีหนัง อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นหญิงผูไมมีผิวหนังลอยอยูในเวหาส แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึ้ง หญิงนัน้ ไดยินวา หญิงนัน้ สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น หญิงนี้ไดเปนหญิงประพฤตินอกใจสามีอยูในพระนครราชคฤหนี้เอง ดวยผลของกรรม นั้น นางจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

14 . ทุคคันธเปรต ทุคคันธเปรต คือ เปรตหญิงมีกลิน่ เหม็น อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทาน พระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นได ไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นหญิงมีกลิน่ เหม็นนาเกลียดลอยอยูในเวหาส แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึง้ หญิงนัน้ ไดยินวา หญิงนั้น สง เสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัส อธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนัน้ พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น หญิงนี้ไดเปนหญิงแมมดอยูในพระนครราชคฤหนเี้ อง ดวยผลของกรรมนั้น นางจึง หมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

72 15 . โอคิลินีเปรต โอคิลินีเปรต คือ เปรตหญิงในกองถานเพลิง อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อ ทานพระมหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนทีท่ า น ไดไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นเห็นหญิงผูมนี ้ําเหลืองไหลเยิ้มเต็มไปดวย ถานเพลิงลอยอยูในเวหาส ไดยินวา หญิงนัน้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริง หนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จักมี การไดอัตภาพแมเห็น ปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัล ลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณ สัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้น กาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น หญิงนีไ้ ดเปนพระอัครมเหสีของพระ เจากาลิงค นางถูกความหึงครอบงํา ไดเอาเตาซึง่ เต็มดวยถานเพลิงเทรดหญิงรวมผัว ดวยผล ของกรรมนัน้ นางจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผล ของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

16 . อสีสเปรต อสีสเปรต คือ เปรตตัวกะพันธ อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระมหา โมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนทีท่ า นไดไปเห็นมา วา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นตัวกะพันธไมมีศีรษะ มีตาและปากอยูท ี่อก ลอยอยู ในเวหาส แรงบาง กาบาง นกตะกรุมบาง ตางก็โผถลาตามจิก ทึง้ ตัวกะพันธนั้น ไดยินวา ตัวกะพันธนนั้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนั้นแล พระ ผูมีพระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตว ตนนัน้ เหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพึง เชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนัน้ สัตวนี้ไดเปนเพชฌฆาตผูฆาโจรชื่อวาหาริกอยูในพระนครราชคฤห นี้เอง ดวยผลของกรรมนัน้ เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอัน มาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

73 17 . ภิกขุเปรต ภิกขุเปรต คือ เปรตภิกษุ อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระมหาโมค คัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนที่ทา นไดไปเห็นมาวา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นภิกษุลอยอยูในเวหาส ผาสังฆาฏิก็ดี บาตรก็ดี ประคต เอวก็ดี รางกายก็ดี ของภิกษุนนั้ อันไฟติดทั่วลุกโชติชวงแลว ไดยนิ วา ภิกษุนนั้ สงเสียงรอง ครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนี้ก็จกั มี ยักษแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัสอธิบาย กะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนั้นเหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนั้นไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพึงเชื่อถือเรา ขอนั้นพึง เปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ใน อดีตนั้น ภิกษุนี้ไดเปนภิกษุผูชั่วชาในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจา ดวยผลของกรรม นั้น เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

18 . ภิกขุณีเปรต ภิกขุณีเปรต คือ เปรตภิกษุณี อันเปรตชนิดนีน้ ั้น ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระมหา โมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมีพระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลกั ษณะเชนทีท่ า นไดไปเห็นมา วา " เมื่อผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นภิกษุณีลอยอยูในเวหาส ผาสังฆาฏิก็ดี บาตรก็ดี ประคตเอวก็ดี รางกายก็ดี ของภิกษุณนี นั้ อันไฟติดทัว่ ลุกโชติชว งแลว ไดยินวา ภิกษุณนี ั้น สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็นปานนีก้ ็จักมี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมีพระภาค ตรัส อธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตนนัน้ เหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอืน่ ๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนัน้ พึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนั้น ภิกษุณีนี้ไดเปนภิกษุณีผูชั่วชาในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจา ดวยผลของ กรรมนั้น นางจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของ กรรมนั้นยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

74 19 . สิกขมานเปรต สิกขมานเปรต คือ เปรตสิกขมานา อันเปรตชนิดนีน้ นั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระ มหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมพี ระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนทีท่ านไดไป เห็นมาวา " เมือ่ ผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นสิกขมานาลอยอยูในเวหาส ผาสังฆาฏิก็ดี บาตรก็ดี ประคตเอวก็ดี รางกายก็ดี ของสิกขมานานั้น อันไฟติดทั่วลุกโชติชวงแลว ไดยินวา สิกขมานานั้น สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแม เห็นปานนีก้ ็จกั มี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนี้ก็จกั มี " ครั้งนั้นแล พระ ผูมีพระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตว ตนนัน้ เหมือนกัน แตวา ไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพึง เชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนัน้ สิกขมานานี้ไดเปนสิกขมานาผูชั่วชาในศาสนาของพระกัสสป สัมมาสัมพุทธเจา ดวยผลของกรรมนัน้ นางจึงหมกไหมอยูในนรกสิน้ ป สิน้ รอยป พันป แสนป เปนอันมาก ดวยผลของกรรมนั้นยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

20 . สามเณรเปรต สามเณรเปรต คือ เปรตสามเณร อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระ มหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมพี ระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนทีท่ านไดไป เห็นมาวา " เมือ่ ผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นสามเณรลอยอยูในเวหาส ผาสังฆาฏิก็ดี บาตรก็ดี ประคตเอวก็ดี รางกายก็ดี ของสามเณรนัน้ อันไฟติดทัว่ ลุกโชติชว งแลว ไดยินวา สามเณรนัน้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็น ปานนี้ก็จกั มี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมี พระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตน นั้นเหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนัน้ สามเณรนีไ้ ดเปนสามเณรผูชั่วชาในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัม พุทธเจา ดวยผลของกรรมนั้น เขาจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอัน มาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู เขาจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

75 21 . สามเณรีเปรต สามเณรีเปรต คือ เปรตสามเณรี อันเปรตชนิดนี้นนั้ ไดรูจักกันในสมัยเมื่อทานพระ มหาโมคคัลลานะ ไดทูลถามตอพระผูมพี ระภาคเจา ถึงเหตุที่ใหสัตวมีลักษณะเชนทีท่ านไดไป เห็นมาวา " เมือ่ ผมลงมาจากภูเขาคิชฌกูฏ ไดเห็นสามเณรีลอยอยูในเวหาส ผาสังฆาฏิก็ดี บาตรก็ดี ประคตเอวก็ดี รางกายก็ดี ของสามเณรีนนั้ อันไฟติดทัว่ ลุกโชติชว งแลว ไดยินวา สามเณรีนนั้ สงเสียงรองครวญคราง ผมคิดวา อัศจรรยจริงหนอ ไมเคยมีมาหนอ สัตวแมเห็น ปานนี้ก็จกั มี ยักษแมเห็นปานนี้ก็จกั มี การไดอัตภาพแมเห็นปานนีก้ จ็ ักมี " ครั้งนัน้ แล พระผูมี พระภาค ตรัสอธิบายกะพระมหาโมคคัลลานะวา " ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อกอนเราไดเห็นสัตวตน นั้นเหมือนกัน แตวาไมไดพยากรณไว หากวาเราพึงพยากรณสัตวนนั้ ไซร คนอื่นๆก็จะไมพงึ เชื่อถือเรา ขอนั้นพึงเปนไปเพื่อมิใชประโยชน เพื่อความทุกขสิ้นกาลนาน แกผูไมเชื่อถือเรา ดูกรโมคคัลลานะ ในอดีตนัน้ สามเณรีนไี้ ดเปนสามเณรีผูชั่วชาในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัม พุทธเจา ดวยผลของกรรมนั้น นางจึงหมกไหมอยูในนรกสิ้นป สิ้นรอยป พันป แสนป เปนอัน มาก ดวยผลของกรรมนัน้ ยังเหลืออยู นางจึงตองเสวยการไดอัตภาพที่เห็นปานนี้ "

สัตวนรก 23 สัตวนรก ผูท จี่ ะไดเกิดมาเปนสัตวนรก ก็เพราะผลแหงการประกอบอกุศลกรรมหรือกรรม ชั่วตางๆ ไดแก การลวงละเมิดศีล 5 และการประกอบซึ่งอกุศลกรรมบถ 10 โดยกรรมชั่วเหลานี้ เปนเครื่องแบงแยกโทษทันต และแดนของสัตวนรก ใหตางกันตามที่ตนไดสรางขึน้ ภูมิของสัตว นรกแบงตามชนิดไดเปน 23 ขุม ขุมที่ 1 → 8 เปนนรกขุมใหญ (มหานรก) ขุมที่ 9 → 12 เปนนรก บริวารชั้นใน (อุสสุทนรก) ขุมที่ 13 → 22 เปนนรกบริวารชั้นนอก (ยมโลกนรก) และขุมที่ 23 เปน นรกแหงอนันตริยกรรม (โลกันตนรก) นรกขุมใหญมีไวสําหรับผูประกอบอกุศลกรรมบถขอใดขอ หนึง่ หรือหลายขอ เริ่มลงนรกขุมใหญตามความหนักมากนอยตามอกุศลกรรมที่ประพฤติ หนัก มากที่สุดลงนรกขุมที่ 8 หนักนอยที่สุดลงขุมที่ 1 นรกบริวารชั้นในสําหรับรับเศษกรรมที่เหลือจาก นรกขุมใหญ โดยในแตละนรกขุมใหญซึ่งมี 8 ขุม จะมีนรกบริวารชัน้ ในอยู 4 ขุมคือขุมที่ 9 ถึงขุม ที่ 12 เพราะฉะนัน้ จึงมีนรกบริวารชั้นในอยู 32 ขุม สวนนรกบริวารชัน้ นอกเรียกไดอีกชื่อวา " นรก ยมโลก " จะอยูในทิศ 4 ทิศของแตละนรกขุมใหญ ทิศละ 10 ขุมรวมเปน 40 ขุมของแตละนรกขุม

76 ใหญ สวนนรกโลกันตมีขุมเดียว เปนนรกสําหรับผูประกอบอนันตริยกรรม ซึ่งเปนอกุศลกรรม หนักเกินกวาจะลงนรกอเวจีได อนึ่ง สามารถแสดงจํานวนนรกใหเห็นไดชัดแจงดังนี้ 1 . นรกขุมใหญ (มหานรก) ; 8 [ 1 → 8 ] = 8 ขุม 2 . นรกบริวารชั้นใน (อุสสุทนรก) ; 4 [ 9 → 12 ] × 4 [ ทิศ ] × 8 [ มหานรก ] = 128 ขุม 3 . นรกบริวารชั้นนอก (ยมโลกนรก) ; 10 [ 13 → 22 ] × 4 [ ทิศ ] × 8 [ มหานรก ] = 320 ขุม 4 . นรกขุมใหญ (โลกันตนรก) ; 1 [ 23 ] = 1 ขุม เพราะฉะนัน้ รวมทัง้ หมดเทากับ 8 + 128 + 320 + 1 = 457 ขุม

ภาพแสดงนรกทั้ง 457 ขุม 13 - 22 9 - 12 13 - 22 9 - 12

13 - 22 9 - 12

13 - 22 9 - 12

1

13 - 22 9 - 12 9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

2

9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

13 - 22 9 - 12

3

9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

4

9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

13 - 22 9 - 12

5 9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

6 9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

77 13 - 22 9 - 12 13 - 22 9 - 12

7

13 - 22 9 - 12 9 - 12 13 - 22

13 - 22 9 - 12

9 - 12 13 - 22

8

9 - 12 13 - 22

9 - 12 13 - 22

23 1 . สัญชีวมหานรก (นรกไมมีวนั ตาย) เหลาสัตว ทีอ่ ุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ ถึงแมวาจะไดรับทุกขโทษเปนสาหัส จนขาดใจแลว ก็กลับเปนขึ้นมาอีกได หมายความวา คนใจบาปหยาบชาลามกฆาเนื้อเบื่อปลาผูใด ตายไปตก นรกขุมนี้แลว เขาก็จะเปนคลายๆกับวามีตัวตนเปน " กายสิทธิ์ " คือไมมีวันที่จะตองตายกันเลย ถึงแมวา จะไดรับการลงโทษอยางสาหัสจนทนไมไหว ขาดใจตายไป ถึงกระนัน้ ก็ตองกลับมามี ชีวิตชีวา กลับเปนขึ้นมารับทุกขโทษตอไปอีก เปนๆตายๆอยูอยางนี้ตลอดเวลา ฉะนัน้ นรกขุม นี้จึงมีชื่อวา " สัญชีวนรก " นรกที่ไมมวี นั ตาย เมื่อกลาวถึงความเปนอยู สัตวนรกในสัญชีวนรกนี้ ไมมีอาชีพการงานอะไรที่จักตองทําเหมือนอยางมนุษยเรานี้เลย ทั่วทุกตัวสัตวนรก ไมตองทํา อะไรทั้งสิ้น ตลอดเวลามีแตจะกมหนากมตารับทุกขโทษ เสวยผลกรรมชั่วที่ตัวไดกระทําไว ถายเดียว เชนสัตวนรกบางจําพวก ถูกนายนิรยบาลคือเจาพนักงานเมืองนรก จับมัดใหมั่นแลว บังคับใหนอนลงเหนือแผนเหล็กที่ลุกแดงดวยไฟนรก ใหไดรับความแสบปวดแสบรอนเหลือ ประมาณ แลวนายนิรยบาลจึงเอาดาบนรกอันคมกลา ฟาดฟนลงไปบนกายาของเขาใหขาดเปน ทอนๆ บางทีก็เอามีดเอาขวานมา คอยๆถากคอยๆเฉือนเนื้อตัวรางกายของสัตวนรก ซึ่งกําลัง นอนดิน้ รนอยูบ นพืน้ เหล็กแดงนัน้ ทีละนอยๆ จนกระทัง่ เนื้อหนังมังสาหมดไป เหลือแตเพียงโครง กระดูกขาวโพลงอยู สัตวนรกทั้งหลายไดรับทุกขทรมานอยางนี้ ก็สง เสียงรองครวญครางใหอื้ออึง ระงมไปทัว่ บริเวณ จนกระทัง่ สิ้นใจตายไปในที่สุด แลวก็มีลมชนิดหนึง่ ซึ่งเรียกวา " ลมกรรม " พัด โชยมาตองกายสัตวนรกนัน้ ใหกลับเปนมีชีวิตชีวา มีรา งกายเหมือนเดิม ใหนายนิรยบาลลงโทษ

78 ตอไปอีก จนตายไปแลวก็กลับเปนขึ้นมาอีก เฝาตายๆเปนๆ เปนเชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะหมด อายุขัยแหงนรกขุมนี้

2 . กาฬสุตตมหานรก (นรกดายดํา) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมถูกลงโทษ โดยนายนิรยบาลเอาดายดํามาตีเปน เสนเขาตามรางกาย แลวก็เอาเลื่อยมาเลือ่ ย บางทีก็เอาขวานมาผาหรือเอามีดนรกมาเฉือนกรีด ตามเสนดายดําที่ตีไว ไมใหผิดรอยได ฉะนัน้ นรกขุมนีจ้ ึงมีชื่อวา " กาฬสุตตมหานรก " นรกที่ ลงโทษตามเสนดายดํา เมือ่ จะกลาวถึงชีวิตความเปนอยูของเหลาสัตวในกาฬสุตตมหานรกนี้ ยอมถูกนายนิรยบาลจับมัดใหนอนเหนือแผนเหล็กแดงทีร่ อนแรงดวยไฟนรก แลวเอาดายดําซึ่งทํา ดวยเหล็กนรก มาตีบนรางของสัตวนรกจนทําใหเปนรอยเสน แลวก็ทําการเลื่อยดวยเลื่อยนรกอัน ลุกแดงดวยแสงไฟ คอยๆเลื่อยไปจนกายขาดเปนทอนๆ สัตวนรกนั้นทนไมไดกด็ ิ้นรนกระวน กระวาย บางทีถงึ กับทะลึ่งลุกขึ้นดิ้นพรวดพราด แสดงกิริยาฮึดฮัด ทําทาจะสลัดใหหลุด นาย นิรยบาลก็บังคับจับมัดใหแนนเขาไปอีก แลวเลื่อยตัดรางกายของสัตวนรก เปนเชนนี้เรื่อยไป จนกวาจะหมดอายุขัยแหงนรกขุมนี้

3 . สังฆาตมหานรก (นรกภูเขาเหล็ก) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมไดรับทุกขโทษ โดยถูกภูเขาเหล็กนรกบดขยีร้ างกาย ใหไดรับทุกขเวทนาอยูตลอดเวลา ไมมเี วลาสรางวางเวน ฉะนัน้ นรกขุมนี้จงึ มีชื่อวา " สังฆาตมหา นรก " นรกที่บดขยี้รางกายสัตว เมื่อกลาวถึงชีวิตความเปนอยู เหลาสัตวในสังฆาตมหานรกนี้ มี รางกายวิกลวิการตางๆกัน มีรูปรางแปลกพิลึก เชนบางตนมีหวั เปนควายมีตวั เปนคน บางตนมี หัวเปนหมา หมู เปด ไก แตมีตัวเปนคน ดังนี้เปนตน มีความวิปริตแหงกายพิกลสุดที่จะ พรรณนาใหถกู ตองหมดสิ้นได นายนิรยบาลผูมีดวงหนาอันขมึงทึงนาเกรงกลัว มีมือที่ถือศาสตรา วุธเที่ยวเดินไป แลวก็พลันยกขึ้นซึ่งอาวุธรองคํารนคํารามดวยเสียงอันกองฟาวา " กูจะฆามึง กูจะ ฆามึง " สัตวนรกทั้งหลายไดยินดังนัน้ ก็บงั เกิดความหวาดกลัวจับขัว้ หัวใจ วิ่งหนีไปโดยเร็วไมคดิ ชีวิต ขณะนัน้ ดวยอํานาจกรรมบันดาลใหเกิดกองไฟใหญขึ้นขวางหนากั้นไว สัตวนรกก็ไปไมได แตพอหันหลังกลับมา ก็เกิดกองไฟดักหนาเขาอีกกองหนึง่ ไมวา จะหันหนาไปทางไหน ก็ปรากฏ มีกองไฟเกิดขึ้นรอบตัวไปหมด เผาสัตวนรกใหไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัส อนึ่ง อยาพึงเขาใจวา ไฟในนรกทัง้ หลายเหมือนกับไฟในมนุษยโลกเรานี้เปนอันขาด เพราะความจริงไมใช ดวยวาไฟใน นรกนัน้ มีความรอนแรงกวาไฟธรรมดา ที่เราเห็นกันอยูในโลกนี้มากมายนัก แมจะถูกไฟในนรก แผดเผาอยูนี้ สัตวนรกเหลานัน้ ก็หาตายลงงายๆไม เพราะปรากฏวาตอมาไมชา ก็มีภูเขาเหล็ก

79 นรก 2 ลูก กลิ้งมาบีบขยี้รางกายของสัตวนรกนัน้ ใหแหลกลาญ เปรียบดังเหมือนหีบออยที่บด ออยใหแหลกละเอียดฉะนัน้ เปนเชนนี้เรือ่ ยไปจนกวาจะหมดอายุขัยแหงนรกขุมนี้

4 . โรรุวมหานรก (นรกดอกบัวเหล็ก 1) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมไดรับทุกขโทษอยางแสนสาหัสสุดจะประมาณ ตลอดเวลาในนรกขุมนี้ จะไดยินแตเสียงรองครวญครางอยางนาสมเพชเวทนาเปนยิ่งนัก ฉะนัน้ นรกขุมนี้จงึ ชือ่ วา " โรรุวมหานรก " นรกที่เต็มไปดวยเสียงรองครวญคราง เมื่อกลาวถึงชีวิตความ เปนอยู เหลาสัตวชาวโรรุวมหานรกนี้ ตองเสวยทุกขเวทนาในดอกบัวเหล็ก และวิธีเสวยทุกขนั้น ก็แปลกประหลาด คือนอนคว่ําหนาอยูกลางดอกบัวเหล็กนรกอันใหญโต ศีรษะมิดเขาไปใน ดอกบัวแคคาง สวนทางปลายเทาก็จมมิดเขาไปในดอกบัวเหล็กแคขอเทา มือทัง้ สองก็กางจมมิด เขาไปในดอกบัวเหล็กแคขอมือ นอนคว่ําหนาอยูดวยอาการอันพิลกึ พิกลเชนนัน้ แลว เปลวไฟก็ ปรากฏขึ้น เผาไหมดอกบัวเหล็กพรอมกับสัตวนรกเหลานัน้ เปลวไฟแลบเขาหูซา ยออกหูขวา แลบเขาหูขวาออกหูซาย เขาปาก ตา จมูก สัตวนรกก็ไดแตรองครวญคราง เสียงสนั่น หวัน่ ไหวอื้ออึง จะตายก็ไมตาย มีกายลําบากอยางแสนสาหัส เปนเชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะหมด อายุขัยแหงนรกขุมนี้

5 . มหาโรรุวมหานรก (นรกดอกบัวเหล็ก 2) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมถูกลงโทษโดยวิธอี ันแสนจะทรมานเปนอยางยิ่ง ทํา ใหตองรองโอดโอยครวญครางเสียงดังกระหึ่มมากมายยิ่งนัก เสียงรองครวญครางมากกวาโรรุวม หานรกทีก่ ลาวมาแลวมากกวามาก ฉะนั้นนรกขุมนี้จงึ ชือ่ วา " มหาโรรุวมหานรก " นรกที่เต็มไปดวย เสียงรองครวญครางมากมาย อีกประการหนึง่ สัตวทั้งหลายที่ไปเกิดในนรกขุมนี้ ตองเสวย ทุกขเวทนาอันนากลัวนักหนา ตองเขาไปยืนในดอกบัวเหล็กนรก ซึง่ มีกลีบแตละกลีบคมเปนกรด มิหนําซ้าํ ยังรอนแรงแดงฉานไปดวยไฟนรก ซึง่ ลุกโพลงอยูในดอกบัวเปนเนืองนิตย เผาไหมสัตว นรกซึ่งอยูในดอกบัวนัน้ ตัง้ แตพื้นเทาตลอดศีรษะ เปลวไฟแลบเขาไปในทวารทัง้ 9 เผาไหมทั้ง ขางในขางนอก เพราะมีเปลวไฟอันรอนแรงรายกาจเชนนี้ ฉะนั้น นรกขุมนี้จึงมีชอื่ อีกอยางหนึ่ง วา " ชาลาโรรุวมหานรก " นรกที่เต็มไปดวยเสียงรองครวญครางเพราะเปลวไฟ เมื่อกลาวถึงชีวิต ความเปนอยู เหลาสัตวชาวมหาโรรุวมหานรกนี้ ตองเสวยทุกขโทษอยูในดอกบัวเหล็ก ถูกไฟ นรกเผา ใหไดรับความกระวนกระวายดวยความรอนเขาจับจิตจับใจ จะตายก็ไมตาย ถูกไฟเผา เทานี้ยงั ไมพอ ยังถูกนายนิรยบาลถือกระบองเหล็กอันมีไฟลุกโชน ตีกระหน่าํ ลงบนศีรษะซ้ําเขา

80 ไปอีกจนแตกยับ ถึงกระนัน้ ก็หาไดตายลงไปงายๆไม เพราะอํานาจกรรม ทําใหมีชีวิตไดรับทุกข ตอไป เปนเชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะหมดอายุขัยแหงนรกขุมนี้

6 . ตาปนมหานรก (นรกเปลวไฟ 1) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมไดรับทุกขโทษ โดยวิธีการถูกยางใหไดรับความเรา รอน และนรกขุมนี้กม็ ีความเรารอนเปนอยางยิ่ง ฉะนั้น นรกขุมนีจ้ ึงชื่อวา " ตาปนมหานรก " นรกทีท่ ําใหสตั วเรารอน เมื่อกลาวถึงชีวติ ความเปนอยู เหลาสัตวในตาปนมหานรกนี้ ยอมถูก นายนิรยบาลบังคับขับไลใหขึ้นไปบนปลายหลาวเหล็ก ซึ่งใหญโตเทาตนตาล รุงโรจนโชตนาการ แดงฉานดวยเปลวไฟ แลวเสียบตนเองอยูบ นปลายหลาวนัน้ ซึง่ มีเปลวไฟพุง ขึ้นในภายใต ไหม เผาผลาญสังหารสัตวนรกเปนนิจนิรันดร เมื่อเปนเชนนี้แลว เนื้อหนังมังสาของสัตวนรกทั้งหลาย จะเหลือเปนชิน้ ดีไดอยางไรเลา ก็มีแตจะไหมสุกพองอยูเหนือปลายหลาวเหล็กไปเทานัน้ เอง มี อุปมาดุจเนื้อเสียบไมปงใหสกุ บนถานไฟ สัตวนรกทั้งหลาย ตองเสวยทุกขดนิ้ รนไปมา จนกระทั่งเนื้อหนังสุกพองไปดวยอํานาจไฟนรก ครั้นเนื้อสุกเสร็จแลว ก็มีสนุ ัขนรกรูปรางแปลก ประหลาด ขนาดใหญเทาชางสาร รองอุโฆษณาการเสียงกึกกองดังฟารอง ดวยความหิว กระหายกระเหี้ยนกระหือรือ วิ่งมากระโหยงเทาหนา เอาปากงับกระชากลากสัตวนรกนัน้ ลงมา จากหลาวเหล็ก แลวฉีกเนือ้ เคี้ยวกินอยางเอร็ดอรอย จนเหลือแตกระดูก แลวก็ตอ งกลับมีชวี ิต ขึ้นมาใหม เสวยทุกขโทษเพราะถูกนายนิรยบาลบังคับใหขึ้นไปยางตนอยูบนปลายหลาวเหล็ก ตอไป เปนเชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะหมดอายุขัยแหงนรกขุมนี้

7 . มหาตาปนมหานรก (นรกเปลวไฟ 2) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมไดรับทุกขอันเกิดจากความรอนแรงแหงไฟนรกเปน ที่สุด ไดรับทุกขเพราะความเรารอนเหลือประมาณ ไมมีความรอนในที่ไหนจักเปรียบปานกับ ความรอนในนรกขุมนี้ ฉะนัน้ นรกขุมนี้จงึ ชื่อวา " มหาตาปนมหานรก " นรกที่เต็มไปดวยความเรา รอนอยางมากมายเหลือประมาณ เมื่อกลาวถึงชีวิตความเปนอยู เหลาสัตวในมหาตาปนมหานรก นี้ ยอมมีชีวิตอยูภายในนรก ซึ่งแลดูนา กลัวนักหนา ทัง้ ลึกทัง้ กวาง มีกําแพงเหล็กลุกเปนไฟ ภายในกําแพงอันกวางขวางใหญโตนัน้ มีภูเขาเหล็กลุกเปนไฟตั้งอยูเปนลูกๆ ตามพืน้ ขางๆภูเขา นั้น มีขวากเหล็กแหลมคม ปกเรียงรายอยูเหนือพืน้ เหล็กแดงอันรอนแดงดวยไฟมากมาย นาย นิรยบาลมีมือถืออาวุธ หอก ดาบ แหลน หลาว อันลุกแดงดวยแสงไฟ ไลทิ่มแทงสัตวนรก ทั้งหลาย บังคับใหขึ้นไปบนภูเขาไฟอันแดงฉาน สัตวนรกทัง้ หลาย เมื่อถูกนายนิรยบาลไลทิ่ม แทงดังนั้น ก็พากันตกใจกลัว วิง่ หนีขึ้นไปบนยอดเขานรกนัน้ และแลวในไมชา ก็มีลมกรดอัน

81 รอนแรงพัดมาดวยกําลังแหงลมนรก ใหสตั วนรกพลัดตกลงมาจากยอดเขา ตกลงมาถูกขวาก หนามนรกอันมีอยูในเบื้องลาง เสียบรางทะลุเลือดแดงฉาน เปนการทรมานดูนาทุเรศยิ่งนัก บาง คนตกลงมาถูกขวากเสียบขางซายทะลุขางขวา เสียบขางหนาทะลุขางหลัง เสียบหัวทะลุกลางหัว สงเสียงรองครวญครางดวยความหวาดเสียวเจ็บปวดเปนยิง่ นัก เปนเชนนีเ้ รื่อยไปจนกวาจะหมด อายุขัยแหงนรกขุมนี้

8 . อเวจีมหานรก (นรกที่ไมมพี ัก) เหลาสัตวที่อุบตั ิเกิดในนรกขุมนี้ ยอมไดรับทุกขโทษอยางหนักที่สุด เพราะระหวางแหง เปลวไฟ และความทุกข ไมมีความวางแมแตสักนิดเลย ในนรกนี้ไมมีการหยุดพักแมแตสักชั่ว ระยะเวลาหนึง่ สัตวนรกตองไดรับความทุกขอยางหนักอยูเสมอตลอดเวลา ไมใชบางคราก็หนัก บางคราก็เบาเหมือนนรกขุมอื่นๆ เพราะฉะนัน้ นรกขุมนีจ้ ึงชื่อวา " อเวจีมหานรก " นรกที่ปราศจาก คลื่น คือความบางเบาแหงความทุกข เมื่อกลาวถึงชีวติ ความเปนอยู เหลาสัตวในอเวจีมหานรก นี้ ยอมมีความเปนอยูอยางทรมาน ไดรับความทุกขแสนสาหัสสุดจะพรรณนา เพราะอเวจีมหา นรกนี้เปนนรกขุมใหญที่สุด กวางใหญกวาบรรดามหานรกทั้งหมด แลดูนากลัวสยดสยอง แล เห็นเปนราวกะเมืองใหญ ลอมรอบดวยกําแพงเหล็กอันลุกรุงโรจนโชตนาการดวยเปลวไฟ ภายใน ก็มีเปลวไฟอันรอนระอุ ไหมสัตวนรกอยูเนืองนิตย ทั้งกลางวันกลางคืนไมมีวา งเวนเลย และสัตว ที่ไปอุบัติเกิดในอเวจีมหานรกนี้ มีประมาณมากกวามหานรกขุมอืน่ ๆ แออัดยัดเยียดเบียดเสียด กันอยู และการเสวยทุกขโทษในมหานรกขุมนี้ ก็แตกตางกันไปหลายอิริยาบถ หลายทาหลาย ทาง เชน ถาเคยยืนทําบาปอกุศลกรรมไว ก็ตองมาทนทุกขอยูในอิรยิ าบถยืน เคยเดินทําบาป ไว ก็ตองมาทนทุกขอยูในอิริยาบถเดิน เปนตน และยังอิริยาบถอื่นๆอีกมากมาย รวมความวา เคยทําบาปทํากรรมอะไรไว ดวยลักษณะอาการอิริยาบถอยางไร ก็ตอ งมาเสวยทุกขโทษดวย ลักษณะอาการอิริยาบถอยางนัน้ เปนเชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะหมดอายุขัยแหงนรกขุมนี้

9 . คูถนรก (นรกอุจจาระ) ครั้นพนทุกขโทษจากมหานรกขุมใหญแลว หากเศษบาปกรรมยังไมสิ้น สัตวนรก ทั้งหลาย ก็เคลื่อนออกไปรับทุกขโทษอยูในนรกบริวารชั้นในอันดับที่ 1 ตอไป นรกบริวารชั้นใน อันดับที่ 1 นีม้ ชี ื่อวา " คูถนรก " ก็ในคูถนรกนี้ เต็มไปดวยหมูหนอนเปนอันมาก ซึง่ แตละตัวมีปาก แหลมดังเข็ม ทัง้ ตัวก็อว นพีใหญโตเทาชางสาร แลดูนา เกลียดนากลัวยิ่งนัก เมื่อเห็นสัตวนรกตก มาถึงคูถนรกนี้แลว เจาหนอนนรกเหลานั้น ก็แสดงอาการดีอกดีใจ เขามาลอมกายสัตวนรกนั้น แลวพากันแทะกัดกินเนื้ออยางเอร็ดอรอย จนเหลือแตกระดูก เมื่อเหลือแตกระดูก ก็พากันแทะ

82 กัดกินกระดูกตอไป ใหไดรับทุกขทรมานหนักยิ่งขึน้ หนอนนรกบางตัวที่ยงั เล็ก พอเขาถึงกายอัน ใหญโตของสัตวนรกไดแลว ก็พากันไตเขาไปในปาก แลวกัดกินไสใหญไสนอยตับปอด แลวก็ ลอดออกมาทางทวารเบื้องลาง บางทีกเ็ ขาไปทางทวารเบื้องลาง กัดกินอวัยวะภายในเสร็จแลว ก็ออกมาทางปาก แลดูนา สะอิดสะเอียนนักหนา ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในคูถนรกนี้ จนกวาจะ สิ้นกรรมทีท่ ําไว

10 . กุกกุฬนรก (นรกขี้เถา) ครั้นพนทุกขโทษจากคูถนรกแลว หากเศษบาปกรรมยังไมสิ้น สัตวนรกทั้งหลาย ก็ เคลื่อนออกไปรับทุกขโทษอยูในนรกบริวารชั้นในอันดับที่ 2 ตอไป นรกบริวารชั้นในอันดับที่ 2 นีม้ ี ชื่อวา " กุกกุฬนรก " ก็ในกุกกุฬนรกนี้ เต็มไปดวยเถารึงซึ่งรุมรอนสําหรับเผาสัตวนรกทั้งหลาย ให ไดรับทุกขเวทนาอันกลาแข็ง สัตวนรกทั้งปวง เมื่อถูกเถารึงอันรอนแรงเผาสรีระใหยอยยับ ละเอียดเปนจุณไป ยอมไดรับทุกขทรมานแสนสาหัส เศษบาปกรรมยังไมสิ้นตราบใด ก็ตอง ตายๆเปนๆ เมื่อไดรับทุกขโทษถูกเถารึงแผดเผา ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในกุกกุฬนรกนี้ จนกวา จะสิ้นกรรมทีท่ ําไว

11 . อิสิปตตวนนรก (นรกสวนมะมวง) ครั้นพนทุกขโทษจากกุกกุฬนรกแลว หากเศษบาปกรรมยังไมสนิ้ สัตวนรกทั้งหลาย ก็ เคลื่อนออกไปรับทุกขโทษอยูในนรกบริวารชั้นในอันดับที่ 3 ตอไป นรกบริวารชั้นในอันดับที่ 3 นีม้ ี ชื่อวา " อิสิปตตวนนรก " ก็ในอิสิปตตวนนรกนี้ มีไมมะมวงใหญ ซึง่ มีใบดกครึ้มอยูหลากหลาย แลดูประหนึ่งสวนอุทยานอันกวางใหญ ครั้นสัตวนรกทั้งหลายผูมีกรรมยังไมสิ้น หลุดพนออกจาก กุกกุฬนรกไดแลว เมื่อมาถึงอิสิปตตวนนรกนี้ แลเห็นสวนมีตนไม ซึง่ ตนไมเคยเห็นมานาน ตาง ก็ดีเนื้อดีใจ พึมพํากลาวแกกันและกันดวยภาษานรกวา " เราทั้งปวงผูเปนคนบาปเอย ! มาเถิด เรา จงพากันไปอาศัยในสวนมะมวงนัน้ เถิด คงจักสุขกายสบายใจเปนแมนมัน่ เพราะเราไดทุกขยาก มานานนักหนาแลว " วาดังนี้แลว เขาก็ชวนกันไปเพื่อจะนั่งนอนภายใตรมมะมวงนัน้ แตพอเขา ไป ยังมิทันทีจ่ ะไดนั่งนอนดังใจหวัง ตนมะมวงนรกนัน้ ก็แสดงความเปนมะมวงนรกใหปรากฏ นั่นคือมีลมกรรมพัดมาอยางแรง แลวใบมะมวงที่ดกครึ้ม ก็กลายเปนหอกเปนดาบอันคมกลา หลุดรวงลงมาถูกกายาแหงสัตวนรกเหลานัน้ ทําใหเปนแผลเหวอะหวะ บางทีก็ขาดเปนทอนๆ ถูกแขนๆก็ขาด ถูกขาๆก็ขาด เมื่อไดประสบกับเหตุการณอันมิคาดฝนเชนนี้ สัตวนรกเหลานัน้ ตางก็เผนหนีออกมาจากที่นนั่ โดยเร็ว ในขณะนั้นก็ใหบงั เกิดอัศจรรย เพราะปรากฏวามีกาํ แพง เหล็กมีเปลวไฟลุกแดงโร ชําแรกปฐพีผดุ โผลขึ้นมาขวางหนาเอาไว สัตวนรกทัง้ หลายซึง่ มี

83 บาดแผลเต็มไปทั่วทั้งราง เลือดแดงฉานก็วิ่งวนเวียนไปมา คราทีนนั้ ก็มีสุนัขนรกมีรางกาย ใหญโตเทาชางสาร วิ่งมาขบกัดกินเลือดกินเนื้อสัตวนรกจนเหลือแตกระดูก นอกจากนัน้ แลว ยัง มีแรงนรกซึง่ มีปากเปนเหล็ก ตัวโตประมาณเทาเกวียนเทารถ พากันบินมาโฉบเฉีย่ วยื้อแยงจิกทึ้ง เนื้อสัตวนรก ฉีกกินเปนอาหาร ดูนาสมเพชเวทนาเปนนักหนา ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในอิสิ ปตตวนนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมทีท่ ําไว

12 . เวตตรณีนรก (นรกน้ําเค็ม) ครั้นพนทุกขโทษจากอิสิปตตวนนรกแลว หากเศษบาปกรรมยังไมสนิ้ สัตวนรกทั้งหลาย ก็เคลื่อนออกไปรับทุกขโทษอยูในนรกบริวารชั้นในอันดับสุดทายคืออันดับที่ 4 ตอไป นรกบริวาร ชั้นในอันดับที่ 4 นี้มีชื่อวา " เวตตรณีนรก " ก็ในเวตตรณีนรกนี้ เปนสถานที่ทเี่ ต็มไปดวยน้าํ เค็มน้ํา แสบตั้งอยูชั่วกัปป มีเครือหวายหนามเหล็กลอมอยูโดยรอบเปนขอบขัณฑ ในทามกลางนัน้ ปรากฏเปนดอกปทุมหลากหลาย เมื่อสัตวนรกไดเห็นเขาแลว ก็เขาใจวาเปนแมน้ําอันเย็นสนิทนา อาบ นาดื่มนัก ตางก็ดีอกดีใจ หวังจะอาบดื่มกินใหสบาย วิ่งมาโดยเร็วเพราะตายอดตายอยาก ไมเห็นน้ํามาเปนเวลานาน พอมาถึงแลวก็รีบกระโจนลงไป เครือหวายเหล็กซึง่ คมเหมือนหอก เหมือนดาบ ก็บาดรางกายทําใหเปนแผลในน้าํ เค็ม เขาทัง้ หลายยอมไดประสบทุกขเวทนาทัง้ เจ็บ ทั้งแสบ แลวก็ยังจะเกิดเปลวไฟลุกขึ้นไหมเผาทั้งๆที่อยูใ นแมนา้ํ นัน่ เอง ไฟนรกไหมสรีระรางกาย ของเขาใหดําไหมเกรียม เหมือนกับตนไมที่ถูกไฟไหมอนั ตั้งอยูในปา บางตนมีรางหอยระยาบน เครื่องหนามหวาย รองดิ้นกระวนกระวาย ในไมชา ก็ตกลงไปตองดอกบัวหลวง อันมีกลีบคมเปน กรด ซึง่ ตั้งอยูกลางน้าํ เค็ม มีเปลวไฟติดอยูตลอดเวลา ใบบัวเหล็กแดงอันคมนัน้ ก็บาด รางกายเขาใหขาดวิ่น ทําใหเจ็บแสบทัง้ เนื้อทัง้ ตัวแสนสาหัส ดิน้ ทุรนทุรายประดุจปลาถูกทุบหัว ฉะนัน้ บัดเดีย๋ วก็พลันตกจากกลีบบัวนรกลงไป เขาจึงมาคํานึงในใจวา " มากูจะดําลงไปในน้ํานี่ เถิด ชะรอยจะพบน้ําเย็นภายใตโพนบางกระมัง " แลวจึงกลัน้ ใจดําลงไป ก็ตองถูกคมมีดคมดาบ อันหงายอยูภายใตพนื้ น้าํ นัน้ บาดเอา ทําใหรางกายเหวอะหวะแหวงหนักเขาไปอีก ตองรองสะดุง หวาดเสียวดวยความเจ็บแสบแสนสาหัส เทานี้ยงั ไมพอ ยังถูกนายนิรยบาลซึ่งมีมอื ถือหอกแหลน หลาวเงือดเงื้อขึ้นแลวก็จว งแทงเอาๆ ดังบุรุษในมนุษยโลกเราแทงปลาในน้ําดวยฉมวกฉะนั้น ครั้นแลว นายนิรยบาลก็เอาเบ็ดนรกเกี่ยวลากขึน้ มา บังคับใหนอนหงายเหนือแผนเหล็กแดง แลวเอาหลาวงัดปากใหอาขึน้ เอากอนเหล็กซึ่งกําลังลุกแดงโชน ยัดใสเขาไปในปาก พอถึง ปากๆก็ไหม ตกมาถึงคอๆก็ไหม พอตกถึงทองก็ไหมไสใหญไสนอยทะลักออกมา สัตวนรกก็ รองไหครวญครางอยางนาสงสารนักหนา ครั้นนายนิรยบาลเห็นสัตวนรกกินกอนเหล็กแดง รองไห

84 ครวญครางเสวยทุกขเวทนาอยูเชนนั้น ก็คลายกับจะมีใจกรุณา จึงรองถามขึน้ วา " ทานอยากจะ กินอะไร " สัตวนรกจึงตอบขึ้นวา " น้ํา ขาพเจากระหายน้ําเหลือเกิน เพราะกอนเหล็กแดงนี่รอน นัก " สัตวนรกตอบตามความจริงดังนี้ คราทีนนั้ นายนิรยบาลจึงเอาน้าํ ทองแดง ซึ่งกําลังรอน เดือดพลาน มากรอกลงไปในปากของสัตวนรกผูอยากน้ํา พอน้ําถึงปากๆก็แตกพังทลาย พอน้าํ ถึงคอถึงทองคอและทองก็พงั พินาศ พอตกถึงลําไสแลว ลําไสใหญนอ ยก็ขาดกระจุยกระจาย เรี่ยราดออกมา ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในเวตตรณีนรกนี้ จนกวาจะสิ้นกรรมที่ทาํ ไว

13 . โลหกุมภีนรก (นรกกะทะทองแดง) ยมโลกนรกขุมที่ 1 นี้มีชื่อวา " โลหกุมภีนรก " ในนรกขุมนี้มีหมอเหล็กขนาดใหญเทาภูเขา เต็มไปดวยน้าํ แสบน้ํารอนเดือดพลานอยูตลอดเวลา ตัง้ อยูบนเตาไฟใหญ นายนิรยบาลรางกาย ใหญโต จับสัตวผูพลัดมาอยูทนี่ ี่เพราะมีบาปนัน้ ที่ขอเทา แลวบังคับจับเอาหัวคว่าํ ลง แลวหยอน ทิ้งลงไปในหมอเหล็กนรกนัน่ เสียงดังซาใหญ สัตวนรกทั้งหลายเมื่อถูกลงโทษเชนนัน้ ก็ไดรับทุกข ทั้งแสบทั้งรอน เสวยทุกขเวทนาอยางแสนสาหัส ถูกตมเคี่ยวอยูในหมอเหล็กนรกนัน่ จนกวาจะ สิ้นกรรมชั่วทีต่ นไดกระทํามา บางทีนายนิรยบาลก็เอาเชือกเหล็กแดงลุกเปนเปลวไฟ ไลกระหวัด รัดคอแลวบิดจนกระทั่งคอขาดออกจากหัว แลวก็เอาศีรษะที่ขาดนั้นลงทอดในหมอเหล็กแดง ให ไดรับทุกขเวทนาทั้งกายทัง้ ศีรษะ แตก็หาไดตายลงไปไม สัตวนรกหัวดวนอยูบัดเดีย๋ วใจ แลวก็ เกิดหัวใหมขนึ้ มาแทน นายนิรยบาลก็เอาเชือกเหล็กซึ่งลุกเปนเปลวไฟอันเกานั้น กระหวัดรัดคอ บิดใหขาด แลวก็เอาลงทอดในหมอนรกนั้นอีก ทําอยูอ ยางนีห้ ลายครั้งหลายคาบ ตองเสวย ทุกขเวทนาอยูใ นโลหกุมภีนรกนี้ จนกวาจะสิ้นกรรมที่ทาํ ไว กรรมที่นาํ สัตวนรก ใหมาเสวยทุกขโทษในนรกขุมนี้ ไดแก ปาณาติบาตกรรม คือ ทํา การฆาสัตวตดั ชีวิต เชน จับเอาสัตวเปนๆมาใสลงในหมอน้าํ รอนๆใหตาย แลวเอามากินเปน อาหาร หรือมิฉะนัน้ ก็ทํากรรมชั่วหยาบอืน่ ๆ ควรจะเสวยทุกขในมหานรกแลว แตภายหลังกลับ สํานึกตน พยายามประกอบกองการกุศล บาปกรรมทีต่ ิดอยูในจิตคอยคลายลง จึงตองไดรับ โทษ เพียงตกมาเกิดในโลหกุมภีนรกนี้

14 . สิมพลีนรก (นรกตนงิ้ว) ยมโลกนรกขุมที่ 2 นี้มีชื่อวา " สิมพลีนรก " ในนรกขุมนี้ ปรากฏเปนปาเต็มไปดวยตนงิ้ว นรกทัง้ หลาย ตนงิว้ แตละตน มีหนามเหล็กคมเปนกรด ยาวประมาณ 16 องคุลี ลุกเปนเปลว ไฟอยูเสมอเปนนิตย ไมมีวนั ที่จะดับไปเลยแมสักชั่วเวลาระยะหนึง่ ในนรกขุมนี้ เต็มไปดวยสัตว นรกหญิงและสัตวนรกชาย กมหนากมตาเสวยทุกขเวทนาแสนสาหัสนักหนา บางเวลา สัตวนรก

85 หญิงขึ้นไปคอยอยูบนตนงิว้ กอน สัตวนรกชายอยูใตตน แหงนขึน้ ไปเห็นหนามงิ้วอันแหลมยาวนา สะพรึงกลัวก็ไมกลาขึ้นไป นายนิรยบาลทั้งหลาย ก็เงือดเงื้ออาวุธหอก ดาบ แหลน หลาว พลางขูตะคอกบังคับใหขนึ้ ไป ดวยอํานาจแหงความกลัว เขาก็ตองจําใจปายปนตนงิ้ว ตองกม หนาฝาหนามงิ้วเลือดสาดทัว่ กายา ครั้นขึ้นชา นายนิรยบาลก็เอาหอกแทงเขาที่ขาที่เทาบาง เอา ดามหอกนรกตีที่ศีรษะบาง ปากก็เรงรองบังคับขับไสใหขึ้นไปหาสัตวนรกหญิงนัน้ เร็วๆ เขาก็ตอง กมหนาปนหนามงิว้ ขึ้นไปทีละนอย หนามงิ้วอันแหลมคม ก็ยงิ่ บาดตัวตนเขาขาดทะลุ มิหนําซ้ํา ยังรอนรนสุดจะทนทาน เพราะวาหนามนัน้ ลุกแดงเปนเปลวไฟ ครั้นสุดจะอดทนหนักเขา เขาก็ บายศีรษะทําทาจะลงมา นายนิรยบาลเห็นดังนัน้ ก็เอาหอกแทงซ้าํ กระหน่ําไมเลือกที่แลวรองวา " สูมึง จงเรงขึน้ ไปหายอดชูอ ันอยูบนปลายงิ้วโพน จะกลับลงมาไยเลา " เขาอดทนความเจ็บปวด มิได จึงอาปากพูดวิงวอนกับนายนิรยบาลนัน้ วา " ขาพเจาไดรับความเจ็บปวดนักหนา ขึน้ ไปมิได ขอลงไปพักสักครูมิไดฤา " วิงวอนอยูฉะนี้ นายนิรยบาลจะไดฟงวาทีของเขาก็หามิได กลับโหม กําลังตีแทงกระหน่ําซ้าํ ลงไปอีก สัตวนรกนั้น ก็ตองจําใจไตปนขึ้นไปบนปลายตนงิว้ นัน้ ทัง้ ๆที่ เจ็บปวดนักหนาปานวาจะขาดใจตาย ครั้นขึ้นไปถึงปลายงิว้ เลา ก็แลเห็นสัตวนรกหญิงนั้น กลับ ลงมาอยูเบื้องลางอยางรวดเร็วนาอัศจรรย นายนิรยบาลทั้งหลาย ก็เงือดเงื้อศาสตราวุธบังคับให สัตวนรกหญิงนั้น ปนขึน้ ไปหาสัตวนรกชาย ผูเปนยอดชูอยูเบื้องบน ครั้นทํารีรอไมกลาขึ้น นาย นิรยบาลก็ทุบตีกระหน่าํ แทงดวยแหลน หลาว ขับไสใหขึ้นไปทัง้ ๆที่เลือดสาดทวมตัว ไดรับความ เจ็บปวดเสวยทุกขเวทนาเปนที่สุด ครั้นพอขึ้นไปถึง ก็กลับเห็นสัตวนรกชายลงมาอยูเบื้องลางอีก เขาทัง้ สอง ไดแตเฝาวนเวียนขึ้นลงหากันดวยความลําบากอยูอยางนี้ ที่จะไดอยูด วยกันสักเพลา นิดหนึ่งเปนไมมีเลย นับเปนเวลานานนักหนาจนกวาจะสิ้นกรรมที่ทาํ ไว สัตวนรกบางตนบางพวก ขณะที่กําลังปนปายขึ้นไปบนตนงิ้วนั้น นอกจากจะถูกนายนิรยบาลทิ่มแทงดวยหอก แหลน หลาวแลว ก็ยังมีแรงกานรกอันมีปากเปนเหล็ก คอยจิกทึง้ กินอวัยวะนอยใหญเปนภักษาหาร ให ไดรับความทุกขทรมานหนักยิ่งขึ้น ครั้นลงมาขางลาง ก็ตองถูกสุนัขนรกตัวใหญมหึมา พากันมา เปนฝูงๆ แลวรุมกันแยงกัดกินเนื้อสัตวนรกนัน้ เปนการชวยนายนิรยบาลลงโทษอีกแรงหนึ่ง กรรมที่นาํ สัตวนรก ใหมาเสวยทุกขโทษในนรกขุมนี้ ไดแก กาเมสุมจิ ฉาจาร คือ คบชู สูสาวผิดศีลธรรมประเพณี เปนชายประพฤติเปนชูกบั ภรรยาของผูอื่น เปนหญิงประพฤติเปนชูกบั สามีของผูอื่น หรือเปนหญิงมีสามีอยู แตยังมักมากในกามคุณไมมสี ติสัมปชัญญะ ไมประมาณ ตน ไมเกรงตอบาปกรรม ประพฤติอสัทธรรมดวยการคบชู หรือเปนชายมีภรรยาอยู แตเปนผู หลงไหลตามใจตน เปนคนไมมีหิริโอตตัปปะ ประพฤตินอกใจภรรยา ไปสูห าเปนชูกับหญิงอื่น

86 ดังนี้เปนตน ครั้นตายลง จึงตองมาเกิดเปนสัตวนรก ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในสิมพลีนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมที่ทาํ ไว

15 . อสินขะนรก (นรกดาบมีด) ยมโลกนรกขุมที่ 3 นี้มนี ามวา " อสินขะนรก " เหลาสัตวที่อยูในนรกขุมนี้ มีรูปรางพิกล เล็บมือเล็บเทาของตนซึง่ แหลมยาว กลับกลายเปนอาวุธ เปนหอก เปนดาบ เปนจอบ เปน เสียมอันคมกลา เสวยทุกขเวทนาประหนึ่งคนบาวิกลจริต บางนั่ง บางยืน เอาเล็บมือถาก ตะกุยเนื้อหนังของตน กินเปนภักษาหาร กรรมที่นาํ สัตวนรก ใหมาเสวยทุกขโทษในนรกขุมนี้ ไดแก อทินนาทาน เมื่อครั้งเปน มนุษยมีใจเปนพาล ชอบลักเล็กขโมยนอย ลักขโมยของในที่สาธารณะ ของที่เขาถวายแกพระ พุทธ พระธรรม พระสงฆ หรือลักขโมยของใชเชนเสื้อผา อาหาร เปนตน ครั้นตายลง จึง ตองมาเกิดเปนสัตวนรก ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในอสินขะนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมที่ทาํ ไว

16 . ตามโพทกะนรก (นรกกรอกน้ําทองแดง) ยมโลกนรกขุมที่ 4 นี้มีชื่อวา " ตามโพทกะนรก " ในนรกขุมนี้ มีหมอเหล็กตมน้ําทองแดง อยูมากมาย มีน้ําทองแดงกําลังเดือดพลุง อยูเสมอ พรอมกับมีกอนกรวดกอนหินปะปนอยูดว ยใน หมอเหล็กนั้นๆทุกๆหมอ สัตวบาปเหลาใดมาตกอยูในนรกขุมนี้ นายนิรยบาลก็จบั สัตวเหลานัน้ ใหนอนหงายเหนือแผนเหล็กอันรุงเรืองดวยเปลวไฟ แลวเอาน้ําทองแดงพรอมทัง้ กอนกรวดกอนหิน ซึ่งกําลังเดือดพลานในหมอนรกนัน้ กรอกเขาไปในปาก น้าํ นัน้ ตกไปถึงไหน เชนถึงปาก คอ ทอง เปนตน อวัยวะสวนนัน้ ๆ ก็แตกเปอ ยพังทลายแลวก็กลับเกิด กลับเปนขึ้นมาอีก นาย นิรยบาลก็เอาน้ํานรกนัน่ กรอกเขาไปอีก ตองเสวยทุกขเวทนาอยูอยางนีน้ านนักหนา กรรมที่นาํ สัตวนรก ใหมาเสวยทุกขโทษในนรกขุมนี้ ไดแก การดื่มสุรา (น้าํ เมาที่ไดจาก การกลัน่ ) และเมรัย (น้ําเมาที่ไดจากการหมัก) เมื่อครั้งเปนมนุษย มีใจมัวเมาประมาท แสดง อาการคลายกับคนบาเพราะฤทธิ์แหงสุราและเมรัยที่ดื่มเขาไปนั้น ทําใหเปนคนวิกลจริต เมามาย ไมมีสติอยูร่ําไปทุกค่ําเชาไมมีเวน เมื่อตายลง จึงตองมาดื่มกินน้าํ ทองแดงอีกกอนกรวดในนรกขุม นี้ ตองเสวยทุกขเวทนาอยูใ นตามโพทกะนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมทีท่ ําไว

17 . อโยคุฬะนรก (นรกกอนเหล็กแดง) ยมโลกนรกขุมที่ 5 นี้มีชื่อวา " อโยคุฬะนรก " ในนรกขุมนี้ เต็มไปดวยกอนเหล็กแดงเกลื่อน กลาดไปหมด ไมวา จะมองไปทางไหน มีแตกอนเหล็กแดงลุกเปนไฟทัง้ นัน้ เหลาสัตวนรก ทั้งหลาย ลวนแตมีความหิวโหยทัง้ สิ้น ครั้นเห็นกอนเหล็กแดงก็ดีอกดีใจ เพราะอกุศลกรรม

87 บันดาลใหสัตวนรกเหลานัน้ ตาลาย เห็นกอนเหล็กแดงกลายเปนอาหารไป จึงรีบวิง่ เขาไปยื้อแยง กันกิน พอเคีย้ วกลืนเขาไปแลว อาหารที่เขาเขาใจนัน้ ก็กลับกลายเปนกอนเหล็กแดงอันเรืองฤทธิ์ ไหมไสพุงใหขาดกระจัดกระจายเรี่ยรายออกมา ใหสัตวนรกเหลานัน้ ไดรับทุกขเวทนา เอามือ กุมทองรองไหรองครวญครางโอดโอยอยู ดวยความเจ็บปวดเหลือที่จะพรรณนา การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ มีโลภเจตนา หนาแนน แสดงตนวาเปนคนใจบุญใจกุศล เที่ยวปาวรองเรี่ยไรเอาทรัพยของเขามาวา จะทํา การกุศลสาธารณประโยชน ครั้นไดทรัพยมาแลว ก็ยักยอกใชสอยตามความสะดวกสบายของตน การกุศลก็ทําบางไมทําบางตามที่อา งไว บางทีก็ไมทําเลย หลอกลวงคนอืน่ ไดดวยเลห นึกวาตน เปนคนฉลาด เลยตองพลาดทาเสียทีมาตกนรกนี้ กินกอนเหล็กทองแดง ดวยความหลงผิดคิดวา เปนอาหารอยูว ันแลววันเลา ดวยความหิวโหยสุดประมาณ ตองเสวยทุกขเวทนาอยูในอโยคุฬะ นรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมทีท่ ําไว

18 . ปสสวปพพตะนรก (นรกภูเขาบด) ยมโลกนรกขุมที่ 6 นี้มีชื่อวา " ปสสวปพพตะนรก " ในนรกขุมนี้ มีภูเขานรกใหญตั้งอยูทั้ง 4 ทิศ เปนภูเขาเคลื่อนที่ไดไมหยุดหยอน กลิ้งบดสัตวนรกทั้งหลายทีม่ าเกิดในทีน่ ี่ใหบี้แบนกระดูก แตกปนละเอียด ถึงแกความตายแลวก็กลับเปนขึ้นมาใหม ใหไดรับความทุกขทรมานอยูอยางนี้ ตลอดเวลาไมวางเวน การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอ นเขาเหลานัน้ เคยเปนนายบาน นายอําเภอ เปนเจาบานผานเมือง แตประพฤติตนเปนคนอันธพาล กดขี่ขมเหงราษฎร ทําให ประชาชนพลเมืองเดือดรอน เชน ทุบตีเขา เอาทรัพยเขามาใหเกินพิกัดอัตราทีก่ ฏหมายกําหนด ไมมีความกรุณาแกคนทั้งหลาย ครั้นตายลง จึงตรงมาเกิดในนรกขุมนี้ ถูกภูเขาเหล็กนรกบดขยี้ รางกายใหแตกทําลาย ตองตายแลวเปนเปนแลวตายซ้าํ ๆซากๆ เสวยทุกขเวทนาอยู ในปสสวปพพตะนรกนี้ จนกวาจะสิ้นกรรมที่ทาํ ไว

19 . ธุสะนรก (นรกแกลบเพลิง) ยมโลกนรกขุมที่ 7 นี้มีชื่อวา " ธุสะนรก " สัตวที่มาเกิดในนรกขุมนี้ ลวนแตมีความหิว กระหายน้าํ ทั้งสิ้น วิง่ วุน กระเสือกกระสนไปทั่วทัง้ นรก ครานัน้ ก็ปรากฏมีสระ เต็มไปดวยน้าํ ใส เย็นสะอาด สัตวนรกทั้งหลายเห็นเขา ตางก็ดีอกดีใจ วิ่งมาถึงแลวกระโดดลงเพือ่ จะอาบจะกิน แตพอไดกินดื่มเขาไป ดวยอํานาจกรรมบันดาล พอน้าํ นั้นตกถึงทองก็กลายเปนแกลบเปนขาวลีบ

88 ลุกเปนเปลวไฟ แลวไหมไสใหญไสนอย ตับปอดเครื่องในอวัยวะทัง้ หลาย อวัยวะทั้งหลาย เหลานั้นก็ไหลออกมาทางทวารเบื้องลาง ไหไดรับความเจ็บปวด เสวยทุกขเวทนาแสนสาหัส การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ เคยเปนมนุษยผูมี ความคดโกง ไมมีความซื่อสัตย เปนพอคาแมคาที่มโี ลภเจตนาหนาแนนในดวงจิต เอาของชัว่ ปนของดี เอาของแทปนของเทียม แลวหลอกขายผูอ ื่น ไดทรัพยมาโดยมิชอบ เชนนีเ้ ปนตน ครั้นตายลง ก็ตรงมาเสวยทุกขเวทนาอยูใ นธุสะนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมที่ทาํ ไว

20 . สีตโลสิตะนรก (นรกน้าํ เย็น) ยมโลกนรกขุมที่ 8 นี้มีชื่อวา " สีตโลสิตะนรก " ในนรกขุมนี้ มีน้ําเย็นยะเยือกยิง่ กวาความ เย็นทั้งหลาย เมื่อสัตวนรกทั้งหลายตกลงไปก็ตองตายดวยความเย็น ดวยอํานาจอกุศลกรรมก็ทํา ใหกลับเปนขึ้นมาอีก แลวก็พากันคลานขึ้นมาขางบน เพื่อจะใหพน จากความเย็นอันจับขั้วหัวใจ นั้น แตนายนิรยบาลทัง้ หลาย ก็พากันจับสัตวนรกเหลานั้น โยนลงไปในน้าํ เย็นดังเกา พอตกลง ไปถึงน้าํ เย็น ก็ถูกความเย็นเบียดเบียนทรมานเอาจนถึงตาย แลวก็กลับเปนขึ้นมาอีก ตายๆ เปนๆอยูอยางนี้ ตลอดกาลนาน ไดรับความทุกขทรมานยิง่ นัก การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ เคยเปนมนุษยผูมี จิตใจไมบริสุทธิ์ เปนคนใจบาปหยาบชา ไมมีเมตตากรุณาในสันดาน เปนคนใจพาลประกอบ อกุศลกรรมเชน จับสัตวเปนๆโยนลงไปในบอ ในเหว ในสระ หรือมัดสัตวทงิ้ น้าํ ใหจมน้ําตาย เบียดเบียนฆาเพื่อนมนุษยดว ยกันโดยการจับกดน้ําใหตาย หรือดวยวิธีการตางๆนานา ครั้นตาย ลง ก็ตรงมาเสวยทุกขเวทนาอยูในสีตโลสิตะนรกนี้ จนกวาจะสิ้นกรรมที่ทาํ ไว

21 . สุนขะนรก (นรกสัตวราย) ยมโลกนรกขุมที่ 9 นี้มีชื่อวา " สุนขะนรก " ในนรกขุมนี้ เต็มไปดวยสุนขั นรกทัง้ หลาย มี อยูมากมายหลายฝูง แตเพื่อจะจําแนกสุนัขหรือหมานรกเหลานั้น ก็มีอยู 5 จําพวกดวยกัน ไดแก หมานรกดํา หมานรกขาว หมานรกเหลือง หมานรกแดง และหมานรกดาง บรรดาหมา นรกทัง้ 5 จําพวกนี้ มีรูปรางใหญโตแลดูนาเกรงกลัวเปนนักหนา สงเสียงเหาหอนดังฟาลัน่ ฟารอง กองทัว่ นรกไปหมด คนบาปที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ ยอมถูกหมานรกไลขบกัดอยูตลอดเวลา ไมวางเวน ยอมเปนผูเขาถึงภาวะเปนดุจเนื้อในปา ถูกหมาไลเนื้อของนายพรานตามลาอยูเสมอ ฉะนัน้ นอกจากจะมีหมานรกดังกลาวมาแลว ในนรกขุมนี้ ยังปรากฏมีฝูงแรงและฝูงกาอีก มากมายหลายฝูง แรงกานรกเหลานัน้ มันมีลักษณะแปลกประหลาด คือที่ปากและที่ตีนของมัน มีสภาพเปนเหล็กลุกแดงเปนเปลวไฟ แลดูนาเกรงขามเปนทีย่ ิ่ง เมื่อมันเห็นสัตวนรกทัง้ หลาย ก็

89 พากันบินมาจิกตรงลูกตา และแหกหัวอกแหงสัตวนรกทั้งหลาย ใหแตกทําลายกระจุยกระจาย แลวเคี้ยวกิน กรรมยังไมสนิ้ ตราบใด สัตวนรกก็ตองเกิดมาใหมใหสัตวรายเหี้ยมโหดดุรายในนรก ทั้งหลาย ทั้งแรงทั้งกาและหมาหมู มันขบกัดรุมทึ้งจิกยื้อแยงกันเอาตามใจชอบ ดูนาสมเพช เวทนาเปนนักหนา การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ เคยเปนมนุษยผู ปากกลาสามานย โฉดเขลาเปนพาลไมประมาณวาจา ดาวาบิดามารดา ปูย าตายายและพี่นอง ของตนดวยคําเจ็บแสบหยาบคาย หรือพอโกรธขึ้นมา ก็ดาวาไมเลือกหนา ไมวาจะเปนผูเฒาผู แก แมผทู รงศีลทรงธรรม เชนสมณะพราหมณ พระภิกษุสงฆสามเณรก็ยังไมเวน ดาวาเอา ตามใจชอบแหงตน ดวยผลแหงวาจาอันหยาบชาเหลือประมาณนี้ ครั้นตายลง ก็ตรงมาเสวย ทุกขเวทนาอยูใ นสุนขะนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมทีท่ ําไว

22 . ยันตปาสาณะนรก (นรกหีบออย) ยมโลกนรกขุมที่ 10 ซึง่ เปนขุมสุดทายแหงยมโลกนรก หรือนรกบริวารชั้นนอกนี้ มีชื่อวา " ยันตปาสาณะนรก " ในนรกขุมนี้ ปรากฏวามีภูเขาอยู 2 ลูก แตเปนภูเขานรกแปลกประหลาด คือเปนภูเขายนตหนั กระทบกันเสมอเปนจังหวะไป ไมขาดระยะ พอสัตวมาเกิดในนรกนี้แลว นายนิรยบาลผูมีรางกายกํายําล่ําสันใหญโต ก็จับศีรษะสัตวนรกทั้งหลายโยนใสเขาไปในระหวาง ภูเขายนตทงั้ 2 ครั้นภูเขายนตทงั้ 2 ลูกนัน้ กระทบกันแลว ศีรษะของสัตวนรกเหลานัน้ ก็แตก แหลกละเอียด ตลอดจนเนือ้ หนังและกระดูก ก็บี้แบนปนปเลือดไหลโทรม ถาจะเปรียบภูเขานรก กับสัตวนรกนัน้ ก็เปรียบไดเหมือนกับหีบออยยนต ที่บีบลําออยสดใหน้ําออยไหลออกมาฉะนัน้ สัตวนรกเมื่อไดประสบกับเหตุการณเชนนี้ ก็ตองไดรับทุกขเวทนาเหลือที่จะทนได ใหมีอัน เจ็บปวดดิ้นรนกระวนกระวาย ตายแลวก็กลับเปนขึน้ มา ไมวา งเวนจากความทุกขทรมาน การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ เคยเปนมนุษยผูมี ใจบาปหยาบชา ตีดาคูครองของตนดวยความโกรธ เชน เปนสามีเมื่อโกรธภรรยาแหงตนขึ้นมา ก็ฆาก็ตีแตะถีบประหัตประหารเอาดวยกําลังชาย หรือไมเชนนัน้ ถาตนเปนภรรยา เมื่อโกรธขึน้ มา ก็ดาวาสามี ควาไมไลตีความีดไลฟนแทงสามีของตน แลวก็เหหันประพฤตินอกใจไปคบชู คบหา เปนสามีภรรยาของคนอืน่ ตามใจชอบของตน ครั้นตายลง ก็ตรงมาเสวยทุกขเวทนาอยูในยันตปา สาณะนรกนี้ จนกวาจะสิน้ กรรมที่ทาํ ไว

90 23 . โลกันตนรก (นรกขอบจักรวาล) โลกันตนรกนี้ เปนนรกขุมพิเศษ เปนนรกขุมใหญ แปลกประหลาดกวาบรรดานรก ทั้งหลาย เพราะอยูน อกจักรวาล สถานทีต่ ั้งของนรกขุมนี้ อยูในระหวางโลกจักรวาล 3 โลก ถา จะเปรียบก็เหมือนกับดอกปทุมชาติ 3 ดอก เอามาตั้งชิดติดกันเขา ก็จะเกิดมีชองวางขึ้นใน ตอนกลาง จักรวาลตางๆก็ตั้งชิดติดกันเชนกับดอกปทุมชาติ 3 ดอกนัน้ ทีนี้ตรงชองวางนั้นเอง ที่ เปนที่ตงั้ แหงโลกันตนรก ซึง่ แปลวานรกอันอยูสุดโลกจักรวาล ก็ในโลกันตนรกนัน้ มีความมืดมน ยิ่งนัก แสงดาวแสงเดือนและแสงตะวันสองไปไมถึง เปนสถานที่มืดมนอนธการ สามารถหาม เสียซึ่งความบังเกิดขึ้นแหงจักษุวิญญาณ เปรียบปานดังคนหลับตาในคราวเดือนดับขางแรมฉะนัน้ ที่มืดเชนนี้ ก็เพราะอยูนอกจักรวาลพนจากโลกสวรรค โลกมนุษย และโลกนรกออกไป สัตวที่ ไปอุบัติเกิดในโลกันตนรกนี้ มีรางกายใหญโตยิ่งนัก มีเล็บมือเล็บเทายาวนักหนา ตองใชเล็บมือ เล็บเทาเกาะอยูตามชายเชิงจักรวาล หอยโหนโยนตัวอยูชั่วนิจนิรนั ดร เปรียบปานดังกับคางคาว หอยหัวอยูบนกิ่งไมฉะนั้น ครั้นไดประสบกับความทุกขทรมานแสนสาหัสเชนนี้ เขาก็ไดแตรําพึง อยูภายในใจวา " ทําไม ตูจงึ มาอยูทนี่ ี่ ชะรอยทีน่ ี่ จะมีแตตูผูเดียวดอกกระมัง " ที่เขารําพึง ออกมาเชนนี้ ก็เพราะวา มันเปนสภาพที่มืดแสนมืด มองไมเห็นเพือ่ นสัตวนรกโลกันตนรก ดวยกัน หรือมองไมเห็นอะไรนั่นเอง ตลอดเวลาเหลาสัตวนรกเหลานัน้ ไมตองทําอะไร มีแตจะ หอยโหนโยนตัวเปะปะไป ดวยความหิวโหยอยางเหลือประมาณ ครั้นปนปายตะกายไปถูกตอง มือของกันและกันเขาแลว ก็สําคัญวาพบปะอาหาร จึงตางก็ดีอกดีใจ มีกริ ิยาขวนขวายควาฉวย จับกุมกัน ตางคนตางก็จะตะครุบกันกินเปนอาหาร เมื่อตางก็ปล้าํ ฟดกันอยูอยางนี้ ในไมชา ก็ เผลอปลอยมือที่เกาะอยู เลยพากันพลัดตกลงไปขางลาง ณ. สถานทีเ่ บื้องลางที่เขาพลัดตกลงมา นั้น มันไมใชพื้นที่ธรรมดา โดยที่แทเปนทะเลน้ํากรดอันเย็นยะเยือก ซึง่ มีความเย็นอยางรายกาจ ยิ่งนัก ครั้นเขากอดคอพากันพลัดตกลงมา พอถึงพื้นน้าํ แลว บัดเดีย๋ วใจ ตัวตนรางกายของเขา ก็เปอยพังแหลกลงสิน้ ไมมีชนิ้ ดี เพราะฤทธิน์ ้ํากรดอันเย็นยะเยือกนัน้ กัดเอาใหเหลวแหลกละลาย ประดุจดังกอนอุจจาระซึง่ ตกลงไปในน้ําฉะนัน้ เขาก็ถึงแกความสิน้ ใจตายไปในบัดใจนั้นเอง แลว ก็กลับเปนตัวเปนตนขึ้นมาดังเกา ใหรูสึกหนาวเย็นเปนกําลัง จึงรีบตะเกียกตะกายปนปายขึ้นมา เกาะเชิงของจักรวาลดวยความลําบากยากเย็น แลวก็หอยโหนโยนตัว แสวงหาอาหารดวยความ หิวโหยตอไปอีกตามเดิม ครั้นพบปะกันเขา ก็ตั้งหนาจะตะครุบกันกิน ดวยความสําคัญผิดคิดวา เปนอาหาร แลวก็พากันกอดคอตกลงไปในน้าํ กรดเย็นถึงแกความตาย และแลวก็กลับเปนขึ้นมา ตามเดิมอีก เฝาแตเวียนตายเกิดดวยลักษณะเชนนี้อยูร ่ําไป

91 การที่เขาจะมาเปนสัตวนรกที่นี่ ก็เพราะวา ในชาติกอนเขาเหลานัน้ เคยเปนมนุษยผูมี ใจบาปหยาบชา กออกุศลกรรมหนักดวยขอใดขอหนึ่งใน 5 ประการนี้ ไดแก ฆาบิดาผูใหกาํ เนิด ของตนใหตายลง ฆามารดาผูใหกาํ เนิดของตนใหตายลง ฆาพระอรหันตใหตายลง ทําใหพระ โลหิตของพระพุทธเจาหอออกมา และยุยงหมูสงฆใหเขาแตกกันดวยวิธีการ หรือคําพูดตางๆ นานา ครั้นตายลง ก็ตรงมาเสวยทุกขเวทนาอยูในโลกันตนรกนี้ จนกวาจะสิน้ สุดชั่วพุทธันดรกัป หนึง่ คือ จนกวาจะถึงกาลแหงพระพุทธเจาองคตอไปไดตรัสรูขึ้นมานัน่ เอง

™™™™

92

DGDGDGDGDGDGDGDGDGD

ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา

DGDGDGDGDGDGDGDGDGD

93

บทที่ 4 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือ วิถที างหรือทางดําเนิน ทีน่ ําไปสูความดับแหงกองทุกข ทั้งหลายทัง้ ปวง อันมีอยูดว ยกัน 8 ประการ ซึ่งโดยทัว่ ไปนิยมเรียกกันวา “ มรรคมีองคแปด ” ประกอบดวย สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ อันมรรคมีองคแปดนี้ สามารถสรุปรวมลงเปนแนว ทางการปฏิบัติ 3 ประการหรือ 3 ขอ เรียกวา " ไตรสิกขา " ประกอบดวย ศีล สมาธิ และปญญา โดยในบทที่ 4 นี้ ไดแบงหัวขอธรรมตางๆออกเปน 4 หมวด ตามหลักแหงไตรสิกขา โดยมีการ เพิ่มเติม ในสวนของหมวดที่วา ดวยปริยตั ิธรรมพื้นฐาน ซึง่ เปนองคความรูที่อยูในพระอภิธรรม อันเปนสิง่ ที่ควรรูไวอีกหมวดหนึง่ ดวย มีรายละเอียดดังตอไปนี้ • หมวดที่ 1 ปริยัติธรรมพื้นฐาน • จิต • วิถีจิต • เจตสิก • รูป • หมวดที่ 2 ศีล • ปาฏิโมกขสังวรศีล • อินทรียสังวรศีล • อาชีวปาริสุทธิศีล • ปจจัยสันนิสิตศีล • หมวดที่ 3 สมาธิ • ปลิโพธ 10 • สัปปายะ 7 • จริต 6 • สมาธิ 3 ระดับ

94 • • • • • หมวดที่ 4 • • •

นิมิต 3 ฌาน 4 วสี 5 สมถกรรมฐาน 40 ปญญา สติปฏฐาน 4 วิปสสนาญาณ 16 นิพพานกถา

หมวดที่ 1 ปริยัติธรรมพืน้ ฐาน อนึ่ง ในการเจริญกรรมฐานนัน้ จําเปนที่จะตองมีความรูดานปริยตั ิธรรม เพื่อที่จะ เอื้ออํานวยใหการปฏิบัตินั้น อยูบนพืน้ ฐานแหงความถูกตอง อุปมาเหมือนบุรุษผูต องการเดินทาง จากเมืองหนึง่ สูอีกเมืองหนึง่ จําเปนที่จะตองรูถึงเสนทางที่จะเดินทางไปเสียกอนจึงจะเริ่มเดินทาง ขอนี้ฉันใด นักปฏิบัตผิ ูปรารถนาซึง่ วิมุติหลุดพนจากกองทุกขทั้งมวล ก็จักตองศึกษาปริยัติธรรม อันจะนํามาซึ่งความรู ถึงแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตองใหดีเสียกอนก็ฉันนัน้ โดยหมวดทีว่ าดวย ปริยัติธรรมพืน้ ฐานนี้ ประกอบไปดวย 1 . จิต (จิตประเภทตางๆ) 2 . วิถีจิต (การทํางานของจิต) 3 . เจตสิก (ธรรมชาติประกอบของจิต) 4 . รูป (รูปธรรม)

95

จิต จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึง่ ซึ่งรับรูอารมณ จิตเปนตัวรูและสิ่งที่จิตรูน ั้นเปนอารมณ จิตรูสิ่งใดสิ่งนัน้ แหละคืออารมณ อีกนัยหนึง่ แสดงไววา จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึง่ ทีจ่ ําคิดและ รูซึ่งอารมณ จิตตองมีอารมณและตองรับอารมณจึงจะรูแ ละจําแลวก็คดิ ตอไป ตามนัยพระบาลีได แสดงไววา ธรรมชาติใดคิดธรรมชาตินนั้ ชือ่ วาจิต มีอรรถวาธรรมชาติที่รูอารมณคือจิต และใน คัมภีรปฏิสัมภิทาพระบาลีมหาวัคค ไดแสดงไววา จิตนี้มีชื่อที่เรียกใชเรียกขานกันถึง 10 ชื่อ โดย แตละชื่อนั้น ก็จะแสดงใหรคู วามหมายวาจิตคืออะไร ดังตอไปนี้ 1 . ธรรมชาติใดคิดธรรมชาตินั้นชื่อวา " จิต " 2 . ธรรมชาติใดนอมไปหาอารมณธรรมชาตินั้นชื่อวา " มโน " 3 . จิตนั้นไดรวบรวมอารมณไวภายในดังนัน้ จึงชื่อวา " หทัย " 4 . ธรรมชาติคือฉันทะที่มีในใจนัน่ เองจึงชื่อวา " มานัส " 5 . จิตเปนธรรมชาติที่ผองใสจึงชื่อวา " ปณฑระ " 6 . มนะนัน้ เปนอายตนะคือเปนเครื่องตอจึงชื่อวา " มนายตนะ " 7 . มนะนัน้ เปนอินทรียคือครองความเปนใหญจึงชื่อวา " มนินทรีย " 8 . ธรรมชาติใดที่รูแจงอารมณธรรมชาตินนั้ ชื่อวา " วิญญาณ " 9 . วิญญาณนั้นเปนขันธจึงชื่อวา " วิญญาณขันธ " 10 . มนะนั้นเปนธาตุชนิดหนึ่งที่รูแจงซึง่ อารมณจึงชื่อวา " มโนวิญญาณธาตุ "

1 . สภาพหรือลักษณะของจิต จิตเปนปรมัตถธรรม ดังนัน้ จิตจึงมีสภาวะหรือสภาพหรือลักษณะทัง้ 2 อยาง คือ ทั้ง สามัญลักษณะและวิเสสลักษณะ สามัญญลัษณะหรือไตรลักษณของจิต มีครบบริบูรณทั้ง 3 ประการ ไดแก อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และอนัตตลักษณะ จิตนีเ้ ปนอนิจจังคือไมเทีย่ ง ไมมั่นคง หมายถึงวาไมยงั่ ยืนไมตั้งอยูไดตลอดกาล จิตนี้เปนทุกขังคือทนอยูไมได เพราะเปนสิง่ ที่ไมยั่งยืนทนอยูไมไดตลอดกาล จึงมีอาการเกิดดับเกิดดับอยูร่ําไป จิตนี้เปนอนัตตาคือเปนสิ่งที่ ไมมีตัวตน เปนสิ่งที่บังคับบัญชาใหยงั่ ยืนใหทนอยูไมใหเกิดดับก็ไมไดเลย และเพราะเหตุวาจิตนี้ เกิดดับเกิดดับสืบตอเนื่องกันอยางรวดเร็วเหลือประมาณ จนปุถชุ นคนธรรมดาเขาใจไปวาจิตนี้ไม มีการเกิดดับ แตวายัง่ ยืนอยูจนตลอดชีวติ จึงดับไป ก็เหมือนกับเขาใจวากระแสไฟฟาชนิด กระแสสลับซึ่งกลับไปกลับมาอยางรวดเร็ว จนกระทัง่ เราเห็นหลอดไฟสวางอยูตลอดเวลาก็เขาใจ

96 วากระแสไฟฟาไมไดไหลไปแลวกลับฉะนัน้ สวนวิเสสลักษณะหรือลักขณาทิจตุกะของจิต มี ดังตอไปนี้ 1 . มีการรูอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการเปนประธานในธรรมทั้งปวง เปนกิจ 3 . มีการเกิดตอเนื่องกันไมขาดสาย เปนผล 4 . มีนามรูป เปนเหตุใกล ในธรรมบทภาค 2 มีคาถากลาวถึงเรื่องการระวังสังวรจิต และมีความกลาวถึงลักษณะ หรือสภาพของจิตดวย จึงขอนํามาแสดงดังนี้วา ชนทัง้ หลายใดจักระวังจิต ซึ่งไปไกลไปเดี่ยว ไมมีสรีระมีคูหาเปนที่อาศัยไวได ชนทั้งหลายจะพนจากเครื่องผูกแหงมาร อนึ่ง จิตเปน สภาวะธรรมทีท่ ําใหเกิดขึ้นทําใหเปนไปได คือทําใหวิจิตรไดถึง 6 ประการ ไดแก 1 . วิจิตรในการกระทํา คือ ทําใหงดงาม ทําใหแปลกนาพิศวง ทําใหพิลกึ กึกกือ เชน สิ่งของตางๆทีม่ นุษยประดิษฐขึ้น ยอมมีทงั้ ทีง่ ดงามแปลกตานาพิศวง ตลอดจนนาสยดสยองได 2 . วิจิตรดวยตนเอง คือ ตัวจิตเองก็แปลกนาพิศวง มีประการตางๆนานา เชน จิตดีก็ มีชั่วก็มี จิตทีฟ่ ุงซาน จิตทีส่ งบ จิตเบาปญญา จิตทีม่ ากดวยปญญา จิตที่มีความจําเลอะ เลือน จิตที่มคี วามจําเปนเลิศ สุดที่จะพรรณนา 3 . วิจิตรในการสั่งสมกรรมและกิเลส ก็นา แปลกที่จิตนัน่ แหละที่เปนตัวกอกรรมทําเข็ญ และก็จิตนัน่ แหละที่เปนตัวสะสมกรรมและกิเลสที่ตวั ทําไวเอง นาแปลกนาพิศวงยิง่ ขึ้นก็ตรงทีว่ า กรรมอะไรที่ไมดีที่ตัวทําเองก็ไมนาจะเก็บสิ่งที่ไมดีนนั้ ไว แตก็จาํ ตองเก็บตองสั่งสมไว 4 . วิจิตรในการรักษาไวซึ่งวิบากที่กรรมและกิเลสไดสั่งสมไว หมายความวา กรรม ทั้งหลายไมวา จะเปนกุศลกรรมหรืออกุศลกรรม ที่จิตเปนตัวการกอใหเกิดขึ้นนัน้ จะไมสูญหายไป ไหนเลย แมจะชานานปานใดก็ไมมีการเสื่อมคลายไป เมื่อไดชองสบโอกาสเหมาะเมื่อใด เปน ตองไดรับผลของกรรมเมื่อนัน้ จนได 5 . วิจิตรในการสั่งสมสันดานของตนเอง หมายถึงวา การกระทํากรรมอยางใดๆก็ตาม ถากระทําอยูบอ ยๆทําอยูเ สมอๆเปนเนืองนิจ ก็จะติดฝงในนิสัยสันดานใหชอบกระทําชอบ พฤติกรรมอยางนั้นเรื่อยๆไป 6 . วิจิตรดวยอารมณตางๆ หมายถึงวา จิตนี้รับอารมณไดตางๆนานาไมมที ี่จํากัด แต นาแปลกและนาพิศวง ทีม่ กั จะรับอารมณที่ไมดีที่ชั่วไดงายดาย

97 2 . เภทนัย เภทนัย คือ หลักการแบงประเภทของจิตโดยนัยตางๆมี 9 ประการ ไดแก ชาติเภท ภูมิเภท เวทนาเภท เหตุเภท สังขารเภท สัมปยุตตเภท โสภณเภท โลกเภท และฌานเภท อธิบายขยายความไดดังตอไปนี้

2.1 ชาติเภท จําแนกจิตโดยประเภทแหงชาติ คือจิตทั้งหมดเมื่อกลาวโดยชาติแลว จําแนกเปน 4 ชาติ อันไดแก อกุศลชาติ กุศลชาติ วิบากชาติ และกิริยาชาติ 1 . อกุศลชาติ หมายถึง อกุศลจิต ซึ่งเปนจิตที่มโี ทษใหผลเปนทุกข 2 . กุศลชาติ หมายถึง กุศลจิต ซึง่ เปนจิตที่ปราศจากโทษและใหผลเปนสุข 3 . วิบากชาติ หมายถึง วิบากจิต ถาเปนจิตที่เปนผลของอกุศลจะเรียกวา " อกุศล วิบากจิต " แตถาเปนจิตที่เปนผลของกุศลจะเรียกวา " กุศลวิบากจิต " 4 . กิรยิ าชาติ หมายถึง กิริยาจิต ซึ่งเปนจิตที่ไมใชผลของอกุศลและไมใชผลของกุศล ไมใชจิตที่เปนอกุศลและไมใชจิตที่เปนกุศล เปนจิตที่ไมกอใหเกิดอกุศลวิบากหรือกุศลวิบากแต อยางใด เปนจิตที่สักแตวากระทําเทานัน้ เอง

2.2 ภูมิเภท จําแนกจิตโดยประเภทแหงภูมิ คําวาภูมิในทีน่ ี้หมายถึง ชัน้ ของจิตหรือพื้นเพของจิต ซึง่ จําแนกเปน 4 ภูมิ อันไดแก กามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ และโลกุตตรภูมิ 1 . กามาวจรภูมิ หมายถึง จิตชัน้ กามาวจรหรือจิตชั้นกาม พืน้ เพของจิตติดอยูในกาม คุณ ในบรรดาจิตทัง้ หมดนัน้ ถือวาจิตนีม้ พี ื้นเพต่ํากวาเพื่อน จึงจัดวาเปนหินะคือเปนจิตชั้นต่าํ 2 . รูปาวจรภูมิ หมายถึง จิตชั้นรูปาวจรหรือจิตชั้นรูปฌาน พื้นเพของจิตสูงถึงชัน้ รูป พรหมดํารงอยูใ นพรหมวิหารธรรม จัดเปนชั้นอุกกัฏฐะหรืออุกฤษฏ คือชั้นสูงนั่นเอง 3 . อรูปาวจรภูมิ หมายถึง จิตชัน้ อรูปาวจรหรือจิตชั้นอรูปพรหม พืน้ เพของจิตนัน้ ละเอียดออนถึงชั้นอรูปพรหม จัดเปนชั้นอุกกัฏฐตระหรืออุกฤษฏยิ่ง คือชั้นสูงยิง่ นัน่ เอง โดยใน บรรดาโลกียจิตหรือจิตที่ยงั ตองวนเวียนอยูในวัฏฏะแลว จิตชั้นนี้เปนชั้นที่ประเสริฐที่สุด 4 . โลกุตตรภูมิ หมายถึง จิตชั้นโลกุตตระหรือจิตชั้นทีพ่ นจากโลกจากโลกียะ พนจาก ทุกขไมตองกลับมาเวียนวายตายเกิดอีกตอไป ในบรรดาจิตทั้งหมดไมมีจิตชั้นใดจะประเสริฐสุด เทาจิตชัน้ นี้ไดเลย จัดเปนชัน้ อุกกัฏฐตมะ อันเปนชัน้ ประเสริฐสุดยอดไมมีจิตใดจะประเสริฐเทา

98 2.3 เวทนาเภท โดยประเภทแหงเวทนา คือการเสวยอารมณ จําแนกเปน 5 ประการ อันไดแก สุข เวทนา เปนความสุขทางกาย 1 ทุกขเวทนา เปนความทุกขทางกาย 1 โสมนัสเวทนา เปน ความสุขทางใจ 1 โทมนัสเวทนา เปนความทุกขทางใจ 1 และอุเบกขาเวทนา เปนความเฉยๆ 1

2.4 เหตุเภท โดยประเภทแหงเหตุ จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก อเหตุก และสเหตุก 1 . อเหตุก หมายวา ไมมสี ัมปยุตตเหตุ คือไมมีเหตุประกอบ และเหตุในที่นี้กห็ มาย เฉพาะเหตุ 6 ประการ อันไดแก โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมห เหตุ ดังนั้นอเหตุกจึงมีความหมายวา เปนจิตที่ไมมเี หตุ 6 ประการนี้ ประกอบเลยแมเหตุเดียว 2 . สเหตุก มีความหมายวา เปนจิตที่เปนสัมปยุตตเหตุ เปนจิตทีม่ ีเหตุ 6 ประการนั้น ประกอบดวย แมวา จะมีเหตุเพียงเหตุเดียวประกอบ ก็ไดชื่อวาสเหตุก

2.5 สังขารเภท โดยประเภทแหงสังขาร จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก อสังขาริก และสสังขาริก 1 . อสังขาริก เปนจิตที่เกิดขึ้น โดยไมมีสิ่งชักชวน 2 . สสังขาริก เปนจิตที่เกิดขึ้น โดยมีสงิ่ ชักชวน

2.6 สัมปยุตตเภท โดยประเภทแหงสัมปยุตต จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก สัมปยุตต และวิปปยุตต 1 . สัมปยุตต ในจิตทัง้ หมดนั้น มีสัมปยุตต 5 ประการ อันไดแก 1.1 ทิฏฐิสัมปยุตต ประกอบดวยความเห็นผิด 1.2 ปฏิฆสัมปยุตต ประกอบดวยความโกรธ 1.3 วิจิกิจฉาสัมปยุตต ประกอบดวยความลังเลสงสัย 1.4 อุทธัจจสัมปยุตต ประกอบดวยความฟุงซาน 1.5 ญาณสัมปยุตต ประกอบดวยปญญา 2 . วิปปยุตต ถาไมประกอบดวยสัมปยุตต ก็เรียกวาวิปปยุตต

2.7 โสภณเภท โดยประเภทแหงโสภณะ จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก โสภณะ และอโสภณะ 1 . โสภณะ เปนจิตที่ดงี าม มีโสภณเจตสิกประกอบ

99 2 . อโสภณะ ไมไดหมายความวาเปนจิตที่ไมดีงาม เปนเพียงไมมโี สภณเจตสิกประกอบ

2.8 โลกเภท โดยประเภทแหงโลก จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก โลกียะ และโลกุตตระ 1 . โลกียะ หมายถึง จิตทีย่ ังของอยูในกามโลก รูปโลก อรูปโลก ซึ่งยังตองวนเวียน อยูในกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ คือไมพน ไปจากโลกทั้ง 3 หรือภูมิทงั้ 3 ได 2 . โลกุตตระ หมายถึง จิตที่พน จากความของความติดอยูในโลกทั้ง 3 นัน้ แลว ไมตอง มาเวียนวายตายเกิด ในโลกทัง้ 3 ในภูมทิ ั้ง 3 นัน้ อีกตอไปแลว

2.9 ฌานเภท โดยประเภทแหงฌาน จําแนกเปน 2 ประการ อันไดแก ฌาน และอฌาน 1 . ฌาน หมายถึง จิตที่มฌ ี าน จิตที่ไดฌาน จิตที่ถงึ ฌาน 2 . อฌาน หมายถึง จิตทีไ่ มมีฌาน จิตที่ไมไดฌาน จิตที่ไมถึงฌาน

3 . ประเภทของจิต เมื่อกลาวตามสภาพ คือกลาวตามลักษณะของจิตแลว จิตนี้มีเพียง 1 เพราะจิตมีสภาวะ มีสภาพ มีลกั ษณะ รับรูอารมณแตเพียงอยางเดียวเทานัน้ เอง แตเมื่อกลาวตามอารมณที่รู ตามประเภททีร่ ู กลาวคือ รูในเรื่องกามทีเ่ ปนบุญเปนบาป รูเรื่องรูปฌาณ รูในเรือ่ งอรูปฌาณ รูในเรื่องนิพพานเหลานี้แลว จิตมีจํานวนถึง 86 ดวง และจําแนกไดเปนประเภท ตามอาการที่รู นั้นเปน 4 ประเภท อันไดแก 1 . กามาวจรจิต 54 ดวง 2 . รูปาวจรจิต 12 ดวง 3 . อรูปาวจรจิต 12 ดวง 4 . โลกุตตรจิต 8 ดวง 1 . กามาวจรจิต เปนจิตประเภทที่ของอยู ที่ติดอยู ที่หลงอยู ที่เจืออยู ในกามตัณหา หรือเปนจิตที่สว นมาก ทีท่ องเทีย่ ววนเวียนอยูในกามภูมิ จิตประเภทนี้ เรียกสัน้ ๆวา " กามจิต " มีจํานวน 54 ดวง 2 . รูปาวจรจิต เปนจิตที่ถงึ ซึ่งรูปฌาณ พอใจที่จะเปนรูปพรหม หรือเปนจิตทีท่ องเที่ยว อยูในรูปภูมิ จิตประเภทนีม้ ีจํานวน 12 ดวง 3 . อรูปาวจรจิต เปนจิตประเภททีเ่ ขาถึงซึ่งอรูปฌาณ พอใจที่จะเปนอรูปพรหม หรือ เปนจิตทีท่ องเที่ยวอยูในอรูปภูมิ จิตประเภทนี้มีจาํ นวน 12 ดวง

100 4 . โลกุตตรจิต เปนจิตประเภททีก่ ําลังพน และพนแลวจากโลกทั้ง 3 คือ พนจากกาม โลก (กามภูม)ิ จากรูปโลก (รูปภูมิ) และจากอรูปโลก (อรูปภูมิ) จิตประเภทนี้มจี ํานวน 8 ดวง

3.1 กามาวจรจิต 54 กามาวจรจิต หรือ กามจิต ซึ่งมีจาํ นวน 54 ดวงนัน้ จําแนกไดเปน 3 จําพวก ไดแก อกุศลจิต 12 อเหตุกจิต 18 และกามาวจรโสภณจิต 24 อกุศลจิตเปนจิตที่ไมฉลาด ไมดี ไม งาม เปนจิตที่ทราม ที่ชั่ว ทีห่ ยาบ ที่เปนบาป ที่มโี ทษ และใหผลเปนทุกข ที่ทานแสดง อกุศลจิตกอน ก็เพื่อจะใหรูจักสิ่งชัว่ จะไดไมประพฤติต่ําชา อันจะนําความเดือดรอนมาสูตนเอง และผูอื่น อุปมาวาเราจักตองรูจักผูรายกอน จะไดหลบหนีใหหา งไกล จึงจะพนความเดือดรอน วุนวาย เมื่อไมเดือดรอนวุนวาย ก็จะปกติสุข มีความสงบเปนโอกาสที่จะประกอบกรรมดีได โดยสะดวก อเหตุกจิต เปนจิตที่ไมเปนบุญไมเปนบาป เพราะไมมเี หตุบุญหรือเหตุบาปมารวม เปนจิตทีม่ ีประจําอยูแลวทัว่ ทุกตัวคน และเกิดขึ้นเปนนิจ แทบไมมีเวนวาง เปนจิตที่ไมใชบุญ ไมใชบาปก็จริง แตทวาเปนจิตที่เปนสื่อหรือเปนทางนอมนํามาซึง่ บาปและบุญอยูแ ทบทุกขณะ ทานจึงแสดงอเหตุกจิตเปนอันดับสอง รองตอมาจากอกุศลจิต ทั้งนี้เพื่อจะไดระมัดระวังสังวรไว มิใหตกไปในทางอกุศล อันเปนทางที่ต่ําทราม กามาวจรโสภณจิต เปนจิตที่ดี ทีง่ าม ที่ฉลาด ที่สะอาด ไมกอความเดือดรอนใหเกิดขึ้นแกตนและคนอื่นเลย เปนจิตที่ปราศจากโทษและใหผล เปนสุข ตามควรแกวิสัยของบุคคลที่ยงั ตองอยูในโลก รวมความวา กามจิตนี้ แสดงใหรูวา จิต อะไรเปนจิตทีช่ ั่ว ซึง่ จะทําใหคนตกต่าํ ไปเปนสัตวนรก เปนเปรต เปนสัตวเดรัจฉาน การแสดง อกุศลจิตก็เปรียบไดวา สอนคนไมใหเปนสัตว แสดงใหรูวา จิตอะไรที่มีประจําอยูเ ปนนิจ อัน เปนทางนอมนําซึง่ บาปและบุญ จะไดสังวรระวังไวไมใหตกไปในทางที่ชวั่ การแสดงอเหตุกจิต ก็ เปรียบไดวาสอนคนใหรูตัววาเปนคน แสดงใหรูวา จิตอะไรบางที่ดงี าม เปนบุญเปนกุศล อันจะ ทําใหอยูเย็นเปนสุข ทัง้ ไมเปนทุกขโทษภัยแกใครๆดวย ก็เปรียบไดวา สอนคนใหเปนมนุษยสอน คนใหเปนเทวดา ขอกลาวถึง รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต และโลกุตตรจิตเสียตรงนี้ดวยเลย การ แสดง รูปาวจรจิต และอรูปาวจรจิต เปนการสอนมนุษยใหเปนเทวดาใหเปนพรหม การ แสดงโลกุตตรจิต เปนการสอน มนุษย เทวดา และพรหม ใหหลุดพนจากทุกข ไมตองเวียน วายตายเกิดอีกตอไป

3.1.1 อกุศลจิต 12 อกุศลจิต แมจะเปนจิตที่ชั่วที่เปนบาปและใหผลเปนทุกข แตสวนมากมักเกิดไดงาย และเกิดไดบอย ทัง้ นีเ้ พราะเหตุวา เมื่อจิตไดรับอารมณใดแลว สวนมากก็ไมไดพิจารณาใหแยบ

101 คาย คือไมพจิ ารณาใหซงึ้ ถึงสภาพความเปนจริงของอารมณที่ประสบนั้น การไมใสใจพิจารณา อารมณดวยดีนี้เรียกวา " อโยนิโสมนสิการ " เมื่อมีอโยนิโสมนสิการ อกุศลจิตยอมเกิดและอโยนิโส มนสิการนี้ ยอมเกิดขึ้นโดยอาศัยเหตุ 5 ประการ ไดแก 1 . ไมไดสรางสมบุญไวแตปางกอน 2 . อยูในประเทศที่ไมสมควร (คือไมมีสัปบุรุษ) 3 . ไมไดคบหาสมาคมกับสัปบุรุษ 4 . ไมไดฟง ธรรมของสัปบุรุษ 5 . ตั้งตนไวผดิ เหตุใหเกิดอโยนิโสมนสิการ 5 ประการนี้ ประการที่ 1 เปนอดีตกรรม สวนที่เหลืออีก 4 ประการเปนปจจุบันกรรม อกุศลจิตซึ่งมีจํานวน 12 ดวงนัน้ ไดแก โลภมูลจิต 8 โทสมูลจิต 2 โมหมูลจิต 2 โลภมูลจิต เปนจิตที่มีรากเหงาเคามูลเกิดมาจากความอยากได ความตองการ ความกําหนัด ความเพลิดเพลิน ความติดใจ ความชอบใจในอารมณ รวมความวาจิตจําพวกนี้ มีโลภะเปนตัวนํา โทสมูลจิต เปนจิตทีม่ รี ากเหงาเคามูลเกิดมาจากความไมชอบใจ เสียใจ กลุมใจ รําคาญใจ หงุดหงิด โกรธ เกลียด กลัว ประทุษราย ทําลาย รวมความวาไมอยาก ไดในอารมณนั้น มีโทสะเปนตัวนํา โมหมูลจิต เปนจิตที่มีรากเหงาเคามูลเกิดมาจากความหลง ความงมงาย ความไมรูเหตุผลตนปลาย มีโมหะเปนตัวนํา

3.1.1.1 โลภมูลจิต 8 โลภมูลจิต เปนจิตที่มีความอยากไดเปนมูลเหตุ หรือเปนจิตที่มโี ลภะเปนตัวนํา หรือจะ เรียกวาโลภสหคตจิต คือจิตที่เกิดพรอมดวยโลภะก็ได เหตุใหเกิดโลภะมี 4 ประการ ไดแก 1 . ปฏิสนธิมาดวยกรรมทีม่ ีโลภะเปนบริวาร 2 . จุติมาจากภพที่มีโลภะมาก 3 . ไดประสบกับอารมณที่ดๆี อยูเนืองๆ 4 . ไดเห็นสิง่ ทีเ่ ปนทีช่ อบใจ โลภมูลจิต หรือโลภสหคตจิต ซึง่ มีจาํ นวน 8 ดวงนั้น ไดแก

ก . โสมนัสสหคตัง ทิฏฐิคตสัมปยุตตัง อสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความดีใจ ประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักชวน

ข . โสมนัสสหคตัง ทิฏฐิคตสัมปยุตตัง สสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความดีใจ ประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักชวน

102 ค . โสมนัสสหคตัง ทิฏฐิคตวิปปยุตตัง อสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความดีใจ ไมประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักชวน

ง . โสมนัสสหคตัง ทิฏฐิคตวิปปยุตตัง สสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความดีใจ ไมประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักชวน

จ . อุเปกขาสหคตัง ทิฏฐิคตสัมปยุตตัง อสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักชวน

ฉ . อุเปกขาสหคตัง ทิฏฐิคตสัมปยุตตัง สสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักชวน

ช . อุเปกขาสหคตัง ทิฏฐิคตวิปปยุตตัง อสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักชวน

ซ . อุเปกขาสหคตัง ทิฏฐิคตวิปปยุตตัง สสังขาริกัง จิตโลภที่เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยความเห็นผิด เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักชวน โลภสหคตจิต 8 ดวงนี้ มีสงิ่ ที่ควรทําความเขาใจอยู 3 คู คูที่ 1 โสมนัสสหคตัง - อุเปกขาสหคตัง โสมนัสสหคตัง แปลวา เกิดพรอมดวยความดี ใจ โดยตองถึงกับมีปติคือความอิ่มเอิบใจดวย สวนอุเปกขาสหคตัง แปลวา เกิดพรอมดวย ความเฉยๆ ดีใจเพียงนิดหนอยไมถงึ กับปลื้มปติอิ่มเอิบใจ โดยทัง้ โสมนัสและอุเบกขาเปนเวทนา ซึ่งเวทนาทั้งหมดนั้นมี 5 ประการ ไดแก สุขเวทนา ทุกขเวทนา โสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนา แตในโลภมูลจิตนี้มีเวทนาเพียง 2 ประการ คือ โสมนัสและอุเบกขาเทานั้น คูที่ 2 ทิฏฐิคตสัมปยุตตัง - ทิฏฐิคตวิปปยุตตัง คําวา " ทิฏฐิ " แปลตามพยัญชนะแปลวา ความเห็น ไมเจาะจงวาเปนความเห็นผิดหรือความเห็นทีถ่ ูกตอง แตโดยอรรถคือตามความหมาย แหงธรรมแลว ถาใชลอยๆวาทิฏฐิเฉยๆ ก็จะหมายถึงวาเปนมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดเสมอไป เวนไวแตในที่ใดบงบอกวาเปนสัมมาทิฏฐิหรือทิฏฐิวิสุทธิ จึงมีความหมายวาเปนความเห็นชอบ เห็นถูกตองตามสภาพแหงความเปนจริง ทิฏฐิคตสัมปยุตตังในโลภมูลจิตนี้ จึงหมายถึงวา ประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิโดยตรงทีดียว เชนเห็นผิดวา บาปไมมี ผลแหงการทําบาปไมมี การลัก ทรัพยเขาหรือการปลนทรัพยเขา ถาไมถกู จับติดคุกก็ไมตองตกนรกหมกไหมที่ไหน ดังนี้เปนตน มีโมหะคือไมรูวาทําเชนนั้นจะตองตกนรก แลวยังมีทิฏฐิคืออวดรู วาไมมีนรกที่จะตองตกไปอีก ดวย ผูที่เห็นผิดเชนนี้ ยอมไดรับทุกขรับโทษหนักมากเปนธรรมดา เพราะยอมกระทําลงดวย

103 ความมาดหมายและมุง มัน่ อยางเต็มที่ ไมมีความยับยัง้ ชั่งใจประการใดๆเลย บางทีก็ถงึ กับทํา เยยใหดวู านี่ไงละ ไมเห็นตกนรกดวยซ้ําไป สวนทิฏฐิคตวิปปยุตตังนั้น หมายเพียงวา ไม ประกอบดวยความเห็นผิดเทานั้น จะตองมีความเห็นถูกดวยหรือไมนนั้ ไมไดกลาวถึง กลาวอีกนัย หนึง่ หมายความวา เปนการกระทําไปโดยไมรู คูที่ 3 อสังขาริกัง - สสังขาริกัง อสังขาริกงั แปลวา เกิดขึ้นโดยไมมสี ิ่งชักชวน สวน สสังขาริกัง แปลวา เกิดขึ้นโดยมีสงิ่ ชักชวน สิง่ ชักชวน หรือชักนํา หรือชักจูงนัน้ คือสังขารที่ แปลกันจนคุนหูวา " ปรุงแตง " นัน่ เอง สังขารในทีน่ ี้ หมายถึง กายปโยค วจีปโยค และมโนป โยค กายปโยค คือ การชักชวน ชักนํา ชักจูง ดวยกาย เชน จูงมือไป กวักมือชี้มือ พยัก หนา ขยิบตา ทําทาทางตบตี เปนตน วจีปโยค คือ การชักชวน ชักนํา ชักจูง ดวยวาจา เชน พูดเกลีย้ กลอม ยกยอง ยุยง กระทบกระเทียบ เปนตน มโนปโยค คือ การชักชวน ชักนํา ชักจูง ดวยใจ เปนการนึกคิดทางใจกอน เชน คิดถึงเรื่องอันสนุกสนาน เพลิดเพลิน แลวเกิดจิตโลภขึ้น หรือคิดถึงเรื่องไมดีไมงามไมชอบใจตางๆ ก็บนั ดาลโทสะขึ้น เปนตน อสัง ขาริกังนัน้ เปนการเกิดขึ้นเองโดยไมมีสงิ่ ชักชวน จึงเปนจิตที่มกี ําลังเขมแข็ง (ติกขะ) สวนสสังขา ริกังนัน้ เกิดขึ้นโดยมีสงิ่ ชักชวน จึงเปนจิตที่มีกาํ ลังออนไมเขมแข็ง (มันทะ) เกิดขึน้ โดยอาศัยสิ่ง ชักชวนของตนเอง ก็มีปโยคไดทั้ง 3 คือทัง้ กายปโยค วจีปโยค และมโนปโยค แตถาเกิดขึน้ โดยอาศัยสิง่ ชักชวนของผูอนื่ ก็มีปโยคเพียง 2 คือ กายปโยค และวจีปโยค เทานัน้

3.1.1.2 โทสมูลจิต 2 โทสมูลจิต เปนจิตทีมีความโกรธความเกลียดเปนมูลเหตุ หรือเปนจิตที่มีโทสะเปนตัวนํา หรือจะเรียกวา " ปฏิฆจิต " คือจิตที่กระทบกระทัง่ อารมณที่ไมชอบก็ได และเหตุใหเกิดโทสะหรือ ปฏิฆะมี 5 ประการ ไดแก 1 . มีอธั ยาศัยเปนคนมักโกรธ 2 . มีความคิดไมสุขุม 3 . มีการศึกษานอย 4 . ไดประสบกับอารมณที่ไมดี 5 . ไดประสบอาฆาตวัตถุ 10 ประการ โทสมูลจิตมี 2 ดวง อันไดแก

ก . โทมนัสสหคตัง ปฏิฆสัมปยุตตัง อสังขาริกัง จิตเกิดพรอมความเสียใจ ประกอบดวยความโกรธ เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักชวน

104 ข . โทมนัสสหคตัง ปฏิฆสัมปยุตตัง สสังขาริกัง จิตเกิดพรอมความเสียใจ ประกอบดวยความโกรธ เกิดขึ้นโดยมีสงิ่ ชักชวน โทสจิต 2 ดวงนี้ มีสงิ่ ที่ควรทําความเขาใจบางประการ คือโทมนัสสหคตัง แปลวา เกิด พรอมดวยความเสียใจ ความเสียใจคือโทมนัสนี้เปนเวทนา ชื่อวาโทมนัสเวทนา เปนเวทนา 1 ในเวทนา 5 โทมนัสเวทนานี้ เกิดไดพรอมกับโทสจิต 2 ดวงนี้เทานั้นเอง จะเกิดพรอมกับจิตอื่น ใดหาไดไม ปฏิฆสัมปยุตตัง แปลวา ประกอบดวยความโกรธ ปฏิฆะ ความโกรธนั้นองคธรรม ไดแก โทสเจตสิก ปฏิฆะ โทสะนี้จะตองเกิดพรอมกับโทมนัสเวทนา จะเกิดพรอมกับเวทนาอืน่ ใดหาไดไม ตามทีก่ ลาวมานี้จะเห็นไดวา โทมนัสเปนเวทนาเจตสิก มีลักษณะเสวยอารมณที่ไม ดีกลาวโดยขันธ 5 ก็เปนเวทนาขันธ สวนปฏิฆะเปนโทสเจตสิกมีลักษณะดุราย หยาบคาย กลาว โดยขันธ 5 ก็เปนสังขารขันธ ซึง่ แตกตางกันอยู ถึงกระนัน้ โทมนัสเวทนาก็จะตองเกิดกับปฏิฆะ เสมอ เพราะเปนธรรมทีจ่ ะตองเกิดรวมกัน สวนอสังขาริกและสสังขาริกแหงปฏิฆจิตนี้ ก็มี ความหมายเปนทํานองเดียวกันกับอสังขาริกและสสังขาริก แหงโลภมูลจิตนั่นเอง อนึ่ง ที่โทสจิต ไมมีทิฏฐิคตสัมปยุตต คือไมมีความเห็นผิดประกอบดวยนัน้ เพราะโทสจิตมีอารมณอันไมพึงใจ ไมชอบใจ แตทิฏฐิความเห็นผิดนั้นเปนที่พอใจติดใจในอารมณนั้น ความไมพึงใจไมชอบใจ จะ เกิดพรอมกับความติดใจชอบใจ ในขณะเดียวกันไมได ดังนั้น โทสจิตจึงไมมีทิฏฐิประกอบดวย

3.1.1.3 โมหมูลจิต 2 โมหมูลจิต เปนจิตที่ไมมีความรู มีความหลงเปนมูลเหตุ หรือเปนจิตที่มีโมหะเปนตัวนํา โมหะหรืออวิชชานัน้ มีความหมายอยางเดียวกัน ในวิสุทธิมรรคกลาววา โมหะนี้เปนรากเหงา แหงบาปอกุศลทั้งมวล เหตุใหเกิดโมหะนั้น ไดแก อโยนิโสมนสิการ คือ การพิจารณาไมแยบ คาย พิจารณาไมละเอียดลึกซึ้งใหถึงสภาพแหงอารมณนั้นๆ โมหมูลจิตมีจํานวน 2 ดวง ไดแก

ก . อุเปกขาสหคตัง วิจิกิจฉาสัมปยุตตัง จิตที่หลง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยความสงสัย

ข . อุเปกขาสหคตัง อุทัธจสัมปยุตตัง จิตที่หลง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยความฟุง ซาน โมหจิต 2 ดวงนี้ มีสงิ่ ที่ควรทําความเขาใจบางประการดังตอไปนี้ คือ คําวาอุเปกขาสหค ตังในทีน่ ี้ เปนคําเดียวกับอุเปกขาสหคตังในโลภสหคตจิต ซึง่ แปลวา เกิดพรอมกับความเฉยๆ เหมือนกัน แตมีความหมายแตกตางกัน เฉยในโลภมูลจิตนั้น เฉยเพราะมีความยินดีเล็กนอยไม

105 ถึงกับมีปติเกิดความปลาบปลื้มอิ่มเอิบใจ สวนเฉยในโมหมูลจิตนี้เฉยเพราะไมรู คําวาวิจิกิจฉา สัมปยุตตัง แปลวา ประกอบดวยความสงสัยลังเลไมแนใจ ตัดสินลงไปไมได และหมายเฉพาะ ความสงสัยในธรรม 8 ประการที่กลาวตอไปนี้เทานั้น ไดแก สงสัยในพระพุทธเจา สงสัยในพระ ธรรม สงสัยในพระสงฆ สงสัยในไตรสิกขา สงสัยในขันธ อายตนะ ธาตุ ที่เปนสวนอดีต สงสัย ในขันธ อายตนะ ธาตุ ที่เปนสวนอนาคต สงสัยในขันธ อายตนะ ธาตุ ที่เปนสวนอดีตและอนาคต และสงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม สวนความสงสัยอยางอื่น ที่ไมใชสงสัยในธรรม 8 ประการที่ กลาวมาแลวนี้ เชน สงสัยในเรื่องสมมุติเรื่องบัญญัติเปนตนนั้น เรียกวา ปฏิรูปกวิจิกิจฉา ไม เปนกิเลส โมหมูลจิตที่ประกอบดวยวิจิกจิ ฉานี้เรียกวา " วิจิกิจฉาสหคตจิต " หรือ " วิจิกจิ ฉา สัมปยุตตจิต " หรือ " วิจิกิจฉาจิต " ก็ได คําวา อุทธัจสัมปยุตตัง แปลวา ประกอบดวยความ ฟุงซาน มีความหมายวา จิตนั้นคิดฟุง ซานเลื่อนลอยไปในอารมณตา งๆ ไมสงบหรือไมตั้งมั่นอยู ในอารมณเดียว คิดมากมายไปหลายอยาง และที่คิดนัน้ ก็คิดเฉยๆ คิดไปเรื่อยๆ ไมมุงมัน่ อยาง จริงจังในสิ่งทีค่ ิดนั้นเทาใดนัก โมหมูลจิตที่ประกอบดวยอุทธัจจะนี้ เรียกวา " อุทธัจจสหคตจิต " หรือ " อุทธัจจสัมปยุตตจิต " หรือ " อุทธัจจจิต " ก็ได สังขารเภท คือ ประเภทแหงสังขาร อัน ไดแก อสังขาริก และสสังขาริก ในโมหมูลจิตทั้ง 2 ดวงนี้ ตามบาลีหาไดระบุไวดวยไม สวนใน วิสุทธิมรรคและในอภิธัมมัตถวิภาวนีฎีกา กลาววา จิตที่สงสัยลังเลไมแนใจก็ดี จิตที่ฟงุ ซานก็ดี เปนจิตทีเ่ วนจากความกําหนัด เวนจากความขัดเคือง ซึง่ ปราศจากความเขมแข็งและขาดความ อุตสาหะในกิจการงานใดๆ จึงไมมีความแตกตางแหงสังขารเภท เทาที่ไดศึกษามา ไดสงเคราะห โมหมูลจิตทั้ง 2 ดวงนี้วา เปนอสังขาริก คือสงสัยเองฟุง ซานเอง อนึ่ง โมหมูลจิตทัง้ 2 ดวงนี้ ไม มีทิฏฐิความเห็นผิด และปฏิฆะความโกรธแตอยางใดอยางหนึ่งประกอบดวยเลย ก็เพราะเหตุวา โมหมูลจิต เปนจิตที่เวนจากความกําหนัด และเวนจากความขัดเคืองดังกลาวแลวขางตน มีแต ความไมรูคือโมหะเปนมูลแตอยางเดียวเทานั้น

3.1.2 อเหตุกจิต 18 อเหตุกจิต เปนจิตทีไ่ มมีเหตุ หมายความวา จิตจําพวกนี้ไมมีเหตุบาป คืออกุศลเหตุ อันไดแก โลภเหตุ โทสเหตุ และโมหเหตุ และไมมเี หตุบุญ คือกุศลเหตุ อันไดแก อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ รวม 6 เหตุนมี้ าสัมปยุตต คือมาประกอบดวยเลยแมแตเหตุเดียว หรือจะกลาวอีกนัยหนึ่งวา อเหตุจิตเปนจิตที่ไมมีสมั ปยุตต เปนจิตทีไ่ มมีเหตุ 6 ประกอบ เลย อเหตุกจิตซึ่งมีจํานวน 18 ดวงนี้ ยังแบงออกเปน 3 จําพวก ไดแก 1 . อกุศลวิบากจิต 7 ดวง

106 2 . อเหตุกกุศลวิบากจิต 8 ดวง 3 . อเหตุกกิรยิ าจิต 3 ดวง อกุศลวิบากจิต เปนจิตทีเ่ ปนผลของอกุศลกรรม เปนผลของฝายชั่วฝายบาปอกุศล ที่ได สั่งสมที่ไดกระทํามาแลวแตอดีต จึงตองมาไดรับผลเปนอกุศลวิบากจิต อันเปนผลที่ไมดี 7 ดวงนี้ อเหตุกกุศลวิบากจิต เปนจิตที่เปนผลของกุศลกรรม เปนผลของฝายดีฝายบุญกุศล ที่ไดสั่งสมที่ ไดกระทํามาแลวในอดีต จึงมาไดรับผลเปนอเหตุกกุศลวิบากจิต อันเปนผลที่ดี 8 ดวง จิตที่เปน ผลของอกุศลกรรม เรียกอกุศลวิบากจิตเทานั้น แตจิตที่เปนผลของกุศลกรรมเรียก อเหตุกกุศล วิบากจิต ที่แตกตางกันเพราะ อกุศลวิบากจิตมีแตในประเภทอเหตุกจิต ซึ่งเปนจิตที่ไมมี สัมปยุตตแหงเดียวเทานั้น อกุศลวิบากจิตที่มีสัมปยุตตนั้นไมมเี ลย ซึ่งผิดกับกุศลวิบาก เหตุ เพราะกุศลวิบากจิตทีเ่ ปนอเหตุก คือเปนจิตไมมีสัมปยุตตเหตุ เชนที่กําลังกลาวถึงอยูในขณะนีก้ ็ มี และกุศลวิบากจิตทีม่ ีสัมปยุตตเหตุ ซึง่ เรียกวาสเหตุจิตดังจะกลาวตอไปขางหนานี้อีกก็มี ดังนัน้ จึงตองเติมอเหตุกไวดว ย เพื่อจะไดทราบโดยแจงชัดวาเปนกุศลวิบาก ที่ประกอบดวยเหตุ หรือไม อเหตุกกิริยาจิต เปนจิตไมใชผลของบาปอกุศลหรือบุญกุศลแตอยางใด ทัง้ ไมใชเปนจิต ที่เปนตัวกุศลหรืออกุศลดวย เปนจิตที่สกั แตวากระทําไปตามหนาทีก่ ารงานของตนเทานั้นเอง จึง ไมสามารถจะกอใหเกิดผลบุญหรือบาปตอไป ดวยอเหตุกกิริยาจิต ก็มีทงั้ ไมประกอบดวยเหตุ ดังที่กลาวถึงอยูในขณะนี้ และมีทงั้ ที่ประกอบดวยเหตุ คือสเหตุก ซึง่ จะกลาวตอไปขางหนาอีก ดวย ดังนัน้ จึงตองเรียกใหชัดเจน เพือ่ จะไดไมปะปนกัน ทํานองเดียวกับกุศลวิบากจิต

3.1.2.1 อกุศลวิบากจิต 7 อกุศลวิบากจิต เปนจิตที่เปนผลของบาปอกุศล ซึง่ มีจํานวน 7 ดวง ไดแก

ก . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง จักขุวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล เห็นรูปที่ไมดี

ข . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง โสตวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล ไดยนิ เสียงที่ไมดี

ค . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง ฆานวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล ไดกลิน่ ที่ไมดี

ง . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง ชิวหาวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล ไดรสที่ไมดี

107 จ . ทุกขสหคตัง อกุศลวิปากัง กายวิญญาณัง จิตเกิดพรอมทุกขเวทนา เปนผลของอกุศล กายถูกตองสิ่งที่ไมดี

ฉ . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง สัมปฏิจฉนจิตตัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล รับอารมณทั้ง 5 ที่ไมดี

ช . อุเปกขาสหคตัง อกุศลวิปากัง สันตีรณจิตตัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของอกุศล พิจารณาอารมณทงั้ 5 ทีไ่ มดี อกุศลวิบากจิต 7 ดวงนี้ มีสิ่งที่ควรทําความเขาใจบางประการ อันไดแก 1 . จักขุวิญญาณ คือ ตัวจิตที่รับรูทางนัยนตาเปนการเห็น 2 . โสตวิญญาณ คือ ตัวจิตที่รับรูทางหูเปนการไดยิน 3 . ฆานวิญญาณ คือ ตัวจิตที่รับรูทางจมูกเปนการไดกลิ่น 4 . ชิวหาวิญญาณ คือ ตัวจิตที่รับรูทางลิ้นเปนการรูรส ทั้ง 4 นี้ เกิดพรอมกับอุเบกขาเวทนา คือความเฉยๆอยางเดียว เฉยเพราะไมรูสึกเปน ทุกขหรือเปนสุข เพราะจิตเหลานี้ เกิดขึ้นโดยอาศัยการกระทบกันระหวางอุปาทยรูปกับอุปาทย รูป เปรียบเหมือนสําลีกระทบสําลียอมมีกําลังนอย จึงไมกอใหเกิดเปนทุกข เปนสุข หรือเสียใจ ดีใจ แตอยางใดเลย สวนกายวิญญาณ จิตรูการสัมผัสถูกตองทางกายนั้น สําหรับฝายอกุศล วิบากที่กาํ ลังกลาวถึงขณะนี้ เกิดพรอมกับทุกขเวทนา เพราะกายวิญญาณนี้เกิดขึน้ โดยอาศัยการ กระทบกันระหวางมหาภูตรูป (คือความแข็งความรอน) กับอุปาทยรูป (คือกายปสาท) เปรียบ เหมือนเอาคอนตีสําลีที่วางอยูบนทั่ง ยอมมีกําลังแรง จึงกอใหเกิดทุกข

3.1.2.2 อเหตุกกุศลวิบากจิต 8 อเหตุกกุศลวิบากจิต เปนจิตที่เปนผลของบุญกุศล ซึ่งมีจาํ นวน 8 ดวง ไดแก

ก . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง จักขุวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล เห็นรูปที่ดี

ข . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง โสตวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล ไดยินเสียงทีด่ ี

ค . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง ฆานวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล ไดกลิ่นที่ดี

ง . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง ชิวหาวิญญาณัง

108 ง . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง ชิวหาวิญญาณัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล ไดรสที่ดี

จ . สุขสหคตัง กุสลวิปากัง กายวิญญาณัง จิตเกิดพรอมสุขเวทนา เปนผลของกุศล กายไดสัมผัสถูกตองสิง่ ที่ดี

ฉ . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง สัมปฏิจฉนจิตตัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล รับอารมณทงั้ 5 ที่ดี

ช . อุเปกขาสหคตัง กุสลวิปากัง สันตีรณจิตตัง จิตเกิดพรอมความเฉยๆ เปนผลของกุศล พิจารณาอารมณทั้ง 5 ที่ดี

ซ . โสมนัสสหคตัง กุสลวิปากัง สันตีรณจิตตัง จิตเกิดพรอมโสมนัสเวทนา เปนผลของกุศล พิจารณาอารมณทั้ง 5 ที่ดี อเหตุกกุศลวิบากจิต 8 ดวงนี้ ก็มีนยั ทํานองเดียวกับอกุศลวิบากจิต 7 ดวงที่กลาวมาแลว นั้น แตวาจิตจําพวกนี้เปนผลของฝายดีฝายบุญกุศล อนึง่ อเหตุกกุศลวิบากจิตมีมากกวาอกุศล วิบากจิต 1 ดวงคือโสมนัสสันตีรณจิต ซึง่ ทางอกุศลวิบากจิตจะไมมโี ทมนัสสันตีรณจิต ทั้งนี้ก็เปน เพราะโทมนัสเวทนานี้ เกิดไดกับโทสจิตโดยเฉพาะเทานัน้ จะเกิดกับจิตอื่นใดอีกไมไดเลย ถา เมื่อใดถึงกับโทมนัสแลว ก็เปนโทสจิตเมือ่ นั้น และเมือ่ เปนโทสจิตแลวก็ไมใชอเหตุกจิต เพราะ โทสจิตเปนสเหตุกจิต คือเปนจิตที่มเี หตุและมีถึง 2 เหตุ คือมีโทสเหตุเปนเหตุนาํ และมีโมหเหตุ เปนเหตุหนุน ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ จึงไมมีโทมนัสสันตีรณจิตในอกุศลวิบากจิต

3.1.2.3 อเหตุกกิริยาจิต 3 อเหตุกกิริยาจิต เปนจิตที่สกั แตวากระทํา ไมประกอบดวยเหตุทั้ง 6 ประการ เปนจิตที่ ไมเปนบุญไมเปนบาป และไมใชผลของบุญหรือผลของบาปดวย มีจาํ นวน 3 ดวง ไดแก

ก . อุเปกขาสหคตัง ปญจทวาราวัชชนจิตตัง จิตที่เกิดพรอมความเฉยๆ พิจารณาอารมณทางทวารทั้ง 5 มีความหมายวา เปนจิตที่ พิจารณาอารมณที่มากระทบนั้น วาเปนอารมณทางทวารไหน จะไดเปนปจจัยใหสัญญาณแก วิญญาณจิตทางทวารนัน้ รับอารมณ อุปมาเหมือนนายทวารที่รักษาประตูพระราชวัง คอยเปดให เขาตามฐานะของบุคคลนั้นๆ

109 ข . อุเปกขาสหคตัง มโนทวาราวัชชนจิตตัง จิตที่เกิดพรอมความเฉยๆ พิจารณาอารมณทางมโนทวาร มีความหมายวา จิตนี้ทาํ หนาที่ตัดสินอารมณทงั้ 5 ทางทวาร 5 และมีหนาที่พจิ ารณาอารมณทั้ง 6 ที่เกิดทางมโนทวาร คือทางใจนึกคิดโดยตรงดวย

ค . โสมนัสสหคตัง หสิตุปปาทจิตตัง จิตที่ยิ้มแยมของพระอรหันต เกิดพรอมดวยความโสมนัส มีความหมายวา จิตดวงนี้ เปนจิตยิ้มแยมของพระอรหันตทงั้ หลายโดยเฉพาะ บุคลลอื่นที่มิใชพระอรหันต ไมไดยิ้มแยมดวย จิตดวงนี้ แตยิ้มและหัวเราะดวยจิตดวงอืน่ ซึ่งจะขอกลาวถึงตอเมื่อไดแสดงกามจิตครบจํานวน หมดทัง้ 54 ดวงแลว หสิตปุ ปาทจิตนี้ บางแหงก็เรียกวา " หสนจิต "

3.1.3 กามาวจรโสภณจิต 24 กามาวจรโสภณจิต เปนจิตที่แมวา ยังตองทองเที่ยววนเวียนอยูในกามภูมิ แตกเ็ ปนไปใน ฝายที่ดงี าม ไมเบียดเบียน หรือกอความเดือดรอนใหแกตนเองและผูอ ื่น มีคาถาสังคหะเปน คาถาที่อธิบายวา จิต 24 ดวงนีน้ นั้ กลาวโดยประเภทแหง เวทนา ญาณ และสังขาร นัน้ เรียกวา " สเหตุกกามาวจรกุศลจิต " " สเหตุกกามาวจรวิบากจิต " และ " สเหตุกกามาวจรกิริยาจิต " มีความหมายวา กลาวโดยเวทนาเภทโดยประเภทเวทนานั้น ทางฝายโสภณจิตทัง้ ปวง มีเวทนา ไดเพียง 2 คือ โสมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนาเทานั้น กลาวโดยญาณเภท โดยประเภทแหง ญาณ คือปญญาแลว ก็มีเพียง 2 ไดแก ญาณสัมปยุตต หมายความวา จิตนั้นประกอบดวย ปญญาหรือมีปญญา สวนญาณวิปปยุต หมายความวา จิตนั้นไมประกอบดวยปญญา หรือจิต  ญา กลาวโดยสังขารเภท โดยประเภทแหงสังขาร ก็หมายในทีน่ วี้ า เปนอสังขา นั้นไมไดใชปญ ริก ไมมีสิ่งชักชวน และสสังขาริก มีสงิ่ ชักชวน สเหตุกมีความหมายวามีสัมปยุตตเหตุ คือมี เหตุประกอบ สเหตุกจิตที่เปนฝายโสภณก็มี อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุประกอบ โดย ที่สเหตุกกามาวจรกุศลจิต เรียกวา " กามกุศลจิต " หรือ " มหากุศลจิต " ก็ได สเหตุกกามาวจร วิบากจิต เรียกวา " กามวิบากจิต " หรือ " มหาวิบากจิต " ก็ได และสเหตุกกามาวจรกิริยาจิต เรียกวา " กามกิริยาจิต " หรือ " มหากิริยาจิต " ก็ได

3.1.3.1 มหากุศลจิต 8 มหากุศลจิต เรียกวา " มหากุศล " เฉยๆก็ได ที่วา เปนมหากุศลก็เพราะเหตุ 2 ประการ ประการทีห่ นึ่ง เพราะเปนกุศลจิตที่กวางขวางมากมายมีไดทั่วไป กลาวคือสัตวในอบาย มนุษย

110 เทวดา ตลอดจนรูปพรหม อรูปพรหม สามารถที่จะมีมหากุศล หรือประกอบกรรมอันเปนมหา กุศลนี้ได ประการที่สอง เปนที่ตงั้ ของกุศลทั้งปวง และยังเปนปจจัยกอใหเกิดกุศลฌานจิต มรรคจิต ผลจิต ทั้งยังเปนปจจัยใหถงึ ซึ่งพระนิพพานไดดวย อนึง่ มหากุศล 8 ดวงนัน้ ไดแก

ก . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ข . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

ค . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ง . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

จ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ฉ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

ช . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ซ . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

3.1.3.2 มหาวิบากจิต 8 มหาวิบากจิต เปนจิตที่เปนผลของมหากุศล ทําบุญทํากุศลดวยมหากุศลจิตอยางใด ก็ ไดมหาวิบากจิตอยางนั้น มหากุศลจิตเปนเหตุ ยอมใหผลเปนมหาวิบากจิตที่ตรงกันเสมอ กลาวคือ มหากุศลจิตเปนโสมนัส ใหผลเปนมหาวิบากโสมนัส มหากุศลจิตเปนอุเบกขา ใหผล เปนมหาวิบากอุเบกขา มหากุศลจิตเปนญาณสัมปยุตต ใหผลเปนมหาวิบากญาณสัมปยุตต มหากุศลจิตเปนญาณวิปยุตต ใหผลเปนมหาวิบากญาณวิปยุตต มหากุศลจิตเปนอสังขาริก ใหผลเปนมหาวิบากอสังขาริก มหากุศลจิตเปนสสังขาริก ใหผลเปนมหาวิบากสสังขาริก ดังนัน้ มหาวิบากจิต จึงมีจํานวนเทากันกับมหากุศลจิตคือ 8 ดวง อันไดแก

111 ก . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ข . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

ค . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ง . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

จ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ฉ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

ช . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ซ . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

3.1.3.3 มหากิริยาจิต 8 มหากิริยาจิต เปนจิตที่ใหสําเร็จในการคิด การทํา การพูด ของพระอรหันตทงั้ หลายผู สิ้นกิเลสทั้งปวงโดยสิน้ เชิงแลว การคิด การทํา การพูด เหลานั้นจึงหากอใหเกิดผลในอนาคต ไม มีความหมายวา มหากุศลนั้น ถาเกิดแกบุคคลอื่นที่มิใชพระอรหันต ก็คงเรียกวามหากุศล จิต แตถา เกิดแกพระอรหันตโดยเฉพาะแลว เรียกวามหากิริยาจิต ที่เรียกวามหากุศลจิต เพราะ จะตองใหผลในอนาคต แตที่เรียกวามหากิริยาจิต เพราะเปนจิตที่ปราศจากผลในอนาคต มหา กิริยาจิตนัน้ มีจํานวนเทากันกับมหากุศลจิตคือ 8 ดวง อันไดแก

ก . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ข . โสมนัสสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

112 ค . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ง . โสมนัสสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความยินดี ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

จ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ฉ . อุเปกขาสหคตัง ญาณสัมปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

ช . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง อสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยไมมีสิ่งชักจูง

ซ . อุเปกขาสหคตัง ญาณวิปปยุตตัง สสังขาริกัง เกิดพรอมความเฉยๆ ไมประกอบดวยปญญา เกิดขึ้นโดยมีสิ่งชักจูง

3.2 รูปาวจรจิต 12 รูปาวจรจิต เปนจิตทีถ่ ึงซึง่ รูปฌาน หรือเปนจิตที่โดยมากทองเที่ยวอยูในรูปภูมิ รูปาวจร จิตนั้นกลาวโดยฌานเภท คือโดยประเภทแหงฌานแลวมี 4 ประการ ไดแก รูปาวจรปฐมฌาน จิต รูปาวจรทุติยฌานจิต รูปาวจรตติยฌานจิต และรูปาวจรจตุตถฌานจิต ซึ่งมักเรียกกันสัน้ ๆ แตเพียงวา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ฌานทั้ง 4 นีเ้ มื่อกลาวโดยชาติ เภท คือโดยประเภทแหงชาติ (ประเภทของจิตนัน่ เอง) อีก 3 ไดแก กุศล วิบาก และกิริยาแลว ก็เปนรูปาวจรกุศลจิต 4 รูปาวจรวิบากจิต 4 และรูปาวจรกิริยาจิต 4 จึงรวมเปน 12 ดวง รูปาว จรกุศลจิต 4 นั้น ไดแก รูปาวจรปฐมฌานกุศลจิต รูปาวจรทุติยฌานกุศลจิต รูปาวจรตติยฌาน กุศลจิต และรูปาวจรจตุตถฌานกุศลจิต สวนรูปาวจรวิบากจิต 4 และรูปาวจรกิรยิ าจิต 4 ก็ แจกแจงทํานองเดียวกันนี้

3.2.1 รูปาวจรกุศลจิต 4 รูปาวจรกุศลจิต เปนจิตทีบ่ าํ เพ็ญจนถึงรูปฌาน เปนจิตที่ตกแตงบุญกุศลไว เพื่อรับ สมบัติ คือเปนรูปพรหมในพรหมโลก มีจํานวน 4 ดวง อันไดแก

ก . วิตักกวิจารปติสุเขกัคคตา สหิตัง ปฐมฌานกุสลจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เปนปฐมฌานกุศลจิต

113 ข . ปติสุเขกัคคตา สหิตัง ทุติยฌานกุสลจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย ปติ สุข และเอกัคคตา เปนทุติยฌานกุศลจิต

ค . สุเขกัคคตา สหิตัง ตติยฌานกุสลจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย สุข และเอกัคคตา เปนตติยฌานกุศลจิต

ง . อุเปกเขกัคคตา สหิตัง จตุตถฌานกุศลจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขา และเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกุศลจิต

3.2.2 รูปาวจรวิบากจิต 4 รูปาวจรวิบากจิต เปนจิตทีเ่ ปนผลของรูปาวจรกุศลจิต เปนจิตที่เสวยสมบัติซึ่งรูปาวจร กุศลจิตไดตกแตงมาให เปนจิตของรูปพรหมในพรหมโลกจํานวน 4 ดวง อันเทากันกับรูปาวจร กุศลจิต รูปาวจรวิบากจิต 4 ดวงนั้น ไดแก

ก . วิตักกวิจารปติสุเขกัคคตา สหิตัง ปฐมฌานวิปากจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เปนปฐมฌานวิบากจิต

ข . ปติสุเขกัคคตา สหิตัง ทุติยฌานวิปากจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย ปติ สุข และเอกัคคตา เปนทุติยฌานวิบากจิต

ค . สุเขกัคคตา สหิตัง ตติยฌานวิปากจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย สุข และเอกัคคตา เปนตติยฌานวิบากจิต

ง . อุเปกเขกัคคตา สหิตัง จตุตถฌานวิปากจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขา และเอกัคคตา เปนจตุตถฌานวิบากจิต

3.2.3 รูปาวจรกิริยาจิต 4 รูปาวจรกิริยาจิต เปนจิตโดยเฉพาะของพระอรหันตที่เขารูปฌาน ตามสํานวนเกาอธิบาย ไววา รูปาวจรกุศลจิตกับรูปาวจรกิริยาจิตนั้นเหมือนกัน ตางกันแตที่เกิด คือรูปาวจรกุศลจิตนัน้ เกิดในสันดานปุถุชน และอริยบุคคลตั้งแตพระอนาคามีลงมา สวนรูปาวจรกิริยาจิตนั้น เกิดใน สันดานพระอรหันต อนึ่ง รูปาวจรกิริยาจิตอันมีจํานวน 4 ดวงนั้น ไดแก

ก . วิตักกวิจารปติสุเขกัคคตา สหิตัง ปฐมฌานกิริยาจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เปนปฐมฌานกิรยิ าจิต

ข . ปติสุเขกัคคตา สหิตัง ทุติยฌานกิริยาจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย ปติ สุข และเอกัคคตา เปนทุติยฌานกิรยิ าจิต

114 ค . สุเขกัคคตา สหิตัง ตติยฌานกิริยาจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย สุข และเอกัคคตา เปนตติยฌานกิรยิ าจิต

ง . อุเปกเขกัคคตา สหิตัง จตุตถฌานกิริยาจิตตัง จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขา และเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกิริยาจิต

3.3 อรูปาวจรจิต 12 อรูปาวจรจิต เปนจิตที่ถงึ ซึง่ อรูปฌาน เปนจิตที่โดยมากทองอยูในอรูปภูมิ อรูปาวจรจิต นั้น กลาวโดยประเภทแหงอารมณแลวมี 4 ประการ ไดแก 1 . มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติเปนอารมณ หมายถึง อากาศที่เพิกกสิณแลว เปน อากาศที่วา งเปลา ไมมที ี่สนิ้ สุดเปนอารมณ โดยบริกรรมวา " อากาโส อนันโต " อากาศไมมีที่ สิ้นสุด จนกวาฌานจิตจะเกิดขึ้น ฌานจิตที่เกิดขึ้น โดยมีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติเปนอารมณ นี้ชื่อวา " อากาสานัญจายตนฌาน " บางทีก็เรียกวา " ปฐมารูปจิต " คือปฐมอรูปจิต เปนอรูปาวจร จิตชั้นตน 2 . มีอากาสานัญจายตนจิตเปนอารมณ หมายถึง วิญญาณคือตัวรู หนวงเอาตัวทีร่ ูวา อากาศไมมที สี่ ิ้นสุดนัน้ แหละเปนอารมณ กลาวอีกนัยหนึง่ ก็วา เพงหรือหนวงเอาปฐมารูปจิตเปน อารมณ โดยบริกรรมวา " วิญญาณัง อนันตัง " วิญญาณไมมีที่สิ้นสุด จนกวาฌานจิตจะเกิดขึ้น ฌานจิตทีเ่ กิดขึ้น โดยมีอากาสานัญจายตนจิตเปนอารมณนี้ชื่อวา " วิญญาณัญจายตนฌาน " บางทีก็เรียกวา " ทุติยารูปจิต " คือทุติยอรูปจิต เปนอรูปาวจรจิตชัน้ ที่ 2 3 . มีนัถติภาวบัญญัติเปนอารมณ คือสภาพที่ไมมีอะไรเลยเปนอารมณ มีความหมายวา เมื่อไดเจริญวิญญาณัญจายตนฌานบอยๆจนชํานาญ ก็จะรูสึกขึน้ มาวา วิญญาณคือตัวรูวา อากาศไมมที สี่ ิ้นสุดก็ดี แมแตอากาศที่ไมมีที่สิ้นสุดนัน้ เองก็ดี จะมีอะไรแมสักหนอยหนึ่งก็หาไม จึงไดมาเพงถึงความไมมี โดยบริกรรมวา " นัตถิ กิญจิ " นิดหนึง่ ก็ไมมี หนอยหนึง่ ก็ไมมี จนกวา ฌานจิตจะเกิดขึ้น ฌานจิตที่เกิดขึ้นโดยมีนัตถิภาวบัญญัติเปนอารมณนี้ชื่อวา " อากิญจัญญายตน ฌาน " บางทีก็เรียกวา " ตติยารูปจิต " คือตติยอรูปจิต เปนอรูปาวจรจิตชั้นที่ 3 4 . มีอากิญจัญญายตนจิตเปนอารมณ คือหนวงเอาตติยารูปจิตเปนอารมณ กําหนดเอา ความประณีตละเอียดของตติยารูปจิตเปนอารมณ โดยกําหนดความรูสึกวา สัญญาคือจิตที่รูนดิ หนึง่ ก็ไมมี หนอยหนึง่ ก็ไมมีนั้น จะวาไมมีก็ไมใชเพราะยังมีตัวรูวา ไมมีอยู จะวามีก็ไมเชิงเพราะ สัญญานัน้ ประณีตละเอียดออนและสงบมากเหลือเกิน จนแทบจะไมรูวามี ดังนัน้ จึงกําหนดเพง ธรรมชาติที่สงบที่ประณีต โดยบริกรรมวา " เอตัง สันตัง เอตัง ปณีตัง " สงบหนอ ประณีตหนอ

115 จนกวาฌานจิตจะเกิดขึ้น ฌานจิตทีเ่ กิดขึ้น โดยอาศัยอากิญจัญญายตนจิตเปนอารมณเชนนีช้ ื่อ วา " เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน " ซึ่งแปลวาฌานที่ไมมีสัญญาหยาบ มีแตสญ ั ญาละเอียด หรือฌานที่มีสญ ั ญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช บางทีกเ็ รียกฌานจิตนี้วา " จตุตถารูปจิต " คือ จตุตถอรูปจิต เปนอรูปาวจรจิตชั้นที่ 4 อันเปนชั้นสูงสุด อรูปาวจรจิต อรูปจิต อรูปฌาน ซึง่ มี 4 ชั้นหรือ 4 ฌานนี้ แตกตางกันดวยประเภทแหง อารมณดังที่ไดกลาวมาขางตนนี้ ไมใชตา งกันดวยองคแหงฌาน เพราะองคฌานของอรูปฌานนี้ คงมีองคฌานเพียง 2 คือ อุเบกขาและเอกัคคตา เทากันและเหมือนกันทัง้ 4 ชั้น อนึ่ง องค ฌานของอรูปฌานนี้ ก็เทากันและเหมือนกันกับองคฌานของรูปาวจรจตุตถฌานดวย ดังนัน้ จึง จัดหรือนับวา อรูปฌานเปนจตุตถฌาน เพราะองคฌานเทากันและเหมือนกันนัน่ เอง อนึง่ เมือ่ จําแนกอรูปาวจรจิต 4 อารมณนี้โดยชาติอีก 3 แบบคือ กุศลจิต วิบากจิต และกิรยิ าจิต จะได เปน 12 ดวง อันไดแก อรูปาวจรกุศลจิต 4 อรูปาวจรวิบากจิต 4 และอรูปาวจรกิริยาจิต 4

3.3.1 อรูปาวจรกุศลจิต 4 อรูปาวจรกุศลจิต เปนจิตทีบ่ ําเพ็ญจนถึงอรูปฌาน เปนจิตที่ตกแตงบุญกุศลไว เพื่อรับ สมบัติ คือเปนอรูปพรหมในพรหมโลก มีจํานวน 4 ดวง อันไดแก

ก . อากาสานัญจายตนกุศลจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกุศลในอากาสานัญจายตนะ

ข . วิญญาณัญจายตนกุศลจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกุศลในวิญญาณัญจายตนะ

ค . อากิญจัญญายตนกุศลจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกุศลในอากิญจัญญายตนะ

ง . เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกุศลในเนวสัญญานา สัญญายตนะ

3.3.2 อรูปาวจรวิบากจิต 4 อรูปาวจรวิบากจิต เปนจิตที่เปนผลของอรูปาวจรกุศลจิต เปนจิตทีเ่ สวยสมบัติซงึ่ อรูปาว จรกุศลจิตไดตกแตงมาให เปนจิตของอรูปพรหมในพรหมโลก มีจาํ นวน 4 ดวง อันไดแก

116 ก . อากาสานัญจายตนวิบากจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานวิบากในอากาสานัญจายตนะ

ข . วิญญาณัญจายตนวิบากจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานวิบากในวิญญาณัญจายตนะ

ค . อากิญจัญญายตนวิบากจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานวิบากในอากิญจัญญายตนะ

ง . เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานวิบากในเนวสัญญานา สัญญายตนะ

3.3.3 อรูปาวจรกิริยาจิต 4 อรูปาวจกิริยาจิต เปนจิตโดยเฉพาะของพระอรหันตที่เขาอรูปฌาน อรูปาวจรกุศลจิตกับ อรูปาวจรกิริยาจิตนัน้ เหมือนกัน ตางกันแตที่เกิด อรูปาวจรกุศลจิตเกิดในสันดานปุถุชนและ อริยบุคคลตั้งแตพระอนาคามีลงมา สวนอรูปาวจรกิริยาจิตเกิดในสันดานพระอรหันต อรูปาวจร กิริยาจิต อันมีจํานวน 4 ดวงนั้น ไดแก

ก . อากาสานัญจายตนกิริยาจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกิริยาในอากาสานัญจายตนะ

ข . วิญญาณัญจายตนกิริยาจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกิริยาในวิญญาณัญจายตนะ

ค . อากิญจัญญายตนกิริยาจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกิริยาในอากิญจัญญายตนะ

ง . เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิต จิตเกิดพรอมดวย อุเบกขาและเอกัคคตา เปนจตุตถฌานกิริยาในเนวสัญญานา สัญญายตนะ

3.4 โลกุตตรจิต 8 โลกุตตรจิต มาจากคําวา " โลก + อุตตร + จิต " คําวา " โลก " นัน้ มี 3 โลก ไดแก กาม โลก (กามภูม)ิ รูปโลก (รูปภูมิ) และอรูปโลก (อรูปภูมิ) คําวา " อุตตร " หมายความวา เหนือ หรือพน ดังนัน้ โลกุตตรจิตจึงเปนจิตที่เหนือโลกทัง้ 3 เปนจิตทีพ่ นจากโลกทั้ง 3 ซึง่ มิได

117 หมายความวา จิตนี้อยูเหนือโลกหรือจิตนี้พน ไปจากโลก แตหมายความวา จิตนีม้ ีอารมณที่ เหนือโลก มีอารมณพนไปจากโลก คือโลกุตตรจิตนี้มีนิพพานเปนอารมณ ซึ่งนิพพานเปนธรรมที่ พนจากโลก เปนธรรมที่เหนือโลก โลกุตตรจิตเปนจิตทีพ่ นจากการเกิดดับ ซึง่ ไมไดหมายความ วาจิตนี้ไมไดเกิดดับ จิตนีค้ งเกิดดับตามสภาพของจิต แตเปนจิตทีม่ ีอารมณอันพนจากการเกิด ดับ อารมณนั้นคือนิพพาน ซึง่ นิพพานเปนธรรมที่ไมมกี ารเกิดดับ ธรรมทั้งหลายในโลกทั้ง 3 ยอมเกิดดับทัง้ สิ้น แตนิพพานเปนธรรมที่ไมเกิดดับ เปนธรรมทีพ่ นจากการเกิดดับ นิพพานจึง เปนธรรมทีพ่ น จากโลก เปนธรรมที่เหนือโลก อีกนัยหนึง่ โลกุตตรจิตมีความหมายวา เปนจิตที่ กําลังประหารและประหารแลวซึ่งกิเลส หมายความวา โลกุตตรจิตหรือมรรคจิตนั้น กําลังทําการ ประหารกิเลสอยู โลกุตตรวิบากจิตหรือผลจิต เปนจิตที่เสวยผลทีม่ รรคจิตไดประหารกิเลสนัน้ แลว เปนการประหารไดอยางเด็ดขาด อันทําใหกิเลสนั้นๆหมดสิ้นสูญเชื้อไปโดยสิ้นเชิง จนไมสามารถ ที่จะเกิดมากอความเศราหมองเรารอนอีกตอไปไดเลย การประหารเชนนี้เรียกวา " สมุจเฉทปหาน " โลกุตตรจิตนั้นมี 2 ชาติ คือ ชาติกุศล เรียกวา " โลกุตตรกุศลจิต " ซึ่งเปนประเภทอริยมรรค จึง มีชื่อเรียกอีกชือ่ หนึง่ วา " มรรคจิต " มีจาํ นวน 4 ดวง และชาติวิบาก เรียกวา " โลกุตตรวิบากจิต " อันเปนผลของโลกุตตรกุศลจิต จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา " ผลจิต " มีจํานวน 4 ดวงเหมือนกัน จึง นับรวมเปนโลกุตตรจิตทั้งหมด 8 ดวง

3.4.1 โลกุตตรกุศลจิต 4 โลกุตตรกุศลจิต หรืออีกนัยหนึง่ เรียกวา " มรรคจิต " เปนจิตทีก่ ําลังพนจากโลก เปนจิตที่ กําลังประหารกิเลส มีจาํ นวน 4 ดวง ไดแก

ก . โสดาปตติมรรคจิต โสดาปตติมรรคจิต มาจากคําวา " โสต " (กระแส) + " อาปตติ " (ถึงครัง้ แรก) + " มรรค " (ทาง) + " จิต " (จิต) รวมแปลความไดวา จิตที่ถงึ ครั้งแรก ซึง่ ทางอันเปนกระแสแหงพระนิพพาน หมายความวา ตกกระแสที่ไหลไปสูพระนิพพาน เหมือนดังกระแสน้าํ ที่ไหลสูม หาสมุทร อันโสดา ปตติมรรคจิตนั้น เกิดขึ้นแกบุคคลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาโสดาปตติมรรคบุคคล โสดาปตติผลจิต เกิดขึ้นแกบุคคลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาโสดาปตติผลบุคคล อันโสดาปตติผลบุคคลนั้น เราเรียก กันวา " พระโสดาบัน " ไดชื่อวาเปนเสกขบุคคล คือเปนบุคคลที่จะตองศึกษาตอไปปฏิบัติตอไป จนกวาจะเปนพระอรหันต จึงจะไมตองศึกษาตอไปอีกแลว จึงจะไดชื่อวาเปนอเสกขบุคคล โสดาปตติมรรคจิต เปนจิตที่พน จากกามโลกเฉพาะสวนที่เปนอบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย และสัตวดิรัจฉาน โสดาปตติผลจิต เปนจิตที่พน แลวจากอบายภูมิโดยเด็ดขาด

118 หมายความวา พระโสดาบันเมื่อจุติแลว จะไมปฏิสนธิในอบายภูมอิ ีกเลย เพราะประหารจิตชัว่ จิตบาปที่เปนเหตุใหตองเกิดในอบายไดแลว โสดาปตติมรรคจิต เปนจิตที่ประหารกิเลส ไดกลาว มาแลววา กิเลสเปนตัวการที่มาประกอบและกอใหเกิดอกุศลจิต ดังนั้นในทีน่ ี้ จะไดกลาวถึง อกุศลจิตที่ถูกประหาร คือโสดาปตติมรรคจิตนั้น กําลังประหารซึ่งจิตโลภที่เปนทิฏฐิสัมปยุตต 4 ดวง และโมหมูลจิตทีเ่ ปนวิจิกิจฉาสัมปยุตต 1 ดวง รวมแลวกําลังประหารอกุศลจิตทั้งหมด 5 ดวง สวนโสดาปตติผลจิต เปนจิตที่ประหารแลวซึง่ อกุศลจิต 5 ดวงนั้น ไดโดยเด็ดขาดเปน สมุจเฉทปหาน กลาวโดยอกุศลกรรมบถ 10 ประการ โสดาปตติมรรคจิต เปนจิตที่กําลังประหาร อกุศลกรรมบถ 5 ประการ อันไดแก ปาณาติบาต อทินนาทาน กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท และมิจฉาทิฏฐิ

ข . สกทาคามิมรรคจิต สกทาคามิมรรคจิต มาจากคําวา " สกึ " (ครั้งเดียว) + " อาคามี " (กลับมา) + " มรรค " (ทาง) + " จิต " (จิต) รวมแปลความวา จิตที่ถึงซึ่งทางที่จะกลับมาอีกครั้งเดียว มีความหมายวา เปนผูทจี่ ะกลับมาปฏิสนธิในกามภูมิอีกครั้งเดียวเทานัน้ อันสกทาคามิมรรคจิต เกิดขึ้นแกบุคคล ใด บุคลลนัน้ ไดชื่อวา สกทาคามิมรรคบุคคล สกทาคามิผลจิต เกิดขึ้นแกบุคคลใด บุคคลนัน้ ไดชื่อวา สกาทาคามิผลบุคคล อันสกทาคามิผลบุคคลนี้ เราเรียกกันวา " พระสกทาคามี " เปน เสกขบุคคลเหมือนกัน เพราะยังตองศึกษา คือตองปฏิบัติใหบรรลุเปนพระอรหันตตอไป เมื่อ กลาวโดยการพนโลกแลว สกาทาคามิมรรคจิตไมไดพนโลกเพิ่มขึน้ อีก เพียงแตพน กามโลกอัน เปนสวนอบายภูมิโดยอํานาจแหงโสดาปตติมรรคจิตเทานัน้ เมื่อกลาวโดยการประหารกิเลสแลว สกทาคามิมรรคจิต ก็หาไดประหารกิเลสเปนสมุจเฉทเพิม่ ขึ้นอีกแตอยางใดไม เปนแตเพียงทําให กิเลสที่เหลือจากทีโ่ สดาปตติมรรคจิตไดประหารมาแลวนั้น ใหเบาบางลง แมกลาวโดยการ ประหารอกุศลกรรมบถ สกทาคามิมรรคจิตก็ไมไดประหารเพิ่มขึน้ เปนแตเพียงทําใหเบาบางลง เชนกัน

ค . อนาคามิมรรคจิต อนาคามิมรรคจิต มาจากคําวา " น " (ไม) + " อาคามี " (กลับมา) + " มรรค " (ทาง) + " จิต " (จิต) รวมแปลความวา จิตถึงซึง่ ทางที่ไมกลับมาอีก มีความหมายวา เปนผูไมกลับมา ปฏิสนธิในกามโลกอีก คือจะตองไปเกิดเปนพรหมบุคคลในพรหมโลกแนนอน อันอนาคามิมรรค จิต เกิดขึ้นแกบุคลลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาอนาคามิมรรคบุคคล อนาคามิผลจิต เกิดขึ้นแก บุคคลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาอนาคามิผลบุคคล อันอนาคามิผลบุคคลนี้ เราเรียกกันวา " พระ

119 อนาคามี " เปนเสกขบุคคลเหมือนกัน เพราะยังจะตองศึกษา คือปฏิบัติตอไปใหบรรลุอรหัตตผล อนาคามิมรรคจิต เปนจิตทีก่ ําลังพนจากกามโลก ในสวนที่เปนมนุษยโลกและเทวโลก สวน อนาคามิผลจิต เปนจิตทีพ่ น แลวจากกามโลกโดยเด็ดขาด หมายความวา พระอนาคามีเมื่อจุติ แลว จะไมมาปฏิสนธิในกามโลกอีกเลย แตจะไปปฏิสนธิเปนพรหมบุคคลในพรหมโลกแนนอน อนาคามิมรรคจิต เปนจิตทีก่ ําลังประหารกิเลส กลาวโดยจิตก็ประหารโทสมูลจิต 2 ดวง อนาคามิผลจิต เปนจิตทีป่ ระหารแลวซึง่ โทสมูลจิต 2 ดวงนั้น โดยเด็ดขาดเปนสมุจเฉทปหาน กลาวโดยอกุศลกรรมบถ 10 แลว อนาคามิมรรคจิต เปนจิตทีก่ ําลังประหารอกุศลกรรมบถเพิ่มขึน้ อีก 3 ประการ ไดแก ปสณ ุ าวาจา ผรุสวาท และพยาบาท

ง . อรหัตตมรรคจิต อรหัตตมรรคจิต มาจากคําวา " อรหัตต " (ผูควรบูชาอยางยิง่ ) + " มรรค " (ทาง) + " จิต " (จิต) รวมแปลวา จิตซึง่ ถึงทางที่เปนผูควรแกการบูชาเปนอยางยิ่ง อันอรหัตตมรรคจิตนั้น เกิดขึ้นแกบุคคลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาอรหัตตมรรคบุคคล อรหัตตผลจิต เกิดขึ้นแกบุคคลใด บุคคลนั้นไดชื่อวาอรหัตตผลบุคคล อันอรหัตตผลบุคคลนี้ เราเรียกกันวา " พระอรหันต " เปนพระ ขีณาสพ คือผูที่สิ้นอาสวะกิเลสแลว เปนอเสกขบุคคล คือบุคคลที่ไมตองศึกษา ไมตองปฏิบัติ อีกแลว เพราะบริสุทธิห์ มดจดจนสิ้นเชิงแลว อรหัตตมรรคจิต เปนจิตที่กําลังพนจากรูปโลกและ อรูปโลก (พระอนาคามีพน จากกามโลกแลว แตยังไมพนจากรูปโลกและอรูปโลก) อรหัตตผลจิต เปนจิตทีพ่ น แลวจากรูปโลกและอรูปโลกโดยเด็ดขาด หมายความวา พระอรหันตเมื่อปรินิพพาน แลว ไมตองปฏิสนธิอีกเลย เปนอันสิน้ ภพสิ้นชาติ พนจากสังสารวัฏฏ ไมตองเวียนวายตายเกิด อีกตอไป อรหัตตมรรคจิต เปนจิตทีก่ ําลังประหารกิเลส กลาวโดยจิตนั้น อรหัตตมรรคจิตกําลัง ประหารอกุศลจิตที่เหลืออีก 5 ดวง คือโลภมูลจิตที่เปนทิฏฐิวิปปยุตต 4 ดวง และโมหมูลจิตที่เปน อุทธัจจสัมปยุตต 1 ดวง อรหัตตผลจิต เปนจิตที่ประหารแลวซึง่ อกุศลจิตที่เหลือ 5 ดวงที่กลาว แลวขางตนนัน้ ไดโดยเด็ดขาดเปนสมุจเฉทปหาน เปนอันวาพระอรหันตนั้น ไมมจี ิตที่เปนอกุศล ทั้ง 12 ดวงเกิดในสันดานอีกเลย กลาวโดยอกุศลกรรมบถ 10 ประการ อรหัตตมรรคจิต เปนจิต ที่กําลังประหารอกุศลกรรมบถที่เหลืออีก 2 ประการ อันไดแก สัมผัปปลาปะ และอภิชฌา

3.4.2 โลกุตตรวิบากจิต 4 โลกุตตรวิบากจิต หรืออีกนัยหนึ่งเรียกวา " ผลจิต " เปนจิตที่เปนผลแหงโลกุตตรกุศลจิต เปนจิตทีพ่ น แลวจากโลก เปนจิตที่ไดประหารแลวซึง่ กิเลสเปนสมุจเฉทปหาน เมือ่ มรรคจิตเกิดขึ้น และดับแลว ผลจิตก็จะเกิดติดตอกันในทันทีทันใดนั้นเอง โดยไมมีระหวางคัน่ คือไมมีจิตใดมา

120 คั่นเลย ดังนัน้ จึงเรียกมรรคจิตวา " อกาลิโก " เพราะเปนเหตุใหผลจิตเกิดขึ้นในปจจุบันทันที ไม ตองรอกาลรอเวลาเลย ผลจิตอันมีจํานวน 4 ดวงนั้น ไดแก

ก . โสดาปตติผลจิต โสดาปตติผลจิต เปนจิตทีเ่ ปนผลสืบเนื่องมาจากโสดาปตติมรรคจิต เมื่อกลาวโดย สังโยชนนนั้ โสดาปตติผลจิต ละสังโยชน (กิเลสเครื่องผูกไวกับภพกับชาติ) ได 3 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส

ข . สกทาคามิผลจิต สกทาคามิผลจิต เปนจิตทีเ่ ปนผลสืบเนื่องมาจากสกทาคามิมรรคจิต เมื่อกลาวโดย สังโยชนนนั้ สกทาคามิผลจิต ละสังโยชนไดเชนเดียวกันและเทากันกับโสดาปตติผลจิต แตยงั ทําราคะ โทสะ และโมหะ ใหเบาบางลงไปอีก

ค . อนาคามิผลจิต อนาคามิผลจิต เปนจิตทีเ่ ปนผลสืบเนื่องมาจากอนาคามิมรรคจิต เมื่อกลาวโดยสังโยชน นั้น อนาคามิผลจิต ละสังโยชนได 5 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกจิ ฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ และปฏิฆะ

ง . อรหัตตผลจิต อรหัตตผลจิต เปนจิตที่เปนผลสืบเนื่องมาจากอรหัตตมรรคจิต เมื่อกลาวโดยสังโยชนนนั้ อรหัตตผลจิต ละสังโยชนไดครบ 10 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา

วิถีจิต วิถีจิต คือ ลําดับการทํางานของจิต เมื่อประสบกับอารมณใหมในวาระหนึ่งๆ แบง ออกเปน 7 วิถี ไดแก กามวิถี อัปปนาวิถี สุบินวิถี ปจจเวกขณวิถี นิโรธสมาบัติวิถี อภิญญา วิถี และมรณาสันนวิถี โดยเบื้องตน พึงศึกษาอักษรยอและความหมายของวิถีจติ ดังตาราง ตอไปนี้ อักษรยอ

ยอมาจาก

อักษรยอ อักษรยอ ยอมาจาก

อักษรยอ

ยอมาจาก

121 ตี น ท ป วิ สํ สัน

อตีตภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ ปญจทวาราวัชชนะ ปญจวิญญาณ สัมปฏิจฉันนะ สันตีรณะ

อตีตภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ ปญจทวาราวัชชนะ ปญจวิญญาณ สัมปฏิจฉันนะ สันตีรณะ โวฏฐัพพนะ ชวนะ ตทาลัมพนะ ภวังค มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู ฌาน มรรค ผล จุติ

วุ ช ต ภ มโน บริ อุป

โวฏฐัพพนะ ชวนะ ตทาลัมพนะ ภวังค มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร

อนุ โค ฌ มรรค ผล จุติ ปฏิ

อนุโลม โคตรภู ฌาน มรรค ผล จุติ ปฏิสนธิ

จิตดวงแรกทีก่ ระทบกับอารมณใหม.....เปนอารมณเกา (ภวังคจิต) จิตที่ไหวตัวเพราะอารมณใหมมากระทบ.....ยังมีอารมณเกา (ภวังคจิต) จิตตัดกระแสภวังค.....ปลอยอารมณเกาเพื่อรับอารมณใหม (ภวังคจิต) จิตเพื่อรับอารมณใหม.....ทีม่ ากระทบทางทวารทั้ง 5 (วิถีจิต) จิตรับรูอารมณใหม.....ทีม่ ากระทบทางทวารทัง้ 5 (วิถีจติ ) จิตที่เกิดขึ้นรับอารมณจากปญจวิญญาณ.....สงตอไปยังสันตีรณะ (วิถีจิต) จิตที่ไตสวนอารมณนั้น.....วาดีหรือไมดี (วิถจี ิต) จิตที่ตัดสินใหเปน.....กุศลจิต.....อกุศลจิต.....หรือกิริยาจิต (วิถีจิต) จิตที่เสพเสวยอารมณนนั้ (วิถีจิต) จิตที่ยึดหนวงอารมณที่เหลือจากชวนะ (วิถีจิต) จิตพื้นฐานตัง้ แตเกิดจนตาย.....เมื่อใดไมมีวิถีจิตก็เปนภวังคจิต (ภวังคจิต) จิตเพื่อรับอารมณใหม.....ทีม่ ากระทบทางมโนทวาร (วิถจี ิต) กามชวนจิตทีท่ ําการเตรียมพรอมลวงหนา (วิถีจิต) กามชวนจิตที่เขาใกลมรรค (วิถีจิต) กามชวนจิตทีอ่ นุโลมไปตามลําดับเพื่อสําเร็จกิจ (วิถีจิต) กามชวนจิตทีม่ ีภาวะการเปลี่ยนโคตร (วิถจี ิต) โลกียอัปปนาชวนจิตที่สงบจากนิวรณ (วิถีจิต) โลกุตตรอัปปนาชวนจิตที่กาํ ลังประหารซึง่ กิเลส (วิถีจิต) โลกุตตรอัปปนาชวนจิตที่ประหารแลวซึง่ กิเลส (วิถีจิต) จิตที่ดับจากภพภูมิเกา.....หรือตาย (จุติจิต)

122 ปฏิสนธิ

จิตที่อุบัติสูภพภูมิใหม.....หรือเกิด (ปฏิสนธิจิต)

1 . กามวิถี กามวิถี คือ วิถีการทํางานของจิตในบุคคลธรรมดาทั่วไป อันแบงเปน 2 ประการ ไดแก ปญจทวารวิถี และมโนทวารวิถี

1.1 ปญจทวารวิถี ปญจทวารวิถี คือ วิถีจิตทีป่ รากฏอารมณทางปญจทวารเทานั้น ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ปญจทวารวิถีแบงเปน 4 ประการ ไดแก อติมหันตารมณวิถี มหันตารมณวิถี ปริตตารมณวิถี และอติปริตตารมณวิถี โดยอติมหันตารมณวิถี มีวถิ ีจิตสิ้นสุดลงที่ตทาลัมพนจิต ดังนัน้ จึงไดชื่อวา " ตทาลัมพนวาระ " มหันตารมณวิถี มีวิถีจิตสิ้นสุดลงที่ชวนจิต ดังนัน้ จึงไดชื่อวา " ชวนวาระ " ปริตตารมณวิถี มีวถิ ีจิตสิ้นสุดลงที่โวฏฐัพพนจิต ดังนัน้ จึงไดชื่อวา " โวฏฐัพพนวาระ " สวนอติปริตตารมณวิถี เปนวิถที ี่มีแตเพียงอตีตภวังคและภวังคจลนะ ไมมีจิตขึ้นวิถีคือยังไมทนั มี วิถีจิตเลย ดังนั้นจึงไดชื่อวา " โมฆะวาระ " เปนวาระที่วา งเปลา

1.1.1 อติมหันตารมณวิถี อติมหันตารมณ คือ อารมณที่ชัดเจนทีส่ ุด มีขณะจิตเกิดไดมากทีส่ ุด ยกตัวอยางเชน การเห็นรูปของตา โดยจักขุวัตถุที่มหี นาที่รับรูปารมณนั้น จะตองเปนจักขุปสาทที่ดี ไมพกิ าร แมแตเล็กนอย มีความใสคือมีความสามารถรับรูปารมณไดเปนอยางดี และรูปารมณนั้นก็ตองชัด และเดน ตั้งอยูไมไกลเกินไปหรือผานไปไมเร็วนัก รูปารมณนนั้ ตองอยูในที่ๆแสงสวางพอที่จักขุ ปสาทจะรับไดชัดเจน เมื่อจักขุวัตถุไดรับรูปารมณชัดเจนแจมแจงเชนนั้น จึงทําใหขณะจิตเกิดได มากที่สุด แมทางหูไดยนิ เสียง ทางจมูกไดกลิ่น ทางลิน้ ไดรส และทางกายไดรับการสัมผัส ถูกตอง ก็มนี ยั ทํานองเดียวกันนี้ ชื่อ อติมหันตารมณวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต คุณสมบัติ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต

1.1.2 มหันตารมณวิถี

123 มหันตารมณ คือ อารมณที่ชัดเจนปานกลาง มีขณะจิตเกิดไดมากพอประมาณ ไม เดนชัด หรือแจมแจงเทาอติมหันตารมณ ทั้งนี้เพราะวัตถุหรืออารมณอยางใดอยางหนึง่ บกพรองไป ชื่อ มหันตารมณวถิ ี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต คุณสมบัติ ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ นัยที่ 1 ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ นัยที่ 2 ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช มหันตารมณวถิ ี เปนวิถีจิตทางปญจทวาร มี 2 นัย และมีขณะจิตเหมือนอติมหันตา รมณวิถีทกุ ประการ โดยมหันตารมณวิถนี ัยที่ 1 มีอตีตภวังค 2 ขณะ นัยที่ 2 มีอตีตภวังค 3 ขณะ ที่มีอตีตภวังคมากขณะ ก็เพราะวาปสาทรูป 5 และปญจารมณนนั้ บกพรองหรือออน อารมณนนั้ จึงตองกระทบกับภวังคจิตหลายๆครั้ง ภวังคจิตจึงจะรูส ึกตัวไหวตัวได อนึ่ง มหันตารมณวถิ ีนนั้ ไมมีตทาลัมพนะภายหลังชวนะ กลาวคือเมื่อชวนะเสพอารมณครบ 7 ขณะแลว ตอไปก็จะเปน ภวังคจิตที่รับอารมณเกาไปเลย ทัง้ นี้เพราะอารมณนั้นหมดอายุ จึงดับไปไมเหลือพอใหเกิด ตทาลัมพนะได 2 ขณะ

1.1.3 ปริตตารมณวิถี ปริตตารมณ คือ อารมณที่ชัดเจนต่าํ มีขณะจิตเกิดไดนอย เพราะวัตถุหรืออารมณ อยางใดอยางหนึง่ บกพรองไปมาก จึงไมชัดแจงพอทีจ่ ะตัดสินลงไปได วาอารมณนั้นดีหรือชั่ว ประการใด ชื่อ ปริตตารมณวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต คุณสมบัติ ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ภ ภ ภ นัยที่ 1 ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ

วุ

วุ



ภ ภ ภ

124 นัยที่ 2 นัยที่ 3 นัยที่ 4 นัยที่ 5 นัยที่ 6

ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี

น ตี ตี ตี ตี

ท น ตี ตี ตี

ป ท น ตี ตี

วิ ป ท น ตี

สํ สัน วิ สํ ป วิ ท ป น ท

วุ สัน สํ วิ ป

วุ วุ สัน สํ วิ

วุ วุ วุ สัน สํ

ภ วุ วุ วุ สัน

ภ ภ วุ วุ วุ

ภ ภ ภ วุ วุ

1.1.4 อติปริตตารมณวิถี อติปริตตารมณ คือ อารมณที่ชัดเจนนอยที่สุด มีขณะจิตเกิดไดนอยที่สุด เพราะวัตถุ หรืออารมณนนั้ บกพรองมากเหลือเกิน จึงทําใหจิตเพียงแตแววๆไหวๆเทานั้น ไมทันจะไดเห็น ไมทันจะไดยิน อารมณนนั้ ก็ดับไปเสียแลว เลยยังไมทนั รูวาอะไรเปนอะไร จึงไมสามารถรับ อารมณใหม ตองกลับไปทําหนาที่ภวังค มีอารมณเกาไปตามเดิมอีก โดยอติปริตตารมณวิถนี ั้น มี 6 นัย คือมีอตีตภวังคตั้งแต 10 ขณะขึ้นไปจนถึง 15 ขณะ แลวมีภวังคจลนะคือไหวตัว 2 ขณะ ชื่อ อติปริตตารมณวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 ชนิด ภวังคจิต คุณสมบัติ ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ภ ภ ภ นัยที่ 1 นัยที่ 2 นัยที่ 3 นัยที่ 4 นัยที่ 5 นัยที่ 6

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

ตี ตี ตี ตี ตี ตี

น ตี ตี ตี ตี ตี

น น ตี ตี ตี ตี

ภ น น ตี ตี ตี

ภ ภ น น ตี ตี

ภ ภ ภ น น ตี

ภ ภ ภ ภ น น

ภ ภ ภ ภ ภ น

1.2 มโนทวารวิถี มโนทวารวิถี คือ วิถีจิตที่ปรากฏอารมณทางใจ ดวยสาเหตุหลายประการ อันไดแก ดวยเคยเห็นเคยพบอารมณนั้นๆมาแลว ดวยเคยเรียนเคยทองจํามาแลว ดวยมีผอู ื่นพูดใหฟง ดวยการนึกคิดขึ้นเอง ดวยการใชปญญาพิจารณาโดยแยบคาย ดวยอํานาจของกรรมเกา ดวย

125 อํานาจแหงอิทธิฤทธิ์ตางๆ ดวยความแปรปรวนวิปริตของธาตุในรางกาย ดวยเทวดามาดลใจ ดวยมรรคญาณหรือผลญาณ และดวยอํานาจการรูแจงในอริยสัจ 4 ประการ อนึง่ มโนทวารวิถี นั้นแบงเปน 2 ประการ ไดแก วิภูตารมณวิถี และอวิภูตารมณวิถี โดยวิภูตารมณวิถี เปน วิถีทางใจที่มีอารมณปรากฏชัดเจนแจมแจงมาก ตามปกติก็มีวถิ ีจิตถึงตทาลัมพนะ ดังนั้นจึงได ชื่อวา " ตทาลัมพนวาระ " สวนอวิภูตารมณวิถี เปนวิถที ี่มีอารมณปรากฏชัดทางใจเหมือนกัน แต วาชัดนอยกวาออนกวาวิภูตารมณวิถี วิถจี ิตจึงมีแคชวนะ ดังนัน้ จึงไดชื่อวา " ชวนวาระ "

1.2.1 วิภูตารมณวิถี วิภูตารมณ คือ อารมณที่ปรากฏทางใจชัดเจนแจมแจงมาก มีขณะจิตดังนี้ คือ ภวังคจิตไหวตัวจะรับอารมณใหม 1 ขณะเรียกวา " ภวังคจลนะ " ตอมาเปนภวังคจิตปลอยอารมณ เกา เพื่อรับอารมณใหมตอไป 1 ขณะเรียกวา " ภวังคุปจเฉทะ " ตอมาจึงเขาสูวิถจี ติ รับอารมณใหม และตัดสินกําหนดใหเปนกุศลอกุศลดวย 1 ขณะเรียกวา " มโนทวาราวัชชนะ " ตอจากนัน้ ก็เสพ อารมณนนั้ 7 ขณะเรียกวา " ชวนะ " และเพราะวาอารมณนั้นชัดแจงมากมีกาํ ลังมาก จึงตองรับรู อารมณนนั้ ตอจากชวนะอีก 2 ขณะเรียกวา " ตทาลัมพนะ " จึงรวมเปน 12 ขณะจิต ชื่อ วิภูตารมณวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต คุณสมบัติ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต

1.2.2 อวิภูตารมณวิถี อวิภูตารมณ คือ อารมณที่ปรากฏทางใจแตวาชัดนอยกวาวิภูตารมณ มีขณะจิตดังนี้ คือ ภวังคจิตไหวตัวจะรับอารมณใหม 1 ขณะเรียกวา " ภวังคจลนะ " ตอมาเปนภวังคจิตปลอย อารมณเกา เพื่อรับอารมณใหมตอไป 1 ขณะเรียกวา " ภวังคุปจเฉทะ " ตอมาจึงเขาสูวิถีจิตรับ อารมณใหมและตัดสินกําหนดใหเปนกุศลอกุศลดวย 1 ขณะเรียกวา " มโนทวาราวัชชนะ " ตอจากนัน้ ก็เสพอารมณนนั้ 7 ขณะเรียกวา " ชวนะ " แตเพราะอารมณนั้นไมแรงพอ จึงไมสามารถ เกิดตทาลัมพนะ ชื่อ ขณะจิตที่ 1

2

อวิภูตารมณวถิ ี 3 4 5 6 7 8 9 10

126 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต คุณสมบัติ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช

2 . อัปปนาวิถี อัปปนา แปลวา ทําลาย คือทําลายกิเลส มีนวิ รณเปนตน หรืออีกนัยหนึง่ หมายถึง จิตที่แนบแนนอยูในอารมณเดียว โดยเฉพาะถาเคยไดอัปปนาจิตในอารมณใด เมื่อจิตดวงนั้น เกิดขึ้นอีก ก็จะตองมีอารมณอยางเดิมนัน้ เสมอไป ไมเปลี่ยนแปลงเปนอารมณอยางอืน่ อัปปนา จิต คือ จิตที่แนบแนนอยูใ นอารมณเดียวโดยเฉพาะ อัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีอปั ปนาจิตอยู ในวิถนี นั้ และอัปปนาชวนะ คือ ชวนจิตที่แนบแนนอยูในอารมณเดียวโดยเฉพาะ อัปปนาวิถี หรืออัปปนาชวนะนี้ เกิดไดทางมโนทวารวิถีทางเดียวเทานัน้ ไมเกิดทางปญจทวารวิถีเลย อนึ่ง อัปปนาวิถนี ั้น แมจะเปนมโนทวารวิถีกจ็ ริง แตก็ไมไดจําแนกเปนวิภูตารมณวิถีและอวิภูตารมณ วิถี เหมือนอยางมโนทวารกามวิถี เพราะอัปปนาวิถมี แี ตวิภูตารมณวิถีอยางเดียว ดวยเหตุวา ถาอารมณนั้นไมชัดเจนแจมแจงจริงๆแลว อัปปนาชวนะจะเกิดไมไดเลย อัปปนาวิถีแบงเปน 2 ประการ ไดแก โลกียอัปปนาวิถี และโลกุตตรอัปปนาวิถี

2.1 โลกียอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาวิถีนี้ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิถีจิตที่ไดฌาน ที่ถงึ ฌาน ทั้งนีห้ มายเฉพาะ ฌานจิตทีเ่ ปนกุศลจิตและกิริยาจิตเทานัน้ ไมรวมฌานจิตที่เปนวิบากจิต เพราะเปนจิตทีพ่ นวิถี อนึ่ง โลกียอัปปนาวิถีแบงเปน 2 ประการ ไดแก อาทิกัมมิกฌานวิถี และฌานสมาบัติวิถี

2.1.1 อาทิกัมมิกฌานวิถี อาทิกมั มิกฌานวิถี คือ วิถกี ารทํางานของจิตในผูท ี่เพิง่ ไดฌาน ผูที่ไดปฐมฌานเปนครั้ง แรกก็ดี ไดทตุ ิยฌานเปนครั้งแรกก็ดี ไลไปจนถึงไดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานเปนครัง้ แรกก็ดี รวมหมายความวา ผูที่แรกไดฌานชั้นนั้นๆ วิถีจิตที่ฌานจิตนั้นๆ เกิดเปนครั้งแรก เราเรียกชือ่ วิถีจิตนัน้ วา " อาทิกมั มิกฌานวิถี " แบงเปนผูไดฌานชาและผูไดฌานเร็ว ตามแตมนั ทบุคคล (บุคคลผูรูชา) และติกขบุคคล (บุคคลผูรูเร็ว) ชื่อ ขณะจิตที่ 1 2 ชนิด 1 ภวังคจิต

3

อาทิกมั มิกฌานวิถี (มันทบุคคล) 4 5 6 7 8 วิถีจิต

9 ภวังคจิต

127 ชนิด 2 คุณสมบัติ น

กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ ท มโน บริ อุป อนุ โค ฌ



ชื่อ อาทิกมั มิกฌานวิถี (ติกขบุคคล) ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ชนิด 1 ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต ชนิด 2 กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ คุณสมบัติ น ท มโน อุป อนุ โค ฌ ภ

2.1.2 ฌานสมาบัติวิถี ฌานสมาบัติวถิ ี คือ วิถีการทํางานของจิตในผูที่ไดฌานแลว ซึง่ ก็มวี ิถีการทํางานของจิต เชนเดียวกัน กับวิถกี ารทํางานของจิตในผูท ี่เพิง่ เริ่มไดฌานซึง่ เรียกวา " อาทิกัมมิกฌานวิถี " นั่นเอง แตจะตางกันตรงที่วา ฌานจิตของผูทเี่ พิง่ เริ่มไดฌานนัน้ เกิดขึน้ ครั้งเดียวแลวก็ตกภวังคไป สวน ฌานจิตของผูท ี่ไดฌานแลว เกิดขึน้ มากนอยแลวแตความสามารถและกําหนดเวลาตามที่ได อธิษฐานไว ซึ่งไมอาจกําหนดไดวาจะเกิดขึ้นนานเทาไร เพราะอัปปนาชวนะในฌานสมาบัติวถิ นี ี้ เกิดประมาณมิได การเขาฌานสมาบัติเพื่อหนีทกุ ขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวยฌานสุข ยัง ความอิ่มใจหรือความวางเฉย แนวแนอยูใ นอารมณกรรมฐานนัน้ ตราบเทาเวลาทีต่ นอธิษฐานไว อนึ่ง ผูเ ขาฌานสมาบัติได จะตองเปนผูท ี่ไดฌาน และตองมีวสีคือความชํานาญหรือความ แคลวคลองวองไวในฌาน ซึ่งมีอยูดวยกัน 5 ประการ ไดแก อาวัชชนวสี (ความชํานาญในการ นึกที่จะเขาฌานตามที่ตนตั้งใจ) สมาปชชนวสี (ความชํานาญในการเขาฌาน) อธิษฐานวสี (ความชํานาญในการตั้งความปรารถนาที่จะใหฌานจิต ตั้งมั่นอยูเปนเวลาเทาใด) วุฏฐานวสี (ความชํานาญในการออกจากฌาน) และปจจเวกขณวสี (ความชํานาญในการพิจารณาองคฌาน) อนึ่ง เมื่อฌานลาภีบุคคล คือบุคคลผูไดฌาน มีความแคลวคลองวองไวในวสีทงั้ 5 ประการแลว เวลาจะเขาฌานสมาบัตินนั้ กิจเบื้องตนตองตั้งความปรารถนาวา จะเขาฌานสมาบัติเปน เวลานานเทาใด กีช่ ั่วโมงหรือกี่วัน และขอใหฌานจิตทีต่ นเคยไดแลวนั้น จงบังเกิดขึ้นอีกครั้ง ซึ่งขณะที่ตงั้ ความปรารถนานี้เราเรียกวา " อธิษฐานวิถี " ชื่อ ขณะจิตที่ 1

2

อธิษฐานวิถี 3 4 5 6 7 8 9 10

128 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต คุณสมบัติ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ตอจากนัน้ จึงเจริญสมถกรรมฐาน เขาฌานสมาบัติ โดยเพงปฏิภาคนิมิตที่ตนเคยไดมา ชื่อ ฌานสมาบัติวถิ ี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ชนิด 1 ภวังคจิต วิถีจิต ชนิด 2 กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ คุณสมบัติ น ท มโน บริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ

ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ

อันฌานจิตนัน้ จะคงอยูตราบเทาเวลาทีต่ นไดตั้งความปรารถนาไว เมื่อครบกําหนดเวลา ที่ตนอธิษฐานไวแลว ฌานจิตจึงจะหยุดเกิด แลวก็เปนภวังคจิตตอไปตามปกติ อนึ่ง ฌานลาภี บุคคล ผูไดเพียงปฐมฌาน ก็ตองเขาฌานสมาบัติในปฐมฌานเทาที่ตนได ทีเ่ ปนธรรมดาสามัญ แตถาไดฌานที่สูงขึน้ ไป ก็เขาไดทั้งฌานสูงเทาที่ตนได และเขาสมาบัติในฌานที่ตา่ํ กวาก็ไดดวย เชน ผูท ี่ไดตติยฌาน เขาตติยฌานสมาบัติได เขาทุติยฌานสมาบัติได หรือจะเขาปฐมฌาน สมาบัติก็ได เปนตน

2.2 โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีโลกุตตรจิตในวิถีนนั้ โลกุตตรจิตเปนจิตที่แนบแนน แนวแนในพระนิพพานเปนอารมณแตอยางเดียวเทานัน้ จะมีอารมณเปนอยางอืน่ ไมได อนึ่ง โลกุตตรอัปปนาวิถนี ั้น แบงเปน 2 ประการ ไดแก มรรควิถี และผลสมาบัติวิถี

2.2.1 มรรควิถี มรรควิถี คือ วิถีการทํางานของจิต ในพระอริยบุคคลผูกําลังบรรลุมรรคผล ตามแต มันทบุคคล (บุคคลผูรูชา) และติกขบุคคล (บุคคลผูรูเร็ว) โดยที่ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร และอนุโลม มีไตรลักษณแหงรูปนามเปนอารมณ สวนโคตรภู มรรค และผล มี นิพพานเปนอารมณ ชื่อ ขณะจิตที่ 1

2

3

4

มรรควิถี (มันทบุคคล) 5 6 7 8 9

10

11

129 ชนิด 1 ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต ชนิด 2 กามชวนะ โลกุตตรอัปปนาชวนะ คุณสมบัติ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มรรค ผล ผล ภ ชื่อ ขณะจิตที่ 1 2 3 ชนิด 1 ภวังคจิต ชนิด 2 คุณสมบัติ น ท มโน

มรรควิถี (ติกขบุคคล) 4 5 6 7 8 9 10 11 วิถีจิต ภวังคจิต กามชวนะ โลกุตตรอัปปนาชวนะ อุป อนุ โค มรรค ผล ผล ผล ภ

สําหรับมรรควิถีนี้ ไมวาจะเปนมันทบุคคลหรือติกขบุคคล มรรคจิตก็เกิดขณะเดียว เทานัน้ อนึง่ บุคคลผูที่จะบรรลุมรรคผลไดนั้น จะตองเจริญวิปสสนากรรมฐาน เพื่อใหเกิด วิปสสนาญาณขึ้นมา ตัง้ แตระดับนามรูปปริจเฉทญาณ จนถึงสังขารุเปกขาญาณ จากนั้นก็เริ่ม มองเห็นพระนิพพานเลิกละความเกี่ยวของในนามรูปสังขารทั้งหลาย และกอนที่จะมีมรรคผล เกิดขึ้นนัน้ ภวังคจลนะและภวังคุปจเฉทะ จะเกิดขึ้นพรอมสงจิตขึ้นสูวิถีทางมโนทวาร เมื่อมโน ทวาราวัชชนะเกิดแลว จิตก็จะทําหนาที่เสวยอารมณคอื ชวนะทัง้ 7 ขณะ อนึง่ มรรควิถีของพระ อริยบุคคลทั้ง 4 จําพวก คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต จะ เกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันนีท้ ั้งสิน้ แตไมไดเกิดขึ้นในวิถีจิตเดียวกัน

2.2.2 ผลสมาบัติวิถี ผลสมาบัติวิถี คือ วิถีการทํางานของจิต ในพระอริยบุคคลผูบรรลุผลแลว วิถีจติ ที่ เขาถึงอริยผลมีพระนิพพานเปนอารมณ นับเปนโลกุตตรสมาบัติ คือผูเจริญวิปสสนากรรมฐานจน บรรลุมรรคผลเปนพระอริยบุคคลแลว เมือ่ ประสงคจะทําใหจิตเขาอยูใ นอารมณพระนิพพาน เพือ่ เสวยวิมุติสุข ก็สามารถเขาผลสมาบัติ เพื่อเสวยความสุขอันเกิดจากการหลุดพนนัน้ ไดตามใจ ปรารถนา การเขาสมาบัตนิ ี้ จะฝกหัดใหเกิดความชํานาญ เหมือนการเขาฌานสมาบัติไมได เพราะมรรคจิตเกิดขึ้นไดเพียงครั้งเดียวเทานัน้ ในขณะที่ผลจิตเกิดขึน้ ไดเรื่อยๆ โดยอาศัยการ พิจารณาพระนิพพานเปนอารมณ สําหรับระบบการทํางานของจิตในพระอริยบุคคลผูบรรลุมรรค ผลไดชา ในขั้นของชวนะจะไมมีบริกรรมและอุปจาร จะมีแตอนุโลมเกิดขึ้น 4 ขณะ แตสําหรับผู บรรลุมรรคผลไดเร็ว จะเกิดขึ้นเพียง 3 ขณะ ตอจากนั้นผลจิตจะเกิดขึ้นติดตอกันตามเวลาที่ได

130 อธิษฐานไว และเมื่อครบเวลาที่ไดอธิษฐานไว ผลจิตจะไมเกิดขึ้น แตจะมีภวังคจิตเกิดขึ้นแทน จึงจะเปนการออกจากสมาบัติ นั่นคือสิน้ สุดของผลสมาบัติวิถี อนึง่ การเขาผลสมาบัติ เปนการ เขาอยูในอารมณพระนิพพาน ที่ไดมาจากอริยผลญาณอันบังเกิดแลวแกตน เพือ่ เสวยโลกุตตรสุข ซึ่งเปนความสงบสุขทีพ่ ึงเห็นพึงประจักษไดในปจจุบัน ซึ่งพระนิพพานที่เปนอารมณของผลสมาบัติ นั้นมีชื่อ 3 ชื่อ ไดแก 1 . อนิมิตตนิพพาน หมายถึงวา ผูทกี่ า วขึ้นสูม รรคผลนั้น เพราะเห็นความไมเทีย่ ง อัน ปราศจากนิมติ เครื่องหมาย คือ อนิจจลักษณะ โดยบุญญาธิการแตปางกอนแรงดวยศีล เมื่อ เขาผลสมาบัติ ก็คงมีอนิมิตตนิพพานเปนอารมณ 2 . อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงวา ผูท ก่ี าวขึน้ สูมรรคผลนั้น เพราะเห็นความทนอยู ไมได ตั้งอยูไมได คือ ทุกขลักษณะ โดยบุญญาธิการแตปางกอนแรงดวยสมาธิ เมื่อเขาผล สมาบัติ ก็คงมีอัปปณิหิตนิพพานเปนอารมณ 3 . สุญญตนิพพาน หมายถึงวา ผูทกี่ า วขึ้นสูม รรคผลนั้น เพราะเห็นความไมใชตัวตน บังคับบัญชาไมได คือ อนัตตลักษณะ โดยบุญญาธิการแตปางกอนแรงดวยปญญา เมื่อเขาผล สมาบัติ ก็คงมีสุญญตนิพพานเปนอารมณ บุคคลที่เขาผลสมาบัติไดตองเปนพระอริยบุคคล คือเปน พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี หรือพระอรหันต สวนปุถุชนจะเขาผลสมาบัติไมไดเลย พระอริยเจาที่จะเขาผล สมาบัติ ก็เขาไดเฉพาะอริยผลที่ตนได ที่ตนถึงครั้งสุดทายเทานัน้ แมอริยผลที่ตนไดและผานพน มาแลวก็ไมสามารถจะเขาได กลาวคือพระโสดาบันก็เขาผลสมาบัติไดแตโสดาปตติผล พระ สกทาคามีกเ็ ขาผลสมาบัติไดแตสกทาคามีผล จะเขาโสดาปตติผลซึ่งถึงแมวาตนจะเคยไดเคยผาน เคยพนมาแลวก็หาไดไม พระอนาคามีก็เขาผลสมาบัตไิ ดแตเฉพาะอนาคามีผล พระอรหันตก็เขา ผลสมาบัติไดแตอรหัตตผล อนึง่ พระอริยบุคคล ผูจะเขาผลสมาบัติ กิจเบื้องตนก็จะตองตั้ง ความปรารถนาวา จะเขาผลสมาบัติเปนเวลานานเทาใด และขอใหผลจิตที่เคยปรากฏมาแลวนัน้ จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนาอีกครั้ง ขณะที่ตั้งความปรารถนานี้ กามจิตอันเปนมหากุศล ญาณสัมปยุตตสําหรับพระอริยะเบื้องต่ํา 3 หรือ กามจิตอันเปนมหากิริยาญาณสัมปยุตต สําหรับพระอรหันต ก็จะเกิดขึ้นซึ่งเรียกวา " อธิษฐานวิถี " ตอจากอธิษฐานวิถี ก็พงึ เจริญ วิปสสนากรรมฐาน มีไตรลักษณแหงรูปนามเปนอารมณ เริ่มตัง้ แตอุทยัพพยญาณเปนตนไป เมื่อ นั้นผลจิตก็จะเกิดขึ้น ซึ่งวิถจี ิตที่เขาสูผลจิตนี้เรียกวา " ผลสมาบัติวิถี "

131 ชื่อ ผลสมาบัติวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ชนิด 1 ภวังคจิต วิถีจิต ชนิด 2 กามชวนะ โลกุตตรอัปปนาชวนะ คุณสมบัติ น ท มโน อนุ อนุ อนุ อนุ ผล ผล ผล ผล

ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ

ถัดจากอนุโลม 4 ขณะสําหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม 3 ขณะสําหรับติกขบุคคล ผลจิตก็ จะเกิดเรื่อยไปเปนจํานวนมากมาย ไมสามารถทีจ่ ะประมาณได จนครบกําหนดเวลาที่ตนไดตั้ง ความปรารถนาไว ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แลวก็เปนภวังคจิตตอไปตามปกติ อนึง่ จิตในผล สมาบัติวิถนี ี้ไมเรียกวา บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู เหมือนอยางในมรรควิถี แตเรียก อนุโลมอยางเดียวทัง้ 4 หรือ 3 ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถีนี้ ไมไดทาํ การประหารกิเลสเพิ่มขึน้ อีก

3 . สุบินวิถี สุบินวิถี คือ ความเปนไปของจิตในเวลาฝน ไดแก กามชวนมโนทวารวิถี ที่เกิดขึ้น ในขณะนอนหลับ การฝนนัน้ ก็มีชัดมากและชัดนอย ชัดมากก็มีถงึ ตทาลัมพนะได ชัดนอยก็มี เพียงชวนะเทานัน้ สาเหตุที่ทาํ ใหเกิดความฝนนัน้ มี 4 ประการ ไดแก กรรมที่ไดกระทําไวในอดีต จิตที่จดจอตอเรื่องใดเรื่องหนึง่ เปนพิเศษ เทวดาดลใจใหฝน และความแปรปรวนวิปริตของธาตุใน รางกาย สวนผูที่มีความฝนไดนั้นมี 6 ประเภท ไดแก ทุคติบุคคล (เวนสัตวนรก) สุคติบุคคล ทวิเหตุกบุคคล ติเหตุกบุคคล (เวนรูปพรหม อรูปพรหม) โสดาบันบุคคล และสกทาคามีบุคคล อนึ่ง เหตุที่สตั วนรกไมฝน นั้น เพราะถูกทรมานตลอดเวลา จนไมมีโอกาสที่จะฝน ที่รูปพรหม อรูปพรหม อนาคามีบุคคล และอรหัตตบุคคล ไมฝน นั้น เพราะทานเหลานี้ปราศจากกามราคะ แลว สวนบุคคลที่ยังฝนอยูน ั้น ลวนแตเปนผูทยี่ ังมีกามราคะอยู

4 . ปจจเวกขณวิถี ปจจเวกขณะ แปลวา พิจารณา หมายถึง การพิจารณาเพื่อใหทราบตามสภาวะธรรม ที่เปนจริง ปจจเวกขณวิถี คือ วิถีจิตหรือลําดับความเปนไปของจิต ทีพ่ ิจารณาถึงสภาพแหง ความเปนจริง ดังนั้นจึงเปนมหากุศล หรือมหากิริยาชวนมโนทวารวิถี อันเปนกามวิถี เมื่อมรรค วิถีสิ้นสุดลงแลว ตองมีปจจเวกขณวิถีอยางแนนอน จะไมมีปจ จเวกขณวิถีเกิดภายหลังมรรควิถี นั้นไมได อนึง่ ปจจเวกขณวิถีทเี่ กิดภายหลังมรรควิถนี ั้น ก็เพื่อพิจารณาธรรม 5 ประการ ไดแก พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน พิจารณากิเลสที่ไดละแลว และพิจารณากิเลสที่

132 ยังคงเหลืออยู ในปจจเวกขณะ 5 ประการนี้ เฉพาะ 3 ประการแรก คือ การพิจารณามรรคหนึง่ การพิจารณาผลหนึง่ และการพิจารณานิพพานหนึง่ ตองมีการพิจารณาอยางแนนอน ขาดไมได สวนการพิจารณากิเลสที่ละไดแลวหนึง่ และการพิจารณากิเลสที่ยังคงเหลืออยูห นึง่ นัน้ บางทีก็ พิจารณา บางทีก็ไมพิจารณา กลาวคือ ถาผูน ั้นไดศกึ ษาทางปริยตั ิ จึงจะทราบเรื่องราวของ กิเลส เมื่อทราบก็จะพิจารณาได แตถา ไมไดศึกษามา ก็ไมทราบจึงไมไดพิจารณา ปจจเวกขณ วิถีทเี่ กิดหลังจากโสดาปตติมรรควิถี สกทาคามิมรรควิถี และอนาคามิมรรควิถี คิดจํานวนอยาง เต็มที่ ก็พิจารณาทั้ง 5 ประการ สวนปจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังอรหัตตมรรควิถี พิจารณา เพียง 4 ประการ เวนการพิจารณากิเลสทีค่ งเหลือ เพราะพระอรหันตทานละกิเลสไดหมดสิ้นแลว ไมมีกิเลสที่เหลือเลย อนึง่ ฌานสมาบัติวิถี ที่พิจารณาองคฌานนัน้ บางครั้งก็มบี างครั้งก็ไมมี สวนอภิญญาวิถี และนิโรธสมาบัติวิถนี นั้ ไมมีปจจเวกขณวิถีเลย สําหรับปุถุชนคนทัว่ ไปนัน้ บางครั้งก็อาจเกิดปจจเวกขณวิถีได เชน การพิจารณาวาเรามี ความแก ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจากสิ่งที่รกั และความมีกรรมเปนของตนเปนธรรมดา ไมสามารถหลีกหนีจากกฏ นี้ไปไดนั้น ซึง่ เรียกการพิจารณาธรรมทัง้ 5 ประการนี้วา " อภิณหปจจเวกขณวิถี " ชื่อ ปจจเวกขณวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต คุณสมบัติ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ

5 . นิโรธสมาบัติวิถี การเขานิโรธสมาบัติ เหมือนฝกนิพพาน เขาสูความดับสนิทแหงนามขันธ โดย ปราศจากอันตรายใดๆ เปนมหาสันติสุขอันยอดเยีย่ ม ดังนัน้ พระอริยเจาจึงนิยมเขาผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติ ดวยศรัทธาและฉันทะในอมตรสนัน้ จนกวาจะดับขันธปรินพิ พาน

5.1 คุณสมบัติผูจะเขานิโรธสมาบัติ 1 . ตองเปนพระอนาคามีหรือพระอรหันต 2 . อรูปพรหมเขานิโรธสมาบัติไมได เพราะมีขันธไมครบ 5 ประการ 3 . ตองไดฌานสมาบัตทิ ั้ง 8 กลาวคือ รูปฌาน 4 และอรูปฌาน 4 4 . ตองมีวสี คือชํานาญคลองแคลวในสัมปทา 4 ประการ ไดแก 4.1 มีสมถพละและวิปสสนาพละ คือ มีกําลังแหงสมาธิและกําลังแหงปญญา

133 4.2 ชํานาญในการระงับกายสังขาร วจีสงั ขาร และจิตตสังขาร 4.3 ชํานาญในวิปสสนาญาณทั้ง 16 ขั้น 4.4 ชํานาญในฌานสมาบัติทั้ง 8 ดังนี้จะเห็นไดวา การเขานิโรธสมาบัตินนั้ จําเปนจะตองใชกําลังทัง้ 2 ประการ คือ กําลังจากสมถกรรมฐาน โดยตองถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกําลังจากวิปสสนา กรรมฐาน โดยตองถึงอนาคามิมรรคเปนอยางต่าํ กลาวคือ ตองใชทั้งกําลังสมาธิและกําลัง ปญญาควบคูก ันไปดวย

5.2 การเขานิโรธสมาบัติ 1 . เขาปฐมฌาน มีกรรมฐานใดกรรมฐานหนึ่ง ที่ตนไดมาแลวเปนอารมณ ปฐมฌาน กุศลจิตสําหรับพระอนาคามี หรือปฐมฌานกิริยาจิตสําหรับพระอรหันต ก็เกิดขึน้ 1 ขณะ ชื่อ ปฐมฌานวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชนิด 1 ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต ชนิด 2 กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ คุณสมบัติ ภ น ท มโน บริ อุป อนุ โค ฌ ภ 2 . เมื่อออกจากปฐมฌานแลว ตองพิจารณาองคฌานโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึง่ การพิจารณาเชนนี้เรียกวา " ปจจเวกขณวิถี " 3 . เขาทุติยฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 4 . เขาปจจเวกขณวิถี 5 . เขาตติยฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 6 . เขาปจจเวกขณวิถี 7 . เขาจตุตถฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 8 . เขาปจจเวกขณวิถี 9 . เขาอากาสานัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 10 . เขาปจจเวกขณวิถี 11 . เขาวิญญาณัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 12 . เขาปจจเวกขณวิถี

134 13 . เขาอากิญจัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด 1 ขณะ 14 . ออกจากอากิญจัญญายตนฌาน แลวเขาอธิษฐานวิถี อธิษฐาน 4 ประการตอไปนี้ 14.1 บริขารตางๆตลอดจนรางกายของขาพเจา ขออยาใหเปนอันตราย 14.2 เมื่อสงฆประชุมกัน ตองการตัวขาพเจา ขอใหออกไดมิตองใหมีผูมาตาม 14.3 ถาพระพุทธองคมพี ระประสงคตัวขาพเจา ขอใหออกไดมิตองใหมีผูมาตาม 14.4 กําหนดระยะเวลาวาจะเขาอยูน านเทาใด โดยพิจารณาไมใหเกินอายุขัย 15 . อธิษฐานแลวก็เขาเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด 2 ขณะ 16 . ลําดับนั้นจิต เจตสิก และจิตตชรูป ยอมดับไป สวนกรรมชรูป อุตุชรูป และ อาหารชรูป ยังคงดํารงอยู และดําเนินไปตามปกติ 17 . เมื่อถึงกําหนดเวลาออกจากนิโรธสมาบัตินั้น สําหรับพระอนาคามีจะเกิดอนาคามิผล จิต 1 ขณะ สวนพระอรหันตจะเกิดอรหัตตผลจิต 1 ขณะ เมื่อนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูป ยอมกลับมาดังเดิม

6 . อภิญญาวิถี อภิญญา แปลวา รูยงิ่ รูพ ิเศษ มีความหมายวา เปนจิตที่มีความรูอันยิ่งใหญ เปน พิเศษจนมีอํานาจ สามารถที่จะบันดาลใหเกิดสิ่งที่ตนปรารถนาได โดยตองใชรูปาวจรจตุตถฌาน กุศลจิต หรือ รูปาวจรจตุตถฌานกิรยิ าจิต ที่ไดมาจากกสิณ เปนบาทใหเกิดอภิญญาจิต ดังนัน้ อภิญญานี้จงึ มีไดแตในภูมิที่มีขันธ 5 เพราะตองทําอภิญญาดวยรูปฌาน อนึ่ง อภิญญาที่ ตองอาศัยรูปาวจรจตุตถฌานจิต เพื่อเปนบาทใหเกิดนัน้ มี 6 ประการ ไดแก 1 . บุพเพนิวาสานุสติญาณ (ระลึกชาติกอนที่เคยเกิดมาแลวได) 2 . จุตูปปาตญาณ (รูจุติและปฏิสนธิของสัตวทงั้ หลาย) หรือทิพพจักขุ (ตาทิพย) 3 . เจโตปริยญาณ (รูจิตใจของผูอื่นได) 4 . ทิพพโสต (หูทพิ ย) 5 . อิทธิวธิ ิ (แสดงอิทธิฤทธิต์ างๆได) โดยผูทําอภิญญาได ตองเปนผูมีลักษณะ 2 ประการ คือไดสมาบัติทั้ง 8 (รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4) โดยครบถวน และตองไดทาํ การฝกฝนอบรมเปนพิเศษอีก 14 นัย และตอง คลองแคลวใน 14 นัยนัน้ ดวย

6.1 การฝกฝนพิเศษ 14 นัย 6.1.1 กสิณานุโลมโต

135 กสิณานุโลมโต คือ การเขารูปฌานๆใดฌานหนึง่ โดยเพงกสิณไปตามลําดับ { ปฐวีกสิณ → อาโปกสิณ → เตโชกสิณ → วาโยกสิณ → นีลกสิณ → ปตกสิณ → โลหิตกสิณ → โอทาตกสิณ → อาโลกกสิณ }

6.1.2 กสิณปฏิโลมโต กสิณปฏิโลมโต คือ การเขารูปฌานๆใดฌานหนึง่ โดยเพงกสิณยอนกลับ { อาโลกกสิณ → โอทาตกสิณ → โลหิตกสิณ → ปตกสิณ → นีลกสิณ → วาโย กสิณ → เตโชกสิณ → อาโปกสิณ → ปฐวีกสิณ }

6.1.3 กสิณานุโลมปฏิโลมโต กสิณานุโลมปฏิโลมโต คือ การเขารูปฌานๆใดฌานหนึ่ง โดยเพงกสิณไปตามลําดับ และยอนกลับ { ปฐวีกสิณ → อาโปกสิณ → เตโชกสิณ → วาโยกสิณ → นีลกสิณ → ปตกสิณ → โลหิตกสิณ → โอทาตกสิณ → อาโลกกสิณ → โอทาตกสิณ → โลหิตกสิณ → ป ตกสิณ → นีลกสิณ → วาโยกสิณ → เตโชกสิณ → อาโปกสิณ → ปฐวีกสิณ }

6.1.4 ฌานานุโลมโต ฌานานุโลมโต คือ การเพงกสิณๆใดกสิณหนึง่ โดยเขาฌานไปตามลําดับ { ปฐมฌาน → ทุติยฌาน → ตติยฌาน → จตุตถฌาน → อากาสานัญจายตนฌาน → วิญญาณัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน }}

6.1.5 ฌานปฏิโลมโต ฌานปฏิโลมโต คือ การเพงกสิณๆใดกสิณหนึง่ โดยเขาฌานยอนกลับ { เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → วิญญาณัญจายตนฌาน → อากาสานัญจายตนฌาน → จตุตถฌาน → ตติยฌาน → ทุติยฌาน → ปฐมฌาน }

6.1.6 ฌานานุโลมปฏิโลมโต ฌานานุโลมปฏิโลมโต คือ การเพงกสิณๆใดกสิณหนึ่ง โดยเขาฌานไปตามลําดับ และ ยอนกลับ

136 { ปฐมฌาน → ทุติยฌาน → ตติยฌาน → จตุตถฌาน → อากาสานัญจายตนฌาน → วิญญาณัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → วิญญาณัญจายตนฌาน → อากาสานัญจายตนฌาน → จตุตถฌาน → ตติยฌาน → ทุติยฌาน → ปฐมฌาน }

6.1.7 ฌานุกกันติกโต ฌานุกกันติกโต คือ การกาวขามฌาน ไปตามลําดับแหงกสิณ { ปฐวีกสิณ (ปฐมฌาน) → ปฐวีกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อา กิญจัญญายตนฌาน → อาโปกสิณ (ทุติยฌาน) → อาโปกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → เตโชกสิณ (ปฐมฌาน) → เตโชกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → วาโย กสิณ (ทุติยฌาน) → วาโยกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน → นีลกสิณ (ปฐมฌาน) → นีลกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจาย ตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → ปตกสิณ (ทุติยฌาน) → ปตกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → โลหิตกสิณ (ปฐมฌาน) → โลหิตกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → โอ ทาตกสิณ (ทุติยฌาน) → โอทาตกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนว สัญญานาสัญญายตนฌาน → อาโลกกสิณ (ปฐมฌาน) → อาโลกกสิณ (ตติยฌาน) → อา กาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน }

6.1.8 กสิณุกกันติกโต กสิณุกกันติกโต คือ การกาวขามกสิณ ไปตามลําดับแหงฌาน { ปฐมฌาน (ปฐวีกสิณ) → ปฐมฌาน (เตโชกสิณ) → ปฐมฌาน (นีลกสิณ) → ปฐมฌาน (โลหิตกสิณ) → ปฐมฌาน (อาโลกกสิณ) → ทุติยฌาน (อาโปกสิณ) → ทุตยิ ฌาน (วาโย กสิณ) → ทุติยฌาน (ปตกสิณ) → ทุติยฌาน (โอทาตกสิณ) → ตติยฌาน (ปฐวีกสิณ) → ตติยฌาน (เตโชกสิณ) → ตติยฌาน (นีลกสิณ) → ตติยฌาน (โลหิตกสิณ) → ตติยฌาน (อาโลกกสิณ) → จตุตถฌาน (อาโปกสิณ) → จตุตถฌาน (วาโยกสิณ) → จตุตถฌาน (ป ตกสิณ) → จตุตถฌาน (โอทาตกสิณ) }

137 6.1.9 ฌานกสิณุกกันติกโต ฌานกสิณกุ กันติกโต คือ การกาวขามทัง้ กสิณและฌาน ไปตามลําดับ { ปฐวีกสิณ (ปฐมฌาน) → เตโชกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อา กิญจัญญายตนฌาน → นีลกสิณ (ทุตยิ ฌาน) → โลหิตกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญ จายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → อาโลกกสิณ (ปฐมฌาน) → อาโปกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → วาโยกสิณ (ทุติย ฌาน) → ปตกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตน ฌาน → โอทาตกสิณ (ปฐมฌาน) → ปฐวีกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → เตโชกสิณ (ทุติยฌาน) → นีลกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → โลหิตกสิณ (ปฐมฌาน) → อาโลกกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → อาโป กสิณ (ทุติยฌาน) → วาโยกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน → ปตกสิณ (ปฐมฌาน) → โอทาตกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญ จายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → ปฐวีกสิณ (ทุติยฌาน) → เตโชกสิณ (จตุตถ ฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → นีลกสิณ (ปฐมฌาน) → โลหิตกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตน ฌาน → อาโลกกสิณ (ทุติยฌาน) → อาโปกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → วาโยกสิณ (ปฐมฌาน) → ปตกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → โอทาตกสิณ (ทุติยฌาน) → ปฐวี กสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → เตโช กสิณ (ปฐมฌาน) → นีลกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อา กิญจัญญายตนฌาน → โลหิตกสิณ (ทุติยฌาน) → อาโลกกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน → อาโปกสิณ (ปฐมฌาน) → วาโยกสิณ (ตติยฌาน) → อากาสานัญจายตนฌาน → อากิญจัญญายตนฌาน → ปตก สิณ (ทุติยฌาน) → โอทาตกสิณ (จตุตถฌาน) → วิญญาณัญจายตนฌาน → เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน }

138 6.1.10 อังคสังกันติกโต อังคสังกันติกโต คือ การเขารูปฌาน ไปตามลําดับแหงกสิณ { ปฐวีกสิณ (ปฐมฌาน) → ปฐวีกสิณ (ทุติยฌาน) → ปฐวีกสิณ (ตติยฌาน) → ปฐวี กสิณ (จตุตถฌาน) → อาโปกสิณ (ปฐมฌาน) → อาโปกสิณ (ทุติยฌาน) → อาโปกสิณ (ตติยฌาน) → อาโปกสิณ (จตุตถฌาน) → เตโชกสิณ (ปฐมฌาน) → เตโชกสิณ (ทุติย ฌาน) → เตโชกสิณ (ตติยฌาน) → เตโชกสิณ (จตุตถฌาน) → วาโยกสิณ (ปฐมฌาน) → วาโยกสิณ (ทุติยฌาน) → วาโยกสิณ (ตติยฌาน) → วาโยกสิณ (จตุตถฌาน) → นีลก สิณ (ปฐมฌาน) → นีลกสิณ (ทุติยฌาน) → นีลกสิณ (ตติยฌาน) → นีลกสิณ (จตุตถ ฌาน) → ปตกสิณ (ปฐมฌาน) → ปตกสิณ (ทุติยฌาน) → ปตกสิณ (ตติยฌาน) → ป ตกสิณ (จตุตถฌาน) → โลหิตกสิณ (ปฐมฌาน) → โลหิตกสิณ (ทุติยฌาน) → โลหิตกสิณ (ตติยฌาน) → โลหิตกสิณ (จตุตถฌาน) → โอทาตกสิณ (ปฐมฌาน) → โอทาตกสิณ (ทุติย ฌาน) → โอทาตกสิณ (ตติยฌาน) → โอทาตกสิณ (จตุตถฌาน) → อาโลกกสิณ (ปฐมฌาน) → อาโลกกสิณ (ทุติยฌาน) → อาโลกกสิณ (ตติยฌาน) → อาโลกกสิณ (จตุตถฌาน) }

6.1.11 อารัมมณสังกันติกโต อารัมมณสังกันติกโต คือ การเพงกสิณ ไปตามลําดับแหงรูปฌาน { ปฐมฌาน (ปฐวีกสิณ) → ปฐมฌาน (อาโปกสิณ) → ปฐมฌาน (เตโชกสิณ) → ปฐมฌาน (วาโยกสิณ) → ปฐมฌาน (นีลกสิณ) → ปฐมฌาน (ปตกสิณ) → ปฐมฌาน (โลหิตกสิณ) → ปฐมฌาน (โอทาตกสิณ) → ปฐมฌาน (อาโลกกสิณ) → ทุติยฌาน (ปฐวี กสิณ) → ทุติยฌาน (อาโปกสิณ) → ทุติยฌาน (เตโชกสิณ) → ทุติยฌาน (วาโยกสิณ) → ทุติยฌาน (นีลกสิณ) → ทุติยฌาน (ปตกสิณ) → ทุติยฌาน (โลหิตกสิณ) → ทุติยฌาน (โอ ทาตกสิณ) → ทุติยฌาน (อาโลกกสิณ) → ตติยฌาน (ปฐวีกสิณ) → ตติยฌาน (อาโป กสิณ) → ตติยฌาน (เตโชกสิณ) → ตติยฌาน (วาโยกสิณ) → ตติยฌาน (นีลกสิณ) → ตติยฌาน (ปตกสิณ) → ตติยฌาน (โลหิตกสิณ) → ตติยฌาน (โอทาตกสิณ) → ตติยฌาน (อาโลกกสิณ) → จตุตถฌาน (ปฐวีกสิณ) → จตุตถฌาน (อาโปกสิณ) → จตุตถฌาน (เตโช

139 กสิณ) → จตุตถฌาน (วาโยกสิณ) → จตุตถฌาน (นีลกสิณ) → จตุตถฌาน (ปตกสิณ) → จตุตถฌาน (โลหิตกสิณ) → จตุตถฌาน (โอทาตกสิณ) → จตุตถฌาน (อาโลกกสิณ) }

6.1.12 อังคารัมมณสังกันติกโต อังคารัมมณสังกันติกโต คือ การเพงกสิณและเขาฌาน ไปตามลําดับแหงกสิณและ ฌาน (ขอนีจ้ ัดใหโอทาตกสิณ = อาโลกกสิณ) { ปฐมฌาน (ปฐวีกสิณ) → ทุติยฌาน (อาโปกสิณ) → ตติยฌาน (เตโชกสิณ) → จตุตถ ฌาน (วาโยกสิณ) → อากาสานัญจายตนฌาน (นีลกสิณ) → วิญญาณัญจายตนฌาน (ปตก สิณ) → อากิญจัญญายตนฌาน (โลหิตกสิณ) → เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน (โอทาตก สิณ) }

6.1.13 อังคววัฏฐาปนโต อังคววัฏฐาปนโต คือ การพิจารณาองคฌาน ของสมาบัติทงั้ 8 วา 1 . ปฐมฌาน ประกอบดวย วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา 2 . ทุติยฌาน ประกอบดวย ปติ สุข และเอกัคคตา 3 . ตติยฌาน ประกอบดวย สุข และเอกัคคตา 4 . จตุตถฌาน ประกอบดวย อุเบกขา และเอกัคคตา 5 . อากาสานัญจายตนฌาน ประกอบดวย อุเบกขา และเอกัคคตา 6 . วิญญาณัญจายตนฌาน ประกอบดวย อุเบกขา และเอกัคคตา 7 . อากิญจัญญายตนฌาน ประกอบดวย อุเบกขา และเอกัคคตา 8 . เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ประกอบดวย อุเบกขา และเอกัคคตา

6.1.14 อารัมมณววัฏฐาปนโต อารัมมณววัฏฐาปนโต คือ การพิจารณาอารมณกรรมฐาน ของสมาบัติทงั้ 8 วา 1 . ปฐมฌาน ทีเ่ กิดขึ้นนี้มี ปฐวีกสิณ หรือ อาโปกสิณ หรือ เตโชกสิณ หรือ วาโย กสิณ หรือ นีลกสิณ หรือ ปตกสิณ หรือ โลหิตกสิณ หรือ โอทาตกสิณ หรือ อาโลก กสิณ เปนอารมณ

140 2 . ทุติยฌาน ทีเ่ กิดขึ้นนี้มี ปฐวีกสิณ หรือ อาโปกสิณ หรือ เตโชกสิณ หรือ วาโย กสิณ หรือ นีลกสิณ หรือ ปตกสิณ หรือ โลหิตกสิณ หรือ โอทาตกสิณ หรือ อาโลก กสิณ เปนอารมณ 3 . ตติยฌาน ทีเ่ กิดขึ้นนี้มี ปฐวีกสิณ หรือ อาโปกสิณ หรือ เตโชกสิณ หรือ วาโย กสิณ หรือ นีลกสิณ หรือ ปตกสิณ หรือ โลหิตกสิณ หรือ โอทาตกสิณ หรือ อาโลก กสิณ เปนอารมณ 4 . จตุตถฌาน ที่เกิดขึ้นนีม้ ี ปฐวีกสิณ หรือ อาโปกสิณ หรือ เตโชกสิณ หรือ วาโยกสิณ หรือ นีลกสิณ หรือ ปตกสิณ หรือ โลหิตกสิณ หรือ โอทาตกสิณ หรือ อาโลกกสิณ เปนอารมณ 5 . อากาสานัญจายตนฌาน ที่เกิดขึ้นนีม้ ี อากาสบัญญัติ เปนอารมณ 6 . วิญญาณัญจายตนฌาน ที่เกิดขึ้นนีม้ ี อากาสานัญจายตนฌาน เปนอารมณ 7 . อากิญจัญญายตนฌาน ทีเ่ กิดขึ้นนี้มี นัตถิภาวบัญญัติ เปนอารมณ 8 . เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ที่เกิดขึ้นนี้มี อากิญจัญญายตนฌาน เปนอารมณ

6.2 การทําใหเกิดอภิญญา อนึ่ง เมื่อฌานลาภีบุคคล ไดทําการฝกฝนเหตุแหงอภิญญาทั้ง 14 นัยแลว และ ปรารถนาจะกระทําซึง่ อภิญญาใหเกิดขึน้ พึงกระทําการดังตอไปนี้ 1 . เขารูปาวจรจตุตถฌานใหเปน " ปาทกฌานวิถี " (พลวฌานสมาบัติวิถ)ี 2 . อธิษฐานซึง่ อภิญญา ชนิดที่ตนปรารถนาจะใหเกิด (อธิษฐานวิถ)ี 3 . เขารูปาวจรจตุตถฌานใหเปน " ปาทกฌานวิถี " อีกครั้ง 4 . อภิญญาจิตก็จะเกิดขึ้นตามความปรารถนาที่ไดอธิษฐานไว ชื่อ อภิญญาวิถี ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต คุณสมบัติ น ท มโน บริ อุป อนุ โค อภิญญา

ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ

ขณะที่อภิญญากําลังเกิดอยูน ั้น มโนทวารวิถีที่เกิดตอจากอภิญญาวิถีนนั้ เปนมหากุศลหรือมหา กิริยา ตามควรแกบุคคลทีแ่ สดงอภิญญา และเปนกามชวนมโนทวารวิถี ถาหากวาไดกระทําการ ดังกลาวแลว แตอภิญญายังไมเกิด ก็ตองตั้งตนเริ่มทํามาตั้งแตตนใหมอีก จนกวาอภิญญาจิต

141 จะเกิด อนึ่ง ตามที่ไดกลาวมาแลวนี้ จะเห็นไดวาบุคคลที่แสดงอภิญญาได ก็ดว ยอํานาจแหง การเจริญสมถกรรมฐานจนไดสมาบัติทงั้ 8 เชนนี้ ทานเรียกวา " ปฏิปทาสิทธิฌาน " ซึ่งมี ความหมายวา สําเร็จถึงซึง่ ฌานดวยการปฏิบัติ ยังมีบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึง่ ในชาตินั้นไมเคย เจริญสมถกรรมฐาน เปนแตเจริญวิปสสนากรรมฐานอยางเดียว ถึงกระนัน้ ก็ดี บางบุคคลพอ บรรลุมรรคผล ก็ถงึ พรอมซึง่ ฌานดวย จนถึงแสดงอภิญญาไดก็มี เชน พระจุฬปณถกะ เมื่อ สําเร็จเปนพระอรหันตแลว ก็ไดแสดงปาฏิหาริยเปนภิกษุหลายรูปจนเต็มพระเชตวัน เชนนี้ทา น เรียกวา " มรรคสิทธิฌาน " ซึ่งมีความหมายวา ไดฌานดวยอํานาจแหงมรรค

7 . มรณาสันนวิถี มรณาสันนวิถี เปนวิถีจิตในเวลาที่ใกลตาย โดยชวนจิตเกิดเพียง 5 ขณะเทานัน้ เพราะ จิตมีกําลังออนมากแลว และเมื่อสุดวิถีของมรณาสันนวิถี จุติจิตจะเกิดตามอีก 1 ขณะ จึงเรียก ไดวาสัตวนนั้ ถึงแกความตายแลว และเมือ่ จุติจิตดับลง ปฏิสนธิจิตก็จะเกิดตอในทันทีทันใด โดย ไมมีจิตอื่นจิตใด จะมาคัน่ ระหวางจุติจิตกับปฏิสนธิจิตเลย แตเวนในกรณีของพระอรหันต ซึง่ จะ ไมมีปฏิสนธิจติ เกิดตอ อนึ่ง สัตวที่ใกลตายนั้น กอนที่จุติจิตจะเกิด ถามีรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส เปนอารมณ มรณาสันนวิถนี ั้นเรียกวา " มรณาสันนวิถที างปญจทวาร " ชื่อ มรณาสันนวิถที างปญจทวาร ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต ชนิด คุณสมบัติ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ นัยที่ 1 นัยที่ 2 นัยที่ 3 นัยที่ 4

ภ ภ ภ ภ

ตี ตี ตี ตี

น น ตี ตี

ท ท ตี ตี

ป ป น น

วิ วิ ท ท

สํ สํ ป ป

สัน สัน วิ วิ

วุ วุ สํ สํ

ช ช สัน สัน

ช ช วุ วุ

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ต ต ช ช

ต ต ช ช

จุติ ภ จุติ ภ

ปฏิ จุติ ปฏิ จุติ

ภ ปฏิ ภ ภ ปฏิ ภ

แตถามีการนึกคิดทางใจเปนอารมณ มรณาสันนวิถนี นั้ เรียกวา " มรณาสันนวิถที างมโนทวาร " ชื่อ

มรณาสันนวิถที างมโนทวาร

142 ขณะจิตที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ชนิด ภวังคจิต วิถีจิต ภวังคจิต คุณสมบัติ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ นัยที่ 1 นัยที่ 2 นัยที่ 3 นัยที่ 4

ภ ภ ภ ภ

น น น น

ท ท ท ท

มโน มโน มโน มโน

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ช ช ช ช

ต ต จุติ ภ

ต ต ปฏิ จุติ

จุติ ปฏิ ภ ภ จุติ ปฏิ ภ ภ ปฏิ ภ

เจตสิก เจตสิก คือ ธรรมชาติสิ่งหนึ่งซึง่ ประกอบกับจิต และปรุงแตงจิตใหประพฤติเปนไป ตามนัน้ อาการที่ประกอบกับจิตนั้นเรียกวา " เจโตยุตตลักขณัง " คือมีสภาพที่ประกอบกับจิต บริบูรณดวยลักษณะ 4 ประการคือ เกิดพรอมกับจิต ดับพรอมกับจิต มีอารมณเดียวกับจิต และอาศัยวัตถุเดียวกับจิต เจตสิกนัน้ มีจาํ นวน 52 ดวง และมีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการนอมไปสูอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการเกิดรวมกับจิต เปนกิจ 3 . มีการรับอารมณอยางเดียวกับจิต เปนผล 4 . มีวิญญาณ เปนเหตุใกล อนึ่ง เจตสิกนี้แมวา จะเปนสิ่งที่ปรุงแตงจิต ใหจิตประพฤติเปนไปตามลักษณะของเจตสิก ก็ตาม แตก็ตอ งถือวาจิตเปนใหญเปนประธาน เพราะเจตสิกเปนสิง่ ที่ตองอาศัยจิตเกิด เจตสิก ทั้ง 52 ดวงแบงเปน 3 ประเภท ไดแก อัญญสมานาเจตสิก 13 ดวง อกุศลเจตสิก 14 ดวง และ โสภณเจตสิก 25 ดวง

1 . อัญญสมานาเจตสิก 13 อัญญสมานาเจตสิก เปนเจตสิกที่เสมอเหมือนกับสภาพอื่นได หมายความวา เปน เจตสิกที่ประกอบกับธรรมที่เปนกุศล อกุศล หรืออัพยากตะก็ได เมือ่ ประกอบกับธรรมชนิดใด ก็มีสภาพเปนชนิดนัน้ ไปดวย กลาวคือ ถาเกิดรวมกับกุศลก็เรียกวาเปนกุศลไปดวย ถาเกิด รวมกับอกุศลก็เรียกวาเปนอกุศลไปดวย ถาเกิดรวมกับอัพยากตะก็เรียกวาเปนอัพยากตะไปดวย

143 โดยอัญญสมานาเจตสิกนี้มี 13 ดวง แบงเปน 2 ประเภท ไดแก สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 ดวง และปกิณกเจตสิกอีก 6 ดวง

1.1 สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 สัพพจิตตสาธารณเจตสิก เปนเจตสิกที่สาธารณะแกจติ ทั้งหมด หมายความวา จิต ทั้งหมดซึ่งมีจาํ นวน 86 ดวงนั้น เมื่อจิตดวงใดเกิดขึ้น เจตสิกทัง้ 7 ดวงนี้ยอมเกิดประกอบกับจิต นั้นพรอมกันทัง้ 7 ดวงเสมอไปไมมีเวนเลย ดังนั้นจึงไดชอื่ วาเปนเจตสิกที่สาธารณะแกจิตทั้งหมด สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทัง้ 7 ดวงมีดังนี้

1.1.1 ผัสสเจตสิก ผัสสเจตสิก คือ การกระทบอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการกระทบอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการประสานอารมณ วัตถุ วิญญาณ เปนกิจ 3 . มีการประชุมพรอมกัน เปนผล 4 . มีอารมณปรากฏ เปนเหตุใกล

1.1.2 เวทนาเจตสิก 5 เวทนาเจตสิก คือ การเสวยอารมณ กลาวอยางธรรมดาสามัญก็คือความรูสึก คือรูสึก วาสบายหรือไมสบาย แยกตามประเภทแหงความเปนใหญในการรูสึกเปน 5 ดวง ไดแก

1.1.2.1 สุขเวทนาเจตสิก สุขเวทนาเจตสิก คือ ความสุขสบายทางกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสัมผัสถูกตองกับอารมณที่ดี เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหสัมปยุตตธรรมเจริญ เปนกิจ 3 . มีความชื่นชมยินดีทางกาย เปนผล 4 . มีกายประสาท เปนเหตุใกล

1.1.2.2 ทุกขเวทนาเจตสิก ทุกขเวทนาเจตสิก คือ ความทุกขยากลําบากกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสัมผัสถูกตองกับอารมณที่ไมดี เปนลักษณะ

144 2 . มีการทําใหสัมปยุตตธรรมเศราหมอง เปนกิจ 3 . มีความอาพาธทางกาย เปนผล 4 . มีกายประสาท เปนเหตุใกล

1.1.2.3 โสมนัสเวทนาเจตสิก โสมนัสเวทนาเจตสิก คือ ความสุขความสบายใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเสวยอารมณที่ดี เปนลักษณะ 2 . มีการทําจิตใหอยูรวมกับอารมณที่ดี เปนกิจ 3 . มีความชื่นชมยินดีทางใจ เปนผล 4 . มีความสงบกายสงบใจ เปนเหตุใกล

1.1.2.4 โทมนัสเวทนาเจตสิก โทมนัสเวทนาเจตสิก คือ ความทุกขใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเสวยอารมณที่ไมดี เปนลักษณะ 2 . มีการทําจิตใหอยูรวมกับอารมณที่ไมดี เปนกิจ 3 . มีความอาพาธทางใจ เปนผล 4 . มีหทัยวัตถุ เปนเหตุใกล

1.1.2.5 อุเบกขาเจตสิก อุเบกขาเจตสิก คือ ความรูสึกเฉยๆ ไมทุกข ไมสุข มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเสวยอารมณปานกลาง เปนลักษณะ 2 . มีการรักษาสัมปยุตตธรรม ไมใหเจริญ ไมใหเศราหมอง เปนกิจ 3 . มีความเฉยๆ เปนผล 4 . มีจิตที่ไมยนิ ดี เปนเหตุใกล

1.1.3 สัญญาเจตสิก สัญญาเจตสิก คือ ความจําหมายอารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความจํา เปนลักษณะ 2 . มีการหมายไวและจําได เปนกิจ 3 . มีความจําไดในสิ่งทีห่ มายไว เปนผล

145 4 . มีอารมณที่ปรากฏ เปนเหตุใกล

1.1.4 เจตนาเจตสิก เจตนาเจตสิก คือ การขวนขวายที่จะใหเปนไปในอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการชักชวน เปนลักษณะ 2 . มีการขวนขวาย เปนกิจ 3 . มีการจัดแจง เปนผล 4 . มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ และวิญญานขันธ เปนเหตุใกล

1.1.5 เอกัคคตาเจตสิก เอกัคคตาเจตสิก คือ การตั้งมั่นอยูในอารมณเดียว มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมฟงุ ซาน เปนลักษณะ 2 . มีการรวบรวมสหชาตธรรม เปนกิจ 3 . มีความสงบ เปนผล 4 . มีสุขเวทนา เปนเหตุใกล

1.1.6 ชีวิตินทรียเจตสิก ชีวิตินทรียเจตสิก คือ การรักษาธรรมใหทรงอยูตงั้ อยูได มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเลี้ยงรักษาสหชาตธรรม เปนลักษณะ 2 . มีความตัง้ อยูและเปนไปได เปนกิจ 3 . มีการทรงอยูไดซึ่งสหชาตธรรม เปนผล 4 . มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ และวิญญานขันธ เปนเหตุใกล

1.1.7 มนสิการเจตสิก มนสิการเจตสิก คือ การใสใจในอารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหสัมปยุตตธรรมใสใจในอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหสัมปยุตตธรรมประกอบในอารมณ เปนกิจ 3 . มีการทําใหสัมปยุตตธรรมมีหนาที่เฉพาะอารมณ เปนผล 4 . มีอารมณ เปนเหตุใกล

1.2 ปกิณกเจตสิก 6 ปกิณกเจตสิก เปนเจตสิกที่ประกอบไดกับจิตเปนบางดวง มี 6 ดวง ดังตอไปนี้

146 1.2.1 วิตกเจตสิก วิตกเจตสิก คือ การยกจิตขึ้นสูอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการยกจิตขึ้นสูอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการกระทําใหจิตกระทบอารมณบอยๆ เปนกิจ 3 . มีจิตทีท่ รงอยูในอารมณ เปนผล 4 . มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ และวิญญาณขันธ เปนเหตุใกล

1.2.2 วิจารเจตสิก วิจารเจตสิก คือ การประคองจิตใหอยูในอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการพิจารณาอารมณบอยๆ เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหสหชาตธรรมประกอบในอารมณ เปนกิจ 3 . มีการตกแตงจิตใหอยูในอารมณ เปนผล 4 . มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ และวิญญาณขันธ เปนเหตุใกล

1.2.3 อธิโมกขเจตสิก อธิโมกขเจตสิก คือ การตัดสินอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสันนิษฐานอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการไมโยกไมคลอน เปนกิจ 3 . มีการตัดสิน เปนผล 4 . มีการสันนิษฐานธรรม เปนเหตุใกล

1.2.4 วิริยเจตสิก วิริยเจตสิก คือ ความเพียรเพื่อใหไดอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความอุตสาหะ เปนลักษณะ 2 . มีการอุดหนุนค้าํ ชูสหชาตธรรม เปนกิจ 3 . มีการไมยอ ทอถดถอย เปนผล 4 . มีความสลด เปนเหตุใกล

1.2.5 ปติเจตสิก ปติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้มอิ่มใจในอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความอิม่ ใจ เปนลักษณะ

147 2 . มีการทํากายและใจใหอมิ่ เอิบ เปนกิจ 3 . มีกายและใจเฟองฟู เปนผล 4 . มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ และวิญญาณขันธ เปนเหตุใกล

1.2.6 ฉันทเจตสิก ฉันทเจตสิก คือ ความพอใจในอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความปรารถนาเพื่อจะกระทํา เปนลักษณะ 2 . มีการแสวงอารมณ เปนกิจ 3 . มีความปรารถนาอารมณ เปนผล 4 . มีอารมณ เปนเหตุใกล

2 . อกุศลเจตสิก 14 อกุศลเจตสิก คือ เจตสิกทีช่ ั่ว ที่บาป ที่หยาบ ที่ไมงาม ที่ไมฉลาด อกุศลเจตสิกนี้ เมื่อประกอบกับจิตแลว ก็ทาํ ใหจิตเศราหมองเรารอน และทําใหเสียศีลธรรม อกุศลเจตสิกนี้ ประกอบกับอกุศลจิต 12 ดวงเทานัน้ ไมประกอบกับจิตอยางอืน่ เลย และเพราะเหตุวาอกุศล เจตสิก ประกอบกับอกุศลจิต ดังนัน้ จึงไดชื่อวาอกุศลเจตสิก ไมชื่อวาอโสภณเจตสิก เพราะถา ชื่อวาอโสภณเจตสิกแลว ก็จะมีความหมายไปวา ตองประกอบกับอโสภณจิตไดทั้งหมด กลาวคือ ตองประกอบกับอเหตุกจิตดวย อนึ่ง อกุศลเจตสิกนี้มี 14 ดวง แบงออกเปน 5 พวก ไดแก โมจตุกเจตสิก 4 ดวง โลติกเจตสิก 3 ดวง โทจตุกเจตสิก 4 ดวง ถีทกุ เจตสิก 2 ดวง และ วิจิกิจฉาเจตสิก 1 ดวง

2.1 โมจตุกเจตสิก 4 โมจตุกเจตสิก หมายความวา เปนเจตสิกพวกที่ประกอบดวยโมหะซึ่งมี 4 ดวง ไดแก โมหเจตสิก อหิริเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก โมจตุกเจตสิกนี้ ประกอบกับ อกุศลจิตไดทั้งหมด คือไดทงั้ 12 ดวง ดังนั้นจึงมีชื่ออีกชื่อเรียกวา " สัพพากุศลสาธารณเจตสิก " หมายความวา เปนเจตสิกที่สาธารณแกอกุศลจิตทั้งหมด

2.1.1 โมหเจตสิก โมหเจตสิก คือ ความหลงความไมรูจริงตามสภาวะของอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมรู เปนลักษณะ

148 2 . มีการปกปดไวซึ่งสภาวะแหงอารมณ เปนกิจ 3 . มีความมืดมน เปนผล 4 . มีการไมเอาใจใสเปนอันดีตออารมณนั้น เปนเหตุใกล

2.1.2 อหิริเจตสิก อหิริเจตสิก คือ ความไมละอายตอการทําบาปอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมเกลียดตอกายทุจริตและวจีทุจริต เปนลักษณะ 2 . มีการกระทําบาป เปนกิจ 3 . มีความไมเกลียดตอบาปกรรม เปนผล 4 . มีการไมเคารพตน เปนเหตุใกล

2.1.3 อโนตตัปปเจตสิก อโนตตัปเจตสิก คือ ความไมสะดุงกลัวตอผลของบาปอกุศล มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมสะดุงกลัวตอผลของบาป เปนลักษณะ 2 . มีการกระทําบาป เปนกิจ 3 . มีความไมเกลียดตอบาปกรรม เปนผล 4 . มีการไมเคารพผูอื่น เปนเหตุใกล

2.1.4 อุทธัจจเจตสิก อุทธัจจเจตสิก คือ ความฟุงซานไปในอารมณตางๆ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมสงบ เปนลักษณะ 2 . มีการไมมนั่ ในอารมณเดียว เปนกิจ 3 . มีความหวัน่ ไหว เปนผล 4 . มีการไมเอาใจใสเปนอันดีตออารมณนั้น เปนเหตุใกล

2.2 โลติกเจตสิก 3 โลติกเจตสิก หมายความวา เปนเจตสิกพวกโลภะ มี 3 ดวงดวยกัน ไดแก โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และมานเจตสิก โลติกเจตสิกนี้ ประกอบไดกับเฉพาะโลภมูลจิต 8 ดวงเทานัน้

2.2.1 โลภเจตสิก โลภเจตสิก คือ ความอยากได ความติดใจในอารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้

149 1 . มีการยึดมัน่ ซึ่งอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการติดในอารมณ เปนกิจ 3 . มีการไมบริจาค เปนผล 4 . มีการดูดวยความยินดีในสังโยชน เปนเหตุใกล

2.2.2 ทิฏฐิเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก คือ ความเห็นผิดจากความเปนจริงในสภาวธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการถือมัน่ ดวยหาปญญามิได เปนลักษณะ 2 . มีการถือผิดจากสภาวะ เปนกิจ 3 . มีการยึดถือความเห็นผิด เปนผล 4 . มีความไมตองการเห็นพระอริยะ เปนตน เปนเหตุใกล

2.2.3 มานเจตสิก มานเจตสิก คือ ความถือตนความทะนงตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทะนงตน เปนลักษณะ 2 . มีการยกยองสัมปยุตตธรรม เปนกิจ 3 . มีความปรารถนาสูง เปนผล 4 . มีโลภจิตทีเ่ ปนทิฏฐิวิปปยุตต เปนเหตุใกล

2.3 โทจตุกเจตสิก 4 โทจตุกเจตสิก หมายความวา เปนเจตสิกพวกโทสะ มี 4 ดวงดวยกัน ไดแก โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก โทจตุกเจตสิกนี้ ประกอบไดแต เฉพาะโทสมูลจิต 2 ดวงเทานั้น

2.3.1 โทสเจตสิก โทสเจตสิก คือ ความโกรธ ความไมชอบใจในอารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความหยาบกระดาง เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหจิตตนและผูอ ื่นหมนไหม เปนกิจ 3 . มีการประทุษรายการทําลาย เปนผล 4 . มีอาฆาตวัตถุ เปนเหตุใกล

2.3.2 อิสสาเจตสิก

150 อิสสาเจตสิก คือ ความริษยาไมยนิ ดีในลาภยศชื่อเสียงของผูอนื่ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการริษยาในสมบัติของผูอื่น เปนลักษณะ 2 . มีการไมชอบใจในความมั่งมีของผูอนื่ เปนกิจ 3 . มีการเบือนหนาหนีจากสมบัติของผูอื่น เปนผล 4 . มีสมบัติของผูอื่น เปนเหตุใกล

2.3.3 มัจฉริยเจตสิก มัจฉริยเจตสิก คือ ความตระหนี่เหนียวแนน ไมยอมเสียสละ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการซอนสมบัติของตน เปนลักษณะ 2 . มีการไมชอบใหสมบัติของตนเปนสาธารณแกผูอื่น เปนกิจ 3 . มีความหดหู หวงแหน ไมเผื่อแผ เปนผล 4 . มีสมบัติของตน เปนเหตุใกล

2.3.4 กุกกุจจเจตสิก กุกกุจจเจตสิก คือ ความเดือดรอนใจในอกุศลกรรมทีก่ ระทําไปแลว และในกุศลกรรมที่ ยังไมไดกระทํา มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความเดือดรอนเนืองๆในภายหลัง เปนลักษณะ 2 . มีการตามเดือดรอนเนืองๆ ถึงบาปที่ไดกระทําแลว และบุญที่ไมไดกระทํา เปนกิจ 3 . มีความกินแหนงแคลงใจอยู เปนผล 4 . มีการทําบาป มิไดกระทําบุญ เปนเหตุใกล

2.4 ถีทุกเจตสิก 2 ถีทุกเจตสิก หมายความวา เปนเจตสิกพวกถีนะมี 2 ดวงดวยกัน ไดแก ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ถีทุกเจตสิกนี้ ประกอบไดเฉพาะกับอกุศลจิตที่เปนสสังขาริก 5 ดวงเทานัน้

2.4.1 ถีนเจตสิก ถีนเจตสิก คือ ความหดหูเ ซื่องซึม ไมใสใจในอารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมอตุ สาหะ เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความเพียร เปนกิจ 3 . มีความทอถอย เปนผล 4 . มีการไมเอาใจใสเปนอันดีตออารมณนั้น เปนเหตุใกล

151 2.4.2 มิทธเจตสิก มิทธเจตสิก คือ เจตสิกทีท่ ําใหเจตสิกทีเ่ กิดรวมกับตนใหหดหูทอถอย งวงเหงาหาวนอน จับอารมณไมติด มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมควรแกการงาน เปนลักษณะ 2 . มีการกัน้ กําบังกุศล เปนกิจ 3 . มีความทอถอย เปนผล 4 . มีการไมเอาใจใสเปนอันดีตออารมณนั้น เปนเหตุใกล

2.5 วิจิกิจฉาเจตสิก วิจิกิจฉาเจตสิก ไมมีพวก มีแตตัวดวงเดียว และประกอบไดเฉพาะแตโมหมูลจิตที่เปน วิจิกิจฉาดวงเดียวเทานั้น วิจิกิจฉาเจตสิก คือ ความสงสัยลังเลใจ ความตัดสินไมไดในอารมณ ตางๆ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความสงสัย เปนลักษณะ 2 . มีการหวัน่ ไหวในอารมณ เปนกิจ 3 . มีการไมสามารถตัดสินใจได เปนผล 4 . มีการไมเอาใจใสเปนอันดีตออารมณนั้น เปนเหตุใกล

3 . โสภณเจตสิก 25 โสภณเจตสิก เปนเจตสิกทีด่ ีงาม ไมเศราหมอง ไมเรารอน เมื่อประกอบกับจิตก็ทําให จิตนั้นดีงาม ปราศจากความเรารอน ใหจิตตั้งอยูในศีลธรรม มีการเวนจากบาป เวนจากทุจริต ตางๆ ฉะนั้นเจตสิกประเภทนี้จึงเรียกวา " โสภณเจตสิก " จิตทีม่ ีโสภณเจตสิกประกอบก็เรียกวา " โสภณจิต " สวนจิตใดที่ไมมโี สภณเจตสิกประกอบก็เรียกวา " อโสภณจิต " โสภณเจตสิกนั้น มี จํานวน 25 ดวง และยังแบงออกไดเปน 4 พวก คือ โสภณสาธารณเจตสิก 19 ดวง วิรตีเจตสิก 3 ดวง อัปปมัญญาเจตสิก 2 ดวง และปญญาเจตสิก 1 ดวง

3.1 โสภณสาธารณเจตสิก 19 โสภณสาธารณเจตสิก เปนเจตสิกที่สาธารณะกับโสภณจิตทั้งหมด หมายความวา ไม วาโสภณจิตดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น จะตองมีเจตสิกนี้ประกอบพรอมกันทัง้ 19 ดวง ดังตอไปนี้

3.1.1 ศรัทธาเจตสิก

152 ศรัทธาเจตสิก คือ ความเชื่อถือเหตุผลตามความเปนจริง ความเลือ่ มใสในกุศลธรรม ความเชื่อในฝายดี เชน เชื่อคําสั่งสอนของพระพุทธเจา มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความเชือ่ ถือในอารมณที่ดี เปนลักษณะ 2 . มีการเลื่อมใส เปนกิจ 3 . มีความไมขุนมัว เปนผล 4 . มีปูชนียวัตถุ เปนเหตุใกล

3.1.2 สติเจตสิก สติเจตสิก คือ ความระลึกรูอารมณ และยับยัง้ มิใหจิตตกไปในอกุศล ความระลึก อารมณที่เปนกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความระลึกไดในอารมณเนืองๆ เปนลักษณะ 2 . มีการไมหลงลืม เปนกิจ 3 . มีการรักษาอารมณ เปนผล 4 . มีการจําไดแมนยํา เปนเหตุใกล

3.1.3 หิริเจตสิก หิริเจตสิก คือ ความละอายตอการทําบาปทําชั่ว มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความเกลียดตอบาป เปนลักษณะ 2 . มีการไมทาํ บาป เปนกิจ 3 . มีความละอายตอบาป เปนผล 4 . มีความเคารพในตน เปนเหตุใกล

3.1.4 โอตตัปปเจตสิก โอตตัปปเจตสิก คือ ความสะดุงกลัวตอผลของบาปอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความสะดุงกลัวตอผลของบาป เปนลักษณะ 2 . มีการไมทาํ บาป เปนกิจ 3 . มีความละอายตอบาป เปนผล 4 . มีความเคารพผูอื่น เปนเหตุใกล

3.1.5 อโลภเจตสิก

153 อโลภเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไมอยากได ไมของในอารมณ ไมติดในอารมณ เมือ่ ประสบในอารมณนั้น จะพยายามใหหลุดออกไปจากอารมณนนั้ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมติดอารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการไมหวงแหน เปนกิจ 3 . มีการไมยดึ มั่น เปนผล 4 . มีการเอาใจใสเปนอันดีตอ อารมณนั้น เปนเหตุใกล

3.1.6 อโทสเจตสิก อโทสเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไมโกรธ ไมหยาบคาย ไมปองราย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมดุราย เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความอาฆาต เปนกิจ 3 . มีความรมเย็น เปนผล 4 . มีการเอาใจใสเปนอันดีตอ อารมณนั้น เปนเหตุใกล

3.1.7 ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก คือ การทําใจเปนกลาง ไมมอี คติลําเอียง วางใจเฉยในอารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทรงไวซึ่งจิตและเจตสิกใหเสมอภาค เปนลักษณะ 2 . มีการหามความยิง่ หยอน เปนกิจ 3 . มีความเปนกลาง เปนผล 4 . มีสัมปยุตตธรรม เปนเหตุใกล

3.1.8 กายปสสัทธิเจตสิก กายปสสัทธิเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหเจตสิกสงบจากอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหเจตสิกสงบจากความเรารอน เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความเรารอนของเจตสิก เปนกิจ 3 . มีความเยือกเย็น ไมเปลี่ยนแปลง เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.9 จิตตปสสัทธิเจตสิก จิตตปสสัทธิเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหจิตสงบจากอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้

154 1 . มีการทําใหจิตสงบจากความเรารอน เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความเรารอนของจิต เปนกิจ 3 . มีความเยือกเย็น ไมเปลี่ยนแปลง เปนผล 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.1.10 กายลหุตาเจตสิก กายลหุตาเจตสิก คือ สภาวะทีท่ ําใหเจตสิกเบาจากอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหเจตสิกสงบจากความหนัก เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความหนักของเจตสิก เปนกิจ 3 . มีความไมหนักของเจตสิก เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.11 จิตตลหุตาเจตสิก จิตตลหุตาเจตสิก คือ สภาวะทีท่ ําใหจิตเบาจากอกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหจิตสงบจากความหนัก เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความหนักของจิต เปนกิจ 3 . มีความไมหนักของจิต เปนผล 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.1.12 กายมุทุตาเจตสิก กายมุทุตาเจตสิก คือ สภาวะทีท่ ําใหเจตสิกมีความออนโยน มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหเจตสิกสงบจากความแข็งกระดาง เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความแข็งกระดางของเจตสิก เปนกิจ 3 . มีความไมโกรธไมอาฆาต เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.13 จิตตมุทุตาเจตสิก จิตตมุทุตาเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหจติ มีความออนโยน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหจิตสงบจากความแข็งกระดาง เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความแข็งกระดางของจิต เปนกิจ 3 . มีความไมโกรธไมอาฆาต เปนผล

155 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.1.14 กายกัมมัญญตาเจตสิก กายกัมมัญญตาเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหเจตสิกควรแกการงาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหเจตสิกสงบจากความไมควรแกการงาน เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความไมควรแกการงานของเจตสิก เปนกิจ 3 . ทําใหเจตสิก มีอารมณสมควรแกการงาน เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.15 จิตตกัมมัญญตาเจตสิก จิตตกัมมัญญตาเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหจิตควรแกการงาน มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหจิตสงบจากความไมควรแกการงาน เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความไมควรแกการงานของจิต เปนกิจ 3 . ทําใหจิต มีอารมณสมควรแกการงาน เปนผล 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.1.16 กายปาคุญญตาเจตสิก กายปาคุญญตาเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหเจตสิกคลองแคลว มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมอาพาธของเจตสิก เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความอาพาธของเจตสิก เปนกิจ 3 . มีความปราศจากโทษ เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.17 จิตตปาคุญญตาเจตสิก จิตตปาคุญญตาเจตสิก คือ สภาวะที่ทาํ ใหจิตคลองแคลว มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมอาพาธของจิต เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความอาพาธของจิต เปนกิจ 3 . มีความปราศจากโทษ เปนผล 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.1.18 กายุชุกตาเจตสิก กายุชกุ ตาเจตสิก คือ สภาวะทีท่ ําใหเจตสิกซื่อตรง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้

156 1 . มีความซื่อตรงของเจตสิก เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความไมซื่อตรงของเจตสิก เปนกิจ 3 . มีความซื่อตรงของเจตสิก เปนผล 4 . มีจิต เปนเหตุใกล

3.1.19 จิตตุชุกตาเจตสิก จิตตุชุกตาเจตสิก คือ สภาวะทีท่ ําใหจิตซื่อตรง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความซื่อตรงของจิต เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความไมซื่อตรงของจิต เปนกิจ 3 . มีความซื่อตรงของจิต เปนผล 4 . มีเจตสิก เปนเหตุใกล

3.2 วิรตีเจตสิก 3 วิรตีเจตสิก เปนเจตสิกที่เวนจากบาปกรรมทั้งปวง อันเกิดจากกายทุจริตและวจีทุจริต วิรตีเจตสิกมี 3 ดวง ไดแก สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวเจตสิก

3.2.1 สัมมาวาจาเจตสิก สัมมาวาจาเจตสิก คือ การพูดชอบ พูดสิ่งที่เปนกุศล มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมลว งวจีทุจริต เปนลักษณะ 2 . มีการเวนจากวจีทุจริต เปนกิจ 3 . มีการไมทจุ ริต เปนผล 4 . มีคุณธรรมคือ ศรัทธา หิริโอตตัปปะ เปนเหตุใกล

3.2.2 สัมมากัมมันตเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก คือ การประกอบการงานชอบ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไมลว งกายทุจริต เปนลักษณะ 2 . มีการเวนจากกายทุจริต เปนกิจ 3 . มีการไมทจุ ริต เปนผล 4 . มีคุณธรรมคือ ศรัทธา หิริโอตตัปปะ เปนเหตุใกล

3.2.3 สัมมาอาชีวเจตสิก สัมมาอาชีวเจตสิก คือ ความเปนอยูชอบ การเลี้ยงชีพชอบ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้

157 1 . มีการไมลว งกายทุจริตและวจีทุจริต เปนลักษณะ 2 . มีการเวนจากกายทุจริตและวจีทุจริต เปนกิจ 3 . มีการไมทจุ ริต เปนผล 4 . มีคุณธรรมคือ ศรัทธา หิริโอตตัปปะ เปนเหตุใกล

3.3 อัปปมัญญาเจตสิก 2 อัปปมัญญาเจตสิก เปนเจตสิกที่มีธรรมอันแผไปไมมีประมาณ จะเรียกวา " พรหมวิหาร " ก็ได ที่เรียกวา " อัปปมัญญา " นัน้ เพราะแผไปในสัตวทั้งหลายจนประมาณมิได สวนที่เรียกวา " พรหมวิหาร " นัน้ เพราะเปนธรรมเครื่องอยูของพรหม อัปปมัญญาเจตสิกนี้มี 2 ดวง ไดแก กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก

3.3.1 กรุณาเจตสิก กรุณาเจตสิก คือ ความสงสาร อยากชวยเหลือใหเขาพนทุกข มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไดเห็นผูอื่นเปนทุกข ยอมมีความสงสาร เปนลักษณะ 2 . มีการไมชอบเห็นทุกขของผูอื่น เปนกิจ 3 . มีความไมเบียดเบียน เปนผล 4 . มีการไดเห็นสัตวอนาถา อันถูกทุกขครอบงํา เปนเหตุใกล

3.3.2 มุทิตาเจตสิก มุทิตาเจตสิก คือ ความพลอยยินดีในสุขของเขา มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความยินดีดวยในความสุขของผูอื่น เปนลักษณะ 2 . มีการไมอจิ ฉาริษยา เปนกิจ 3 . มีความปรารถนาใหผูอนื่ เจริญ เปนผล 4 . มีการไดเห็นสัตวมีสมบัติ เปนเหตุใกล

3.4 ปญญาเจตสิก ปญญาเจตสิก มีดวงเดียว ไมมีพวก เปนเจตสิกที่มีความรูเปนใหญ เปนประธาน ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทัง้ ปวง ปญญาเจตสิก คือ ความรูในเหตุผลแหงความจริงของ สภาวธรรมและทําลายความเห็นผิด มีลักขณาทิจตุกะดังนี้

158 1 . มีความรูแจงซึ่งสภาวธรรม เปนลักษณะ 2 . มีการกําจัดความมืดบอดแหงปญญา เปนกิจ 3 . มีความไมหลงผิด หรือไมเห็นผิด เปนผล 4 . มีสมาธิ เปนเหตุใกล

รูป รูป หมายถึง ธรรมชาติที่แตกดับหรือผันแปร ดวยความเย็นและความรอน ถาเปนรูปที่ มีวิญญาณครอง จะมีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสลายแปรปรวน เปนลักษณะ 2 . มีการแยกออกจากกันกับจิตได เปนกิจ 3 . มีความเปนอัพยากตธรรม เปนผล 4 . มีวิญญาณ เปนเหตุใกล อนึ่ง รูปสามารถแบงเปนรูปบัญญัติและรูปปรมัตถ รูปบัญญัติ คือ การบัญญัติชื่อใหรูป ตางๆเพื่อใชเรียกใชสื่อสาร เพื่อใหเขาใจระหวางมนุษยดวยกันได สวนรูปปรมัตถ คือ รูปทีม่ ีอยู จริงๆโดยสภาวะ ทุกคนที่ไดสัมผัสจะรูสึกเหมือนกันหมด โดยรูปนัน้ สามารถแบงออกเปน 5 นัย ไดแก รูปสมุทเทสนัย รูปวิภาคนัย รูปสมุฏฐานนัย รูปกลาปนัย และรูปปวัตติกมนัย

1 . รูปสมุทเทสนัย รูปสมุทเทสนัย คือ การแสดงถึงรูปโดยสังเขป เพื่อใหทราบถึงลักษณะของรูปตามนัย แหงปรมัตถธรรม โดยแบงเปน 28 รูป ไดแก มหาภูตรูป 4 และอุปาทยรูป 24 โดยอุปาทยรูป 24 นั้น ประกอบดวย ปสาทรูป 5 โคจรรูป 4 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 อาหารรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 วิญญัติรูป 2 วิการรูป 3 และลักขณรูป 4

1.1 มหาภูตรูป 4 มหาภูตรูป 4 เปนรูปที่เปนใหญ เปนประธาน เปนที่อาศัยแกรูปอื่นๆทั้งหลาย รูปอื่นๆ ทั้งหมด ถาไมมีมหาภูตรูปรองรับก็เกิดขึ้นไมได มหาภูตรูปมีอยูทั่วไปในโลกธาตุทั้งปวง อนึง่ สาเหตุที่ไดชื่อวา " มหาภูตรูป " นัน้ ก็เพราะ 1 . เปนธาตุทปี่ รากฏอยู เปนใหญ เปนประธาน เปนที่อาศัยแหงรูปทั้งหลาย

159 2 . มีลักษณะที่หลอกลวง เกิดและดับดุจปศาจ 3 . เปนสิ่งที่ตอ งบริหารมากเลี้ยงดูมาก เพราะยอยยับแตกดับอยูเสมอ 4 . มีอาการเปลี่ยนแปลงมาก เคลื่อนไหวมาก 5 . เปนของใหญและมีจริง ตองพิจารณามาก มหาภูตรูปทัง้ 4 นั้น ไดแก ปฐวี อาโป เตโช และวาโย

1.1.1 ปฐวี ปฐวีรูป หรือ ปฐวีธาตุ คือ รูปปรมัตถที่มีลักษณะแข็งหรือออน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแข็ง เปนลักษณะ 2 . มีการทรงอยู เปนกิจ 3 . มีการรับไว เปนผล 4 . มีธาตุทั้ง 3 ที่เหลือ เปนเหตุใกล ธรรมชาติทที่ รงภาวะความแข็งหรือความกระดาง ที่มีอยูในกายนั้น เรียกวา " ปฐวีธาตุ " ที่วา ปฐวีธาตุมีความแข็งเปนลักษณะนัน้ เพราะวาถานําไปเปรียบกับธาตุอื่นแลว ธาตุนี้มีสภาพ แข็งกวา ในลักขณาทิจตุกะไดแสดงไววาปฐวีมีความแข็งเปนลักษณะ โดยไมไดกลาวถึงความ ออนดวย แทจริงแลว ความออนก็คือความแข็งทีม่ ีอยูน อยนั่นเอง นอกจากปฐวีธาตุแลว รูป อื่นๆไมสามารถทําใหความแข็งหรือความออนปรากฏขึ้นแกการสัมผัสถูกตองได วัตถุใดมีปฐวีธาตุ มากก็แข็งมาก วัตถุใดมีปฐวีธาตุนอยก็แข็งนอย เราจึงรูสึกวาออน โดยปฐวีธาตุนี้ยงั แบง ออกเปน 4 ประเภท ไดแก ลักขณปฐวี สสัมภารปฐวี กสิณปฐวี และปกติปฐวี

1.1.1.1 ลักขณปฐวี ลักขณปฐวี หรือ ปรมัตถปฐวี คือ ปฐวีธาตุที่เปนปรมัตถ มีคําอธิบายวา ปฐวีธาตุ เปนธาตุปรมัตถชนิดหนึง่ ซึง่ มีลักษณะแข็งหรือออน เรียกวา " ธาตุดิน " และธาตุดินในที่นี้ หมายถึงธาตุดินที่เปนปรมัตถ คือมีลักษณะแข็งหรือออน ไมใชดินที่เรามองเห็นกันอยูน ี้ ดินที่เรา มองเห็นกันอยูน ี้ เปนดินโดยสมมุติ ไมใชดินโดยปรมัตถ ดินโดยปรมัตถที่เรียกกันวา " ปฐวีธาตุ " นั้น จะตองหมายถึงลักษณะที่ปรากฏทางกายปสาท เมื่อมีการกระทบเกิดขึ้น ความแข็งหรือ ออนนัน่ แหละที่เรียกวาปฐวีธาตุ เราไดกระทบกับปฐวีธาตุ ปฐวีธาตุนี้มองเห็นไมไดแตกระทบได การที่เรามองเห็นนั้น เปนการเห็นธาตุตา งๆหลายๆปรมาณูที่รวมกันเปนกลุมเปนกอน เปนแทง เปนชิน้ และปรมาณูที่รวมกันนั้นๆก็ทึบแสง คือแสงผานทะลุไปไมได จึงปรากฏเห็นเปนสีตางๆ

160 เรียกสีตางๆที่เห็นนั้นวา “ รูปารมณ ” ถาปรมาณูที่รวมตัวกันเปนกลุมนัน้ ๆแสงผานทะลุได ก็จะไม ปรากฏเห็นเปนสีตางๆ เราก็จะไมสามารถมองเห็นได เพราะฉะนัน้ ปฐวีธาตุหรือปฐวีรูป จึงมอง ไมเห็นแตกระทบได และปฐวีธาตุหรือปฐวีรูปนี้ รูไดดวยกายปสาทเทานัน้ รูดวยปสาทอืน่ ๆไมได การที่เรามองเห็นสิง่ ตางๆ แลวรูวาสิ่งนัน้ ออนสิ่งนั้นแข็ง เปนการรูโดยการคิดนึก ไมใชโดย ความรูสึก การรูโดยการคิดนึกนัน้ เปนการรูโดยอาศัยอดีตเคยกระทํามาแลว เคยรูมาแลววา แข็งหรือออน เทากับเอาความจําในอดีตมาตัดสินการเห็นในปจจุบนั อันที่จริงแลว ความแข็ง หรือออนรูไมไดดวยการดู แตรูไดดวยการสัมผัสทางกาย เรียกวา " โผฏฐัพพารมณ " ดังนัน้ ปฐวี ธาตุน้จี งึ มีลักษณะแข็ง ถาวัตถุสิ่งใดมีปฐวีธาตุมากเปนประธานแลว ก็จะปรากฏเปนแข็งมาก เชน เหล็ก หิน ไม ตะกัว่ และทอง เปนตน และถาวัตถุสิ่งหนึง่ สิ่งใดมีปฐวีธาตุเปนสวนนอย ความแข็งก็จะปรากฏนอย เมื่อสัมผัสก็จะรูสึกวาออน เพราะความแข็งปรากฏนอยจึงรูสึกวาออน ฉะนัน้ ธรรมชาติที่กระทบดวยกายปสาทแลว มีความรูสึกวาแข็งหรือออน จัดเปนปฐวีธาตุทงั้ สิ้น เพราะนอกจากปฐวีธาตุแลว รูปอืน่ ๆก็ไมสามารถทําใหเกิดความรูสึกแข็งหรือออนได อนึ่ง ปฐวี ธาตุนี้เปนที่ตั้งเปนที่อาศัยของรูปอื่นๆ เหมือนแผนดินกับสิ่งอื่นๆ ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ถาไม มีแผนดินเสียแลว สิ่งตางๆทั้งที่มีชีวิตและไมมีชวี ิต ก็ดํารงอยูไมได และถาไมมีปฐวีธาตุเสียแลว รูปรางสัณฐาน สีสนั วรรณะ เสียง กลิน่ รส และสัมผัส ก็ปรากฏขึ้นไมได ปฐวีธาตุอาศัย ธาตุที่เหลืออีก 3 เปนปจจัย คือ มีอาโปธาตุเกาะกุม มีเตโชธาตุตามรักษา และมีวาโยธาตุ กระพือพัด

1.1.1.2 สสัมภารปฐวี สสัมภารปฐวี คือ สัมภาระของดิน หรือสุตตันตปฐวี หรือสัมภาระตางๆที่ประชุมกันอยู รวมเรียกวา " ดิน " แบงออกเปน 2 ประการ ไดแก อัชฌัตติกปฐวี และพาหิรปฐวี

ก . อัชฌัตติกปฐวี อัชฌัตติกปฐวี คือ ธาตุดนิ ภายใน หมายถึง ธาตุดินอันเปนสวนประกอบของรางกาย ของเราและสัตวทั้งหลาย โดยยกเอาอาการ 32 ที่มีลักษณะแข็ง สงเคราะหเปนธาตุดินมี 20 อาการ โดยแบงเปนหมวดๆไดดังนี้ 1 . ตจปญจกะ : ผม ขน เล็บ ฟน หนัง 2 . วักกปญจกะ : เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม 3 . ปปผาสปญจกะ : หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด 4 . มัตถลุงคปญจกะ : ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา มันสมอง

161 ข . พาหิรปฐวี พาหิรปฐวี คือ ธาตุดินภายนอก หมายถึง ธาตุดินอันเปนสวนประกอบที่มีอยูในสิ่งที่ ไมมีวิญญาณครอง มีอยูมากมายเหลือทีจ่ ะคณานับได ยกตัวอยางเชน กอนดิน พืน้ ดิน แผนดิน กอนหิน กรวด ทราย โลหะตางๆ แกวแหวน เงินทอง ตะกั่ว เปนตน รวมไปถึง ดินที่เปนอารมณของกสิณก็เรียกวา " ปฐวีกสิณ " หรือ " อารัมมณปฐวี "

1.1.1.3 กสิณปฐวี กสิณปฐวี หรือ อารัมมณปฐวี คือ ดินที่เปนนิมิต ไดแก ดินของบริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต

1.1.1.4 ปกติปฐวี ปกติปฐวี หรือ สัมมติปฐวี คือ ดินตามปกติที่สมมุติเรียกกันวา " ดิน " ไดแก พืน้ ไร พื้นสวน ทองทุงทองนา ผืนปาภูเขา เปนตน

1.1.2 อาโป อาโปรูป หรือ อาโปธาตุ คือ รูปปรมัตถที่รูไดดวยใจ ซึ่งมีลกั ษณะไหลหรือเกาะกุม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไหล เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหรูปที่เกิดรวมดวยมีความเจริญ เปนกิจ 3 . มีความเกาะกุมรูปที่เกิดรวมกัน เปนผล 4 . มีธาตุทั้ง 3 ที่เหลือ เปนเหตุใกล ธรรมชาติทที่ รงภาวะการเกาะกุมก็ดี การไหลก็ดี ทีม่ ีอยูในรางกายนัน้ เรียกวา " อาโปธาตุ " อาโปธาตุนี้ มีจํานวนพอประมาณในวัตถุใด ก็ทาํ หนาที่เกาะกุมอยางเหนียวแนน วัตถุนนั้ จึงแข็ง ถาวัตถุใดมีอาโปธาตุมากก็เกาะกุมไมเหนียวแนน จึงทําใหวัตถุนนั้ ออนลงและ เหลวมากขึน้ หากวาในวัตถุใดมีอาโปธาตุเปนจํานวนมากแลว การเกาะกุมก็นอยลง ทําใหวตั ถุ นั้นเหลวมากจนถึงกับไหลไปได เมื่ออาโปธาตุถูกความรอน ปคฆรณลักษณะ หรือ ทรวภาวะ ปรากฏ คือทําใหไหล แตถาอาโปธาตุถกู ความเย็น อาพันธนลักษณะปรากฏ คือทําใหเกาะกุม เชน เหล็กหรือขี้ผึ้งถูกความรอนก็เหลวจนไหลได เมื่อเย็นแลวกลับแข็งตัวตามเดิม หรือน้าํ แข็ง

162 ถาถูกความรอนก็ละลายและไหล เมื่อใหถูกความเย็นจัด ก็จะจับกันเปนกอนน้าํ แข็งอีก อาโปธาตุ แบงเปน 4 ประเภท ไดแก ลักขณอาโป สสัมภารอาโป กสิณอาโป และปกติอาโป

1.1.2.1 ลักขณอาโป ลักขณอาโป หรือ ปรมัตถอาโป ไดแก ลักษณะไหลและเกาะกุม อันมีอยูท ั้งในสิ่งที่มี วิญญาณครองและในสิง่ ที่ไมมีวิญญาณครอง เรียกวา " ธาตุนา้ํ " และธาตุน้ําในทีน่ ี้ หมายถึงธาตุ น้ําที่เปนปรมัตถ ซึ่งมีลกั ษณะไหลหรือเกาะกุม ไมใชน้ําที่มองเห็นหรือใชดื่มกันอยูน ี้ น้ําที่ใชดื่ม ใชสอยกันอยูน ี้ เปนน้าํ โดยสมมุติ เปนสสัมภารอาโป หรือสมมุติอาโป น้ําโดยปรมัตถที่เรียกวา ธาตุนา้ํ นัน้ จะตองหมายถึง ลักษณะที่ปรากฏรูไดดวยใจเทานั้น ไมสามารถรูไดดวยตา หรือ สัมผัสไดดวยกายปสาท เพียงรูไดดวยใจเทานัน้ ธรรมชาติใดที่รักษาสหชาติรูปไดอยางมัน่ คง ไมใหกระจัดกระจายไป ธรรมชาตินนั้ ชื่อวาอาโป หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา ธรรมชาติที่แผซึมซาบ ทั่วไปในรูปที่เกิดรวมกับตน แลวตั้งอยูกบั รูปเหลานั้น ธรรมชาตินนั้ ชื่อวาอาโป อาโปธาตุนี้ มองเห็นไมได สัมผัสดวยกายไมได สวนน้าํ ทีเ่ รามองเห็นและใชกันอยูนี้ เปนการเห็นธาตุตางๆ รวมกันอยูในลักษณะออนหรือเหลว เพราะมีปฐวีธาตุนอ ยมีอาโปธาตุมาก ไมไดเห็นอาโปธาตุ โดยสวนเดียว ความปรากฏเปนลักษณะออนเหลวของน้ําที่เราใชดื่มกันอยูน ี้ เนื่องดวยอาโปธาตุ นั้นมีปฐวีธาตุเปนที่ตงั้ มีเตโชธาตุตามรักษา และมีวาโยธาตุกระพือพัด เมื่อใดทีอ่ าโปธาตุมาก และปฐวีธาตุนอย ปรมาณูตางๆที่รวมกันอยูน ี้จะไหลไปได คือที่เราพูดกันวาน้าํ ไหลๆนั้น แทจริง เปนการไหลของปฐวีธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ สวนอาโปธาตุนนั้ ทําหนาที่เกาะกุมธาตุทงั้ 3 เพราะปฐวีธาตุปรากฏนอย จึงปรากฏออนเหลวและไหลไปได ธรรมชาติที่เกาะกุมธาตุทงั้ 3 แลว ไหลไปไดนั่นเองที่เปนอาโปธาตุ อาโปธาตุนั้นมีอยูทวั่ ไปในวัตถุตางๆ ทั้งที่แข็งและเหลว ทัง้ ทีม่ ี ชีวิตและไมมีชวี ิต

1.1.2.2 สสัมภารอาโป สสัมภารอาโป คือ สัมภาระของน้าํ หรือสุตตันตอาโป หรือสัมภาระธาตุตางๆทีป่ ระชุม กันอยูรวมเรียกวา “ น้ํา ” แบงออกเปน 2 ประการ ไดแก อัชฌัตติกอาโป และพาหิรอาโป

ก . อัชฌัตติกอาโป อัชฌัตติกอาโป คือ ธาตุน้ําภายใน หมายถึง ธาตุน้ําที่เปนสวนประกอบภายใน รางกายของสัตวทั้งหลาย โดยยกเอาอาการ 32 ที่มีลักษณะเหลว สงเคราะหเปนธาตุน้ํามี 12 อาการ โดยแบงเปนหมวดๆไดดังนี้ 1 . เมทฉักกะ : น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้ํามันขน

163 2 . มุตตฉักกะ : น้ําตา น้ํามันเหลว น้าํ ลาย น้ํามูก ไขขอ น้ํามูตร

ข . พาหิรอาโป พาหิรอาโป คือ ธาตุนา้ํ ภายนอก หมายถึง ธาตุน้ําอันเปนสวนประกอบทีม่ ีอยูในสิ่งที่ ไมมีวิญญาณครอง เชน น้ําจากผลไม น้าํ จากเปลือกไม และน้าํ จากลําตนไม เปนตน

1.1.2.3 กสิณอาโป กสิณอาโป หรือ อารัมมณอาโป คือ น้าํ ที่เปนนิมิต ไดแก น้าํ ของบริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต

1.1.2.4 ปกติอาโป ปกติอาโป หรือ สัมมติอาโป คือ น้าํ ทีส่ มมุติเรียกกันวา “ น้าํ ” ไดแก น้าํ ที่ใชดมื่ ใช อาบ น้าํ ในคลอง น้าํ ในแมน้ํา เปนตน

1.1.3 เตโช เตโชรูป หรือ เตโชธาตุ คือ รูปปรมัตถที่มีลกั ษณะรอนหรือเย็น มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความอบอุน เปนลักษณะ 2 . ทําใหรูปที่เกิดรวมสุกงอม เปนกิจ 3 . ทําใหรูปที่เกิดรวมออนนิม่ เปนผล 4 . มีธาตุทั้ง 3 ที่เหลือ เปนเหตุใกล ธรรมชาติทที่ รงภาวะการสุกงอมก็ดี ความอบอุนก็ดี ที่มีในกายนัน้ เรียกวา " เตโชธาตุ " ที่วา เตโชธาตุมีความรอนเปนลักษณะนัน้ หมายถึงความเย็นดวย เพราะที่วา เย็นก็คือความรอนมี นอยนั่นเอง เชน การใชคําวา " อุณหเตโช " หมายถึงความรอน และใชคําวา " สีหเตโช " หมายถึงความเย็น ซึ่งก็มคี ําวาเตโชอยูด วยทัง้ คู อนึง่ เตโชธาตุแบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก ลักขณเตโช สสัมภารเตโช กสิณเตโช และปกติเตโช

1.1.3.1 ลักขณเตโช ลักขณเตโช หรือ ปรมัตถเตโช คือ เตโชธาตุที่เปนปรมัตถ แบงเปน 2 ลักษณะโดย การสัมผัสถูกตอง ลักษณะแรกคือ " อุณหเตโช " มีลักษณะรอน และลักษณะทีส่ องคือ " สีหเตโช " มีลักษณะเย็นคือรอนนอย ปรมัตถเตโช เปนเตโชธาตุชนิดหนึ่งเรียกวา " ธาตุไฟ " และธาตุไฟใน

164 ที่นหี้ มายถึง ธาตุไฟทีเ่ ปนปรมัตถ ซึ่งมีลกั ษณะรอนหรือเย็น ไมใชไฟที่มองเห็นหรือใชหุงตมกัน อยูนี้ และไฟที่เรามองเห็นกันอยูน ี้ เปนไฟโดยสมมุติ ไมใชไฟโดยปรมัตถ ธาตุไฟโดยปรมัตถ นั้น ตองหมายถึงลักษณะทีป่ รากฏทางกายปสาท เมื่อมีการกระทบกันเกิดขึ้น ความรอนหรือ เย็นนั่นแหละคือธาตุไฟ เตโชธาตุนี้มองเห็นไมไดแตกระทบได การที่เรามองเห็นไดนั้น เปนการ เห็นธาตุตางๆที่รวมกันเปนปรมาณูแลวปรากฏเปนความวิโรจนดว ยอํานาจของเตโชธาตุ จึง ปรากฏเห็นเปนเปลวไฟลุกขึน้ มา เปลวไฟที่เห็นนัน้ ไมใชธาตุไฟ แตเปนรูปารมณหรือวรรณรูป คือรูปที่เห็นเปนสีนนั่ เอง ดังนัน้ ความปรากฏของเตโชธาตุ จึงหมายถึงไออุนหรือไอเย็น ที่ สามารถรูไดดวยกายปสาท และเตโชธาตุนี้ มีหนาที่เผาทําใหวัตถุตา งๆสุก และละเอียดนุมนวล อาหารตางๆจะสุกไดนั้น ตองอาศัยความรอนหรือไออุน ธรรมชาติใดที่ทาํ ใหสกุ ธรรมชาตินั้น เรียกวา " เตโช " การเกิดขึน้ ของเตโชธาตุ อาศัยธาตุทั้ง 3 ที่เหลือเปนปจจัย คือ มีปฐวีธาตุเปน ที่ตั้ง มีอาโปธาตุเกาะกุม และมีวาโยธาตุกระพือพัด

1.1.3.2 สสัมภารเตโช สสัมภารเตโช คือ สัมภาระของไฟ หรือสุตตันตเตโช หรือสัมภาระตางๆที่ประชุมกันอยู รวมเรียกวา " ไฟ " แบงออกเปน 2 ประการ ไดแก อัชฌัตติกเตโช และพาหิรเตโช

ก . อัชฌัตติกเตโช อัชฌัตติกเตโช คือ ธาตุไฟภายใน หมายถึง ธาตุไฟอันเปนสวนประกอบที่มีอยูใน รางกายที่มีวญ ิ ญาณครอง มีอยู 5 ประการ 1 . อุสมาเตโช : ไฟที่ใหความอบอุนแกรางกาย 2 . ปาจกเตโช : ไฟทีย่ อยอาหาร 3 . ชิรณเตโช : ไฟที่บม ใหรางกายทรุดโทรม แกชราไปตามวัย 4 . สันตาปนเตโช : ไฟทีท่ ําใหรอนเปนไขไดปวย 5 . ทาหนเตโช : ไฟทีท่ ําใหรอนเปนไขไดปว ยหนัก

ข . พาหิรเตโช พาหิรเตโช คือ ธาตุไฟภายนอก หมายถึง ธาตุไฟอันเปนสวนประกอบที่มีอยูในสิ่งที่ไม มีวิญญาณครอง มีอยูม ากมายเหลือทีจ่ ะคณานับได ยกตัวอยางเชน ความรอนจากการหุงตม ความเย็นจากตูเย็น ความรอนจากแสงแดด เปนตน

1.1.3.3 กสิณเตโช

165 กสิณเตโช หรือ อารัมมณเตโช คือ ไฟที่เปนนิมิต ไดแก ไฟของบริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต

1.1.3.4 ปกติเตโช ปกติเตโช หรือ สัมมติเตโช คือ ไฟตามปกติที่สมมุติเรียกกันวา " ไฟ " ไดแก ไฟจาก การเผาฟน ไฟที่ไหมบานชองหองหับ ไฟจากเตาแกส เปนตน

1.1.4 วาโย วาโยรูปหรือวาโยธาตุ คือ รูปปรมัตถที่มลี ักษณะไหวหรือเครงตึง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความเครงตึง เปนลักษณะ 2 . มีการไหว เปนกิจ 3 . มีการเคลื่อนยาย เปนผล 4 . มีธาตุทั้ง 3 ที่เหลือ เปนเหตุใกล ธรรมชาติทที่ รงภาวะการเครงตึงก็ดี การไหวก็ดี ที่มีอยูใ นกายนัน้ เรียกวา " วาโยธาตุ " หรือ " ธาตุลม " อนึ่ง วาโยธาตุ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ ลักขณวาโย สสัมภารวาโย กสิณวาโย และปกติวาโย

1.1.4.1 ลักขณวาโย ลักขณวาโย หรือ ปรมัตถวาโย คือ วาโยธาตุที่เปนปรมัตถ มีคําอธิบายวา วาโยธาตุ เปนธาตุปรมัตถชนิดหนึง่ ซึง่ มีลักษณะไหวหรือเครงตึง เรียกวา " ธาตุลม " โดยธาตุลมที่มี ลักษณะไหว เรียกวา " สมุทรี ณวาโย " และธาตุลมที่มีลกั ษณะเครงตึง เรียกวา " วิตถัมภนวาโย " ธรรมชาติของวิตถัมภนวาโยนี้ ทําใหรูปที่เกิดพรอมกันกับตนนัน้ ตั้งมัน่ ไมคลอนแคลนเคลื่อนไหว ได ในรางกายของคนเรา ถามีวิตถัมภนวาโยปรากฏแลว บุคคลผูนนั้ จะรูสึกตึง ปวดเมื่อยไปทัว่ รางกาย หรือเมื่อเวลาที่เราเกร็งแขน ขา หรือเพงตาอยูนานๆโดยไมกระพริบตา ก็จะปรากฏ เปนอาการเครงตึง นั่นคือวิตถัมภนวาโยธาตุปรากฏ ในรางกายของคนและสัตวนี้ ถามี วิตถัมภนวาโยมาก และมีสมุทีรณวาโยนอย รางกายหรือสวนตางๆของรางกายจะเครงตึง ถา มีสมุทีรณวาโยมาก และมีวิตถัมภนวาโยนอย รางกายหรือสวนตางๆของรางกายจะเคลื่อนไหว หรือไหวไปได ความปรากฏของธาตุลมซึ่งเรียกวา " วาโยธาตุ " นั้น อาศัยธาตุทั้ง 3 ที่เหลือให ปรากฏและเปนไปดังนี้ คือ มีปฐวีธาตุเปนที่ตงั้ มีอาโปธาตุเกาะกุม และมีเตโชธาตุตามรักษา

166 1.1.4.2 สสัมภารวาโย สสัมภารวาโย คือ สัมภาระของลม หรือสุตตันตวาโย หรือสัมภาระตางๆทีป่ ระชุมกัน อยูรวมเรียกวา " ลม " แบงออกเปน 2 ประการ ไดแก อัชฌัตติกวาโย และพาหิรวาโย

ก . อัชฌัตติกวาโย อัชฌัตติกวาโย คือ ธาตุลมภายใน หมายถึง ธาตุลมอันเปนสวนประกอบที่มีอยูใน รางกายที่มีวญ ิ ญาณครอง มีอยู 6 ประการ 1 . อุทธังคมวาโย : ลมทีพ่ ัดขึ้นเบื้องบน เชน การเรอ การหาว การไอ การจาม 2 . อโธคมวาโย : ลมที่พัดลงสูเบื้องต่ํา เชน การผายลม ลมเบง 3 . กุจฉิฏฐวาโย : ลมที่อยูในชองทอง เชน ทองอืด ทองเฟอ 4 . โกฏฐาสยวาโย : ลมที่อยูในลําไส เชน ลมที่ขับอาหารเกา 5 . อังคมังคานุสารีวาโย : ลมที่พัดอยูทวั่ รางกาย ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได 6 . อัสสาสปสสาสวาโย : ลมหายใจเขา และลมหายใจออก

ข . พาหิรวาโย พาหิรวาโย คือ ธาตุลมภายนอก หมายถึง ธาตุลมอันเปนสวนประกอบทีม่ ีอยูในสิ่งที่ ไมมีวิญญาณครอง มีอยูมากมายเหลือทีจ่ ะคณานับได ยกตัวอยางเชน ลมพายุ ลมเหนือ และลมหนาว เปนตน

1.1.4.3 กสิณวาโย กสิณวาโย หรือ อารัมมณวาโย คือ ลมที่เปนกสิณ ซึ่งเปนอารมณของจิตของนัก ปฏิบัติ ผูท ําฌานดวยการที่เอาวาโยธาตุที่ทาํ ใหใบไมไหว ทีท่ ําใหเสนผมไหว ทีท่ ําใหกอนเมฆ ลอยไป เปนนิมิต ตั้งแตบริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต จนถึงปฏิภาคนิมิต

1.1.4.4 ปกติวาโย ปกติวาโย หรือ สัมมติวาโย คือ ลมตามปกติที่สมมุติเรียกกันวา " ลม " ไดแก ลม พายุ ลมเหนือ และลมหนาว เปนตน อนึ่ง ปกติวาโยนี้มีความสําคัญมาก แกสัตวที่มี วิญญาณครอง เพราะถาไมมีปกติวาโยนี้ ที่เปนอากาศไวสําหรับใหเปนอัสสาสปสสาสวาโย มนุษยและสัตวทงั้ หลาย ก็คงไมสามารถมีชีวิตอยูได

1.2 อุปาทยรูป 24

167 อุปาทยรูป หรือ รูปอาศัย เปนรูปที่ตองอาศัยมหาภูตรูปเปนแดนเกิด ถาไมมีมหาภูต รูปแลว อุปาทยรูปก็ไมสามารถทีจ่ ะเกิดตามลําพังได คือเมื่อไมมีทอี่ าศัยเกิด ก็เกิดไมได อนึง่ อุปาทยรูปมี 24 รูป ไดแก ปสาทรูป 5 โคจรรูป 4 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 อาหารรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 วิญญัติรูป 2 วิการรูป 3 และลักขณรูป 4

1.2.1 ปสาทรูป 5 ปสาทรูป คือ รูปที่เปนความใสอันเกิดจากกรรม มีความสามารถในการรับอารมณได เรียกวา " ปสาทรูป " ซึ่งมีอยู 5 รูปดวยกัน ไดแก จักขุปสาทรูป โสตปสาทรูป ฆานปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และกายปสาทรูป ปสาทรูปทัง้ 5 นี้ มีสภาพเปนความใส เกิดจากกรรมโดย สมุฏฐานเดียว สามารถรับอารมณได และยังผลใหสําเร็จกิจเปนกุศลหรืออกุศลได ดัง รายละเอียดตอไปนี้

1.2.1.1 จักขุปสาทรูป จักขุปสาทรูป คือ ประสาทตา เปนรูปชนิดหนึ่งซึง่ เกิดจากกรรม มีความใสดุจเงา กระจกเปนเครื่องรับรูปารมณ ตั้งอยูระหวางตาดํา เปนเยื่อบางๆซอนกันอยูถงึ 7 ชั้น ประดุจปุย นุนที่ชุมดวยน้าํ มันงาอยูทงั้ 7 ชั้น โตประมาณเทาศีรษะของเหา มีหนาที่ใหสาํ เร็จกิจ 2 อยาง คือ เปนที่อาศัยเกิดของจักขุวิญญาณ และเปนทวารคือทางแหงการรับรูอารมณของจักขุทวารวิถจี ติ ในปญจทวารวิถี อนึ่ง จักขุปสาทรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความใสของมหาภูตรูปที่กระทบรูปารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการชักดึงมาซึง่ รูปารมณ เปนกิจ 3 . มีการรองรับซึ่งจักขุวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปอันเกิดจากกรรม เปนเหตุใกล

1.2.1.2 โสตปสาทรูป โสตปสาทรูป คือ ประสาทหู เปนรูปชนิดหนึง่ ซึ่งเกิดจากกรรม มีความสามารถรับเสียง ตางๆได ตัง้ อยูภายในชองหู มีสัณฐานเหมือนวงแหวน และมีขนสีแดงเสนละเอียด อันปกคลุม อยูทั่วบริเวณโดยรอบแหงโสตปสาทรูปนัน้ มีหนาที่สาํ เร็จกิจ 2 อยาง คือ เปนที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณ และเปนทวารคือทางแหงการรับรูอารมณของโสตทวารวิถีจิตในปญจทวารวิถี อนึง่ โสตปสาทรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความใสของมหาภูตรูปที่กระทบสัททารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการแสวงหาสัททารมณ เปนกิจ

168 3 . มีการทรงอยูของโสตวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปอันเกิดจากกรรม เปนเหตุใกล

1.2.1.3 ฆานปสาทรูป ฆานปสาทรูป คือ ประสาทจมูก มีที่ตั้งอยูในชองจมูก และมีสัณฐานเหมือนกีบแพะ เปนรูปที่มีความสามารถในการรับคันธารมณ เปนวัตถุอนั เปนที่ตั้งแหงฆานวิญญาณ และเปน ทวารอันเปนทางใหเกิดฆานทวารวิถีจิตในปญจทวารวิถี ฆานปสาทรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความใสของมหาภูตรูปที่กระทบคันธารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการแสวงหาคันธารมณ เปนกิจ 3 . มีการทรงอยูของฆานวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปอันเกิดจากกรรม เปนเหตุใกล

1.2.1.4 ชิวหาปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป คือ ประสาทลิน้ เปนรูปชนิดหนึ่งซึง่ เกิดจากกรรม มีที่ตงั้ อยูกลางลิน้ อันมีสัณฐานเหมือนปลายกลีบดอกบัว เรียงรายซอนกันอยูเปนชั้นๆ เปนรูปที่มีความสามารถใน การรับรสารมณ เปนวัตถุอนั เปนที่ตั้งแหงชิวหาวิญญาณ และเปนทวารอันเปนทางใหเกิดชิวหา ทวารวิถีจิตในปญจทวารวิถี อนึง่ ชิวหาปสาทรูป มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความใสของมหาภูตรูปที่กระทบรสารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการแสวงหารสารมณ เปนกิจ 3 . มีการทรงอยูของชิวหาวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปอันเกิดจากกรรม เปนเหตุใกล

1.2.1.5 กายปสาทรูป กายปสาทรูป คือ ประสาทกาย เปนรูปชนิดหนึ่งซึง่ เกิดจากกรรม มีสัณฐานคลายสําลี แผนบางๆชุบน้ํามันจนชุมซอนกันอยูหลายชั้น ตัง้ อยูท วั่ สรรพางคกาย เวนที่ปลายผมปลายขน ที่เล็บ ฟน กระดูก และหนังทีห่ นาดาน กายปสาทรูป เปนรูปทีม่ ีความสามารถในการรับ โผฏฐัพพารมณ คือ ความเย็นรอนออนแข็ง เปนวัตถุอันเปนที่ตงั้ แหงกายวิญญาณ และเปน ทวารอันเปนทางใหเกิดกายทวารวิถีจิตในปญจทวารวิถี กายปสาทรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความใสของมหาภูตรูปที่กระทบโผฏฐัพพารมณ เปนลักษณะ 2 . มีการแสวงหาโผฏฐัพพารมณ เปนกิจ 3 . มีการทรงอยูของกายวิญญาณ เปนผล

169 4 . มีมหาภูตรูปอันเกิดจากกรรม เปนเหตุใกล

1.2.2 โคจรรูป 4 โคจรรูป แปลตามพยัญชนะมีความหมายวา เปนรูปที่ทองเทีย่ วไปเหมือนโค แตในทีน่ ี้มี ความหมายวา เปนรูปที่เปนอารมณ โคจรรูปมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา " วิสยรูป " คําวาวิสยหรือคํา วาวิสยั นี้ แปลวา ขอบเขตแดนหรือความเปนอยู แตคําวาวิสยรูปในทีน่ ี้มีความหมายวา เปนรูป ที่เปนอารมณเชนเดียวกัน ดังนัน้ วิสยรูปหรือโคจรรูปจึงมีความหมายเหมือนกันคือ “ รูปที่เปน อารมณของปญจวิญญาณจิต ” ซึ่งมีอยู 4 ประการดวยกัน ไดแก รูปารมณ สัททารมณ คัน ธารมณ และรสารมณ

1.2.2.1 รูปารมณ รูปารมณ หมายถึง รูปทีก่ ําลังเปนอารมณของจักขุวญ ิ ญาณจิต ไดแก วรรณรูปที่ ปรากฏเห็นเปนสีตางๆ เชน สีเขียว สีแดง สีเหลือง ฯลฯ แตจะเห็นเพียงสีแลวก็ดับไปโดยยัง ไมรูวาเปนสีอะไร จนกวาจิตทางมโนทวารจะรับการเห็นนัน้ ไปนึกคิด โดยอาศัยบัญญัติอารมณใน อดีตมาตัดสินอีกทีหนึง่ จึงจะรูวาเปนสีอะไร รูปารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการกระทบกับจักขุปสาท เปนลักษณะ 2 . มีการทําอารมณใหแกจกั ขุวิญญาณ เปนกิจ 3 . มีการเปนที่โคจรของจักขุวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

1.2.2.2 สัททารมณ สัททารมณ หมายถึง เสียงที่กําลังเปนอารมณของโสตวิญญาณจิต ไดแก สัททรูปที่ ปรากฏใหไดยนิ เปนเสียงตางๆ แตเมื่อไดยินแลวก็ดับไป โดยไมรูความหมายอะไร การที่รู ความหมายจากเสียงนั้น เปนเพราะจิตทีเ่ กิดทางมโนทวารรับการไดยินไปนึกคิด โดยอาศัย บัญญัติอารมณในอดีตมาตัดสิน จึงจะรูว าเสียงที่ไดยินนัน้ มีความหมายวาอยางไร สัททารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการกระทบกับโสตปสาท เปนลักษณะ 2 . มีการทําอารมณใหแกโสตวิญญาณ เปนกิจ 3 . มีการเปนที่โคจรของโสตวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

170 1.2.2.3 คันธารมณ คันธารมณ หมายถึง กลิน่ ทีก่ ําลังเปนอารมณของฆานวิญญาณจิต ไดแก คันธรูปที่ ปรากฏใหรูไดวาเปนกลิน่ ตางๆ แตเมื่อไดกลิ่นแลว ก็จะดับไปโดยยังไมรูวาเปนกลิน่ อะไร จนกวาจิตทางมโนทวารจะรับการไดกลิ่นนัน้ ไปนึกคิด โดยอาศัยบัญญัติอารมณในอดีตมาตัดสิน อีกทีหนึง่ จึงจะรูวาเปนกลิน่ อะไร คันธารมณ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการกระทบกับฆานปสาท เปนลักษณะ 2 . มีการทําอารมณใหแกฆานวิญญาณ เปนกิจ 3 . มีการเปนที่โคจรของฆานวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

1.2.2.4 รสารมณ รสารมณ หมายถึง รสทีก่ าํ ลังเปนอารมณของชิวหาวิญญาณจิต ไดแก รสรูปทีป่ รากฏ เปนรสตางๆ แตเมื่อไดชิมรสแลว ก็จะดับไปโดยยังไมรูวาเปนรสอะไร จนกวาจิตทางมโนทวาร จะรับการไดรสนั้นไปนึกคิด โดยอาศัยบัญญัติอารมณในอดีตมาตัดสินอีกทีหนึ่ง จึงจะรูวา เปนรส อะไร รสารมณ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการกระทบกับชิวหาปสาท เปนลักษณะ 2 . มีการทําอารมณใหแกชวิ หาวิญญาณ เปนกิจ 3 . มีการเปนที่โคจรของชิวหาวิญญาณ เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

1.2.3 ภาวรูป 2 ภาวรูป คือ รูปที่แสดงใหรสู ภาพหญิงและชาย ดวยอาศัยรูปราง สัณฐาน เครื่องหมาย นิสัย อัธยาศัย และกิริยาอาการ เปนเครื่องแสดงใหรู ภาวรูปมี 2 ประการ ไดแก อิตถีภาวรูป และปุริสภาวรูป

1.2.3.1 อิตถีภาวรูป อิตถีภาวรูป คือ รูปทีเ่ ปนเหตุแหงความเปนหญิง รูปใดที่เปนเหตุแหงความเปนหญิง รูปนั้นชื่อวา " อิตถีภาวะ " อิตถีภาวรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีสภาพของหญิง เปนลักษณะ 2 . มีปรากฏการณของหญิง เปนกิจ

171 3 . มีอาการของหญิง เปนผล 4 . มีมหาภูตรูป 4 เปนเหตุใกล

1.2.3.2 ปุริสภาวรูป ปุริสภาวรูป คือ รูปทีเ่ ปนเหตุแหงความเปนชาย รูปใดที่เปนเหตุแหงความเปนชาย รูปนั้นชื่อวา " ปุริสภาวะ " ปุริสภาวรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีสภาพของชาย เปนลักษณะ 2 . มีปรากฏการณของชาย เปนกิจ 3 . มีอาการของชาย เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

1.2.4 หทยรูป 1 หทยรูป คือ รูปอันเปนที่ตงั้ อาศัยเกิดของจิตและเจตสิก เพื่อทํากิจใหสําเร็จเปนกุศล หรืออกุศล หทยรูปแบงออกเปน 2 ประการ ประการทีห่ นึง่ เรียกวา " มังสหทยรูป " เปนรูปหัวใจที่ มีสัณฐานคลายดอกบัวตูม ที่แกะกลีบออกมาแลวเอาปลายหอยลง ภายในนั้นเหมือนรังบวบขม ประการที่สองเรียกวา " วัตถุหทยรูป " เปนรูปที่อาศัยเกิดอยูในมังสหทยรูป เปนรูปที่เกิดจากกรรม วาถึงที่ตั้งของหทยรูปนัน้ ตัง้ อยูในชองทีม่ ลี ักษณะเหมือนบอ โตประมาณเทาเมล็ดดอกบุนนาค ในชองนี้มนี ้ําเลี้ยงหัวใจหลอเลี้ยงอยูประมาณ 1 ซองมือ เปนที่อาศัยเกิดของจิตและเจตสิกทีม่ ีชื่อ วา " มโนธาตุและมโนวิญญาณธาตุ " และก็สถานที่ตรงนี้เองที่เรียกวา " หทยรูปหรือวัตถุหทยรูป " อนึ่ง น้ําเลี้ยงหัวใจนี้มีมากสีดวยกัน ทั้งนี้ยอมขึน้ อยูกบั จริตของแตละบุคคล กลาวคือ 1 . บุคคลที่มากดวยราคจริต น้ําเลี้ยงหัวใจยอมมีสีแดง 2 . บุคคลที่มากดวยโทสจริต น้ําเลี้ยงหัวใจยอมมีสีดํา 3 . บุคคลที่มากดวยโมหจริต น้ําเลี้ยงหัวใจยอมมีสหี มนคลายสีนา้ํ ลางเนื้อ 4 . บุคคลที่มากดวยวิตกจริต น้ําเลี้ยงหัวใจยอมมีสีเขียวคลายสีนา้ํ เยื่อถั่วพู 5 . บุคคลที่มากดวยศรัทธาจริต น้าํ เลี้ยงหัวใจยอมมีสีเหลืองคลายสีดอกกรรณิการ 6 . บุคคลที่มากดวยพุทธิจริต น้ําเลีย้ งหัวใจยอมมีสีขาวคลายสีแกวเจียระไน อนึ่ง หทยรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการใหมโนธาตุและมโนวิญญาณธาตุไดอาศัยเกิด เปนลักษณะ 2 . มีการทรงไวซึ่งธาตุดังกลาว เปนกิจ 3 . มีการรักษาไวซึ่งธาตุดังกลาว เปนผล

172 4 . มีมหาภูตรูปทั้ง 4 เปนเหตุใกล

1.2.5 ชีวิตรูป 1 ชีวิตรูป คือ รูปที่รักษากลุม รูปที่เกิดจากกรรม โดยธรรมชาติของรูปแตละกลุมรูป ยอม มีสมุฏฐานใหเกิดอยู 4 สมุฏฐาน คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร ในกลุมรูปทีเ่ กิดจากกรรมนัน้ มีชีวิตรูปเปนผูต ามรักษาตัง้ แตแรกเกิด ใหตั้งอยูแลวก็ดบั ไปพรอมกับกลุมรูปนัน้ ๆ ทั้งนี้เนื่องจาก กรรมที่ทาํ ใหรปู เกิดขึ้นนัน้ มีหนาที่ทาํ ใหรูปเกิดเทานัน้ ไมมหี นาที่ตามรักษา ชีวติ รูปเทานัน้ ทีม่ ี หนาที่ตามรักษา เหมือนกลีบของดอกบัว ทีท่ าํ หนาทีร่ ักษาเกสรบัวที่เกิดจากกอบัว แลวก็เนาไป พรอมกับเกสรบัวนัน้ กรรมทั้งหลายก็เชนกัน ทําใหรูปเกิดดวยอํานาจของตนแลว ก็มีชวี ิตรูปที่ เกิดจากกรรมนั้นนั่นแหละ เปนผูตามรักษากลุมรูปที่เกิดรวมกันใหตั้งอยูและดับไปพรอมกับตน อนึ่ง ชีวิตรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการรักษาสหชาตรูปที่เกิดจากกรรม เปนลักษณะ 2 . มีการธํารงไวซึ่งรูปเหลานั้น เปนกิจ 3 . มีการประกอบใหมนั่ คงอยู เปนผล 4 . มีมหาภูตรูปที่สมสวน เปนเหตุใกล

1.2.6 อาหารรูป 1 อาหารรูป คือ รูปที่เกิดจากอาหาร และรูปที่เกิดจากอาหารในที่นี้ หมายถึงอาหารทีก่ ิน เปนคําๆซึง่ เรียกวา " กวฬิงการาหาร " หรือโภชนะใดอันบุคคลกินเปนคําๆ หรือกระทําใหเปนของ กิน โภชนะนัน้ ชื่อวา " กวฬิงการาหาร " กวฬิงการาหารนี้ หมายถึงโอชะรูปที่มีอยูในอาหารตางๆ เมื่อสัตวทงั้ หลายไดกินอาหารเขาไป โอชะที่อยูในอาหารนั้นๆก็จะถูกปาจกเตโชอันเปนเตโชธาตุท่ี เกิดจากกรรม ตั้งแตในปากไปตลอดจนถึงทวารหนัก ทําหนาทีเ่ ผาหรือยอยออกเปนสองสวน สวนที่หนึ่งเปนกากทิง้ ไป โดยระบายออกทางทวารตางๆ และสวนที่สองเปนโอชะรูป ซึ่งซึมซาบ เขาไปอยูในรางกายคนและสัตว คอยทําหนาที่ใหอาหารชรูปเกิดขึ้น โดยโอชะรูปที่อยูในรางกาย ของคนและสัตวนี้ ทําใหรา งกายของคนและสัตวทั้งหลายมีกาํ ลังและเติบโตขึ้น เมื่อรางกาย เจริญเติบโตเต็มที่แลว ก็จะทําใหรางกายสมบูรณและมีชีวิตอยูได รูปที่ทาํ ใหรางกายเจริญเติบโต และสมบูรณอยูไดนี้เองที่เรียกวา " อาหารรูป " แปลวารูปที่เกิดจากอาหารหรือรูปที่เกิดจากโอชะรูป ที่ไดมาจากกวฬิงการาหารนัน้ นัน่ เอง อนึง่ อาหารรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหรูปเจริญ เปนลักษณะ 2 . มีการธํารงไวซึ่งรูป เปนกิจ

173 3 . มีการอุดหนุนไวซึ่งรูปกาย เปนผล 4 . มีอาหารทีค่ วรแกการบริโภค เปนเหตุใกล

1.2.7 ปริจเฉทรูป 1 ปริจเฉทรูป คือ รูปทีเ่ ปนชองวางระหวางรูปกลาปะตอรูปกลาปะ มีทั้งสิง่ ที่มีชีวติ และไม มีชีวิต เปนรูปที่คลายๆกับทําหนาที่ใหรูถงึ สัณฐานของรูปตางๆ หรือคลายกับเปนผูจําแนกใหรไู ด ซึ่งรูปตางๆ ในบรรดาสิ่งที่มชี ีวิตหรือไมมีชวี ิตทั้งหลายนัน้ ถาไมมีชองวางกัน้ กลางเสียแลว ก็ไม สามารถจะรูไดวา รูปนัน้ มีจํานวนเทาไร มีสัณฐานเปนอยางไร ตอเมื่อมีชองวางคั่นอยู จึง กําหนดรูไดวา มีจํานวนเทาไร มีสัณฐานอยางไร และชองวางนี้เองที่เรียกวา " ปริจเฉทรูป " หรือ " อากาศธาตุ " อนึง่ ปริจเฉทรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการคั่นไวซึ่งรูปกลาปะ เปนลักษณะ 2 . มีการแสดงสวนของรูป เปนกิจ 3 . มีการจําแนกซึง่ รูป เปนผล 4 . มีรูปที่คั่นไว เปนเหตุใกล

1.2.8 วิญญัติรูป 2 วิญญัติรูป คือ รูปที่แสดงใหผูอื่นรูความหมายหรือรูความประสงค การทีว่ ิญญัติรูป เคลื่อนไหวได จะตองมีจิตสั่งงานใหเคลือ่ นไหวทั้งทางกายและวาจา เชน การยืนเดินนั่งนอน การโบกไมโบกมือ การพูดเสียงดังเสียงคอย การพูดเพราะหรือไมเพราะ ก็ขึ้นอยูกับจิตที่คอย ควบคุมวิญญัติรูปอยู อันรูปใดทําใหผูอนื่ รูความประสงครูปนั้นชื่อวา " วิญญัติรูป " หมูชนทัง้ หลาย ทําใหรูจิตใจซึ่งกันและกันไดโดยอาศัยรูปใดรูปนั้นชื่อวา " วิญญัติรูป " โดยแบงเปนการเคลื่อนไหว ทางกายเราเรียกวา " กายวิญญัติรูป " และการเคลื่อนไหวทางวาจาเราเรียกวา " วจีวิญญัติรูป "

1.2.8.1 กายวิญญัติรูป กายวิญญัติรูป คือ การเคลื่อนไหวรางกายใหรูความหมาย จําแนกเปน 2 ประการ ประการแรกเรียกวา " โพธนกายวิญญัติ " เปนการไหวกายโดยจงใจใหผูอื่นรูความหมาย เชน การ โบกมือเรียก และการกวักมือเรียก เปนตน ประการทีส่ องเรียกวา " ปวัตตนกายวิญญัติ " เปน การไหวกายโดยไมไดจงใจใหเปนความหมายแกผูใด เชน การยืน การเดิน การนั่ง การนอน และการวิง่ เปนตน อนึ่ง กายวิญญัติรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการแสดงใหรูซึ่งความหมาย เปนลักษณะ 2 . มีการแสดงซึ่งความหมาย เปนกิจ

174 3 . มีการไหวกาย เปนผล 4 . มีวาโยธาตุของจิตตสมุฏฐาน เปนเหตุใกล

1.2.8.2 วจีวิญญัติรูป วจีวิญญัติรูป คือ การเคลือ่ นไหวใหรูความหมายดวยวาจา จําแนกเปน 2 ประการ ประการแรกเรียกวา " โพธนวจีวิญญัติ " เปนการกลาววาจาโดยจงใจใหผูอื่นรูความหมาย เชน การตะโกนเรียก การเรียกชือ่ และการสนทนา เปนตน ประการทีส่ องเรียกวา " ปวัตตนวจี วิญญัติ " เปนการกลาววาจาโดยไมไดจงใจใหเปนความหมายแกผูใด เชน การเปลงเสียงเวลา ตกใจ การไอ และการจาม เปนตน อนึ่ง วจีวิญญัติรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการแสดงใหรูซึ่งความหมาย เปนลักษณะ 2 . มีการแสดงซึ่งความหมาย เปนกิจ 3 . มีการกลาววาจา เปนผล 4 . มีปฐวีธาตุของจิตตสมุฏฐาน เปนเหตุใกล

1.2.9 วิการรูป 3 วิการรูป คือ รูปที่แสดงอาการพิเศษของนิปผันนรูป (นิปผันนรูป คือ รูปที่มีสภาวะของ ตนเอง มี 18 รูป ไดแก มหาภูตรูป 4 ปสาทรูป 5 โคจรรูป 4 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 และอาหารรูป 1 สวนอนิปผันนรูป คือ รูปที่ตองอาศัยนิปผันนรูปตนจึงจะเกิดขึ้นมาได มี 10 รูป ไดแก ปริจเฉทรูป 1 วิญญัตริ ูป 2 วิการรูป 3 และลักขณรูป 4) ใหปรากฏ วิการรูปมี 3 รูป ไดแก ลหุตารูป มุทุตารูป และกัมมัญญตารูป

1.2.9.1 ลหุตารูป ลหุตารูป คือ รูปที่เปนความเบาของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความเบา เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความหนักของรูป เปนกิจ 3 . มีการทําใหวองไว เปนผล 4 . มีรูปที่เบา เปนเหตุใกล

1.2.9.2 มุทุตารูป มุทุตารูป คือ รูปที่เปนความออนของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความออน เปนลักษณะ

175 2 . มีการทําลายความกระดางของรูป เปนกิจ 3 . มีการไมขดั แยงตอกิจทัว่ ไป เปนผล 4 . มีรูปที่ออน เปนเหตุใกล

1.2.9.3 กัมมัญญตารูป กัมมัญญตารูป คือ รูปที่เปนความควรแกการงานของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความควร เปนลักษณะ 2 . มีการทําลายความไมควร เปนกิจ 3 . มีการทรงไวซึ่งพลัง เปนผล 4 . มีรูปที่ควร เปนเหตุใกล

1.2.10 ลักขณรูป 4 ลักขณรูป คือ รูปที่แสดงความเกิดขึ้นใหปรากฏ รูปที่แสดงความเจริญใหปรากฏ รูปที่ แสดงความเสือ่ มใหปรากฏ และรูปที่แสดงความดับไปใหปรากฏ มี 4 รูป ไดแก อุปจยรูป สันตติรูป ชรตารูป และอนิจจตารูป ทัง้ 4 รูปดังกลาวนี้ เปนรูปทีม่ ีกาลเวลาเปนตัวกําหนดใน การชี้ขาดธรรมทั้งหลาย อันบัณฑิตกําหนดรูไดวา ธรรมเหลานั้นเปนสังขตะคือเปนสิ่งที่ถูกปจจัย ปรุงแตง ก็ดว ยอาศัยลักขณรูปทั้ง 4 นี้เอง ฉะนั้น รูปที่เปนเหตุแหงการกําหนดรูไ ดนั้นจึงชื่อวา " ลักขณะ " อนึ่ง สังขตธรรมอันมี 3 ประการ คือ จิต เจตสิก และรูป ซึ่งถูกปรุงแตงดวย ปจจัย 4 ประการ คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร ในเมื่อจิต เจตสิก และรูป ไดถูกปรุงแตง ดวยปจจัย 4 ประการดังที่กลาวมาแลวนัน้ ก็จะปรากฏใหรูไดวา จิตเกิดขึ้น - ตั้งอยู - ดับไป เจตสิกเกิดขึ้น - ตั้งอยู - ดับไป และรูปก็เกิดขึ้น - ตั้งอยู - ดับไป ความที่ปรากฏใหรูไดวามีความ เกิดขึ้น - ตั้งอยู - ดับไป นีแ้ หละที่เราเรียกวา " ลักขณะ " หรือ " ลักษณะ " และลักขณะนี้จะมีอยูใน จิต เจตสิก และรูป เทานั้น

1.2.10.1 อุปจยรูป อุปจยรูป คือ รูปที่เปนความเกิดขึ้นครัง้ แรกของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการแรกเกิด เปนลักษณะ 2 . มีการทําใหบรรดารูปไดเกิด เปนกิจ 3 . มีสภาพทีบ่ ริบูรณของรูป เปนผล 4 . มีรูปที่กาํ ลังจะเกิด เปนเหตุใกล

176 1.2.10.2 สันตติรูป สันตติรูป คือ รูปที่เกิดสืบตอกันกับอุปจยรูป หรือรูปที่มีตอสืบตอจากอุปจยรูปสําหรับ ทุกๆนิปผันนรูปนั่นเอง ซึง่ ความเกิดขึ้นสืบตอกันของนิปผันนรูปนั้นเรียกวา " สันตติ " กลาวคือ เมื่อรูปนั้นๆเกิดขึ้นในครั้งแรกแลว รูปที่เกิดสืบตอจากรูปที่เกิดขึ้นครัง้ แรกจะเรียกวา " สันตติรูป " อนึ่ง สันตติรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเจริญอยู เปนลักษณะ 2 . มีการสืบตอ เปนกิจ 3 . มีการไมขาดจากกัน เปนผล 4 . มีรูปที่ยงั ใหตอเนื่องกัน เปนเหตุใกล

1.2.10.3 ชรตารูป ชรตารูป คือ รูปที่เปนความแกของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเสื่อมของรูป เปนลักษณะ 2 . มีการนําไปซึ่งความเสื่อม เปนกิจ 3 . มีสภาพที่ไมเกิดใหม เปนผล 4 . มีรูปที่เสื่อม เปนเหตุใกล

1.2.10.4 อนิจจตารูป อนิจจตารูป คือ รูปทีเ่ ปนความดับไปของนิปผันนรูป มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการเสื่อม เปนลักษณะ 2 . มีการจมดิง่ เปนกิจ 3 . มีการสูญหาย เปนผล 4 . มีรูปที่แตกดับ เปนเหตุใกล

2 . รูปวิภาคนัย รูปวิภาคนัย เปนการแสดงรูปโดยละเอียดพิสดาร โดยรูปทั้ง 28 รูปนั้น จัดเปนแมบทได 2 แมบท (มาติกา) คือ เอกมาติกา (แมบทเดียว) และ ทุกมาติกา (แมบทคู) เอกมาติกา หมายความวา รูปทัง้ 28 รูปนี้ มีความหมายรวมเปนอยางเดียวกัน สวนทุกมาติกา หมายความวา รูปทัง้ 28 รูปนี้ มีความหมายตางกันเปนคูๆ

2.1 เอกมาติกา

177 เอกมาติกา คือ จัดรูปทัง้ 28 รูปเปนนัยเดียว (แมบทเดียว) มี 8 ประการ ไดแก

2.1.1 อเหตุกรูป อเหตุกรูป เปนรูปที่ไมมีเหตุ คือ ไมมีสัมปยุตตเหตุ หมายความวา รูปทัง้ 28 ไมมีเหตุ 6 ประการ ไดแก โลภะเหตุ โทสะเหตุ โมหะเหตุ อโลภะเหตุ อโทสะเหตุ และอโมหะเหตุมา ประกอบดวยเลย สวนรูปทีม่ ีเหตุ 6 ประการมาประกอบ คือ สเหตุกรูปนั้นไมมี

2.1.2 สปจจยรูป สปจจยรูป เปนรูปที่มีปจ จัย คือ มีสิ่งที่อุปการะเกื้อหนุน จึงทําใหรูปเกิดได ปจจัย หรือสิ่งที่อุปการะเกื้อหนุนใหเกิดรูปนัน้ ไดแก กรรม จิต อุตุ และอาหาร สวนรูปที่ไมมีปจจัย อุปการะเกื้อหนุนใหเกิด คือ อปจจยรูปนั้นไมมี

2.1.3 สาสวรูป สาสวรูป เปนรูปที่เปนอารมณของอาสวะ 4 ประการ ไดแก กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ และอวิชชาสวะ ไดทงั้ 28 รูป สวนอสาสวรูปนั้นไมมี

2.1.4 สังขตรูป สังขตรูป เปนรูปที่ปรุงแตงมาจาก กรรม จิต อุตุ และอาหาร สวนรูปที่เกิดขึน้ โดย ไมไดปรุงแตงมาจาก กรรม จิต อุตุ และอาหาร คือ อสังขตรูปนั้นไมมี

2.1.5 โลกียรูป โลกียรูป เปนรูปที่เนื่องดวยโลกียธรรม อันจะตองแตกดับอยูเสมอ สวนรูปที่ไมแตกดับ พนจากการแตกดับ คือ โลกุตตรรูปนั้นไมมี

2.1.6 กามาวจร กามาวจร เปนรูปที่เปนอารมณของกามจิต สวนรูปที่เปนอารมณของมหัคคตจิต หรือ โลกุตตรจิตนั้นไมมี เพราะมหัคคตจิตมีบญ ั ญัติและมีจิตเปนอารมณ สวนโลกุตตรจิตก็มีนพิ พาน เปนอารมณ

2.1.7 อนารัมมณะ อนารัมมณะ เปนรูปที่ไมสามารถรูอารมณไดเหมือนจิตและเจตสิก สวนรูปที่สามารถรู อารมณได คือ สารัมมณะนั้นไมมี

178 2.1.8 อัปปหาตัพพะ อัปปหาตัพพะ เปนรูปที่ไมพึงละไมพึงประหาร เพราะรูปเปนธรรมทีป่ ราศจากเหตุอันจะ ยังใหเกิดความดีหรือความชั่ว สวนรูปทีพ่ ึงละพึงประหาร คือ ปหาตัพพะนัน้ ไมมี

2.2 ทุกมาติกา ทุกมาติกา คือ จัดรูปทั้ง 28 รูปเปนสองนัยตรงขามกัน (แมบทคู) มี 11 คู ไดแก

2.2.1 อัชฌัตติกรูป - พาหิรรูป อัชฌัตติกรูป หมายถึง รูปภายใน องคธรรมไดแกปสาทรูปทั้ง 5 รูป ไมไดหมายถึงรูปที่ อยูในรางกาย แตหมายถึงรูปที่ทาํ หนาที่เปนสื่อเชื่อมโยงใหเกิดการเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การรูรส และการสัมผัส ถาหากวาขาดปสาทรูปเสียแลว สัตวที่มีรูปรางทัง้ หลาย ก็จะเปน เหมือนกับทอนไม ไมสามารถจะรูและทําอะไรๆได ปสาทรูปจึงมีความสําคัญและมีประโยชนมาก เปรียบเหมือนกับคนทีช่ วยเหลือกิจการตางๆไดมาก ก็เรียกคนนัน้ วาเปนคนภายใน พาหิรรูป หมายถึง รูปภายนอก องคธรรมไดแกรูปทั้ง 23 รูปทีเ่ หลือ นอกจากปสาทรูป ทั้ง 5 รูป การจัดวาเปนรูปภายนอกนัน้ ไมไดหมายถึงรูปที่อยูน อกรางกาย แตมุงหมายถึงรูปทีม่ ี บทบาทในการเชื่อมโยงใหเกิดการเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การรูรส และการสัมผัสกับ อารมณทางกายปสาท โดยพาหิรรูป เปรียบไดกับคนภายนอก ซึง่ ชวยเหลือการงานไมไดมาก เทากับคนภายใน

2.2.2 วัตถุรูป - อวัตถุรูป วัตถุรูป หมายถึง รูปอันเปนที่อาศัยเกิดขึ้นของจิตและเจตสิก มีองคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 และหทยรูป 1 โดยปสาทรูป 5 นัน้ เปนที่อาศัยเกิดของทวิปญจวิญญาณจิต 10 และเจตสิก 7 สวนหทยรูป 1 นั้น เปนทีอ่ าศัยเกิดของจิต 72 และเจตสิก 52 สวนรูปที่เหลือ อีก 22 รูปนัน้ ไมเปนที่อาศัยเกิดของจิตและเจตสิกเลย ดังนั้นจึงไดชอื่ วา " อวัตถุรปู "

2.2.3 ทวารรูป - อทวารรูป ทวารรูป หมายถึง รูปทีเ่ ปนประตูหรือเปนทางใหเกิดการรูอารมณของจิต เปนทางให เกิดกายกรรมและวจีกรรม องคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 และวิญญัติรูป 2 โดยปสาทรูป 5 นั้น เปนประตูหรือเปนทางรูอารมณของปญจทวารวิถี คือจิตที่ ไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดรูรส

179 และไดรูสัมผัส และกระบวนการของจิตทีเ่ กี่ยวของกับ การเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การรู รส และการรูสัมผัส สวนวิญญัติรูป 2 คือ กายวิญญัติ ไดแก การเคลื่อนไหวทางกาย และวจี วิญญัติ ไดแก การเคลื่อนไหวทางวาจานัน้ เปนประตูหรือเปนทางใหเกิดกุศลกรรมหรือ อกุศลกรรม สวนรูปอีก 21 รูปที่เหลือนั้น ไมเปนประตูหรือทางใหเกิดการรูอารมณของจิต และไมเปนประตูหรือทางใหเกิดกุศลกรรมหรืออกุศลกรรม จึงไดชื่อวา " อทวารรูป "

2.2.4 อินทรียรูป - อนินทรียรูป อินทรียรูป หมายถึง รูปทีค่ รองความเปนใหญในหนาที่ของตน คือไมมีรูปใดจะมาเปน ใหญแทนได จึงเรียกรูปนั้นวา " อินทรียรูป " องคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 ชีวิตรูป 1 รวม 8 รูป ปสาทรูป 5 คือ จักขุปสาท เปนใหญในการรับรูปารมณ โสตปสาท เปนใหญใน การรับสัททารมณ ซึ่งตางก็เปนใหญในหนาที่ของตนๆ และเปนใหญแทนกันไมได เชน จักขุ ปสาทจะมาเปนใหญ ทําหนาที่ไดยินแทนโสตปสาทนัน้ ไมได ฆานปสาท ชิวหาปสาท และกาย ปสาท ก็ทาํ นองเดียวกัน คือเปนใหญแทนกันไมได ภาวรูป 2 คือ อิตถีภาวรูป เปนใหญใน การแสดงออกเปนเพศหญิง ปุริสภาวรูป เปนใหญในการแสดงออกเปนเพศชาย ชีวิตรูป เปน ใหญในการรักษากลุมรูปที่เกิดจากกรรม ไมมีรูปอื่นทําหนาที่แทนได สวนรูปอีก 20 รูปที่เหลือนัน้ ไมไดทําหนาทีเ่ ปนใหญ หรือครองความเปนใหญในหนาที่ของตน จึงไดชื่อวา " อนินทรียรูป "

2.2.5 โอฬาริกรูป - สุขุมรูป โอฬาริกรูป เปนรูปทีห่ ยาบ คําวา " หยาบ " ในทีน่ ี้ ไมไดหมายถึงความหยาบของรูป แตหมายความวา เมื่อพิจารณารูปเหลานี้แลว ก็ปรากฏไดชัดแจง เปรียบเหมือนของที่ใหญที่ หยาบ ก็เห็นไดชัดเจนฉะนัน้ โอฬาริกรูป ไดแก ปสาทรูป 5 วิสยรูป 7 รวม 12 รูป วิสยรูป 7 ไดแก วรรณะ สัททะ คันธะ รสะ ปฐวี เตโช วาโย ซึง่ รูปเหลานี้ เพียงแตไดเห็น ไดยิน ไดรูกลิ่น ไดรรู ส หรือถูกตองทางปญจทวารเทานั้น ก็สามารถจะรูไดชัดแจง จนถึงทําใหเกิด ปญญาญาณได อนึ่ง เมื่อปสาทรูป 5 เปนทางและเปนวัตถุสําหรับรับวิสยรูป 7 เมื่อวิสยรูปเปน โอฬาริกรูป ปสาทรูปจึงจัดเปนโอฬาริกรูปดวย เพราะเปนรูปที่ทาํ กิจรวมกัน เนือ่ งกัน และ กอใหเกิดผลอยางเดียวกัน สวนรูปอีก 16 รูปที่เหลือนั้น เปนรูปที่ละเอียด ไมสามารถจะรูได ทางปญจทวาร คือรูไดทางมโนทวารเทานั้น ดวยเหตุนี้จึงไดชื่อวา " สุขุมรูป "

180 2.2.6 สันติเกรูป - ทุเรรูป สันติเกรูป แปลวา รูปใกล คือ เมื่อพิจารณาดวยปญญาแลวเห็นไดงาย หรือใกลตอ ความเขาใจ องคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 และวิสยรูป 7 รวม 12 รูป ที่เปนโอฬาริกรูปนั่น แหละไดชื่อวาสันติเกรูปดวย สันติเกรูป หมายถึง รูปที่พิจารณาดวยปญญาแลวรูไ ดงาย ที่รู งายเพราะรูปเหลานี้เปนรูปใกล เปนรูปที่เกิดขึ้นเสมอมิไดขาด เปนรูปที่ใหเกิดการเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดรูรส และไดสัมผัสถูกตองอยูเปนเนืองนิจมิไดวางเวน ของใกลทเี่ กิดบอย เมื่อ พิจารณาก็ยอมจะรูไดงาย เพราะมีโอกาสพิจารณาไดบอยๆ จะใชพิจารณาเมื่อใดก็ไดเมื่อนั้น เปรียบเหมือนของที่อยูใกล จะใชเมื่อใดก็หยิบไดงา ยหยิบไดทันที ดังนัน้ สันติเกรูปจึงมี ความหมายอีกนัยหนึ่งวารูปใกล สวนรูปอีก 16 รูปที่เหลือนัน้ ชื่อวาทุเรรูปหรือรูปไกล เพราะเมือ่ พิจารณาดวยปญญาแลว เห็นไดยาก รูไ ดยาก นั่นเอง

2.2.7 สัปปฏิฆรูป - อัปปฏิฆรูป สัปปฏิฆรูป แปลวา รูปทีก่ ระทบกันได องคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 วิสยรูป 7 รวม 12 รูป ที่ชื่อวาโอฬาริกรูปและชื่อวาสันติเกรูป นัน่ แหละไดชื่อวาสัปปฏิฆรูปดวย สัปปฏิฆรูปนั้น เปนรูปทีก่ ระทบกันได หมายความวา ปสาทรูป 5 กับวิสยรูป 7 กระทบกันได เมือ่ กระทบกันแลว ก็สามารถทําใหเกิดทวิปญจวิญญาณจิต แตการกระทบกันก็ตองเปนคูๆโดยเฉพาะ ไมกาวกาย สับสนกัน คือ จักขุปสาทกับวรรณะ โสตปสาทกับสัททะ ฆานปสาทกับคันธะ ชิวหาปสาทกับ รสะ และกายปสาทกับ ปฐวี เตโช วาโย สวนรูปอีก 16 รูปที่เหลือนั้น ลวนไมสามารถที่จะ กระทบกันได จึงไดชื่อวา " อัปปฏิฆรูป "

2.2.8 อุปาทินนกรูป - อนุปาทินนกรูป อุปาทินนกรูป แปลวา รูปที่เปนผลอันเกิดจากกรรม ทั้งกุศลกรรมและอกุศลกรรม ซึง่ มี องคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 และอวินพิ โภครูป 8 (มหาภูตรูป 4 วรรณรูป 1 คันธรูป 1 รสรูป 1 โอชะรูป 1) รวมทัง้ หมด 18 รูป โดยปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 และอวินิพโภครูป 8 ทั้งหมดนีเ้ รียกวา " อุปาทิน นกรูป " หรือ " กรรมชรูป " ดวยอํานาจแหงตัณหาและทิฏฐิ จึงไดประกอบกรรมมาแลวแตอดีตกาล ซึ่งมีสังขารเปนสิ่งที่กอใหเกิดกรรมชรูปในภพนี้ชาตินี้ คือเกิดมีอุปาทินนกรูปขึ้น และดวยอํานาจ แหงตัณหาและทิฏฐิ จึงทําใหประกอบกรรมในปจจุบัน อันมีชื่อวากรรมภพ อันจะสงผลใหเกิด กรรมชรูป คืออุปาทินนกรูปขึ้นในชาติหนาตอไปอีก ทําใหวนเวียนอยูไมมีที่สนิ้ สุด สวนรูปอีก 10 รูปที่เหลือ ไดแก สัททรูป 1 วิญญัติรูป 2 วิการรูป 3 และลักขณรูป 4 เหลานีน้ นั้ จึงเรียกวา

181 " อนุปาทินนกรูป " เพราะเปนรูปที่ไมไดเกิดจากกรรมใดๆทั้งสิน้

2.2.9 สนิทัสสนรูป - อนิทัสสนรูป สนิทัสสนรูป แปลวา รูปทีเ่ ห็นดวยตาได รูปที่เห็นดวยจักขุปสาทได มีองคธรรม ไดแก วรรณรูปเพียงรูปเดียวเทานั้น กลาวคือ สีสนั หรือแสงตางๆเทานัน้ ที่สามารถมองเห็นได สวนรูปที่เหลืออีก 27 รูปนัน้ เห็นดวยตาหรือมองเห็นดวยตาไมได หรือเห็นโดยทางจักขุปสาท ไมได เหตุนนั้ จึงไดชื่อวา " อนิทัสสนรูป "

2.2.10 โคจรคาหิกรูป - อโคจรคาหิกรูป โคจรคาหิกรูป แปลวา รูปที่รับปญจารมณได มีองคธรรม ไดแก ปสาทรูป 5 เทานัน้ เพราะปสาทรูป 5 นีม้ ีความใส โดยที่จกั ขุปสาทรูปสามารถรับรูปารมณทําใหเกิดการเห็น โสต ปสาทรูปสามารถรับสัททารมณทําใหเกิดการไดยิน ฆานปสาทรูปสามารถรับคันธารมณทําใหเกิด การรูกลิ่น ชิวหาปสาทรูปสามารถรับรสารมณทําใหเกิดการรูรส และกายปสาทรูปสามารถรับ โผฏฐัพพารมณทําใหเกิดการรูสัมผัส สวนรูปที่เหลือเปนรูปที่ไมสามารถรับปญจารมณได ดังนั้น จึงไดชื่อวา " อโคจรคาหิกรูป " แปลวารูปทีร่ ับปญจารมณไมได มีองคธรรม ไดแก รูปอีก 23 รูปที่ เหลือ อนึ่ง โคจรคาหิกรูปนั้น ยังสามารถจําแนกออกไดอีกเปน 2 ประการ ไดแก อสัมปตต โคจรคาหิกรูปและสัมปตตโคจรคาหิกรูป อสัมปตตโคจรคาหิกรูปเปนรูปที่สามารถรับอารมณที่ยงั มาไมถงึ ตนได มี 2 รูป ไดแก จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป สวนสัมปตตโคจรคาหิกรูปเปนรูป ที่สามารถรับไดแตอารมณที่มาถึงตนเทานัน้ มี 3 รูป ไดแก ฆานปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และกายปสาทรูป

2.2.11 อวินิพโภครูป - วินิพโภครูป อวินพิ โภครูป แปลวา รูปที่แยกออกจากกันไมได องคธรรม ไดแก ปฐวี อาโป เตโช วาโย วรรณะ คันธะ รสะ และโอชา รวม 8 รูป ในบรรดารูปทั้งหลายในโลกนี้ ไมวารูปหนึง่ รูปใดก็ตาม รูปนั้น อยางนอยตองมีอวินิพโภครูปทัง้ 8 รูปอยางแนนอน จะตองเกิดรวมกันอยู ดวยกันทัง้ 8 รูปนี้ในที่ทกุ สถาน ในกาลทุกเมื่อ จะแตกแยกตางรูปตางเกิด ตางรูปตางอยูไมได สวนรูปอีก 20 รูปที่เหลือนั้น เปนรูปที่แยกจากกันได ไมจําเปนตองเกิดรวมกัน ไมจําเปนตองอยู รวมกันก็ได ดังนัน้ จึงไดชื่อวา " วินพิ โภครูป " แตอยางไรก็ตาม วินพิ โภครูปนี้ แมจะแยกกันเกิด

182 แยกกันอยู เปนรูปที่แยกจากกันไดก็จริง แตวาเมื่อเกิดก็ตองเกิดรวมกับอวินิพโภครูป จะเกิด ตามลําพังไมได

3 . รูปสมุฏฐานนัย รูปสมุฏฐาน คือ สมุฏฐานที่ใหเกิดรูป หรือ ปจจัยทีใ่ หเกิดรูป หรือ สิง่ ที่ใหเกิดรูป มี 4 ประการ ไดแก กรรม จิต อุตุ และอาหาร โดยมีคําเรียกตางๆดังนี้ 1 . กรรมที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปเรียกวา " กรรมสมุฏฐาน " 2 . จิตที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปเรียกวา " จิตตสมุฏฐาน " 3 . อุตุทเี่ ปนสมุฏฐานใหเกิดรูปเรียกวา " อุตุสมุฏฐาน " 4 . อาหารที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปเรียกวา " อาหารสมุฏฐาน " 5 . รูปที่เกิดจากกรรมสมุฏฐานเรียกวา " กรรมชรูป " 6 . รูปที่เกิดจากจิตตสมุฏฐานเรียกวา " จิตตชรูป " 7 . รูปที่เกิดจากอุตุสมุฏฐานเรียกวา " อุตุชรูป " 8 . รูปที่เกิดจากอาหารสมุฏฐานเรียกวา " อาหารชรูป "

3.1 กรรมสมุฏฐาน กรรมที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปนั้นเรียกวา " กรรมสมุฏฐาน " กรรม คือ การกระทําที่ เกี่ยวของดวยกาย วาจา และใจ ถาเปนไปในฝายดีงาม ก็เรียกวา " กุศลกรรม " ถาเปนไปใน ฝายที่ไมดีไมงามก็เรียกวา " อกุศลกรรม " กรรมในทีน่ ี้หมายถึง เจตนาในอกุศลจิต 12 เจตนาใน มหากุศลจิต 8 และเจตนาในรูปาวจรกุศลจิต 4 เจตนาในจิตทัง้ 24 ดวงนี้ เปนกรรมที่ทาํ ใหเกิด รูปได สวนเจตนาในอรูปาวจรกุศลจิต 4 เปนกรรมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเจริญกรรมฐานชนิดรูปวิ ราคภาวนา คือ ปราศจากความยินดีในรูป ไมปรารถนาจะมีรูป ดวยอานิสงสแหงรูปวิราค ภาวนานัน้ จึงทําใหไมเกิดกรรมชรูป แตจะไปเกิดเปนอรูปพรหม สวนเจตนาในโลกุตตรกุศลจิต 4 นั้น เปนกรรมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเจริญวิปสสนากรรมฐาน อันเปนกรรมทีท่ ําลายภพ ทําลายชาติ กรรมชรูปนั่นแหละเปนตัวภพ ตัวชาติ ฉะนัน้ โลกุตตรกุศลกรรมทั้ง 4 นี้ จึงไมทาํ ให กรรมชรูปเกิด อนึง่ กรรมชรูป (รูปที่เกิดจากกรรม) มี 18 รูป ไดแก ปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวติ รูป 1 ปริจเฉทรูป 1 และอวินพิ โภครูป 8 ทั้ง 18 รูปนี้ อาจเกิดจากกุศลกรรม หรืออกุศลกรรมก็ได และกรรมในที่นี้ หมายเอากรรมทั้งในอดีตชาติและปจจุบันชาติ กรรมชรูปนี้ มีอยูในสัตวและบุคคลทั้งหลายทีม่ ีรูปขันธ ไดแก สัตวเดรัจฉาน มนุษย เทวดา และพรหม โดยกรรมชรูปจะเริ่มเกิดตั้งแตปฏิสนธิเปนตนมา และจะเกิดไดทั้ง 3 อนุขณะ คือ อุปาทขณะ

183 ฐีติขณะ และภังคขณะ ของปฏิสนธิจิตเปนตนมา ตอมาก็จะเกิดทุกๆอนุขณะของจิตทุกๆดวง จนเมื่อใกลจะตายตั้งแตฐีติขณะจิตดวงที่ 17 ที่นับจากจุติจิตยอนถอยหลังทวนมา กรรมชรูปใหม ไมเกิดอีก สวนกรรมชรูปที่เกิดขึ้นที่อุปาทขณะของจิตดวงที่ 17 นี้ ยอมตั้งอยูไดจนถึงจุติจิตจึงจะ ครบอายุ แลวก็ดับลงไปพรอมกับภังคขณะของจุติจิตพอดี กรรมชรูป 18 รูปนี้ ทีเ่ กิดจากกรรม โดยแนนอนนัน้ มี 9 รูป คือ ปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 และชีวิตรูป 1 ทัง้ 9 รูปนี้ เปน รูปที่เกิดจากกรรมโดยสมุฏฐานเดียว สวนที่เหลืออีก 9 รูป คือ อวินพิ โภครูป 8 และปริจเฉทรูป 1 นั้น ไมไดเกิดจากกรรมโดยสมุฏฐานเดียว มีสมุฏฐานอืน่ รวมดวย กลาวคือ ในตัวของคน และสัตวทั้งหลายนัน้ ปสาทรูป 5 ภาวรูป 2 หทยรูป 1 และชีวิตรูป 1 รวม 9 รูปนี้เกิดได แต ในสิ่งที่ไมมีชีวติ เกิดไมได สวนรูปที่เหลืออีก 9 รูป คือ อวินพิ โภครูป 8 และปริจเฉทรูป 1 นั้น เกิดในรางกายของคนและสัตวทั้งหลายก็ได เกิดในสิ่งทีไ่ มมีชีวิตทัง้ หลายก็ได

3.2 จิตตสมุฏฐาน จิตที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปนั้นเรียกวา " จิตตสมุฏฐาน " ไดแก จิต 72 ดวง ยกเวน ทวิปญจวิญญาณจิต 10 และอรูปาวจรวิบากจิต 4 เพราะทวิปญจวิญญาณจิต 10 เปนจิตทีม่ ี กําลังออน ไมสามารถทําใหจิตตชรูปเกิดได เพราะไมมีองคแหงเหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ และไมมีองคแหงฌาน คือ วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา และไมมีองคแหงมรรค คือ ทิฏฐิ สังกัปปะ วาจา กัมมันตะ อาชีวะ วายามะ สติ และสมาธิ ประกอบเลยแมแตองคเดียว สวนอรูปาวจรวิบากจิต 4 อันเปนผล ของอรูปาวจรกุศลจิต 4 จากการเจริญรูปวิราคภาวนานั้น ก็ไมสามารถทําใหจิตตชรูปเกิดได เพราะตองไปอุบัติในอรูปภูมินั่นเอง อนึง่ จิต 72 ดวงที่ทาํ ใหเกิดจิตตชรูปนั้น ก็ทาํ ใหรูปเกิดได เฉพาะอุปาทขณะของจิตนัน้ ๆเทานั้น เพราะเปนขณะทีจ่ ิตมีกําลังแรงมาก สวนฐีติขณะของจิต และภังคขณะของจิตนั้น กําลังตก กําลังออนเสียแลว ไมมกี ําลังพอที่จะทําใหจติ ตชรูปเกิดขึ้นได จิตตชรูปมี 15 รูป ไดแก วิญญัติรปู 2 สัททรูป 1 วิการรูป 3 ปริจเฉทรูป 1 และอวินพิ โภครูป 8 และทั้ง 15 รูปนี้นนั้ มีวญ ิ ญัติรูป 2 เทานัน้ ทีเ่ กิดจากจิตโดยสมุฏฐานเดียว

3.3 อุตุสมุฏฐาน อุตุที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปนั้นเรียกวา " อุตุสมุฏฐาน " อุตุในที่นี้ หมายถึง เตโชธาตุ หรือธาตุไฟซึง่ มี 2 อยาง คือ สีหเตโช (ความเย็น) และอุณหเตโช (ความรอน) ทัง้ สีหเตโชและ อุณหเตโชทีท่ าํ ใหเกิดรูปขึ้นนี้ ก็ยังแบงออกเปน 2 อยางอีกเชนกัน คือ อัชฌัตตอุตุ หรือ อุตุ ภายใน (อุตทุ ี่เกิดขึ้นภายในรางกายสัตวทมี่ ีชีวิต) และพหิทธอุตุ หรือ อุตุภายนอก (อุตุที่เกิด

184 ภายนอกรางกายสัตวที่มีชวี ติ ) อนึ่ง อุตชุ รูป (รูปที่เกิดจากอุต)ุ มี 13 รูป คือ อวินพิ โภครูป 8 ปริจเฉทรูป 1 วิการรูป 3 และสัททรูป 1 ในจํานวนรูปที่เกิดจากอุตุทงั้ 13 รูปนี้ ไมมีรูปใดรูป หนึง่ ทีเ่ กิดจากอุตุโดยแนนอน คือรูปที่เกิดจากอุตุโดยแนนอนนัน้ ไมมี ประเภทของอุตุชรูปนั้นยัง แบงเปน 4 ประเภท ไดแก กรรมปจจยอุตุชรูป คือ รูปที่เกิดจากอุตทุ ี่มีกรรมเปนสมุฏฐาน จิตตปจจยอุตุชรูป คือ รูปที่เกิดจากอุตุทมี่ ีจิตเปนสมุฏฐาน อุตุปจจยอุตุชรูป คือ รูปที่เกิดจาก อุตุที่มีอุตุเปนสมุฏฐาน และอาหารปจจยอุตุชรูป คือ รูปที่เกิดจากอุตุที่มีอาหารเปนสมุฏฐาน อนึ่ง สําหรับรางกายที่มีอุตชุ รูปปกคลุมอยูทั่วไป ของมนุษยและสัตวทงั้ หลายนั้น เมื่อตายลง อุตุชรูปก็ยังคงปรากฏอยูตลอดไป สวนกรรมชรูปและอาหารชรูป จะปรากฏอยูไดในระหวางที่ มนุษยและสัตวยังมีชีวิตอยูเ ทานั้น เมื่อมนุษยและสัตวนั้นตายลง กรรมชรูปและอาหารชรูปก็จะ ดับสิ้นหมดไป สําหรับจิตตชรูปนั้น จะปรากฏขึ้นไมไดโดยเฉพาะตนเอง ตองอาศัยกรรมชรูป อุตุชรูป และอาหารชรูป ทั้ง 3 นีเ้ ปนที่ตงั้ จึงจะเกิดขึ้นได หมายความวา จิตตชรูปนี้ก็ตองดับไป เชนกัน

3.4 อาหารสมุฏฐาน อาหารที่เปนสมุฏฐานใหเกิดรูปนั้นเรียกวา " อาหารสมุฏฐาน " ไดแกอาหารรูปทั้งภายใน และภายนอกเชนเดียวกันกับอุตุ อาหารในทีน่ ี้หมายถึง “ โอชา ” ที่มอี ยูในอาหารตางๆนัน่ เอง กลาวคือ โอชายอมยังอาหารสมุฏฐานนิกรูปใหเกิดขึ้น ตั้งแตฐีติขณะของจิตในกาลทีก่ ลืนกินซึ่ง อาหารเขาไปสูภายในรางกาย โอชาที่ทาํ ใหอาหารชรูปเกิดขึ้นนัน้ มีอยูทวั่ ไปในสิง่ ตางๆและมีอยู ภายในสัตวและภายนอกสัตว โอชาที่มอี ยูภายในรางกายของสัตวเรียกวา " อัชฌัตตโอชา " ถา โอชานัน้ อยูภายนอกกายของสัตวก็เรียกวา " พหิทธโอชา " อนึง่ อาหารรูปภายในทีช่ ื่อวาอัชฌัตต โอชา ไดแก กรรมชโอชา คือ โอชาที่อยูในกรรมชรูป 18 นัน่ เอง กรรมชโอชานัน้ สําคัญมากใน การงานที่จะชวยอุปถัมภใหอาหารชรูปเกิดขึ้น สวนอาหารรูปภายนอกที่ชื่อวาพหิทธโอชา ไดแก อุตุชโอชา คือ โอชาที่อยูในอวินิพโภครูป 8 ที่อยูในอาหารตางๆอันควรแกการบริโภคทั้งปวง อัชฌัตตโอชากับพหิทธโอชาทัง้ 2 นี้ ทํางานเกีย่ วเนื่องกัน คือ อัชฌัตตโอชา ทําหนาที่อุปถัมภ ชวยใหอาหารชรูปเกิด สวนพหิทธโอชาทําหนาที่ใหอาหารชรูปเกิดขึ้นโดยตรง ในโอชาทัง้ 2 นี้ กรรมชโอชาสําคัญมากในการงานทีจ่ ะชวยอุปถัมภใหอาหารชรูปเกิดมากกวาอุตุชโอชา สําหรับ อาหารภายนอก เมื่อไดบริโภคและถูกยอยดวยปาจกเตโชแลว จึงจะอนุเคราะหปฐวีธาตุและ อาโปธาตุ อันเปนอาหารภายในเพื่อใหเกิดรูป ถาอาหารที่บริโภคมิไดรับการยอยจากเตโชธาตุ อาหารสมุฏฐานนิกรูปยอมไมเกิด เมื่อไดบริโภคอาหาร และอาหารนั้นถูกยอยดวยปาจกเตโชธาตุ

185 แลว โอชาแหงอาหารนัน้ ก็จะซึมซาบเขาไปในรางกาย ทําใหเกิดอาหารชรูป ถาอาหารที่บริโภค ไมไดรับการยอยจากเตโชธาตุแลว อาหารชรูปยอมไมเกิดขึ้น อาหารที่ทาํ ใหเกิดรูปนั้น ถาเปน สัตวที่เกิดในครรภมารดา โอชาแหงอาหารที่มารดารับประทานเขาไป ก็จะซึมซาบเขาไปใหเกิด รูปแหงทารก กลาวสําหรับมนุษยที่เกิดในครรภมารดา อาหารชรูปเริ่มเกิดในสัปดาหที่ 3 นับแต ปฏิสนธิกาล ถาสัตวนั้นเปนสังเสทชกําเนิดหรือโอปปาติกกําเนิด จําพวกที่ตองกินอาหาร เมือ่ เกิดนัน้ รางกายครบถวนบริบูรณแลว แตยังมิไดบริโภคสิ่งหนึ่งสิง่ ใด ไดแตกลืนเสมหะและเขฬะ ของตนลวงลําคอลงไปแลว โอชาแหงเสมหะและเขฬะก็จะซึมซาบเปนอาหารชรูป ดังนัน้ จึงรวม ความไดวา อาหารชรูปยอมเกิดเมื่อโอชาแหงอาหารนัน้ ซึมซาบเขาไปในรางกาย และตอจากนัน้ มา อาหารชรูปนี้ก็จะเกิดทุกๆฐีติขณะจิตตลอดเวลา อนึ่ง อาหารที่บริโภคในวันหนึง่ ๆนัน้ ยอม ทรงอยูไดนานถึง 7 วัน โดยอาหารชรูปมี 12 รูป ไดแก มหาภูตรูป 4 โคจรรูป 3 (เวนสัททรูป) อาหารรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 และวิการรูป 3 รวม 12 รูป

4 . รูปกลาปนัย รูปกลาปะ คือ กลุมรูปที่เกิดขึ้นเปนหมวด เปนหมู เปนคณะ เปนกลุม เปนกอน เกิดขึ้นพรอมกัน ดับลงพรอมกัน และมีทอี่ าศัยรวมกัน มีจํานวน 21 กลาปะ ไดแก 1 . กลุม รูปที่เกิดจากกรรมเรียกวา " กรรมชกลาปะ " มี 9 กลาปะ 2 . กลุม รูปที่เกิดจากจิตเรียกวา " จิตตชกลาปะ " มี 6 กลาปะ 3 . กลุม รูปที่เกิดจากอุตุเรียกวา " อุตุชกลาปะ " มี 4 กลาปะ 4 . กลุม รูปที่เกิดจากอาหารเรียกวา " อาหารชกลาปะ " มี 2 กลาปะ รวมทัง้ หมดเปน 21 กลาปะ ในรูปกลาปะทั้ง 21 กลาปะนี้ เมื่อนับจํานวนรูปธรรมแลว รวมไดรูปธรรมเพียง 23 รูป เวนอยู 5 รูป คือ ปริจเฉทรูป 1 และลักขณรูป 4 ทีเ่ วนปริจเฉทรูป 1 และลักขณรูป 4 ก็เพราะวาปริจเฉทรูปและลักขณรูปทัง้ หลาย ไมเปนองคแหงกลาปะเพราะ อากาศก็เปนเพียงที่กาํ หนด และลักขณรูปก็เปนเพียงเครื่องหมายของกลาปะ

4.1 กรรมชกลาปะ 9 กรรมชกลาปะ คือ กลุมรูปที่เกิดจากกรรม มีกรรมเปนสมุฏฐาน ซึง่ มีกลาปะ 9 กลาปะ มีจํานวนรูป 17 รูป (กรรมชรูป 18 รูปทีห่ ักปริจเฉทรูปออก) โดยกรรมชกลาปะนัน้ มีไดเฉพาะสิง่ ที่ มีชีวิตเทานั้น สวนสิ่งที่ไมมชี ีวิตนัน้ ไมมกี รรมชกลาปะ

4.1.1 จักขุทสกกลาปะ จักขุทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 จักขุปสาทรูป 1 รวม 10 รูป

186 4.1.2 โสตทสกกลาปะ โสตทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 โสตปสาทรูป 1 รวม 10 รูป

4.1.3 ฆานทสกกลาปะ ฆานทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 ฆานปสาทรูป 1 รวม 10 รูป

4.1.4 ชิวหาทสกกลาปะ ชิวหาทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 ชิวหาปสาทรูป 1 รวม 10รูป

4.1.5 กายทสกกลาปะ กายทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 กายปสาทรูป 1 รวม 10 รูป

4.1.6 อิตถีภาวทสกกลาปะ อิตถีภาวทสกกลาปะมี อวินิพโภครูป 8 ชีวิตรูป 1 อิตถีภาวรูป 1 รวม 10รูป

4.1.7 ปุริสภาวทสกกลาปะ ปุริสภาวทสกกลาปะมี อวินิพโภครูป 8 ชีวิตรูป 1 ปุรสิ ภาวรูป 1 รวม 10 รูป

4.1.8 หทยทสกกลาปะ หทยทสกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 หทยรูป 1 รวม 10 รูป

4.1.9 ชีวิตนวกกลาปะ ชีวิตนวกกลาปะมี อวินพิ โภครูป 8 ชีวติ รูป 1 รวม 9 รูป อนึ่ง รางกายมนุษยแบงออกเปน 3 สวน แตละสวนมีกรรมชกลาปะตางๆกัน ดังนี้ สวนที่หนึ่งเรียกวา " อุปริมกาย " อุปริมกาย คือ กายสวนบน นับตั้งแตลูกกระเดือกขึ้นไป มี กรรมชกลาปะตั้งอยูถงึ 7 กลาปะ ไดแก จักขุทสกกลาปะ โสตทสกกลาปะ ฆานทสกกลาปะ ชิวหาทสกกลาปะ กายทสกกลาปะ ภาวทสกกลาปะ และชีวิตนวกกลาปะ สวนที่สองเรียกวา " มัชฌิมกาย " มัชฌิมกาย คือ กายสวนกลาง นับตัง้ แตลูกกระเดือกลงมาจนถึงสะดือ มีกรรม ชกลาปะตัง้ อยู 4 กลาปะ ไดแก หทยทสกกลาปะ กายทสกกลาปะ ภาวทสกกลาปะ และ ชีวิตนวกกลาปะ และสวนสุดทายเรียกวา " เหฏฐิมกาย " เหฎฐิมกาย คือ กายสวนต่ํา นับตั้งแตสะดือลงไป มีกรรมชกลาปะตั้งอยู 3 กลาปะ ไดแก กายทสกกลาปะ ภาวทสกกลาปะ และชีวิตนวกกลาปะ

4.2 จิตตชกลาปะ 6

187 จิตตชกลาปะ คือ กลุม รูปที่เกิดจากจิต มีจิตเปนสมุฏฐาน ซึ่งมีกลาปะ 6 กลาปะ มี จํานวนรูป 14 รูป (จิตตชรูป 15 รูปที่หักปริจเฉทรูปออก) โดยจิตตชกลาปะนัน้ เกี่ยวกับเสียงและ การพูดอยางหนึ่ง เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวอิริยาบถอยางหนึ่ง และมีไดเฉพาะสิง่ ทีม่ ีชีวิตเทานั้น สวนสิง่ ที่ไมมชี วี ิตนัน้ ไมมีจติ ตชกลาปะ

4.2.1 สุทธัฏฐกกลาปะ สุทธัฏฐกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 รวม 8 รูป สุทธัฏฐกกลาปะเปนรูปกลาปะที่เกิดขึ้น จากจิต เกิดในเวลาที่ไมเกีย่ วกับการเคลือ่ นไหว ไมเกีย่ วกับการพูดหรือการออกเสียง แตเกิดขึ้น ในขณะที่จิตใจออนเพลีย ไมเขมแข็ง ในขณะที่เสียใจหรือโกรธ มีลักษณะอาการหนาซีด หนา แดง หรือในขณะที่เกลียด กลัว ขนลุกขนพอง เปนตน อนึง่ สุทธัฏฐกกลาปะนัน้ เกิดกับจิต 72 ดวง ไดแก อกุศลจิต 12 อเหตุกจิต 8 (เวนทวิปญ  จวิญญาณจิต 10) กามาวจรโสภณจิต 24 รูปาวจรจิต 12 อรูปาวจรจิต 8 (เวนอรูปาวจรวิบากจิต 4) และโลกุตตรจิต 8

4.2.2 กายวิญญัตินวกกลาปะ กายวิญญัตินวกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 กายวิญญัติ 1 รวม 9 รูป กายวิญญัตินวก กลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดจากจิต เกิดเมื่อเวลาเคลือ่ นไหวรางกายตางๆที่ไมเปนปกติ คือ เวลาจิตใจออนเพลีย ไมเขมแข็ง การยืน การเดิน การนัง่ การนอน การคูเหยียด เหลียว ซาย แลขวา เดินหนา ถอยหลัง กระพริบตา เปนตน จะเปนไปอยางเชื่องชา หนักหนวง ไมคลองแคลว อนึ่ง กายวิญญัตินวกกลาปะนัน้ เกิดไดในจิต 32 ดวง ไดแก มโนทวาราวัชชน จิต 1 อกุศลจิต 12 มหากุศลจิต 8 หสิตุปปาทจิต 1 มหากิริยาจิต 8 และอภิญญาจิต 2

4.2.3 วจีวิญญัติสัทททสกกลาปะ วจีวิญญัติสัทททสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วจีวิญญัติ 1 และสัททรูป 1 รวม 10 รูป วจีวิญญัติสัทททสกกลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดจากจิต เกิดเมื่อเวลาพูด ใชเสียงอานหนังสือ รองเพลง สวดมนต เปนตน ที่ไมเปนไปตามปกติ เชน ในเวลาทีร่ ูสึกไมสบาย หรือในเวลาที่ ิ ญัติสัทททสกกลาปะนัน้ จิตใจหดหูท อถอย ไมเต็มใจพูด ไมเต็มใจอาน เปนตน อนึง่ วจีวญ เกิดไดในจิต 32 ดวง ไดแก มโนทวาราวัชชนจิต 1 อกุศลจิต 12 มหากุศลจิต 8 หสิตุปปาทจิต 1 มหากิริยาจิต 8 และอภิญญาจิต 2

4.2.4 ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ

188 ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วิการรูป 3 รวม 11 รูป ลหุตาทิเอกาทสก กลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดในเวลาที่ไมไดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ไมเกี่ยวกับการพูด หรือการ ออกเสียง แตเกิดในขณะที่จิตใจสบาย เขมแข็ง ในขณะที่ดีใจ มีลักษณะอาการหนาตาแจมใส ชื่นบาน ในขณะที่ปติเกิด มีลักษณะอาการขนลุกขนพอง เปนตน อนึ่ง ลหุตาทิเอกาทสกกลา ปะนัน้ เกิดไดในจิต 56 ดวง ไดแก มโนทวาราวัชชนจิต 1 อกุศลจิต 12 มหากุศลจิต 8 หสิ ตุปปาทจิต 1 มหากิริยาจิต 8 อภิญญาจิต 2 รูปาวจรจิต 8 (เวนรูปาวจรวิบากจิต 4) อรูปาวจร จิต 8 (เวนอรูปาวจรวิบากจิต 4) และโลกุตตรจิต 8

4.2.5 กายวิญญัติลหุตาทิทวาทสกกลาปะ กายวิญญัติลหุตาทิทวาทสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วิการรูป 3 และกายวิญญัติ 1 รวม 12 รูป กายวิญญัติลหุตาทิทวาทสกกลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดจากจิต เกิดเมื่อเวลา เคลื่อนไหวรางกายตางๆ ขณะที่มีจิตใจเขมแข็ง สะดวกสบาย เชน การยืน การเดิน การนัง่ และการนอน จะเต็มไปดวยความคลองแคลว สะดวกสบาย อนึง่ กายวิญญัตลิ หุตาทิทวาทสก กลาปะนั้น เกิดไดในจิต 32 ดวง ไดแก มโนทวาราวัชชนจิต 1 อกุศลจิต 12 มหากุศลจิต 8 หสิตุปปาทจิต 1 มหากิริยาจิต 8 และอภิญญาจิต 2

4.2.6 วจีวิญญัติสัททลหุตาทิเตรสกกลาปะ วจีวิญญัติสัททลหุตาทิเตรสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วิการรูป 3 วจีวิญญัติ 1 สัททรูป 1 รวม 13 รูป วจีวิญญัติสัททลหุตาทิเตรสกกลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดจากจิต เกิด เมื่อเวลาพูด เวลาอานหนังสือ รองเพลง สวดมนต เปนตน เปนไปตามปกติ หรือในเวลาที่ จิตใจสบาย การพูด การอาน ก็เปนไปไดโดยสะดวก และคลองแคลว ไมหนักหนวง มีความ เบา ความออน ความควร ตลอดเวลาที่ใชเสียง น้ําเสียงจะแจมใสชัดเจน ไมแหบเครือ อนึง่ วจีวิญญัติสัททลหุตาทิเตรสกกลาปะนัน้ เกิดไดในจิต 32 ดวง ไดแก มโนทวาราวัชชนจิต 1 อกุศลจิต 12 มหากุศลจิต 8 หสิตุปปาทจิต 1 มหากิรยิ าจิต 8 และอภิญญาจิต 2 อนึ่ง สําหรับรางกายมนุษยทงั้ 3 สวน คือ อุปริมกาย มัชฌิมกาย และเหฏฐิมกายนัน้ ในอุปริมกาย คือ ในรางกายสวนบน มีจิตตชกลาปะเกิดไดทั้ง 6 กลาปะ ในมัชฌิมกายและ เหฏฐิมกาย คือ ในรางกายสวนกลางและสวนต่าํ นัน้ มีจิตตชกลาปะเกิดไดเพียง 4 กลาปะ

189 ไดแก สุทธัฏฐกกลาปะ กายวิญญัตนิ วกกลาปะ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ และกายวิญญัติลหุ ตาทิทวาทสกกลาปะ

4.3 อุตุชกลาปะ 4 อุตุชกลาปะ คือ กลุม รูปทีเ่ กิดจากอุตุ มีอุตุเปนสมุฏฐาน ซึ่งมีกลาปะ 4 กลาปะ (เฉพาะสิง่ มีชวี ิต) และมีจาํ นวนรูป 12 รูป (อุตุชรูป 13 รูปที่หกั ปริจเฉทรูปออก) โดยอุตุชกลาปะนั้น เกิดไดทั้งในสิง่ ที่มชี ีวิตและไมมีชีวิต สําหรับที่เกิดในสิง่ ที่มีชีวิตมีอยู 4 กลาปะดวยกัน ไดแก สุทธัฏฐกกลาปะ สัททนวกกลาปะ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ และสัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะ

4.3.1 สุทธัฏฐกกลาปะ สุทธัฏฐกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 รวม 8 รูป สุทธัฏฐกกลาปะ ไดแก รางกายของ สัตวทั้งหลายนั่นเอง เพราะอุตุชกลาปะนั้น เปนกลาปะที่เปนพืน้ รองรับกลาปะอืน่ ๆอีกทีหนึง่ ถา ไมมีอุตุชกลาปะแลว กลาปะอื่นๆก็ไมสามารถปรากฏได และสุทธัฏฐกกลาปะนี้ เกิดมีไดทั้ง ภายในและภายนอก หมายถึง เกิดมีไดทงั้ สิ่งที่มีชวี ิตและไมมีชีวิต โดยสุทธัฏฐกกลาปะนี้ เกิด เมื่อเวลาที่รางกายของสัตวไมเปนปกติ เชน ปวย ไมสบาย ออนเพลีย เปนตน สุทธัฏฐกกลา ปะที่เกิดมีไดในสิ่งที่ไมมีชวี ติ คือวัตถุสิ่งของตางๆทัง้ หลาย เชน ภูเขา ตนไม โตะ เกาอี้ เปน ตน ยอมมีสทุ ธัฏฐกกลาปะ คือมีเพียงอวินพิ โภครูป 8 เทานัน้ สวนสุทธัฏฐกกลาปะ หรือ อวิ นิพโภครูป 8 ที่เกิดมีไดในสิง่ ที่มชี ีวิต ก็คอื รางกายตัวตนของสัตวนี่เอง เพราะอุตุชกลาปะนี้ เปนกลาปะที่เปนพืน้ ฐานในการรักษารูปตางๆเหลานั้น มิใหเนาเปอยไป ถาไมมีอุตชุ กลาปะนี้ แลว กลาปะอื่นๆ เชน กรรมชกลาปะ เปนตน ก็ไมสามารถปรากฏตั้งอยูได

4.3.2 สัททนวกกลาปะ สัททนวกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 สัททรูป 1 รวม 9 รูป สัททนวกกลาปะ เปนรูป กลาปะที่เกิดขึน้ จากอุตุ เกิดมีไดทั้งภายในและภายนอก คือ เกิดมีไดทั้งในสิง่ ที่มชี ีวิต และใน สิ่งที่ไมมีชวี ิต ที่เกิดมีไดในสิ่งที่มชี ีวิต ไดแก เสียงกรน เสียงทองลัน่ เสียงตบมือ เสียงดีดนิว้ เปนตน สวนที่เกิดมีไดในสิง่ ที่ไมมีชวี ิต ไดแก เสียงลมพัด เสียงฟารอง เสียงน้าํ ไหล เสียงเรือ เสียงรถ เสียงฆอง เสียงกลอง เปนตน ซึง่ เสียงตางๆเหลานี้ไมชัดเจนนัก สัททนวกกลาปะนี้ เมื่อมีวิการรูป 3 เกิดรวมดวยก็เรียกวา " สัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะ " ไดแกเสียงตางๆดังกลาว แลว แตเปนเสียงที่ปรากฏชัด มีความแจมใสชัดเจนกวา

190 4.3.3 ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วิการรูป 3 รวม 11 รูป ลหุตาทิเอกาทสก กลาปะ เปนรูปกลาปะที่เกิดจากอุตุ เกิดมีไดเฉพาะแตภายใน คือ เกิดไดเฉพาะในสิ่งที่มีชวี ิต เทานัน้ จึงจะมีวิการรูป 3 เกิดรวมดวยได แตถา เปนสิง่ ที่ไมมีชวี ิตแลว ไมมีวกิ ารรูป 3 เกิดรวม ดวย ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะนี้ เกิดเมื่อเวลาที่รางกายของสัตวนนั้ ๆเปนปกติ สบาย แข็งแรง หรือจะกลาวไดวา ถาเปนปกติ สบาย แข็งแรง ก็มที ั้งสุทธัฏฐกกลาปะ คือ อวินพิ โภครูป 8 และมีวิการรูป 3 เกิดรวมดวย รวมเปน 11 รูปดวยกัน แตถาเวลาที่รา งกายไมปกติ ไมสบาย ออนเพลีย ก็มีแตเพียงสุทธัฏฐกกลาปะ คือ อวินพิ โภครูป 8 เกิดขึ้นเทานั้น

4.3.4 สัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะ สัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะ มีอวินิพโภครูป 8 สัททรูป 1 และวิการรูป 3 รวม 12 รูป สัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะ เปนรูปกลาปะทีเ่ กิดจากอุตุ เกิดมีไดแตเฉพาะภายใน คือ เกิดได เฉพาะในสิง่ ทีม่ ีชีวิตเทานั้น เพราะสิ่งที่ไมมีชีวิต ไมสามารถจะมีวิการรูป 3 เกิดรวมดวยไดเลย เปนอันขาด ที่เกิดมีไดแตในสิ่งที่มีชวี ติ นัน้ ก็ไดแกเสียงตางๆ เชน เสียงกรน เสียงทองรอง เสียงตบมือ เสียงดีดนิว้ เปนตน ซึ่งเสียงตางๆเหลานี้ จะปรากฏชัด มีความแจมใสชัดเจน อนึ่ง สําหรับรางกายมนุษยทงั้ 3 สวน คือ อุปริมกาย มัชฌิมกาย และเหฏฐิมกายนัน้ อุตุชกลาปะเกิดไดทั้ง 4 อยาง โดยสุทธัฏฐกกลาปะ และ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะนัน้ เกิดเปน ประจําอยูตามปกติ สวนสัททนวกกลาปะ และ สัททลหุตาทิทวาทสกกลาปะนั้น ไมไดเกิดเปน ประจํา แตจะเกิดเปนบางคราว บางเวลา

4.4 อาหารชกลาปะ 2 อาหารชกลาปะ คือ กลุมรูปที่เกิดจากอาหาร มีอาหารเปนสมุฏฐาน ซึง่ มีกลาปะ 2 กลาปะ และมีจํานวนรูป 11 รูป (อาหารชรูป 12 รูปที่หกั ปริจเฉทรูปออก) โดยอาหารชกลาปะ จะเกิดไดเฉพาะในสิง่ ทีม่ ีชีวติ เทานั้น โดยอาศัยกรรมชโอชาที่อยูภายในกายสัตว ชวยอุดหนุนชวย สงเสริม โดยเมื่อสัตวนนั้ กลืนกินอาหารเขาไป จึงจะเกิดอาหารชกลาปะขึ้นอีกทีหนึ่ง อนึง่ อาหารชกลาปะนี้ มี 2 ชนิด ไดแก สุทธัฏฐกกลาปะ และ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ

4.4.1 สุทธัฏฐกกลาปะ สุทธัฏฐกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 รวม 8 รูป สุทธัฏฐกกลาปะ เกิดเมื่ออาหารตางๆที่ กลืนกินเขาไปแลว ไมทาํ ใหรางกายรูสึกสดชื่น ไมกระปรี้กระเปรา แตกลับทําใหไมสบาย

191 วิงเวียน คลื่นเหียน แนน เปนลม ไมวา จะเปนอาหารหรือยาก็ตาม เมื่อกลืนลงไปแลวไมทําให รางกายรูสึกกระปรี้กระเปรา ทั้งนี้เพราะอาหารชกลาปะที่เกิดจากอาหารนั้นๆ ยังไมประกอบดวย วิการรูปทัง้ 3 นั่นเอง

4.4.2 ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ ลหุตาทิเอกาทสกกลาปะ มีอวินพิ โภครูป 8 วิการรูป 3 รวม 11 รูป ลหุตาทิเอกาทสก กลาปะ เกิดเมื่ออาหารตางๆหรือยาตางๆ ที่เมื่อกินลงไปแลว ทําใหรางกายรูสึกมีอาการสดชืน่ สบาย มีเรี่ยวแรง กระปรี้กระเปรา ทัง้ นีเ้ พราะอาหารหรือยาเหลานี้ ประกอบดวยวิการรูปทั้ง 3 อนึ่ง สําหรับรางกายมนุษยทงั้ 3 สวน คือ อุปริมกาย มัชฌิมกาย และเหฏฐิมกายนัน้ อาหารชกลาปะเกิดไดทั้ง 2 อยาง และเกิดไดทุกสวนของรางกาย

5 . รูปปวัตติกมนัย รูปปวัตติกมนัย คือ การลําดับการเกิดดับของรูปธรรม หรือการแสดงลําดับการเกิดดับ ของรูป 28 รูปนั่นเอง คําวา " ปวัตติ " แปลวาความเปนไปหรือการเกิดดับ คําวา " กมะ " แปลวา ลําดับ และคําวา " นัย " แปลวาแนว ดังนั้นคําวา " รูปปวัตติกมนัย " จึงแปลวาแนวแหงความ เปนไปตามลําดับของรูปธรรม หรือแนวแหงการเกิดดับของรูปธรรม ซึ่งรูปปวัตติกมนัยนี้สามารถ แสดงไดเปน 3 นัย ไดแก ตามนัยแหงภูมิ ตามนัยแหงกาล และตามนัยแหงกําเนิด

5.1 ตามนัยแหงภูมิ 3 ตามนัยแหงภูมิ หมายถึง ภูมิทงั้ 27 ภูมิ ไดแก กามภูมิ 11 ภูมิ (อบาย 4 มนุษย 1 เทวดา 6) รูปภูมิ 15 ภูมิ (รูปพรหม) และอสัญญีสัตตภูมิ 1 ภูมิ (รูปพรหม) ซึ่งทัง้ 27 ภูมินี้ ก็ลว นมี รูปธรรมดวยกันทุกภูมิ โดยมีมากบางหรือนอยบางตามควรแกภูมินนั้ ๆ สวนอรูปภูมิอีก 4 ภูมิ (อรูปพรหม) ไมไดกลาวถึงดวย เพราะในอรูปภูมินั้นไมมีรูปธรรมเลยแมแตสักรูปเดียว โดยใน กามภูมนิ ั้นเกิดรูปไดทั้ง 28 รูป ในรูปภูมินั้นเกิดรูปได 23 รูป ในอสัญญีสัตตภูมินั้นเกิดรูปไดเพียง 17 รูป สวนในอรูปภูมินนั้ ไมมีรูปเกิดขึ้นเลย

5.1.1 กามภูมิ 11 ในกามภูมิ 11 ภูมิ รูปทัง้ 28 รูปเกิดไดครบ แตถา กลาวโดยบุคคลแตละบุคคลแลว ถา เปนสตรีเพศก็ตองเวนปุริสภาวรูป และถาเปนบุรุษเพศก็ตองเวนอิตถีภาวรูป เปนอันวาบุคคลใน กามภูมิแตละบุคคล มีรูปบุคคลละ 27 รูป แตบางบุคคลอาจจะบกพรองมีไมถึง 27 รูปก็ได เชน ถาตาบอดก็จะไมมีจกั ขุปสาทรูป ถาหูหนวกก็จะไมมโี สตปสาทรูป เปนตน

192 5.1.2 รูปภูมิ 15 ในรูปภูมิ 15 ภูมิ (เวนอสัญญีสัตตภูมิ) มีรูปเกิดไดเพียง 23 รูปเทานัน้ โดยเวนฆานปสาท รูป ชิวหาปสาทรูป กายปสาทรูป อิตถีภาวรูป และปุริสภาวรูป สาเหตุที่เวนปสาทรูป 3 และ ภาวรูป 2 นั้น เพราะรูปทัง้ 5 รูปนี้ เปนรูปที่เปนปจจัยสนับสนุนและกอใหเกิดกามคุณอารมณเปน สวนมาก อันลวนแตเปนโทษอยางเดียว และเพราะพรหมบุคคลนัน้ เปนผูที่ปราศจากกามฉันทะ ดังนัน้ รูปทัง้ 5 จึงไมเกิดมีแกพวกพรหม สวนจักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป เกิดมีแกพวกพรหม ได เพราะปสาทรูปทั้ง 2 นี้ มิใชเปนปจจัยกอใหเกิดกามคุณอารมณที่จะเปนโทษแตอยางเดียว ยอมมีคุณประโยชนเปนอยางยิ่งไดอีกดวย กลาวคือ นัยนตาก็เปนประโยชนในการที่ไดเห็นผูท รง คุณอันประเสริฐ หูก็มีประโยชนในการทีจ่ ะไดฟงธรรมอันประเสริฐ ถึงกับไดรับความยกยอง เรียกวาเปน " ทัสสนานุตตริยคุณ " และ " สวนานุตตริยคุณ " คือ เปนคุณอยางลนพนแกการ เห็นและเปนคุณอยางลนพนแกการฟง ดังนัน้ พรหมบุคคลจึงยังคงมีจักขุปสาทรูปและโสตปสาท รูปอยู อนึ่ง พรหมในรูปภูมิทั้ง 15 ภูมินี้ แตละบุคคลมีรูปครบทั้ง 23 รูปไมมีขาดตกบกพรอง เหมือนบุคคลในกามภูมิ คือไมมีพรหมทีต่ าบอดหรือพรหมทีห่ ูหนวก อีกนัยนตาของพรหม ทั้งหลายนัน้ ก็ยังสามารถเห็นใดไกลมากจนถึงขนาดเปนตาทิพย และหูของพรหมทั้งหลายนัน้ ก็ยังสามารถไดยินไดไกลมากจนถึงขนาดเปนหูทิพย

5.1.3 อสัญญีสัตตภูมิ 1 ในอสัญญีสัตตภูมิ 1 ภูมินนั้ มีรูปเกิดไดเพียง 17 รูป คือ อวินพิ โภครูป 8 ชีวิตรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 วิการรูป 3 และลักขณรูป 4

5.2 ตามนัยแหงกาล 3 ตามนัยแหงกาล หมายถึง การแบงเวลาเปน 3 ชวง ไดแก 1 . ปฏิสนธิกาล (ชวงเวลาการกําเนิดหรือเกิดในภพใหม) 2 . ปวัตติกาล (ชวงเวลาการดําเนินไปหรือเปนไปในภพนัน้ ) 3 . จุติกาล (ชวงเวลาการทิง้ จากหรือตายไปจากภพเกา)

5.2.1 ปฏิสนธิกาล ปฏิสนธิกาล หมายถึง ชวงเวลาการสืบตอภพสืบตอชาติ และเปนเพียงชั่วอุปาทขณะ ของปฏิสนธิจติ ขณะเดียวเทานัน้ แมแตฐตี ิขณะและภังคะขณะของปฏิสนธิจิต ก็ไมนับเปน ปฏิสนธิกาล โดยในปฏิสนธิกาลนั้น สัททรูป 1 วิการรูป 3 วิญญัติรูป 2 ชรตารูป 1 และ

193 อนิจจตารูป 1 รวม 8 รูปนีเ้ กิดไมได เพราะในอุปาทขณะของปฏิสนธิจิต แหงสัตวทงั้ หลายนั้น เสียงยังไมมี การพูดและการเคลื่อนไหวใดๆก็ยังไมปรากฏ รูปเบา รูปออน รูปอันควรแกการ งาน รูปทีก่ ําลังแก และรูปที่กาํ ลังดับ ก็ยังมีไมไดทั้งนั้น นอกจาก 8 รูปที่กลาวแลวนี้ รูปธรรม อีก 20 รูป ไดแก มหาภูตรูป 4 ปสาทรูป 5 โคจรรูป 3 (เวนสัททรูป) ภาวรูป 2 หทยรูป 1 ชีวิตรูป 1 อาหารรูป 1 ปริจเฉทรูป 1 อุปจยรูป 1 และสันตติรูป 1 นัน้ สามารถเกิดขึ้นไดใน ปฏิสนธิกาล แตก็ตองคํานึงถึงซึง่ ลักษณะการกําเนิดของสัตว วากําเนิดอยางใดดวย

5.2.2 ปวัตติกาล ปวัตติกาล หมายถึง ชวงเวลาของการทรงอยู เวลาทีต่ ั้งอยูในภพนัน้ ชาตินั้น ปวัตติ กาลในทีน่ ี้ นับตั้งแตฐีติขณะของปฏิสนธิจิตเปนตนไปจนถึงจุติจิต อนึ่ง ในปวัตติกาลนัน้ รูปธรรมทั้ง 28 รูปยอมเกิดไดทั้งหมด ตามควรแกภูมินนั้ ๆ

5.2.3 จุติกาล จุติกาล หมายถึง ชวงเวลาของการเคลื่อนยายไปจากภพนั้นชาตินั้น เวลาที่ดับไปหรือ เวลาที่ตายไปจากภพนั้นชาตินั้น จุตกิ าลในทีน่ ี้ หมายถึง จุติจิตในจุติกาล โดยในจุติกาลนัน้ รูปตอไปนี้ไมสามารถเกิดได คือ กรรมชรูปกับกรรมชกลาปะทัง้ หมด จิตตชรูปกับจิตตชกลาปะ เฉพาะจุติจิตของพระอรหันต สวนที่เกิดไดในจุติกาล คือ จิตตชรูปกับจิตตชกลาปะของจุติจิต แหงสัตวในปญจโวการภูมิ (อบาย 4 มนุษย 1 เทวดา 6 รูปพรหม 15) ที่มิใชพระอรหันต อุตุชรูป กับอุตุชกลาปะทั้งหมด และอาหารชรูปกับอาหารชกลาปะทัง้ หมด

5.3 ตามนัยแหงกําเนิด 4 ตามนัยแหงกําเนิด หมายถึง อาการที่เกิดใหมของสัตวทั้งหลาย มีดวยกัน 4 กําเนิด ไดแก ชลาพุชกําเนิด อัณฑชกําเนิด สังเสทชกําเนิด และโอปปาติกกําเนิด

5.3.1 ชลาพุชกําเนิด ชลาพุชกําเนิด หมายถึง สัตวที่เกิดในครรภ ชลาพุชกําเนิดตองอาศัยเกิดจากทอง มารดา เกิดในมดลูก คลอดออกมาเปนตัวแลวคอยๆโตขึ้นตามลําดับ ไดแก มนุษย เทวดาชั้น ต่ําบางจําพวก (ภุมมัฏฐเทวดา : เทวดาทีอ่ าศัยอยูบนพืน้ ดิน) สัตวเดรัจฉานบางชนิด เปรตบาง ชนิด และอสุรกายบางจําพวก

5.3.2 อัณฑชกําเนิด

194 อัณฑชกําเนิด หมายถึง สัตวที่เกิดในไข ตองอาศัยเกิดจากทองมารดาเหมือนกัน แตมี ฟองหอหุม คลอดออกมาเปนไขกอนแลวจึงแตกจากไขมาเปนตัว และคอยๆเติบโตขึ้นตามลําดับ สัตวที่เปนอัณฑชกําเนิด ไดแก เทวดาชั้นต่ําบางจําพวก สัตวเดรัจฉานบางชนิด เปรตบางชนิด และอสุรกายบางจําพวก

5.3.3 สังเสทชกําเนิด สังเสทชกําเนิด หมายถึง สัตวที่เกิดจากที่เปยกชื้น เหงื่อไคล ยางเหนียว เกสรดอกไม เปนตน สังเสทชกําเนิดนี้ เกิดขึ้นโดยไมตอ งอาศัยบิดามารดา ไมไดอาศัยเกิดจากทองมารดา เกิดขึ้นโดยอาศัยตนไม ผลไม ดอกไม โลหิต ที่เปยกชื้น เปนตน เกิดมาก็เล็กเปนทารก แลว จึงคอยๆเติบโตขึ้นมา สัตวที่เปนสังเสทชกําเนิด ไดแก เทวดาชัน้ ต่ําบางจําพวก สัตวเดรัจฉาน บางชนิด เปรตบางชนิด และอสุรกายบางจําพวก

5.3.4 โอปปาติกกําเนิด โอปปาติกกําเนิด หมายถึง สัตวที่ไมไดเกิดมาจากกําเนิดทัง้ 3 ดังทีก่ ลาวมาแลว แต เกิดโดยผุดหรือโผลขึ้นมา ครบรูปกายใหญโตเต็มที่ในทันทีทนั ใด เหมือนกับวาบินมาจากภพเกา โอปปาติกกําเนิดนี้ ไมตองอาศัยเกิดจากทองมารดา ไมไดอาศัยสิ่งใดเกิด อาศัยเพียงอดีตกรรม ประการเดียว สัตวที่เปนโอปปาติกกําเนิด ไดแก เทวดาทัง้ หมด (เวนเทวดาชั้นต่าํ ) พรหมบุคคล (รูปพรหม 16 อรูปพรหม 4) สัตวนรกทั้งหมด สัตวเดรัจฉานบางชนิด เปรตบางชนิด และ อสุรกายบางจําพวก

หมวดที่ 2 ศีล ศีล คือ การกระทําอันเปนปกติตามธรรมชาติ ไมฝนกฎของธรรมชาติ การตัง้ เจตนาละ เวนการทําความชั่วทางกายและวาจา การละเวนโอกาสการทําความชั่วทางกายและวาจา ความ ประพฤติดีทางกายและวาจา การรักษากายและวาจาใหเรียบรอย ขอปฏิบัติสําหรับควบคุมกาย และวาจาใหตงั้ อยูในความดีงาม การรักษาปกติตามระเบียบวินัย ปกติมารยาทที่สะอาดและ ปราศจากโทษ ขอปฏิบัติในการเวนจากความชัว่ ขอปฏิบัติในการฝกหัดกายวาจาใหดียิ่งขึน้ ความสุจริตทางกายวาจาและอาชีพ ประโยชนของศีล ไดแก ความปติ ความไมเดือดรอนใจ ระดับขั้นของศีลนั้น มีการรักษาศีลเปนขัน้ ตน มีการไมลวงละเมิดศีลเปนขั้นกลาง และมีความ

195 ปราโมทยจากการรักษาศีลเปนขั้นสูง อุปสรรคของศีล ไดแก ความโกรธ ความพยาบาท การ หลอกลวง ความโลภ ความอิจฉาริษยา ความมีมารยาสาไถย ความผูกเกลียด การทะเลาะ วิวาท ความมีมานะถือตน ความอหังการ ความไมอดทน ความประมาท ความเกียจคราน ความมีราคะ ความไมสนั โดษ การไมคบซึ่งบัณฑิต การไมมีสติ การไมออนนอมถอมตน การ คบคนพาล ความรูผิดๆ ความเห็นผิดๆ ความไมมีศรัทธา ความไมมีหิริ ความไมมีโอตตัปปะ การไมรูจักประมาณในโภชนะ การมัว่ สุมกับสตรี การไมเคารพครูอาจารย การไมสํารวมอินทรีย การไมเจริญสมาธิ และไมศึกษาพระสัทธรรม อนึ่ง ในหมวดทีว่ าดวยศีลนี้ ประกอบไปดวย 1 . ปาฏิโมกขสังวรศีล (พระวินัยหรือบทบัญญัติขอหามตางๆ) 2 . อินทรียสังวรศีล (การสํารวมระวังอินทรียคือทวารทั้ง 6) 3 . อาชีวปาริสุทธิศลี (การดํารงชีวิตอยางบริสุทธิห์ มดจด) 4 . ปจจัยสันนิสิตศีล (การพิจารณาในการเสพบริโภคปจจัย 4)

ปาฏิโมกขสังวรศีล ปาฏิโมกขสังวรศีล คือ การสมาทานอยูในสิกขาบททั้งหลาย วาโดยฆราวาสนัน้ ปาฏิโมกขสังวรศีลคือ " ศีล 5 " วาโดยแมชีหรือผูตองการรักษาอุโบสถศีลนั้น ปาฏิโมกขสังวรศีล คือ " ศีล 8 " วาโดยสามเณรนั้นปาฏิโมกขสังวรศีลคือ " ศีล 10 " และวาโดยพระภิกษุสงฆนนั้ ปาฏิโมกขสังวรศีลคือ " ศีล 227 " ดังที่จะแสดงตอไปนี้

1 . ศีล 5 1 . เวนจากการฆาสัตวตัดชีวิต 2 . เวนจากการลักขโมย 3 . เวนจากการประพฤติผิดในกาม 4 . เวนจากการพูดโกหก 5 . เวนจากการดื่มสุราเมรัย

2 . ศีล 8 1 . เวนจากการฆาสัตวตัดชีวิต 2 . เวนจากการลักขโมย 3 . เวนจากการรวมประเวณี

196 4 . เวนจากการพูดโกหก 5 . เวนจากการดื่มสุราเมรัย 6 . เวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล 7 . เวนจากการฟอนรํา ขับรอง ดูมหรสพ ประดับรางกาย และทาเครื่องหอม 8 . เวนจากการนั่งนอนที่นอนอันสูงใหญ

3 . ศีล 10 1 . เวนจากการฆาสัตวตัดชีวิต 2 . เวนจากการลักขโมย 3 . เวนจากการรวมประเวณี 4 . เวนจากการพูดโกหก 5 . เวนจากการดื่มสุราเมรัย 6 . เวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล 7 . เวนจากการฟอนรํา ขับรอง และดูมหรสพ 8 . เวนจากการประดับรางกาย และทาเครื่องหอม 9 . เวนจากการนั่งนอนที่นอนอันสูงใหญ 10 . เวนจากการรับเงินทอง

4 . ศีล 227 4.1 ปาราชิกกัณฑ ปาราชิกกัณฑ คือ อาบัตทิ ี่ตองขาดจากความเปนภิกษุ สึกไปแลวกลับมาบวชอีกไมได มี 4 ขอ ไดแก 1 . เสพเมถุนกับคนหรือสัตว 2 . ถือเอาทรัพยที่เจาของไมไดใหมาเปนของตน 3 . ฆาคนตายหรือแสวงหาอาวุธ อันจะนําไปสูการฆาคน 4 . กลาวอวดอุตตริมนุสสธรรมวา " ขาพเจารูอยางนี้เห็นอยางนี้ " ทั้งที่ไมรูไมเห็นจริง

4.2 สัตตรสกัณฑ สัตตรสกัณฑ คือ อาบัติทตี่ องใหสงฆเกีย่ วของในกรรมเบื้องตน และกรรมที่ยงั เหลือ คือสงฆเปนผูป รับโทษใหอยูกรรม และสงฆเองเปนผูร ะงับอาบัติ มี 13 ขอ ไดแก

197 1 . ปลอยน้าํ อสุจิดวยความจงใจ เวนไวแตฝน 2 . เคลาคลึง จับมือ จับชองผม ลูบคลํา จับตองอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ 3 . พูดจาหยาบคายเกีย้ วพาราสี และเกาะแกะสตรีเพศ 4 . การกลาวถึงคุณในการบําเรอตนดวยกาม หรือถอยคําทีพ่ าดพิงเมถุน 5 . ทําตัวเปนพอสื่อพอชักใหหญิงชายจับคูกัน 6 . สรางกุฏิดว ยการขอ 7 . สรางวิหารใหญโดยสงฆมิไดกําหนดทีใ่ ห หรือรุกรานที่ของคนอื่น 8 . แกลงใสความภิกษุอื่นวาปาราชิกโดยไมมีมูล 9 . แกลงสมมุติ แลวใสความภิกษุอนื่ วาปาราชิกโดยไมมีมูล 10 . ยุยงสงฆใหแตกกัน 11 . เปนพวกของผูที่ทาํ สงฆใหแตกกัน 12 . เปนผูวา ยากสอนยาก แมจะโดนเตือนมาแลวถึง 3 ครั้ง 13 . ทําตัวเปนเหมือนคนรับใชคฤหัสถ ประจบประแจงคฤหัสถ

4.3 อนิยตกัณฑ อนิยตกัณฑ คือ อาบัติซึ่งไมแนใจวาจะตองอาบัติอะไรใน 2-3 ประการ มี 2 ขอ ไดแก 1 . การนัง่ ในทีล่ ับตา มีอาสนะกําบังอยูกบั สตรีเพศ และมีผูมาเห็นเปนผูที่เชื่อถือได พูด ขึ้นดวยธรรม 3 ประการ อันใดอันหนึง่ กลาวแกภิกษุนนั้ ไดแก ปาราชิกก็ดี สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตียก ็ดี ภิกษุนนั้ ถือวามีความผิดตามที่อุบาสกผูนนั้ กลาว 2 . ในสถานทีท่ ี่ไมเปนที่ลับตาเสียทีเดียว แตเปนที่ทจี่ ะพูดจาคอนแคะสตรีเพศไดสองตอ สองกับภิกษุผเู ดียว และมีผมู าเห็นเปนผูท เี่ ชื่อถือได พูดขึ้นดวยธรรม 2 ประการ อันใดอันหนึง่ กลาวแกภิกษุนั้น ไดแก สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตียก ็ดี ภิกษุนนั้ ถือวามีความผิดตามที่ อุบาสกผูนนั้ กลาว

4.4 นิสสัคคิยกัณฑ นิสสัคคิยกัณฑ คือ อาบัติที่ตองสละสิง่ ของ จีวร ไหม บาตร มี 30 ขอ ไดแก 1 . เก็บจีวรที่เกินความจําเปนไวเกิน 10 วัน 2 . อยูโ ดยปราศจากจีวรแมแตคืนเดียว 3 . เก็บผาที่จะทําจีวรไวเกินกําหนด 1 เดือน 4 . ใชใหภิกษุณีซักผา

198 5 . รับจีวรจากมือของภิกษุณี 6 . ขอจีวรจากคฤหัสถที่ไมใชญาติ เวนแตจีวรหายหรือถูกขโมย 7 . รับจีวรเกินกวาที่ใชนุง เมื่อจีวรถูกชิงหรือหายไป 8 . พูดทํานองขอจีวร ที่ดีกวาจีวรที่เขากําหนดจะถวายไวแตเดิม 9 . พูดใหเขารวมกันซื้อจีวรดีๆมาถวาย 10 . ทวงจีวรจากคนที่รับอาสาเพื่อซื้อจีวรถวาย เกินกวา 3 ครั้ง 11 . หลอเครื่องปูนงั่ ทีเ่ จือดวยไหม 12 . หลอเครื่องปูนงั่ ทีท่ ําดวยขนแพะขนแกะทีม่ ีสีดําลวน 13 . หลอเครื่องปูนงั่ ทีท่ ําดวยขนแพะขนแกะสีดํา เกินกวา 2 สวนใน 4 สวน 14 . หลอเครื่องปูนงั่ ใหม เมือ่ ของเดิมยังใชไมถึง 6 ป 15 . หลอเครื่องปูนงั่ ใหม โดยไมเอาของเกาเจือปนลงไปดวย 16 . นําขนแพะขนแกะไปดวยตนเองเกิน 3 โยชน เวนแตมีผูนําไปให 17 . ใชภิกษุณีที่ไมใชญาติ ใหทาํ ความสะอาดขนแพะขนแกะให 18 . รับเงินทอง 19 . ซื้อขายดวยเงินทอง 20 . ซื้อขายโดยใชของแลก 21 . เก็บบาตรที่มีใชเกินความจําเปนไวเกิน 10 วัน 22 . ขอบาตรเมื่อบาตรเปนแผลไมเกิน 5 แหง 23 . เก็บเภสัช 5 (เนยใส เนยขน น้ํามัน น้าํ ผึ้ง น้ําออย) ไวเกิน 7 วัน 24 . แสวงและทําผาอาบน้าํ ฝนไวเกินกําหนด 1 เดือนกอนหนาฝน 25 . ใหจวี รภิกษุอื่นแลวชิงคืนในภายหลัง 26 . ขอดายเอามาทอเปนจีวร 27 . กําหนดใหชางทอทําใหดีขึ้น 28 . เก็บผาจํานําพรรษา (ผาที่ถวายภิกษุเพื่ออยูพรรษา) เกินกําหนด 29 . อยูปา แลวเก็บจีวรไวในบานเกิน 6 คืน 30 . นอมลาภสงฆมาเพื่อใหเขาถวายตน

4.5 ปาจิตติยกัณฑ ปาจิตติยกัณฑ คือ อาบัติที่ไมตองสละสิ่งของ มี 92 ขอ ไดแก

199 1 . หามพูดปด 2 . หามดา 3 . หามพูดสอเสียด 4 . หามกลาวธรรมพรอมกับผูไมไดบวชในขณะสอน 5 . หามนอนรวมกับอนุปสัมบัน (ผูไมใชภิกษุ) เกิน 3 คืน 6 . หามนอนรวมกับผูห ญิง 7 . หามแสดงธรรมสองตอสองกับผูห ญิง 8 . หามบอกคุณวิเศษทีม่ ีจริงแกผูมิไดบวช 9 . หามบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแกผมู ิไดบวช 10 . หามขุดดินหรือใชใหขุด 11 . หามทําลายตนไม 12 . หามพูดเฉไฉเมื่อถูกสอบสวน 13 . หามติเตียนภิกษุผทู ําการสงฆโดยชอบ 14 . หามทิ้งเตียงตั่งของสงฆไวกลางแจง 15 . หามปลอยทีน่ อนไวไมเก็บงํา 16 . หามนอนแทรกภิกษุผูเขาไปอยูกอน 17 . หามฉุดคราภิกษุออกจากวิหารของสงฆ 18 . หามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยูชนั้ บน 19 . หามพอกหลังคาวิหารเกิน 3 ชั้น 20 . หามเอาน้ํามีสัตวรดหญาหรือดิน 21 . หามสอนนางภิกษุณีเมือ่ มิไดรับมอบหมาย 22 . หามสอนนางภิกษุณีตั้งแตอาทิตยตกแลว 23 . หามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู 24 . หามติเตียนภิกษุอนื่ วาสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแกลาภ 25 . หามใหจวี รแกนางภิกษุณีผูมิใชญาติ 26 . หามเย็บจีวรใหนางภิกษุณีผูมิใชญาติ 27 . หามเดินทางไกลรวมกับนางภิกษุณี 28 . หามชวนนางภิกษุณีเดินทางเรือรวมกัน

200 29 . หามฉันอาหารทีน่ างภิกษุณีไปแนะใหเขาถวาย 30 . หามนั่งในที่ลับสองตอสองกับภิกษุณี 31 . หามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน 3 มื้อ 32 . หามฉันอาหารรวมกลุม 33 . หามรับนิมนตแลวไปฉันอาหารที่อนื่ 34 . หามรับบิณฑบาตเกิน 3 บาตร 35 . หามฉันอีกเมื่อฉันในทีน่ มิ นตเสร็จแลว 36 . หามพูดใหภิกษุที่ฉันแลวฉันอีกเพื่อจับผิด 37 . หามฉันอาหารในเวลาวิกาล 38 . หามฉันอาหารที่เก็บไวคางคืน 39 . หามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง 40 . หามฉันอาหารที่มิไดรับประเคน 41 . หามยื่นอาหารดวยมือใหชีเปลือยและนักบวชอื่นๆ 42 . หามชวนภิกษุไปบิณฑบาตดวยแลวไลกลับ 43 . หามเขาไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน 2 คน 44 . หามนั่งในที่ลับมีทกี่ ําบังกับมาตุคาม (ผูหญิง) 45 . หามนั่งในที่ลับ (หู) สองตอสองกับมาตุคาม 46 . หามรับนิมนตแลวไปทีอ่ ื่นไมบอกลา 47 . หามขอของเกินกําหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว 48 . หามไปดูกองทัพที่ยกไป 49 . หามพักอยูในกองทัพเกิน 3 คืน 50 . หามดูเขารบกันเมื่อไปในกองทัพ 51 . หามดื่มสุราเมรัย 52 . หามจี้ภิกษุ 53 . หามวายน้ําเลน 54 . หามแสดงความไมเอื้อเฟอในวินัย 55 . หามหลอกภิกษุใหกลัว 56 . หามติดไฟเพื่อผิง

201 57 . หามอาบน้ําบอยๆเวนแตมีเหตุ 58 . ใหทําเครื่องหมายเครื่องนุง หม 59 . วิกัปจีวรไวแลว (ทําใหเปนสองเจาของ-ใหยืมใช) จะใชตองถอนกอน 60 . หามเลนซอนบริขารของภิกษุอื่น 61 . หามฆาสัตว 62 . หามใชนา้ํ มีตัวสัตว 63 . หามรื้อฟน อธิกรณ (คดีความ-ขอโตเถียง) ที่ชําระเปนธรรมแลว 64 . หามปกปดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอนื่ 65 . หามบวชบุคคลอายุไมถึง 20 ป 66 . หามชวนพอคาผูหนีภาษีเดินทางรวมกัน 67 . หามชวนผูหญิงเดินทางรวมกัน 68 . หามกลาวตูพระธรรมวินัย (ภิกษุอื่นหามและสวดประกาศเกิน 3 ครั้ง) 69 . หามคบภิกษุผูกลาวตูพระธรรมวินยั 70 . หามคบสามเณรผูกลาวตูพระธรรมวินยั 71 . หามพูดไถลเมื่อทําผิดแลว 72 . หามกลาวติเตียนสิกขาบท 73 . หามพูดแกตัววาเพิง่ รูวา มีในปาฏิโมกข 74 . หามทํารายรางกายภิกษุ 75 . หามเงื้อมือจะทํารายภิกษุ 76 . หามโจทภิกษุดวยอาบัติสังฆาทิเสสที่ไมมีมูล 77 . หามกอความรําคาญแกภิกษุอื่น 78 . หามแอบฟงความของภิกษุผูทะเลาะกัน 79 . ใหฉนั ทะแลวหามพูดติเตียน 80 . ขณะกําลังประชุมสงฆ หามลุกไปโดยไมใหฉันทะ 81 . รวมกับสงฆใหจวี รแกภิกษุแลว หามติเตียนภายหลัง 82 . หามนอมลาภสงฆมาเพื่อบุคคล 83 . หามเขาไปในตําหนักของพระราชา 84 . หามเก็บของมีคาที่ตกอยู

202 85 . เมื่อจะเขาบานในเวลาวิกาล ตองบอกลาภิกษุกอน 86 . หามทํากลองเข็มดวยกระดูก ดวยงา ดวยเขาสัตว 87 . หามทําเตียงตั่งที่มีเทาสูงกวาประมาณ 88 . หามทําเตียงตั่งที่หมุ ดวยนุน 89 . หามทําผาปูนงั่ ทีม่ ีขนาดเกินประมาณ 90 . หามทําผาปดฝที่มีขนาดเกินประมาณ 91 . หามทําผาอาบน้ําฝนทีม่ ีขนาดเกินประมาณ 92 . หามทําจีวรที่มีขนาดเกินประมาณ

4.6 ปาฏิเทสนียกัณฑ ปาฏิเทสนียกัณฑ คือ อาบัติที่พงึ แสดงคืน มี 4 ขอ ไดแก 1 . หามรับของคบเคี้ยวของฉันจากมือภิกษุณีมาฉัน 2 . ใหไลนางภิกษุณีที่มายุง ใหเขาถวายอาหาร 3 . หามรับอาหารในสกุลที่สงฆสมมุติวา เปนเสกขบุคคล 4 . หามรับอาหารทีเ่ ขาไมไดจัดเตรียมไวกอ นมาฉันเมื่ออยูปา

4.7 เสขิยกัณฑ - สารูป เสขิยกัณฑ - สารูป คือ มารยาทความเหมาะสมของสมณะ มี 26 ขอ ไดแก 1 . นุงใหเปนปริมณฑล (ลางปดเขาบนปดสะดือไมหอยหนาหอยหลัง) 2 . หมใหเปนปริมณฑล (ใหชายผาเสมอกัน) 3 . ปกปดกายดวยดีไปในบาน 4 . ปกปดกายดวยดีนงั่ ในบาน 5 . สํารวมดวยดีไปในบาน 6 . สํารวมดวยดีนั่งในบาน 7 . มีสายตาทอดลงไปในบาน (ตาไมมองโนนมองนี่) 8 . มีสายตาทอดลงนั่งในบาน 9 . ไมเวิกผาไปในบาน 10 . ไมเวิกผานั่งในบาน 11 . ไมหวั เราะดังไปในบาน 12 . ไมหวั เราะดังนัง่ ในบาน

203 13 . ไมพูดเสียงดังไปในบาน 14 . ไมพูดเสียงดังนั่งในบาน 15 . ไมโคลงกายไปในบาน 16 . ไมโคลงกายนัง่ ในบาน 17 . ไมไกวแขนไปในบาน 18 . ไมไกวแขนนัง่ ในบาน 19 . ไมสั่นศีรษะไปในบาน 20 . ไมสั่นศีรษะนัง่ ในบาน 21 . ไมเอามือค้ํากายไปในบาน 22 . ไมเอามือค้ํากายนัง่ ในบาน 23 . ไมเอาผาคลุมศีรษะไปในบาน 24 . ไมเอาผาคลุมศีรษะนั่งในบาน 25 . ไมเดินกระโหยงเทาไปในบาน 26 . ไมนงั่ รัดเขาในบาน

4.8 เสขิยกัณฑ - โภชนปฏิสังยุต เสขิยกัณฑ - โภชนปฏิสังยุต คือ มารยาทการฉันอาหาร มี 30 ขอ ไดแก 1 . รับบิณฑบาตดวยความเคารพ 2 . ในขณะบิณฑบาตจะแลดูแตในบาตร 3 . รับบิณฑบาตพอสมสวนกับแกง (ไมรับแกงมากเกินไป) 4 . รับบิณฑบาตแคพอเสมอขอบปากบาตร 5 . ฉันบิณฑบาตโดยความเคารพ 6 . ในขณะฉันบิณฑบาตแลดูแตในบาตร 7 . ฉันบิณฑบาตไปตามลําดับ (ไมขุดใหแหวง) 8 . ฉันบิณฑบาตพอสมสวนกับแกง ไมฉนั แกงมากเกินไป 9 . ฉันบิณฑบาตไมขยุมแตยอดลงไป 10 . ไมเอาขาวสุกปดแกงและกับ ดวยหวังจะไดมาก 11 . ไมขอเอาแกงหรือขาวสุกเพื่อประโยชนแกตนมาฉัน หากไมเจ็บไข 12 . ไมมองดูบาตรของผูอื่นดวยคิดจะยกโทษ

204 13 . ไมทาํ คําขาวใหใหญเกินไป 14 . ทําคําขาวใหกลมกลอม 15 . ไมอาปากเมื่อคําขาวยังมาไมถึง 16 . ไมเอามือทั้งมือใสปากในขณะฉัน 17 . ไมพูดในขณะที่มีคําขาวอยูในปาก 18 . ไมฉันโดยการโยนคําขาวเขาปาก 19 . ไมฉันกัดคําขาว 20 . ไมฉันทํากระพุง แกมใหตุย 21 . ไมฉันพลางสะบัดมือพลาง 22 . ไมฉันโปรยเมล็ดขาว 23 . ไมฉันแลบลิ้น 24 . ไมฉันดังจับๆ 25 . ไมฉันดังซูดๆ 26 . ไมฉันเลียมือ 27 . ไมฉันเลียบาตร 28 . ไมฉันเลียริมฝปาก 29 . ไมเอามือเปอนจับภาชนะน้ํา 30 . ไมเอาน้าํ ลางบาตรมีเมล็ดขาวเทลงในบาน

4.9 เสขิยกัณฑ - ธัมมเทสนาปฏิสังยุต เสขิยกัณฑ - ธัมมเทสนาปฏิสังยุต คือ มารยาทการแสดงธรรม มี 16 ขอ ไดแก 1 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่มีรมในมือ 2 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่มีไมพลองในมือ 3 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่มีของมีคมในมือ 4 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่มีอาวุธในมือ 5 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่สวมเขียงเทา (รองเทาไม) 6 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่สวมรองเทา 7 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่ไปในยาน 8 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่อยูบนที่นอน

205 9 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ทีน่ ั่งรัดเขา 10 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่โพกศีรษะ 11 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่คลุมศีรษะ 12 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่อยูบ นอาสนะโดยภิกษุอยูบนแผนดิน 13 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ทีน่ ั่งบนอาสนะสูงกวาภิกษุ 14 . ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ทีน่ ั่งอยูแตภิกษุยืน 15 . ภิกษุเดินไปขางหลัง ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ทีเ่ ดินไปขางหนา 16 . ภิกษุเดินไปนอกทาง ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ที่ไปในทาง

4.10 เสขิยกัณฑ - ปกิณกะ เสขิยกัณฑ - ปกิณกะ คือ ธรรมขอเบ็ดเตล็ด มี 3 ขอ ไดแก 1 . ภิกษุไมเปนไข ไมยืนถายอุจจาระ ปสสาวะ 2 . ภิกษุไมเปนไข ไมถายอุจจาระ ปสสาวะ บวนน้าํ ลาย ลงในตนไมใบหญาตางๆ 3 . ภิกษุไมเปนไข ไมถายอุจจาระ ปสสาวะ บวนน้าํ ลาย ลงในน้ํา

4.11 อธิกรณสมถะ อธิกรณสมถะ คือ ธรรมสําหรับระงับคดีความที่ตกลงกันไมได มี 7 ขอ ไดแก 1 . ระงับอธิกรณในทีพ่ รอมหนา (บุคคล วัตถุ ธรรม) 2 . ระงับอธิกรณดวยการยกใหวาพระอรหันตเปนผูม ีสติ 3 . ระงับอธิกรณดวยยกประโยชนใหในขณะเปนบา 4 . ระงับอธิกรณดวยถือตามคํารับของจําเลย 5 . ระงับอธิกรณดวยถือเสียงขางมากเปนประมาณ 6 . ระงับอธิกรณดว ยการลงโทษแกผูผิด 7 . ระงับอธิกรณดวยใหประนีประนอมหรือเลิกแลวกันไป

อินทรียสังวรศีล อินทรียสังวรศีล คือ การสํารวมอินทรียท งั้ 6 ประการ ไดแก ตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ โดยสําเหนียกใหไดวา เราจักเปนผูคุมครองทวารในอินทรียท ั้งหลาย ไดเห็นรูปดวยตา ฟงเสียงดวยหู ดมกลิ่นดวยจมูก ลิ้มรสดวยลิ้น รับสัมผัสดวยกาย และรูธรรมารมณดว ยใจแลว

206 จักไมถือเอาโดยนิมิต จักไมถือเอาโดยอนุพยัญชนะ บาปอกุศลคืออภิชฌาและโทมนัส มักไหล ไปตามบุคคลเพราะไมสํารวมอินทรียใดเปนเหตุ เราจักปฏิบัติเพื่อปดกั้นอินทรียเหลานัน้ ไว จักทํา การรักษาสํารวมอินทรียเหลานัน้ ไว ไมถอื โดยนิมิต คือ ไมรวบถือ ไมถือโดยอนุพยัญชนะ คือ ไมแยกถือเปนสวนๆ อนึ่ง สามารถอธิบายขยายความอินทรียสังวรทัง้ 6 ประการ ซึ่งไดแก จักขุ อินทรีย โสตอินทรีย ฆานอินทรีย ชิวหาอินทรีย กายอินทรีย และมโนอินทรีย ดังตอไปนี้

1 . จักขุอินทรีย อันอินทรียสังวรในจักขุอินทรียนั้น เมื่อไดเห็นรูปอันยั่วยวน ก็ใหมีสติควบคุมตนให เพงมองไปในทางเห็นเปนของวาง ประกอบดวยธาตุ เปนปฏิกูล แตฉาบทาลูบไลไวดวยผิวที่ลวง ตาที่ภายนอก และใหมองซึง้ ถึงความไมเที่ยง แปรปรวน ความทนทรมาน ความไมมีแกนสาร ซึ่งซอนอยูในรูปนั้น ใหเห็นสักวารูป ไมทําในใจวาเปนมนุษยหญิงชาย เด็กผูใหญ สาวหนุม ฯลฯ เปนตน นี่เรียกวาไมยดึ ถือโดยนิมิต และไมเพงเฉพาะสวนๆวา ตา หู จมูก แกม คาง มือ เทา ฯลฯ เปนตน นี่เรียกวาไมยึดถือโดยอนุพยัญชนะ ถาจะตองคบหาสมาคมติดตอกับรูป นั้นๆตามหนาที่ของมนุษยทวั่ ไป ก็ตองคุมใจใหกาํ หนดอยูแตธุระหรือหนาที่ ไมใหเลยไปยึดถือ เอานิมิตหรืออนุพยัญชนะนัน้ ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาเปนผูสํารวมตาไดเปนอยางดี เปนผูชนะรูป ทั้งหลาย ไมมีอันตรายอันเกิดจากรูป

2 . โสตอินทรีย อันอินทรียสังวรในโสตอินทรียนั้น เมื่อไดฟงเสียงอันยัว่ ยวนหรือยัว่ โทสะ ก็มวี ิธีอยาง เดียวกันคือ ไมถือโดยนิมิต คือไมผูกใจวา เสียงเบา เสียงดัง เสียงเพราะ เสียงทุม เสียง แหลม ฯลฯ เปนตน ไมถือโดยอนุพยัญชนะ คือไมทาํ การกําหนดเปน เสียงหญิง เสียงชาย เสียงป เสียงฆอง ฯลฯ เปนตน ซ้ํายังพิจารณาเห็นกระทั่งอวัยวะหรือวัตถุสวนทีท่ ําใหเกิดเสียง และธรรมชาติของเสียงนัน้ ๆ โดยความเปนธาตุเปนของวาง โดยนัยเดียวกันกับการเห็นรูป มี ความรูสึกแตเพียงวา เสียงดังขึ้น เสียงดังอยู และเสียงเงียบไปแลว เทานั้น ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาสํารวมอินทรียคือหูไวได เปนผูชนะเสียงทั้งหลาย รูจักเสียงลึกซึง้ ถึงความจริง

3 . ฆานอินทรีย อันอินทรียสังวรในฆานอินทรียนนั้ เมื่อไดดมกลิ่น ก็ไมถือโดยนิมิตวา กลิ่นหอม กลิ่น เหม็น กลิน่ ฉุน กลิน่ เนา ฯลฯ เปนตน และไมถือโดยอนุพยัญชนะ คือไมกําหนดวาเปน กลิน่ ผูชาย กลิ่นผูห ญิง กลิ่นน้าํ อบ กลิน่ เนือ้ กลิ่นดอกไม ฯลฯ เปนตน แตจะเพงในใจถึงที่เกิด ความยัว่ ยวน ความนาเกลียดของกลิ่นนัน้ ๆ แลวละเฉยได เพราะเห็นความไมใชตัวตนอันจะพึง

207 ยึดถือของกลิน่ ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาสํารวมอินทรียคอื จมูกไวได เปนผูชนะกลิน่ ทั้งหลาย โปรด เขาใจวาการชอบใจเพราะหอมหรือการเกลียดเพราะเหม็นนัน้ เปนการไมสํารวมในอินทรียทงั้ คู และจะตองเฉยใหไดทั้งสองอยาง จึงจะชือ่ วาเปนการสํารวม

4 . ชิวหาอินทรีย อันอินทรียสังวรในชิวหาอินทรียนนั้ เมื่อไดลิ้มรส ก็ไมถือโดยนิมิตวา รสคาว รสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม รสขม รสเผ็ด ฯลฯ เปนตน และไมถือโดยอนุพยัญชนะวา รสของพริก รส ของเกลือ รสของน้ําตาล รสของน้ําสม รสของชา รสของกาแฟ ฯลฯ เปนตน ตลอดถึงการ กําหนดวา รสนี้ปรุงโดยคนนั้นคนนีห้ รือคนครัวชั้นนัน้ ชัน้ นี้ เปนตน เปนผูท ําความสําคัญแตเพียง วารส ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาสํารวมอินทรียคือลิ้นไวได เปนผูชนะรสทั้งหลาย แลวก็บริโภค พอสมควรแกปริมาณเพียงเพื่อยังอัตภาพใหตั้งอยูได ไมมีความพอใจหรือขุนใจแตประการใด

5 . กายอินทรีย อันอินทรียสังวรในกายอินทรียนั้น เมื่อไดรับสัมผัสทางกาย ก็ไมถือโดยนิมิต วาสัมผัสนี้ ออน แข็ง นุม นวล กระดาง ฯลฯ เปนตน ไมถือโดยอนุพยัญชนะวา เปนสัมผัสของหญิง ของ ชาย ของฟูก ของเตียง ฯลฯ เปนตน ใหกําหนดเพียงวาไดกระทบสัมผัสเทานั้น ไมซาบซาน เพราะพอใจหรือเรารอนเพราะไมพอใจ ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาสํารวมอินทรียคือกายสัมผัสไวได เปนผูชนะสัมผัสทางกายทัง้ หลาย

6 . มโนอินทรีย อันอินทรียสังวรในมโนอินทรียนั้น เมื่อไดรับธรรมารมณทางใจ ก็ไมถอื เอาโดยนิมิต คือ ไมทําความรูสกึ วา นี่เปนเรือ่ งโศก เรื่องรัก เรื่องเพลิดเพลิน เรื่องนากลัว ฯลฯ เปนตน ไมถือ โดยอนุพยัญชนะวา เกิดแตผูนั้นผูน ี้ สิ่งนั้นสิง่ นี้ ตอนนั้นดี ตอนนี้ไมดี อันจะทําใหเกิดความ พอใจและไมพอใจโดยไรประโยชน แตจะพิจารณาใหเห็นความกลับกลอกแปรปรวนเปนธรรมดา ของเวทนา สุข ทุกข ฯลฯ นั้นอยูเสมอ ถาทําไดเชนนี้ ชื่อวาสํารวมอินทรียคือใจไวได เปนผู ชนะธรรมารมณทั้งหลาย

อาชีวปาริสุทธิศีล อาชีวปาริสุทธิศีล คือ ความสะอาดหมดจด แหงวิธีการที่จะไดมาซึง่ ปจจัยบริโภคของ ภิกษุ คือ อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค ซึง่ จะตองไดมาโดยวิธที ี่ถูกตอง

208 โดยนัยแหงความเปนสมณเพศนัน้ วิธีการที่จะไดมาซึง่ ปจจัยบริโภค ยอมแตกตางกับวิธกี ารของ ฆราวาสโดนสิน้ เชิง อนึง่ สําหรับมิจฉาอาชีวะ กลาวคือ วิธกี ารที่จะไดมาซึง่ ปจจัยบริโภคของ ภิกษุโดยไมถกู ตองไมบริสุทธิ์ อันเปนการลวงละเมิดตออาชีวปาริสทุ ธิศีล สามารถแบงออกได เปน 9 ประการ ไดแก กุหนา ลปนา เนมิตติกตา นิปเปสิกตา นิขิคิงสนตา เดรัจฉานวิชา เวชกรรม วิญญัติ และการรับใชตระกูล

1 . กุหนา กุหนา คือ การหลอกลวง ตัวอยางเชน 1 . ทายกแจงความประสงคจะถวายจีวร และภิกษุนนั้ ก็ตองการ แตแกลงปฏิเสธไมรับ ใหทายกเขาใจวาตนมีสันโดษ มักนอย เปนตน ลอโดยประการทีท่ ายกหลงใหลไปวา “ แหม ทานรูปนีน้ าสรรเสริญ ไมยอมรับอะไรๆ เปนภิกษุมธี รรมสูง พวกเราจะไดบุญมากมายทีเดียว ถาหากวาทานจะยอมรับอะไรๆของพวกเราสักสิ่งหนึง่ ” จึงเสาะหาสิ่งของมีจีวรเปนตน ชนิดที่ ประณีตที่สุด ไปคะยั้นคะยอถวาย เธอแกลงทําเปนเสียไมได บอกวารับหวังอนุเคราะหใหทายก ไดบุญอยางเดียวเทานั้น เมือ่ ทายกหลงใหลเต็มที่แลว ก็แอบรับของคนนัน้ บางคนนี้บาง ที่ แตกตื่นกันมาถวาย ไดตั้งเลมเกวียน 2 . หาเลสพูดออมคอม โดยวิธที ี่จะใหเขาใจวา คุณวิเศษสูงสุดมีในตน จะพูดตรงๆกลัว เขาเกลียดและตองอาบัติปาราชิก จึงเลีย่ งพูดโดยนัยเปนตนวา ภิกษุที่มที าทาง ผิวพรรณ ฯลฯ เชนนี้เชนนัน้ เปนพระอรหันต จนเขาถวายลาภใหเนืองๆ 3 . ฉาบไลความเครงไวภายนอก กิน อยู นัง่ นอน ยืน เดิน ดู เหลียว ดวย อาการที่โลกนิยมกันวา เครงอยางยอด ไมพูดอะไรหมด ก็มีทายกผูใ ครบุญมาถวายลาภ สักการะกันอยางเนืองแนน

2 . ลปนา ลปนา คือ การพูดพิรี้พิไร ตัวอยางเชน 1 . เมื่อเห็นทายกมาทีว่ ัด ก็ชิงทักเสียกอนวา เห็นจะมานิมนตพระกระมัง ถาเชนนั้น อาตมาจะเปนหัวหนาพาภิกษุไปให 2 . พยายามแนะนําตนเองวา พระราชาและอํามาตยชอื่ นั้นชื่อนี้ เลือ่ มใสตนเชนนัน้ เชนนี้ 3 . ภิกษุเห็นเขาถือออยเดินมา จึงถามวา “ เอามาแตไหน ? ” เขาตอบวา “ เอามาแตไร โนน ” ภิกษุจึงพูดวา “ เห็นจะอรอยดี ” เขาพูดวา “ ลองดูจึงรูขอรับ ” ก็พูดเสวา “ ภิกษุจะพูดวาจง ใหแกฉันไมเหมาะไมใชหรือ ? ” เขาจึงถวายออยนัน้

209 4 . ภิกษุสองรูปเขาไปใกลเรือนหญิงคนหนึ่ง นัง่ แลวแสรงคุยกันใหหญิงนัน้ ไดยิน โดยรูป หนึง่ ถามรูปหนึ่งตอบ “ แมคนนัน้ ลูกใคร ? ” “ ลูกอุปฏฐายิกาของพวกเรา มารดาของเธอนัน้ ไม ถวายเปรียงเลย (เนยใสอรอยและแพงกวาเปรียง) จัดหาเนยใสถวายพระเสมอ แมคนนี้ก็คงอยาง เดียวกันเปนแน ” ภายหลังเธอจึงถวายเนยใสใหภิกษุสองรูปนั้น

3 . เนมิตติกตา เนมิตติกตา คือ การพูดหวานลอม ตัวอยางเชน 1 . ภิกษุเห็นเขาเลี้ยงลูกโค ซึง่ แมของมันถูกพรากไปรีดนมอยู จึงแสรงถามวา " นี่ลูกโค นมหรือโคเนื้อ ? " เมื่อเขาตอบวา " ลูกโคนมขอรับ " ก็เสพูดไปอีกวา " ฉันคิดวาไมใชโคนมดอก ถา หากเปนโคนมจริง พวกเราคงไดดื่มนมกันบางแลว " ในที่สุดเขาก็ถวายน้าํ นม เพราะนึกสนุก ขึ้นมาหรือเพื่อซื้อความรําคาญ หรือเพื่อแสดงวาตนไมไดเปนคนใจแคบ แตไมใชใหดวยศรัทธา 2 . ภิกษุรูปหนึง่ ตองการจะฉันจึงเขาไปสูตระกูลๆหนึง่ แลวลงนั่งอยูใ นบริเวณบาน หญิงแมบา นเห็นแลวแตไมอยากจะจัดถวาย แกลงพูดวาขาวสารไมมีจะไปหาขาวสาร แลวไถล ไปเสียที่บานเพื่อนบาน ภิกษุนนั้ ถลันขึ้นไปบนเรือนพบออยพิงอยูที่ซอกประตู กอนน้าํ ออยอยูใน ภาชนะ ปลาเค็มแบอยูในกระจาด ขาวสารเต็มหมอ เปรียงเต็มกระออม แลวก็ออกมานั่งรออยู อยางเดิม หญิงนัน้ กะวาภิกษุคงไปจากบานตนแลวจึงกลับมา เมือ่ ภิกษุนนั้ เห็น จึงรีบเอยออกไป ทันทีวา “ วันนี้การเที่ยวภิกขาจารเห็นจะไมสําเร็จเพราะฉันเห็นนิมิตไมดีเสียแลว ” “ เห็นอะไรเจา คะ ” หญิงนั้นถาม ภิกษุนนั้ ตอบวา “ ฉันเห็นงูชูศีรษะขึน้ สูงเหมือนลําออยอยูที่ประตู จะกัดฉัน ฉันคิดจะประหารมัน เหลียวไปควาหากอนหินไดมาเปนกอนน้าํ ออยในภาชนะ ก็ขวางเขาไปมัน แผพังพานแบนกวางเปนแผนปลาในกระจาด เมื่อมันฉกกอนหินนัน้ ฉันเห็นเขี้ยวมันขาวเหมือน เมล็ดขาวสารในหมอ และมันพนน้ําลายพิษออกมาเหมือนเปรียงในกระออม หญิงแมบานเห็นวา ไมอาจลวงภิกษุนี้ไดแลว ก็จัดถวายตามความตองการ

4 . นิปเปสิกตา นิปเปสิกตา คือ การปลูกคําพูดทาทายใหเจ็บใจ ตัวอยางเชน 1 . ภิกษุพูดขึน้ วา “ ฉันพบภิกษุหลายรูปที่สวนทางกับฉันไป พูดวาชาวบานตําบลนี้ทงั้ ตําบลไมมีใครศรัทธาเลย พระมาทั้งรอยก็กลับไปเปลาทั้งรอย ” ชาวบานบางคนเจ็บใจ คิดจะแก คําของภิกษุนนั้ จึงจัดถวายไป 2 . ภิกษุพูดขึน้ วา “ พอคนนี้จะไดชื่อวาเปนทายกไดอยางไรกันหนอ พูดแตวาไมมีๆกับ ภิกษุทุกๆรูปเปนนิจ ” ชาวบานบางคนเจ็บใจ คิดจะแกคําของภิกษุนนั้ จึงจัดถวายไป

210 3 . ภิกษุพูดขึน้ วา “ บานโนนปดประตูเสมอทุกคราวทีผ่ านหนาบาน ” ชาวบานบางคนเจ็บ ใจ คิดจะแกคําของภิกษุนนั้ จึงจัดถวายไป

5 . นิขิคิงสนตา นิขิคิงสนตา คือ การแลกเปลี่ยนหากําไร ตัวอยางเชน 1 . ภิกษุไดขาวสุกในทีน่ ี้ แลวนําไปใหเด็กในสกุลอืน่ ทีก่ ําลังตองการ และตนก็ไดขีรยาคู (ขาวตมซึ่งตมดวยน้าํ นม) ซึ่งในขณะนั้นเด็กไมตองการมา 2 . ภิกษุขอขาวจากชาวนาเพื่อนําไปแลกปลาจากชาวน้าํ หรือขอปลาจากชาวน้าํ เพื่อ นําไปแลกขาวจากชาวนา

6 . เดรัจฉานวิชา เดรัจฉานวิชา คือ วิชาที่ถอื กันวานอกรีต และต่ําเกินกวาที่ภิกษุสากยบุตร จะพึง กระทํา กระทําลงไปได เปนเครื่องมือหากินของคนทีม่ ีเลหเหลี่ยม และควรจะเปนฆราวาส โดยเฉพาะ สําหรับบรรพชิตผูปฏิญญาตนเปนคนสูง คนรู คนหวังมรรคผลนิพพานนัน้ ไมพึง แตะตองของแวะแมแตประการใด ดุจวาคนรักสะอาดยอมไมแตะตองคูถ ฉันใดก็ฉนั นัน้ ตัวอยางของเดรัจฉานวิชา เชน ทายลักษณะในรางกาย ทายนิมิตลางดีลางราย ทายของตก ทายอสุนีบาต ทํานายฝน ทายชะตา ทายผาหนูกัด ทําพิธีโหมเพลิงบูชาไฟ ทําพิธีเบิกแวน เวียนเทียน ทําพิธีซัดโปรยแกลบรําและขาวสาร ทําพิธจี องเปรียง ทําพิธเี สกเปา ทําพิธพี ลีดวย โลหิต เปนหมอดูอวัยวะ เปนหมอดูภูมิที่ตั้งบานเรือน เปนหมอดูลกั ษณะไรนา เปนหมอปลุก เสก เปนหมอผี เปนหมอทํายันต เปนหมองู เปนหมอดับพิษแมลงปอง เปนหมอหนูกัด เปน หมอทายเสียงนกเสียงกา เปนหมอทายอายุ เปนหมอกันลูกศร เปนหมอดูรอยสัตว เปนหมอ ทายลักษณะแกวมณี เปนหมอทายลักษณะไมเทา เปนหมอทายลักษณะผา เปนหมอทาย ลักษณะศาสตรา เปนหมอทายลักษณะคน เปนหมอทายลักษณะสัตว เปนหมอดูฤกษการ ยาตราทัพ เปนหมอทํานายจันทรคราส สุริยคราส นักษัตรคราส ดวงจันทร ดวงอาทิตย ดาว พระเคราะห เปนหมอทํานายฝนตก สอนตําราทางโลก ขอลาภผลตอเทวดา ทําการบวงสรวง แกบน ทําชายใหเปนกระเทย ทํากระเทยใหเปนชาย ทําพิธีปลูกเรือน ฯลฯ

7 . เวชกรรม เวชกรรม อันเวชกรรมนัน้ ถือวาเปนเรื่องไมใชที่ของภิกษุที่จะกระทํา เพราะนอกจากจะ ไมใชปฏิปทาของสมณะ ทีจ่ ักตองกระทําความเพียร เพื่อยังความไมประมาทใหถงึ พรอมถึงที่สุด คือนิพพานอันเปนจุดหมายแลว ความรูของภิกษุทางเวชกรรมนัน้ ยังอาจจะกอใหเกิดอันตราย

211 กับผูที่มารับการรักษา เพราะมีความรูก็ในลักษณะเพียงแคงูๆปลาๆเทานั้น จักรูจริงเหมือนกับ หมอทางโลกโดยทั่วไปก็หาไม แตก็ไมไดหมายความถึงโดยทุกกรณีเสมอไป เชน ภิกษุเดินทาง เห็นคนปวยอยูริมทาง ภิกษุนนั้ พอจะมีเภสัชสําหรับรักษา การหยิบยื่นความชวยเหลือลักษณะนี้ ถือเปนสิง่ ที่เหมาะสมและควรกระทํา แตตองไมมีจุดประสงคตอปจจัยตอบแทนใดๆ ตอไปนี้จกั ไดกลาวถึงบุคคล ที่ภิกษุควรทําเวชกรรมใหไดโดยไมมีโทษ ถาหากวามีความรูในการทํา บุคคล เหลานั้นแบงไดเปน 3 กลุม

7.1 กลุมที่ 1 กลุมที่ 1 ถาเครื่องยาของเขาไมมี ภิกษุเอาของตนออกมาใหได ถาของตนไมมี อนุญาต ใหเทีย่ วขอจากผูอื่นมาทําใหก็ได ถายังไมได อนุญาตใหขอกระทั่งคนที่ไมไดปวารณาไว บุคคล กลุมที่ 1นี้ ไดแก บิดา มารดา เพื่อนภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี ไวยาวัจกร และคนเตรียมตัวบวช

7.2 กลุมที่ 2 กลุมที่ 2 ใหเอาเครื่องยาของเขาทําให ถาของเขาไมมี พึงใหยืมของตนทํา เมื่อเขาใชคืน ใหพงึ รับ แตถาไมใชก็ไมพงึ ทวง เพราะญาติเปนผูท ี่ควรสงเคราะห บุคคลกลุมที่ 2 นี้ ไดแก พี่ชาย นองชาย พี่สาว นองสาว ลุง ปา นา อา ลูกพี่ลกู นองทางบิดา และลูกพี่ลูกนอง ทางมารดา

7.3 กลุมที่ 3 กลุมที่ 3 ภิกษุพึงเอาของๆตนทําใหได แตอยาพึงหวังการตอบแทนแมแตประการใด บุคคลกลุมที่ 3 นี้ ไดแก คนปวยที่ซัดเซเขาไปถึงวัดหรือคนเดินทางมา โจรขโมย คนรบแพหนี มาจากสงคราม อิสริยชน (ผูมีอํานาจ) และคนที่ถกู ญาติพี่นองขับไล

8 . วิญญัติ วิญญัติ คือ การออกปากขอตอบุคคลที่ไมควรขอ เวลาที่ไมควรขอ สิง่ ที่ไมควรขอ

8.1 บุคคลที่ไมควรขอ บุคคลที่ไมควรขอ ไดแก คฤหัสถทั่วไปที่ไมใชญาติ มิใชคนปวารณา ญาติในที่นี้ หมายถึงญาติแท ไมไดหมายถึงเขยหรือสะใภ ทานกําหนดไว 7 ชัน้ เอาตนเองเปนศูนยกลาง สูงขึ้นทางบน 3 ชั้น ไดแก บิดา → ตา → ตาทวด และต่ําลงไปทางลาง 3 ชั้น ไดแก ลูก → หลาน → เหลน เหลานี้เรียกวาญาติอันอยูในกรอบวงของการขอ สวนผูมิใชญาติตองเปนผู

212 ที่เขาปวารณาไวจึงขอได ปวารณาคือเขาอนุญาตไววา ตองการอะไรใหบอก ถาปวารณากลางๆ ไมจํากัดสิ่งของ ใหขอไดทกุ อยางที่สมควรแกสมณะ ถาเขามิไดจาํ กัดระยะเวลา การปวารณา นั้นหมดอายุเพียง 4 เดือน (โดยพระวินัย) เวนแตเขาบงชัดลงไปวาปวารณาเปนนิจ สวนเพื่อน สหธรรมิกดวยกัน หรือญาติ หรือคนปวารณาแลวนัน้ ขอไดทุกเมื่อ

8.2 เวลาที่ไมควรขอ เวลาที่ไมควรขอ ไดแก เวลาธรรมดาขอจากบุคคลธรรมดาไมได แตเวลาพิเศษขอได เรียกวาเวลาทีค่ วรขอเปนพิเศษ เชน เวลาเจ็บไข โจรปลนจีวร หรือความจําเปนอันแทจริงอยาง อื่น แตถึงกระนัน้ ก็นิยมใหขอเพียงที่จําเปนกอนเทานัน้ เชน ถูกโจรปลนปลดจีวรเอาไปหมด จากตัว พึงขอเขาเพียงสบงกับจีวรเทานัน้ สวนสังฆาฏิไมควรขอ ไวขอกับญาติหรือคนที่ ปวารณาไว

8.3 สิ่งที่ไมควรขอ สิ่งที่ไมควรขอ ไดแก เครือ่ งบริโภคใชสอยอันประณีต นอกจากจําเปน เชน ปวยไข เพราะเพศสมณะนั้นบริโภคสิ่งตางๆ เพียงจุดประสงคเพื่ออนุเคราะพรหมจรรยเทานั้น คือพออยู พอใช ไมถงึ กับอดอยากยากแคน อันเอนเอียงไปทางอัตตกิลมถานุโยค หรือ บํารุงบําเรอจน กลายเปนเอนเอียงไปทางกามสุขัลลิกานุโยค โดยทางที่ถูกตองและเหมาะสม เปนทางดําเนินของ เพศสมณะ คือทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา

9 . การรับใชตระกูล การับใชตระกูล คือ การรับใชครอบครัวของฆราวาส ดวยกิจนอกเรื่องของสมณะ เชน เปนสื่อของชายหญิง เลี้ยงลูกของฆราวาส รับเปนหมอรักษาโรคใหครอบครัวของฆราวาส รับ ฝากของ รับทําสิง่ ของให ปลูกตนไมดอกไมให การกระทําเหลานี้ อาจจะดูเหมือนไมมีผลเสีย อะไร แตในความจริงแลว เปนการทําลายความเชื่อความเลื่อมใส ในพระรัตนตรัยของเขา เหลานั้นใหหมดไป เขาไมนบั ถือวาเปนพระ แลวยังเหยียดหยามใหตา่ํ อยางดีก็เปนเพียงเพื่อน หรือเพื่อนอยางเลวๆคนหนึ่งเทานัน้ เพราะเปนคนประจบเขาหาลาภ ไมใชเขาถวายดวยความ เลื่อมใสศรัทธา การกระทําเชนนี้ เรียกอีกอยางหนึ่งวาเปนการประทุษรายตระกูล เพราะทําให ตระกูลนั้นวางเปลาจากบุญ และเสื่อมศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตระกูลนัน้ จะมืดบอดตอทาง

213 แหงความพนทุกขทพี่ ระพุทธองคทรงคนพบ เพราะมีอคติตอพระพุทธศาสนาเสียแลว และยังทํา ใหเกียรติยศของภิกษุสงฆเสือ่ มทราม เปนที่ดหู มิน่ ของคนทัว่ ไป

ปจจัยสันนิสิตศีล ปจจัยสันนิสิตศีล คือ ศีลที่เกีย่ วของกับปจจัย 4 การใชสอยปจจัย 4 ไดแก อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค ดวยการพิจารณาใหเปนไปตามความหมาย และ ประโยชนหรือคุณคาที่แทจริงของสิ่งนัน้ ๆ ไมบริโภคดวยตัณหา ประโยชนของปจจัยสันนิสิตศีล นั้น จะทําใหไมรูสึกเหนื่อยและจะไมนอนในยามตน ยามกลาง และยามสุดทายของราตรี ดวย วิธีนี้ ผูปฏิบัติจักไดรับความสงบและความสะดวกในการปฏิบัติ ปจจัยสันนิสิตศีลมี 4 ประการ ดวยกัน ไดแก การพิจารณาอาหารบิณฑบาต การพิจารณาเครื่องนุงหม การพิจารณาที่อยู อาศัย และการพิจารณายารักษาโรค สามารถอธิบายขยายความไดดังตอไปนี้

1 . พิจารณาอาหารบิณฑบาต พิจารณาอาหารบิณฑบาต โดย 7 นัยตอไปนี้

1.1 บริโภคมิใชเพื่อจะคะนองเลนมัวเมา บริโภคมิใชเพื่อจะคะนองเลนมัวเมานั้น พึงพิจารณาวา เราไมควรบริโภคอาหาร บิณฑบาตทั้งปวง เพื่อจะคะนองเลนมัวเมา ไมรูประโยชนดวยการกินนัน้ ขาดสติเพราะขณะกิน นั้นมิรวู ากินไปเพื่ออะไร ทําตัวเหมือนฆราวาส ที่เห็นสิง่ นีน้ ากินสิง่ โนนนากิน จึงหยิบมากินตาม อํานาจของกิเลส

1.2 บริโภคมิใชเพื่อใหผิวพรรณสวยงาม บริโภคมิใชเพื่อใหผิวพรรณสวยงามนั้น พึงพิจารณาวา เราไมควรบริโภคอาหาร บิณฑบาตทั้งปวง เพื่อประโยชนจะใหผูอนื่ รัก ตรงที่มรี ูปรางหนาตาผิวพรรณเอิบอิ่มสวยงาม อุปมาดุจดังสาวสนมของบรมกษัตริย และนางนครโสเภณี

1.3 บริโภคอาหารเพียงเพื่อดํารงรักษากายนี้ บริโภคอาหารเพียงเพื่อดํารงรักษากายนี้นนั้ พึงพิจารณาวา เราบริโภคอาหารบิณฑบาต เพียงเพื่อตองการรักษารางกายใหเปนไปไดโดยสงบ อุปมาเหมือนดุมลอรถของขบวนเกวียน ที่ ตองการน้าํ มันมาหลอลืน่ ใหเดินทางไปไดโดยสะดวกปลอดภัย

1.4 บริโภคอาหารเพื่อระงับความหิว

214 บริโภคอาหารเพื่อระงับความหิวนัน้ พึงพิจารณาวา เรามีปกติบริโภคอาหารบิณฑบาต เพียงเล็กนอย เพื่อระงับโทษแหงความหิว อันเอนเอียงไปทางอัตตกิลมถานุโยค เหมือนคนใชยา แกโรคผิวหนัง ซึง่ พึงทายานั้นเพียงเบาบาง

1.5 บริโภคอาหารเพื่ออนุเคราะหพรหมจรรย บริโภคอาหารเพื่ออนุเคราะหพรหมจรรยนั้น พึงพิจารณาวา เราบริโภคอาหารบิณฑบาต เพื่อจะยังสังขารใหตั้งอยู และนํามาใชเปนเครื่องมือปฏิบัติ เพื่อจะพาตนใหพน จากสังสารวัฏฏได อุปมาเหมือนสามีภรรยาเดินทางผานทางทุรกันดาร เพือ่ ไปใหถึงยังจุดหมาย จึงจําเปนตองกิน เนื้อบุตรของตนที่ตายลงระหวางทาง

1.6 จักกําจัดเวทนาเกาเสียไดและจักไมใหเวทนาใหมเกิดขึ้น จักกําจัดเวทนาเกาเสียไดและจักไมใหเวทนาใหมเกิดขึน้ นั้น พึงพิจารณาวา เราบริโภค อาหารบิณฑบาต ไมมากเกินไปจนมีความงวงหงาวหาวนอนและออนเพลีย อันเปนอุปสรรคตอ การปฏิบัติ และไมนอยเกินไปจนเกิดเวทนาอันไมดีคือความหิว อันเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ เชนกัน อุปมาเหมือนคนดืม่ ยาตองกินยานัน้ ใหพอดี ไมมากเกินไปจนกอใหเกิดผลเสียตอรางกาย และไมนอ ยเกินไปจนรักษาโรคไมหาย

1.7 บริโภคโดยปราศจากโทษ บริโภคโดยปราศจากโทษนัน้ พึงพิจารณาวา เราบริโภคอาหารบิณฑบาต ทํากายให ผาสุกดวยการบริโภคอาหารที่ไมมีโทษแกรา งกาย กลาวคือ เมื่อเห็นสิ่งมีโทษตอรางกายใน อาหารบิณฑบาต ก็พึงหยิบออกได ไมใชฉันลงไปทัง้ ๆทีร่ ูวาจักตองเกิดโทษ ดวยวิธีนี้รางกายจึง ปราศจากโทษ

2 . พิจารณาเครื่องนุงหม พิจารณาเครื่องนุง หมนัน้ พึงพิจารณาวา เครื่องนุง หมนั้นใชสาํ หรับปองกันลม ความ เย็น ความรอน ยุง เหลือบ มด และปกปดอวัยวะสวนที่ไมควรใหเห็นเทานัน้ มิไดมีไวเพื่อ ความสวยงามแตอยางใด

3 . พิจารณาที่อยูที่อาศัย พิจารณาที่อยูท ี่อาศัยนั้น พึงพิจารณาวา เสนาสนะนั้นใชสาํ หรับปองกันเหตุแหงฤดู กลาวคือ กันแดดแรงในหนารอน กันพายุและฝนในหนาฝน กันลมเย็นและหิมะในหนาหนาว ใชสําหรับปองกันเสียงดังรบกวนอันเปนศัตรูตอสมาธิ และใชสําหรับปองกันสัตวรายทีพ่ ึงจะเขามา

215 ทําอันตรายตอชีวิต มิใชเพื่อเห็นแกการนอนคุดคูอยูสบายไปวันๆ มิไดบําเพ็ญความไมประมาท ใหถึงพรอม

4 . พิจารณายารักษาโรค พิจารณายารักษาโรคนั้น พึงพิจารณาวา ยารักษาโรคนั้นใชสําหรับรักษาไข บรรเทา เวทนาอันไมดี ระงับทุกขอนั มีโรคเปนเหตุ ใหสามารถบําเพ็ญเพียรไดตอไป มิใชทนดวยความ เขาใจวา ความทุกขนี้จะนํามาซึง่ ธรรมอันวิเศษ ซึ่งเอนอียงไปทางอัตตกิลมถานุโยคเปน มิจฉาทิฏฐิเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ หรือเขาใจวาดวยยารักษาโรคนี้ จักทําใหเราเปนผูม ีชีวิตอัน เปนอมตะไมมวี ันตาย ซึง่ ก็เปนมิจฉาทิฏฐิเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติเชนกัน

หมวดที่ 3 สมาธิ สมาธิ คือ ความสงบของจิต ความแนวแนเปนหนึ่งเดียวของจิต อันสมาธินี้สามารถ กระทําใหเกิดขึ้นเจริญขึ้น ดวยการเจริญกรรมฐานที่มชี ื่อวา “ สมถกรรมฐาน ” ซึง่ หมายความวา เปนที่ตงั้ แหงการงาน อันเปนไปเพื่อความตั้งมั่นแหงจิต เพื่อความสงบระงับแหงจิต เพื่อความ ควรแกการงานของจิต เพือ่ จะยังประโยชนที่ประสงคใหสําเร็จลง เพื่อความสงบระงับแหงนิวรณ อันเปนธรรมทีเ่ ปนอุปสรรคตอสมาธิ ขัดขวางมิใหจิตตัง้ มั่นเปนสมาธิ โดยองคธรรมของนิวรณทงั้ 5 ประการนั้น ไดแก กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจกิ ิจฉา อนึ่ง ในหมวดทีว่ าดวยสมาธินี้ ประกอบไปดวย 1 . ปลิโพธ 10 2 . สัปปายะ 7 3 . จริต 6 4 . สมาธิ 3 ระดับ 5 . นิมิต 3 6 . ฌาน 4 7 . วสี 5 8 . สมถกรรมฐาน 40

216 และยังไดแสดงตารางที่ใชสาํ หรับเลือกกองของกรรมฐานทัง้ 40 กอง วากองใดที่เหมาะ กับนักปฏิบัตคิ นใด ตามจริตของตนซึ่งแตกตางกันไป รวมถึงอานิสงสสูงสุดของกรรมฐานกอง นั้นๆดวย วามีอานิสงสสูงสุดเทาใด เพราะบางกองไดถึงปฐมฌานเทานัน้ เชน อสุภกรรมฐาน สวนบางกองไดถึงจตุตถฌาน เชน การเพงกสิณ จนไปถึงขอบเขตของอรูปฌานคือเนวสัญญา นาสัญญายตนะ โดยตารางนี้จะชวยใหเกิดความเจริญกาวหนา ในการเจริญสมถกรรมฐานแก นักปฏิบัติคนนั้นๆที่สุด เพราะการเจริญสมถกรรมฐานในกองที่ไมเหมาะกับจริตของตนนั้น ยอม กอใหเกิดความลาชา และปฏิบัติไดยากลําบากกวาเจริญในกรรมฐานกองที่เหมาะกับจริตของตน โดยสมถกรรมฐานทั้ง 40 กองนัน้ แบงเปน กสิณ 10 กอง อสุภ 10 กอง อนุสติ 10 กอง อัปป มัญญา 4 กอง อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 กอง จตุธาตุววัฏฐาน 1 กอง และอรูปฌานอีก 4 กอง

ปลิโพธ 10 ปลิโพธ คือ เครื่องผูกพันหรือหนวงเหนีย่ ว เหตุกังวลใหเกิดขอติดของ ปลิโพธเปนสิ่งที่ ผูที่จะเจริญกรรมฐานพึงตัดเสียใหได เพื่อใหเกิดความปลอดโปรง พรอมที่จะเจริญกรรมฐานให กาวหนาไปไดดี ซึง่ มี 10 ประการ ไดแก อาวาสปลิโพธ กุลปลิโพธ ลาภปลิโพธ คณะปลิโพธ กรรมปลิโพธ อัทธานปลิโพธ ญาติปลิโพธ อาพาธปลิโพธ คันถะปลิโพธ และอิทธิปลิโพธ

1 . อาวาสปลิโพธ อาวาสปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับวัดหรือที่อยู เชน ตนมีของใชเก็บสะสมไวมาก กลัวจะสูญหายถูกขโมย เปนกังวลเปนหวงวาจะไมมใี ครเฝา กลัววาปลวกจะขึน้ บาง ฝนจะตก สาดเขาไปบาง กลัวไฟจะไหมบาง แตถา ใจไมผูกพันก็ไมเปนไร

2 . กุลปลิโพธ กุลปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับตระกูล หรือญาติ หรืออุปฏฐาก ซึง่ สนิทสนมกัน จากไปใจคอยหวง หวงผูใกลชิดที่เคยชวยเหลือ เชน บุตร ภรรยา กลัววาเขาจะหางเหินจาก เรา เพราะไมไดพบกันทุกวัน จึงควรทําใจใหได

3 . ลาภปลิโพธ ลาภปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับลาภ เชน มีคนเลื่อมใสมาก มาหามาถวายของ มัววุน อยูไมเปนอันปฏิบัติ หรือหวงลาภสักการะที่เคยมีอยูกลัววาจะขาดรายไดไป ควรปลีกตัวไป หาที่สงัด คือหลีกออกไปเสีย

217 4 . คณะปลิโพธ คณะปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับคณะศิษย หรือหมูชนที่ตนตองรับผิดชอบ เชน มีศิษยที่ตองสอน ยุง อยูกับงานสอนและแกความสงสัย ควรทําใหเสร็จเรื่องที่คาง หรือหาคน แทนเปนตน แลวขอโอกาสลาไปปฏิบัติ

5 . กรรมปลิโพธ กรรมปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับการงานที่กาํ ลังทําอยู หรือคิดวาจะทําอยางนั้น อยางนี้ เวลานั้นเวลานี้ เชน การกอสรางหรือการงานตางๆ ควรทําใหเสร็จหรือมอบหมายแก ใครใหเรียบรอย

6 . อัทธานปลิโพธ อัทธานปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับการเดินทางไกลเนื่องดวยกิจธุระ เชน ไปบวช พระเณร เดินทางตามนิมนตตางๆ หวงวาเสร็จจากปฏิบัติกรรมฐานแลว จะตองไปที่โนนไปทีน่ ั่น ตอ จึงทําใหกรรมฐานไมเจริญกาวหนา

7 . ญาติปลิโพธ ญาติปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับญาติ หรือคนใกลชิดที่จะตองเปนหวง ทั้งญาติ ทางบานและญาติทางวัด ซึ่งกําลังเจ็บปวย ตองขวนขวายรักษาใหหายจนหมดหวง

8 . อาพาธปลิโพธ อาพาธปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับความเจ็บไขของตนเอง หรือเวทนาที่เปน อุปสรรคตอการปฏิบัติธรรม ทําใหหางจากมัชฌิมาปฏิปทา ควรรักษาใหหายกอนปฏิบัติ

9 . คันถะปลิโพธ คันถะปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับการศึกษาเลาเรียนทางปริยัติ คันถะปลิโพธนี้ เปนปลิโพธสําหรับผูวนุ กับการรักษาความรู เชน สาธยายธรรม หรือเวลานั้นเวลานี้จะตองอาน หนังสือทองตําราเตรียมตัวสอบ ถาไมวนุ หรือหวงกังวลก็ไมเปนไร

10 . อิทธิปลิโพธ

218 อิทธิปลิโพธ คือ ความกังวลเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์ของตน ทีจ่ ะตองคอยรักษามิใหเสือ่ ม แตเปนปลิโพธสําหรับผูเจริญสมถกรรมฐานจนไดสมาบัติ 8 และบรรลุอภิญญาเทานัน้ จะไมเปน ปลิโพธสําหรับผูที่เจริญสมถกรรมฐาน เพื่อนํามาเปนบาทสําหรับเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไป

สัปปายะ 7 สัปปายะ คือ สิ่งของ หรือสถานที่ หรือบุคคล ซึง่ เปนที่สบาย เหมาะกัน เกือ้ กูลกัน หรือเอื้ออํานวย หรือชวยเกือ้ กูล แกการบําเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ สวนอสัปปายะ คือ สิง่ ของ หรือสถานที่ หรือบุคคล ซึง่ ไมเปนที่สบาย ไมเหมาะกัน ไมเกื้อกูลกัน หรือไม เอื้ออํานวย หรือไมชวยเกือ้ กูล แกการบําเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ซึ่งมี 7 ประการ ไดแก อาวาส โคจร ภัสสะ ปุคคล โภชนะ อุตุ และอิริยาปถ

1 . อาวาส อาวาส คือ ที่อยูอาศัยหลับนอน

1.1 อาวาสสัปปายะ อาวาสสัปปายะ หมายถึง สถานที่ใดทีน่ ักปฏิบัติเขาไปพักอาศัยอยูแ ลว นิมิตที่ยงั ไม เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็ตั้งมั่นอยูไดไมหายไป สติทยี่ ังไมปรากฏก็ปรากฏขึ้น จิตใจที่ยังไม สงบ ยังไมตงั้ มั่น ก็มีความสงบตั้งมัน่ ขึน้ ได ฉะนัน้ สถานทีน่ ั้นจึงเปนอาวาสสัปปายะ

1.2 อาวาสอสัปปายะ อาวาสอสัปปายะ คือ สถานที่ใดทีน่ ักปฏิบัติเขาไปพักอาศัยอยูแลว นิมิตทีย่ ังไมเกิดก็ ไมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็สญ ู หายไป สติที่ยังไมปรากฏก็ไมปรากฏขึ้น จิตใจทีย่ งั ไมสงบ ยังไม ตั้งมั่น ก็คงเปนไปอยูอยางเดิม ฉะนัน้ สถานทีน่ ั้นจึงเปนอาวาสอสัปปายะ

2 . โคจร โคจร คือ หมูบานหรือทองถิน่ ที่บิณฑบาต

2.1 โคจรสัปปายะ โคจรสัปปายะ คือ หมูบา นหรือทองถิน่ ที่ควรเขาไปบิณฑบาต มี 3 ประการ 1 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ที่มีอยูห างจากเสนาสนะไปทางดานทิศเหนือหรือทางทิศใต ที่ พนจากแสงอาทิตยขนึ้ สองหนา ในเวลาไปหรือกลับจากบิณฑบาต

219 2 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ที่มีระยะทางหางจากเสนาสนะประมาณ 5 กิโลเมตร มีการ คมนาคมไปมาสะดวกสบาย 3 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ทีเ่ ขาไปรับบิณฑบาตแลว ไดอาหารมาเพียงพอแกการฉัน

2.2 โคจรอสัปปายะ โคจรอสัปปายะ คือ หมูบา นหรือทองถิน่ ที่ไมควรเขาไปบิณฑบาต มี 3 ประการ 1 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ที่มีอยูห างจากเสนาสนะไปทางดานทิศตะวันออกหรือทางทิศ ตะวันตก ทีม่ แี สงอาทิตยขนึ้ สองหนา ในเวลาไปหรือกลับจากบิณฑบาต 2 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ที่มีระยะทางหางจากเสนาสนะมากกวา 5 กิโลเมตรขึ้นไป มี การคมนาคมไปมายังไมสะดวกสบาย 3 . หมูบา นหรือทองถิน่ ใด ที่เขาไปรับบิณฑบาตแลว ไดอาหารมาไมเพียงพอแกการฉัน

3 . ภัสสะ ภัสสะ คือ ถอยคําหรือการพูด

3.1 ภัสสสัปปายะ ภัสสสัปปายะ คือ ถอยคําที่ไมขัดกันกับมรรคผลนิพพาน มี 10 ประการ 1 . พูดเรื่องความมักนอย 2 . พูดเรื่องความพอใจตามมีตามได ในสิ่งของของตนที่ไดมา 3 . พูดเรื่องความสงบทาง กาย วาจา และใจ 4 . พูดเรื่องที่ไมเกี่ยวกับกามคุณอารมณ 5 . พูดเรื่องการขยันหมัน่ เพียร 6 . พูดเรื่องศีล 7 . พูดเรื่องสมาธิ 8 . พูดเรื่องปญญา 9 . พูดเรื่องอรหัตตผล 10 . พูดเรื่องปจจเวกขณญาณ ที่เกีย่ วกับอรหัตตผลและนิพพาน

3.2 ภัสสอสัปปายะ ภัสสอสัปปายะ คือ ถอยคําที่ขัดกันกับมรรคผลนิพพาน มี 32 ประการ 1 . พูดเรื่องตางๆที่เกีย่ วกับองคพระมหากษัตริย ตลอดจนถึงเชื้อพระญาติพระวงศ

220 2 . พูดเรื่องโจรตางๆ 3 . พูดเรื่องมหาอํามาตยราชมนตรีที่เปนคณะรัฐบาล 4 . พูดเรื่องทหารตํารวจ 5 . พูดเรื่องภัยตางๆ 6 . พูดเรื่องยุทธศาสตร 7 . พูดเรื่องอาหารการกิน 8 . พูดเรื่องเครื่องดื่มตางๆ ไดแก น้ําดื่มและสุรา 9 . พูดเรื่องเสือ้ ผาเครื่องนุง หมตางๆ 10 . พูดเรื่องทีห่ ลับทีน่ อน 11 . พูดเรื่องการประดับตกแตงดวยดอกไมตางๆ 12 . พูดเรื่องกลิ่นหอมตางๆ 13 . พูดเรื่องวงศญาติ 14 . พูดเรื่องยวดยานพาหนะตางๆ 15 . พูดเรื่องหมูบานตางๆ 16 . พูดเรื่องนิคมตางๆ 17 . พูดเรื่องจังหวัดตางๆ 18 . พูดเรื่องชนบทตางๆ 19 . พูดเรื่องผูห ญิง 20 . พูดเรื่องผูช าย 21 . พูดเรื่องความกลาหาญ 22 . พูดเรื่องถนนสายตางๆและคนที่อยูในถนนสายนั้นๆ 23 . พูดเรื่องทาน้าํ หรือเรื่องนางทาสีของนายชางหมอ 24 . พูดเรื่องวงศาคณาญาติท่ลี วงลับไปแลวในปางกอน 25 . พูดเรื่องทีไ่ มมีสาระ 26 . พูดเรื่องใครเปนผูสรางโลกหรือเรื่องแผนที่โลก 27 . พูดเรื่องมหาสมุทร 28 . พูดเรื่องความเจริญและความเสื่อม 29 . พูดเรื่องปา

221 30 . พูดเรื่องภูเขา 31 . พูดเรื่องแมน้ํา 32 . พูดเรื่องเกาะตางๆ

4 . ปุคคล ปุคคล คือ บุคคล

4.1 ปุคคลสัปปายะ ปุคคลสัปปายะ คือ บุคคลที่สมควรเขาไปสนทนาปราศรัยดวย มี 2 จําพวก 1 . บุคคลทีม่ ปี กติไมใครคุยไมใครพูดในเรื่องเดรัจฉานวิชา 2 . บุคคลทีถ่ ึงพรอมดวย ศีลคุณ สมาธิคุณ และปญญาคุณ

4.2 ปุคคลอสัปปายะ ปุคคลอสัปปายะ คือ บุคคลที่ไมสมควรเขาไปสนทนาปราศรัยดวย มี 2 จําพวก 1 . บุคคลทีม่ ปี กติชอบคุยชอบพูดแตในเรื่องเดรัจฉานวิชา 2 . บุคคลทีม่ ปี กติชอบบํารุงประคบประหงมตบแตงรางกาย

5 . โภชนะ โภชนะ คือ อาหาร

5.1 โภชนสัปปายะ โภชนสัปปายะ คือ อาหารที่ควรบริโภค เมื่อบริโภคแลวเกิดความชุม ชื่นผาสุกใจ จิตใจ มั่นคง การเจริญกรรมฐานมีความกาวหนา สวนจะมีรสหวาน เปรีย้ ว เค็ม เผ็ด ขม และ ฝาด ประการใดนั้น ขึ้นอยูกับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกันได เชน บางบุคคลไดรับประทาน อาหารที่มีรสหวานแลวถูกปาก มีความชุม ชื่นผาสุกใจ จิตใจมั่นคง ฉะนัน้ อาหารที่มรี สหวาน จึงเปนโภชนสัปปายะ สําหรับบุคคลนั้น

5.2 โภชนอสัปปายะ โภชนอสัปปายะ คือ อาหารที่ไมควรบริโภค เมื่อบริโภคแลวไมเกิดความชุมชื่นผาสุกใจ จิตใจไมมั่นคง การเจริญกรรมฐานไมมีความกาวหนา สวนจะมีรสหวาน เปรี้ยว เค็ม เผ็ด ขม และฝาด ประการใดนัน้ ขึ้นอยูกับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกันได เชน บางบุคคลได รับประทานอาหารทีม่ ีรสหวานแลวไมถูกปาก ไมมีความชุมชื่นผาสุกใจ จิตใจไมมนั่ คง ฉะนัน้ อาหารที่มีรสหวานจึงเปนโภชนอสัปปายะ สําหรับบุคคลนั้น

222 6 . อุตุ อุตุ คือ อากาศ

6.1 อุตุสัปปายะ อุตุสัปปายะ คือ สภาพอากาศที่เหมาะสําหรับนักปฏิบตั ิ ทําใหเกิดความสดชืน่ ปรอด โปรง แจมใส สบาย จิตใจมั่นคง การเจริญกรรมฐานมีความกาวหนา สวนจะมีสภาพรอน หนาว ชื้น หรือแหง ประการใดนัน้ ขึ้นอยูกับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกันได เชน บุคคล บางคนเมื่อไดรับอากาศเย็นก็รูสึกสบาย จิตใจที่ยังไมแจมใสไมตั้งมั่น ก็กลับแจมใสตั้งมั่นขึน้ จิตใจที่สงบระงับแจมใสตั้งมัน่ แลว ก็ถาวรยิ่งๆขึ้นไป ฉะนัน้ อากาศเย็นจึงเปนอุตุสัปปายะ สําหรับบุคคลนั้น

6.2 อุตุอสัปปายะ อุตุอสัปปายะ คือ สภาพอากาศที่ไมเหมาะสําหรับนักปฏิบัติ ทําใหเกิดความไมสดชื่น ไมปรอดโปรง ไมแจมใส ไมสบาย จิตใจไมมั่นคง การเจริญกรรมฐานไมมีความกาวหนา สวน จะมีสภาพรอน หนาว ชืน้ หรือแหง ประการใดนัน้ ขึน้ อยูกับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกัน ได เชน บุคคลบางคนเมื่อไดรับอากาศเย็นก็รูสึกไมสบาย จิตใจทีย่ ังไมแจมใสไมตั้งมั่น ก็ยงิ่ กลับไมแจมใสไมตั้งมั่นยิง่ ขึ้น จิตใจที่สงบระงับแจมใสตั้งมั่นแลว ก็กลับเกิดความฟุงซานขึน้ มา ฉะนัน้ อากาศเย็นจึงเปนอุตุอสัปปายะ สําหรับบุคคลนั้น

7 . อิริยาปถ อิริยาปถ คือ อิริยาบถ

7.1 อิริยาปถสัปปายะ อิริยาปถสัปปายะ คือ อิรยิ าบถที่เหมาะสําหรับนักปฏิบัติ ทําใหเกิดความสบาย จิตใจ มั่นคง การเจริญกรรมฐานมีความกาวหนา สวนจะมีอิริยาบถยืน เดิน นั่ง หรือนอน ประการ ใดนั้น ขึน้ อยูก ับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกันได เชน บุคคลบางคนเมื่อไดปฏิบัติในอิริยาบถ นอนแลวก็รูสึกสบาย จิตใจที่ยงั ไมแจมใสไมตั้งมั่น ก็กลับแจมใสตั้งมั่นขึน้ จิตใจที่สงบระงับ แจมใสตั้งมั่นแลว ก็ถาวรยิ่งๆขึ้นไป ฉะนัน้ อิริยาบถนอนจึงเปนอิริยาปถสัปปายะ สําหรับ บุคคลนั้น

7.2 อิริยาปถอสัปปายะ

223 อิริยาปถอสัปปายะ คือ อิริยาบถที่ไมเหมาะสําหรับนักปฏิบัติ ทําใหเกิดความไมสบาย จิตใจไมมั่นคง การเจริญกรรมฐานไมมีความกาวหนา สวนจะมีอิริยาบถยืน เดิน นั่ง หรือ นอน ประการใดนั้น ขึ้นอยูกับบุคคลเปนบุคคลไปแตกตางกันได เชน บุคคลบางคนเมื่อได ปฏิบัติในอิริยาบถนอนแลวก็รูสึกไมสบาย จิตใจที่ยงั ไมแจมใสไมตั้งมั่น ก็ยิ่งกลับไมแจมใสไมตั้ง มั่นมากขึ้น จิตใจที่สงบระงับแจมใสตั้งมัน่ แลว ก็กลับฟุงซานขึน้ มา ฉะนั้น อิริยาบถนอนจึงเปน อิริยาปถอสัปปายะ สําหรับบุคคลนั้น

จริต 6 จริต คือ พืน้ เพแหงจิตของคนทั้งหลาย ทีห่ นักไปดานใดดานหนึง่ แตกตางกันออกไป มี 6 ประการดวยกัน ไดแก ราคจริต โทสจริต โมหจริต วิตกจริต ศรัทธาจริต และพุทธิจริต

1 . ราคจริต ราคจริต คือ พืน้ เพแหงจิตที่หนักไปทางรักสวยรักงาม มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

1.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีราคจริตนัน้ เมื่อจะเดินไปนั้น ยอมจะเดินไปตามปกติธรรมดา มีกิริยาทาทางอันชด ชอย คอยๆวางเทาและยกขึ้น เมื่อจะวางลงนั้นก็วางลงอยางสม่าํ เสมอ เมื่อจะยกขึ้นนัน้ ก็ยกขึน้ อยางสม่ําเสมอ มีรอยเทากระโหยง เมือ่ ยืนหรือนั่งก็นาดู มีอาการอันละมุนละมอม เวลานอนก็ ไมรีบรอน การจัดที่นอนก็เรียบรอยสม่ําเสมอ แลวจึงคอยๆเอนตัวลงนอน มีการวางอวัยวะสวน ตางๆนอยใหญใหเรียบรอย นอนอยูในอาการอันนาดู เมื่อถูกปลุกใหลุกก็คอยๆลุก

1.2 สังเกตกิจ ผูมีราคจริตนัน้ เมื่อจะทําการงานอันใด ยอมกระทําไปอยางเรียบรอย เชน การปด กวาด เปนตน สะอาดเตียนหมดจดดี ไมใหมีฝนุ ละอองปลิวฟุงตลบขึ้นมา มือที่ถือไมกวาดนั้น ก็ถือไวเปนอยางดี คอยๆกวาดไปๆอยางแชมชาไมรีบรอน

1.3 สังเกตโภชนะ

224 ผูมีราคจริตนัน้ ชอบอาหารอันละมุนละไม มีรสอรอยสนิทหวานมัน เมื่อบริโภคก็ทําคํา ขาวใหกลมกลอมพอเหมาะพอควร คือคําขาวนั้นไมเล็กจนเกินไปหรือใหญจนเกินไป ชอบลิม้ รส แปลกๆ รับประทานไปโดยไมรีบรอน ไดอาหารดีที่ถูกปากอยางเดียวเทานัน้ ก็มคี วามพอใจมาก

1.4 สังเกตทัศนะ ผูมีราคจริตนัน้ เมื่อไดแลเห็นรูปสวยงามที่เปนการปลาบปลื้มใจ เสียงไพเราะ กลิ่นหอม รสดี เครื่องสัมผัสละเอียดออน ทีเ่ ปนไปอยางธรรมดาแมเพียงนิดๆหนอยๆ ก็เพงมองดู ตัง้ ใจ ฟงอยางสนใจ เหมือนกับเกิดพิศวงงงงวยอยางจริงๆจังๆ คลายๆกับวาไมเคยพบเคยเห็นสิ่ง เหลานี้ แมจะมีขอบกพรองอยูบางก็ไมมกี ารถือสา ไมหยิบยกขึ้นมาวาเปนผิดหรือถูกแตอยางใด คงติดใจในคุณภาพแมเพียงนิดเดียวทีม่ ีอยูในสิ่งเหลานี้ เมื่อสิง่ เหลานี้ผานเลยไปแลว ก็ยังไมยอม ลดละ ยังตามดู ตามฟง อยางทีเ่ รียกวาชะเงอมอง เมื่อจะจากไปก็จากไปอยางมีอาลัย บางที ก็ถึงกับกลับหลังหันมามองอยางเสียดาย

1.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีราคจริตนัน้ ยอมมีจิตใจต่ําเปนไปดังนี้ คือ 1 . เปนผูเจาเลห 2 . เปนผูโออวด 3 . เปนผูถือตัว 4 . เปนผูมีความประสงคที่เปนไปในทางทุจริต 5 . เปนผูตองการใหผูอนื่ ยกยองชมเชยสรรเสริญ ในคุณความดีของตนจนเกินประมาณ 6 . เปนผูไมมคี วามพอใจในเครื่องอุปโภค 7 . เปนผูแงงอน 8 . เปนผูชอบประดิษฐประดอยเครื่องนุงหม และตกแตงกายดวยเครื่องประดับตางๆ

2 . โทสจริต โทสจริต คือ พืน้ เพแหงจิตที่หนักไปทางใจรอนขี้หงุดหงิด มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

2.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีโทสจริตนัน้ เมื่อเดินไปนั้นยอมเดินไปประดุจจิกปลายเทา มีการวางเทาลงและยกขึ้น อยางรวดเร็ว ไมเรียบรอย ผลีผลาม เวลายืนหรือนัง่ อยูนนั้ ก็มกี ิรยิ าทาทางอันกระดาง เวลา

225 นอนก็รีบรอนมาก การจัดที่นอนก็จัดตามแตจะได แลวทอดกายลงนอนอยางเกะกะไมเรียบรอย เมื่อถูกปลุกใหลุก ก็ลุกขึน้ อยางผลุนผลัน มีหนาตาบูดบึ้งเพราะเกิดความโกรธขึ้น

2.2 สังเกตกิจ ผูมีโทสจริตนัน้ ทําการงานสะอาดแตไมเรียบรอย เชน การปดกวาด เปนตน มีเสียง ดังฉาดๆโครมคราม มือกําไมกวาดไวแนนอยางขึงขัง กวาดไปอยางรีบรอน สะอาดเปนหยอมๆ ทําใหฝุนละอองที่กวาดนั้น ฟุง ตลบไปทัว่ บริเวณ

2.3 สังเกตโภชนะ ผูมีโทสจริตนัน้ ชอบอาหารหยาบๆ รสเปรี้ยว เค็ม ขม และฝาดจัด เมื่อบริโภคก็ทํา คําขาวโตจนคับปาก ไมใชเปนนักลิ้มรสคือเลือกรสอาหารเทาไรนัก รับประทานอาหารหมดอยาง รวดเร็ว ไดอาหารที่ไมถกู ใจแมเพียงนิดเดียว ก็พาลโกรธขึ้นมาได

2.4 สังเกตทัศนะ ผูมีโทสจริตนัน้ เมื่อไดแลเห็นรูปที่ไมคอยสวย ไมคอยงาม ไมเปนการปลาบปลืม้ ใจ เสียงไมคอยไพเราะ กลิน่ ไมคอยหอม รสไมคอยดี เครื่องสัมผัสหยาบ ที่เปนไปอยางธรรมดา แมเพียงนิดๆหนอยๆ ก็หงุดหงิดใจ ไมอยากดู ดูไดไมนาน ถามีขอบกพรองประกอบอยูบาง เพียงนิดหนอยในสิ่งเหลานี้ ก็ขัดใจ แมวาความดีจะมีอยูอยางชัดแจงก็ตามที แตไมมีความ สนใจในคุณความดีนี้แตอยางใด เมื่อสิง่ เหลานี้ผานเลยไปก็ไมรูสึกเสียดาย เมื่อจะจากหรือหลีก ไป ก็ใครจะพนออกไปอยางเดียว ไมมกี ารแลเหลียวคิดพะวงหลงอาลัยติดใจถึงเลย

2.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีโทสจริตนัน้ ยอมมีจิตใจต่ําเปนไปดังนี้ คือ 1 . เปนผูมกั โกรธ 2 . เปนผูผูกโกรธ 3 . เปนผูลบหลูบุญคุณ 4 . เปนผูตีเสมอ 5 . เปนผูมีความอิจฉาริษยา 6 . เปนผูมีความตระหนี่

226 3 . โมหจริต โมหจริต คือ พืน้ เพแหงจิตที่หนักไปทางเหงาซึมงมงาย มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

3.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีโมหจริตนัน้ เมื่อเดินไปนั้นยอมเดินไปโดยเปะปะ เมื่อวางเทาลงและยกขึน้ ดุจดังคน ขยมตัว มีรอยเทาจิกปลายและสน เวลายืนหรือนั่งก็มอี าการบงวาเหมอๆลอยๆใหเห็น เมื่อนอน ก็ไมนาดู คือนอนขวางมือและเทาเหวี่ยงเกะกะไปโดยไมรูตัว การจัดปูที่นอนก็ไมเรียบรอย สวนมากชอบนอนคว่าํ หนา เมื่อถูกปลุกใหลุกก็ลกุ ชา มีการงัวเงียหาวเรอ ทําอาการ กระบิดกระบวนไปมานารําคาญ

3.2 สังเกตกิจ ผูมีโมหจริตนัน้ เมื่อจะทําการงานอันใด มักกระทําไปโดยหยาบๆไมถี่ถวน เกิดความคัง่ คาง เอาดีไมได เชน การปดกวาด เปนตน มือที่จบั ไมกวาดก็จบั ไวอยางหลวมๆ ทําการ กวาดไปตามแตจะได ไมสะอาด ทัง้ ไมเรียบรอย ทําใหมูลฝอยกระจุยกระจายเกลื่อนขึ้น ขณะที่กําลังกวาดอยู

3.3 สังเกตโภชนะ ผูมีโมหจริตนัน้ เปนผูชอบในรสอาหารไมแนนอน เมือ่ บริโภคก็ทําคําเล็กๆไมกลมกลอม เม็ดขาวตกเรีย่ ราดเกลื่อนกลาดกระจายไปทั่ว ริมฝปากมอมแมมเลอะเทอะ จิตใจนั้นก็ฟงุ ซาน คิดไปบริโภคไปอยางคนใจลอย

3.4 สังเกตทัศนะ ผูมีโมหจริตนัน้ เมื่อไดเห็นรูปอยางใดอยางหนึง่ นัน้ วาโดยเนื้อแทของตนเองแลวก็เปน คนเฉยๆ เพราะความซึมที่ไมรูนั่นเอง ตอเมื่อมีผูหนุนขางขึ้นมา จึงมีการคลอยตามเขาไป คือ คนอื่นเขาติกพ็ ลอยติกับเขาดวย ถาเขาชมก็พลอยชมกับเขาดวย การไดยิน การรูกลิ่น เปนตน ก็เปนไปในทํานองเดียวกันนี้

3.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีโมหจริตนัน้ ยอมมีจิตใจโงเขลางมงายเปนไปดังนี้ คือ 1 . เปนผูมีจิตใจงวงเหงา หดหูท อถอย ไมเขมแข็ง 2 . เปนผูมีความรําคาญ 3 . เปนผูมีความลังเล

227 4 . เปนผูมกี ารยึดถือมั่น โดยปราศจากเหตุผล 5 . เปนผูอบรมสั่งสอน ปลดเปลื้องความเห็นผิดๆไดยาก

4 . วิตกจริต วิตกจริต คือ พืน้ เพแหงจิตที่หนักไปทางคิดจับจดฟุงซาน มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

4.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีวิตกจริตนัน้ เมื่อเดินไปนั้นยอมเดินไปโดยเปะปะ เมื่อวางเทาลงและยกขึน้ ดุจดังคน ขยมตัว มีรอยเทาจิกปลายและสน เวลายืนหรือนั่งก็มอี าการบงวาเหมอๆลอยๆใหเห็น เมื่อนอน ก็ไมนาดู คือนอนขวางมือและเทาเหวี่ยงเกะกะไปโดยไมรูตัว การจัดปูที่นอนก็ไมเรียบรอย สวนมากชอบนอนคว่าํ หนา เมื่อถูกปลุกใหลุกก็ลกุ ชา มีการงัวเงียหาวเรอ ทําอาการ กระบิดกระบวนไปมานารําคาญ

4.2 สังเกตกิจ ผูมีวิตกจริตนัน้ เมื่อจะทําการงานอันใด มักกระทําไปโดยหยาบๆไมถี่ถวน เกิดความคัง่ คาง เอาดีไมได เชน การปดกวาด เปนตน มือที่จบั ไมกวาดก็จบั ไวอยางหลวมๆ ทําการ กวาดไปตามแตจะได ไมสะอาด ทัง้ ไมเรียบรอย ทําใหมูลฝอยกระจุยกระจายเกลื่อนขึ้น ขณะที่กําลังกวาดอยู

4.3 สังเกตโภชนะ ผูมีวิตกจริตนัน้ เปนผูชอบในรสอาหารไมแนนอน เมือ่ บริโภคก็ทําคําเล็กๆไมกลมกลอม เม็ดขาวตกเรีย่ ราดเกลื่อนกลาดกระจายไปทั่ว ริมฝปากมอมแมมเลอะเทอะ จิตใจนั้นก็ฟงุ ซาน คิดไปบริโภคไปอยางคนใจลอย

4.4 สังเกตทัศนะ ผูมีวิตกจริตนัน้ เมื่อไดเห็นรูปอยางใดอยางหนึง่ นัน้ วาโดยเนื้อแทของตนเองแลวก็เปน คนเฉยๆ เพราะความซึมที่ไมรูนั่นเอง ตอเมื่อมีผูหนุนขางขึ้นมา จึงมีการคลอยตามเขาไป คือ คนอื่นเขาติกพ็ ลอยติกับเขาดวย ถาเขาชมก็พลอยชมกับเขาดวย การไดยิน การรูกลิ่น เปนตน ก็เปนไปในทํานองเดียวกันนี้

4.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีวิตกจริตนัน้ ยอมมีจิตใจเปนไปดังนี้ คือ

228 1 . เปนคนพูดพร่ํา 2 . เปนคนชอบคลุกคลีกับหมูคณะ 3 . เปนผูไมมคี วามยินดีในการบุญ บริจาคทาน รักษาศีล เจริญภาวนา 4 . เปนคนชอบพลุกพลานไปทางโนนทางนี้ เปลี่ยนงานเรื่อยไปไมมที ี่สิ้นสุด 5 . กลางคืนชอบวาดฝนสิง่ ที่จะทําในวันรุงขึ้น (สรางวิมานสวยหรูในอากาศ) 6 . กลางวันก็ลงมือทําตามฝนของตนไปโทงๆ โดยไมรูวาผิดหรือถูกประการใด 7 . เปนคนเจาความคิดไปในเรื่องรอยแปดพันประการ

5 . ศรัทธาจริต ศรัทธาจริต คือ พื้นเพแหงจิตทีห่ นักไปทางนอมใจเชือ่ มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

5.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีศรัทธาจริตนั้น เมื่อจะเดินไปนัน้ ยอมจะเดินไปตามปกติธรรมดา มีกิริยาทาทางอัน ชดชอย คอยๆวางเทาและยกขึ้น เมื่อจะวางลงนัน้ ก็วางลงอยางสม่าํ เสมอ เมื่อจะยกขึ้นนัน้ ก็ ยกขึ้นอยางสม่ําเสมอ มีรอยเทากระโหยง เมื่อยืนหรือนั่งก็นาดู มีอาการอันละมุนละมอม เวลา นอนก็ไมรีบรอน การจัดทีน่ อนก็เรียบรอยสม่ําเสมอ แลวจึงคอยๆเอนตัวลงนอน มีการวาง อวัยวะสวนตางๆนอยใหญใหเรียบรอย นอนอยูในอาการอันนาดู เมื่อถูกปลุกใหลุกก็คอยๆลุก

5.2 สังเกตกิจ ผูมีศรัทธาจริตนั้น เมื่อจะทําการงานอันใด ยอมกระทําไปอยางเรียบรอย เชน การปด กวาด เปนตน สะอาดเตียนหมดจดดี ไมใหมีฝนุ ละอองปลิวฟุงตลบขึ้นมา มือที่ถือไมกวาดนั้น ก็ถือไวเปนอยางดี คอยๆกวาดไปๆอยางแชมชาไมรีบรอน

5.3 สังเกตโภชนะ ผูมีศรัทธาจริตนั้น ชอบอาหารอันละมุนละไม มีรสอรอยสนิทหวานมัน เมื่อบริโภคก็ทํา คําขาวใหกลมกลอมพอเหมาะพอควร คือคําขาวนั้นไมเล็กเกินไปหรือใหญเกินไป ชอบลิ้มรส แปลกๆ รับประทานไปโดยไมรีบรอน ไดอาหารดีที่ถูกปากอยางเดียวเทานัน้ ก็มคี วามพอใจมาก

5.4 สังเกตทัศนะ

229 ผูมีศรัทธาจริตนั้น เมื่อไดแลเห็นรูปสวยงามทีเ่ ปนการปลาบปลื้มใจ เสียงไพเราะ กลิ่น หอม รสดี เครื่องสัมผัสละเอียดออน ที่เปนไปอยางธรรมดาแมเพียงนิดๆหนอยๆ ก็เพงมองดู ตั้งใจฟงอยางสนใจ เหมือนกับเกิดพิศวงงงงวยอยางจริงๆจังๆ คลายๆกับวาไมเคยพบเคยเห็นสิง่ เหลานี้ แมจะมีขอบกพรองอยูบางก็ไมมกี ารถือสา ไมหยิบยกขึ้นมาวาเปนผิดหรือถูกแตอยางใด คงติดใจในคุณภาพแมเพียงนิดเดียวทีม่ ีอยูในสิ่งเหลานี้ เมื่อสิง่ เหลานี้ผานเลยไปแลว ก็ยังไมยอม ลดละ ยังตามดู ตามฟง อยางทีเ่ รียกวาชะเงอมอง เมื่อจะจากไปก็จากไปอยางมีอาลัย บางที ก็ถึงกับกลับหลังหันมามองอยางเสียดาย

5.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีศรัทธาจริตนั้น ยอมเปนผูไมมีมารยาสาไถยแตประการใด ซึง่ ตรงขามกับผูมีราคจริต ซึ่งเปนไปดังนี้ คือ 1 . เปนผูยอมเสียสละ กังวลหวงใยในสิง่ ทั้งปวง 2 . เปนผูมีความตองการพบเห็นพระอริยเจา 3 . เปนผูตองการฟงพระสัทธรรม 4 . เปนผูจะเกิดความปราโมทยอยางยิ่ง ถาไดพบเห็นและฟงพระสัทธรรมจากพระอริยเจา 5 . เปนผูไมโออวด 6 . เปนผูไมมมี ารยา 7 . เปนผูเลื่อมใสในพระรัตนตรัย บิดามารดาและครูบาอาจารย

6 . พุทธิจริต พุทธิจริต คือ พื้นเพแหงจิตที่หนักไปทางคิดพิจารณา มีขอพึงสังเกตได 5 ประการ

6.1 สังเกตอิริยาบถ ผูมีพุทธิจริตนัน้ เมื่อจะเดินไปนั้น ยอมจะเดินไปตามปกติธรรมดา มีกิริยาทาทางอันชด ชอย คอยๆวางเทาและยกขึ้น เมื่อจะวางลงนั้นก็วางลงอยางสม่าํ เสมอ เมื่อจะยกขึ้นนัน้ ก็ยกขึน้ อยางสม่ําเสมอ มีรอยเทากระโหยง เมือ่ ยืนหรือนั่งก็นาดู มีอาการอันละมุนละมอม เวลานอนก็ ไมรีบรอน การจัดที่นอนก็เรียบรอยสม่ําเสมอ แลวจึงคอยๆเอนตัวลงนอน มีการวางอวัยวะสวน ตางๆนอยใหญใหเรียบรอย นอนอยูในอาการอันนาดู เมื่อถูกปลุกใหลุกก็คอยๆลุก

6.2 สังเกตกิจ

230 ผูมีพุทธิจริตนัน้ เมื่อจะทําการงานอันใด ยอมกระทําไปอยางเรียบรอย เชน การปด กวาด เปนตน สะอาดเตียนหมดจดดี ไมใหมีฝนุ ละอองปลิวฟุงตลบขึ้นมา มือที่ถือไมกวาดนั้น ก็ถือไวเปนอยางดี คอยๆกวาดไปๆอยางแชมชาไมรีบรอน

6.3 สังเกตโภชนะ ผูมีพุทธิจริตนัน้ ชอบอาหารอันละมุนละไม มีรสอรอยสนิทหวานมัน เมื่อบริโภคก็ทําคํา ขาวใหกลมกลอมพอเหมาะพอควร คือคําขาวนั้นไมเล็กจนเกินไปหรือใหญจนเกินไป ชอบลิม้ รส แปลกๆ รับประทานไปโดยไมรีบรอน ไดอาหารดีที่ถูกปากอยางเดียวเทานัน้ ก็มคี วามพอใจมาก

6.4 สังเกตทัศนะ ผูมีพุทธิจริตนัน้ เมื่อไดแลเห็นรูปสวยงามที่เปนการปลาบปลื้มใจ เสียงไพเราะ กลิ่น หอม รสดี เครื่องสัมผัสละเอียดออน ที่เปนไปอยางธรรมดาแมเพียงนิดๆหนอยๆ ก็เพงมองดู ตั้งใจฟงอยางสนใจ เหมือนกับเกิดพิศวงงงงวยอยางจริงๆจังๆ คลายๆกับวาไมเคยพบเคยเห็นสิง่ เหลานี้ แมจะมีขอบกพรองอยูบางก็ไมมกี ารถือสา ไมหยิบยกขึ้นมาวาเปนผิดหรือถูกแตอยางใด คงติดใจในคุณภาพแมเพียงนิดเดียวทีม่ ีอยูในสิ่งเหลานี้ เมื่อสิง่ เหลานี้ผานเลยไปแลว ก็ยังไมยอม ลดละ ยังตามดู ตามฟง อยางทีเ่ รียกวาชะเงอมอง เมื่อจะจากไปก็จากไปอยางมีอาลัย บางที ก็ถึงกับกลับหลังหันมามองอยางเสียดาย

6.5 สังเกตธรรมปวัตติ ผูมีพุทธิจริตนัน้ ความโกรธหรือผูกโกรธ และการลบหลูคุณความดีของผูอื่น ไมคอ ยจะ ปรากฏเกิดขึ้นแตประการใด คงมีจิตใจสูงที่เปนฝายตรงขามกับผูท ี่มีโทสจริต ซึ่งเปนไปดังนี้ คือ 1 . เปนผูวา งายในการสั่งสอนสิ่งที่ดี แมผสู ั่งสอนนั้นจะมิใชบิดามารดาหรือครูอาจารย 2 . เปนผูเลือกคบแตคนดีเปนเพื่อน โดยไมมีการถือชัน้ วรรณะ 3 . เปนผูรูจักประมาณในการรับอาหารทีเ่ ขาให และในการบริโภค 4 . เปนผูมีสติสัมปชัญญะ 5 . เปนผูประกอบความเพียร มีจิตใจตื่นอยูเปนนิจในกิจที่ดี 6 . เปนผูมีความเบื่อหนาย และเห็นโทษในการเกิดแกเจ็บตาย 7 . เปนผูประกอบซึ่งการใหทาน รักษาศีล เจริญภาวนา เพื่อใหถึงที่สุดแหงกองทุกข

สมาธิ 3 ระดับ

231 สมาธินั้นแบงเปน 3 ระดับ ไดแก ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิ

1 . ขณิกสมาธิ ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชวั่ ขณะ เปนสมาธิขั้นตน ในทางกรรมฐานเปนสมาธิในชวงการ กําหนดบริกรรมนิมิตและอุคคหนิมิต ซึ่งคนทัว่ ไปอาจใชประโยชนในการปฏิบัติหนาที่การงานใน ชีวิตประจําวันใหไดผลดี และจะใชเปนจุดตั้งตนในการเจริญปญญาได

2 . อุปจารสมาธิ อุปจารสมาธิ คือ สมาธิเฉียดๆหรือสมาธิจวนจะแนวแน (เกิดขึ้นถัดจากขณิกสมาธิ) ในทางกรรมฐานเปนสมาธิในชวงการเกิดปฏิภาคนิมิต เปนสมาธิขนั้ ระงับนิวรณทงั้ 5 ได กอนจะ เขาสูภาวะแหงฌานหรือสมาธิในบุพภาคแหงอัปปนาสมาธิ อุปจารสมาธินี้อุปมาเหมือนเด็ก ซึง่ มี ความซุกซนเปนธรรมดา บางครั้งก็อยูนงิ่ บางครั้งก็ไมอยูนงิ่

3 . อัปปนาสมาธิ อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิแนวแนหรือสมาธิที่แนบสนิท ในทางกรรมฐานหมายถึงความ คลองแคลวชํานาญในปฏิภาคนิมิต เมื่อใดที่เริ่มเปนอัปปนาสมาธิแลว ถือวาเปนปฐมฌานซึง่ ประกอบดวยองคฌาน 5 ประการ ไดแก วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา สวนการพัฒนา สูทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌานนั้น คือการลดองคฌานลงนั่นเอง อันอัปปนาสมาธินี้ ถือวาเปนผลสําเร็จที่ตองการของการเจริญสมาธิ และอุปมาเหมือนผูใหญผูมีกาํ ลัง ยอมนํากําลัง ของตนมาใช เพื่อยังประโชนที่มงุ หมายใหสําเร็จลงได

นิมิต 3 นิมิต คือ เครื่องหมายสําหรับใหจิตกําหนดในการเจริญกรรมฐาน ภาพทีเ่ ห็นในใจของผู เจริญกรรมฐาน ภาพที่เปนอารมณกรรมฐานหรือจินตภาพ ซึง่ มี 3 ชนิด ไดแก บริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต

1 . บริกรรมนิมิต บริกรรมนิมิต คือ นิมิตขัน้ เตรียมหรือเริ่มตน ไดแก สิง่ ใดก็ตามที่กาํ หนดเปนอารมณ ในการเจริญกรรมฐาน เชน ดวงกสิณของการเจริญกสิณ ลมหายใจของการเจริญอานาปานสติ หรือพุทธคุณของการเจริญพุทธานุสติ ที่ใชกําหนดนึกเปนอารมณอยูใ นใจ

2 . อุคคหนิมิต

232 อุคคหนิมิต คือ นิมิตที่ใจเรียนหรือนิมิตติดตา ไดแก บริกรรมนิมิตนั่นเอง ที่เพงหรือ นึกกําหนดจนเห็นแมนยํา กลายเปนภาพติดตาติดใจ เชน ดวงกสิณที่เพงจนติดตา แมจะ หลับตาก็มองเห็น

3 . ปฏิภาคนิมิต ปฏิภาคนิมิต คือ นิมิตเสมือนหรือนิมิตเทียบเคียง ไดแก นิมิตที่เกิดจากการกําหนด อุคคหนิมิตนัน้ ซ้ําแลวซ้ําเลา จนปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้น ปฏิภาคนิมิตนี้เปนภาพเหมือนของอุคคห นิมิตนัน่ เอง แตติดลึกเขาไปอีกจนเปนภาพที่เกิดจากสัญญาของผูที่ไดสมาธิ จึงบริสุทธิ์จน ปราศจากสีเดิมและไมมีมลทินใดๆ ทั้งสามารถนึกขยายหรือยอสวนไดตามความปรารถนา

ฌาน 4 คําวา “ ฌาน ” ในที่นี้ หมายถึงรูปฌาน เพราะเปนสมาธิทเี่ กิดจากการกําหนดรูป เชน ดวงกสิณ ลมหายใจ และซากศพ เปนตน เปนอารมณกรรมฐาน สวนอรูปฌานนั้น หมายถึง สมาธิที่เกิดจากการกําหนดสิ่งที่ไมมีรูปเปนอารมณกรรมฐาน และอรูปฌานทัง้ หมดนั้น ก็จัดเปน จตุตถฌานหรือฌานขั้นที่ 4 ของรูปฌานดวย โดยทัว่ ไปนั้น ถาพูดคําวาฌานจะหมายถึงรูปฌาน แตถาจะหมายความถึงอรูปฌานนั้นก็ตองพูดวาอรูปฌาน โดยในสวนความหมายของคําวาฌาน นั้น ฌานคือภาวะจิตที่เพงอารมณจนแนวแนคือมีสมาธินนั่ เอง แตสมาธินั้นมีความประณีตสนิท และชัดเจนผองใสมีกําลังมากนอยแตกตางกันไป สามารถแบงไดเปน 4 ระดับ ไดแก ปฐมฌาน (รูปฌานขั้นที่ 1) ทุติยฌาน (รูปฌานขั้นที่ 2) ตติยฌาน (รูปฌานขั้นที่ 3) และจตุตถฌาน (รูปฌาน ขั้นที่ 4) ซึ่งความแตกตางของแตละระดับนัน้ กําหนดดวยคุณสมบัติของจิตที่เปนองคประกอบรวม ของสมาธิในขณะนั้นๆซึง่ เรียกวา “ องคฌาน ” อันไดแก 1 . วิตก = ความตรึกหรือความดําริโดยมีการยกจิตขึ้นสูอ ารมณ 2 . วิจาร = ความตรองหรือความที่จิตสืบตออารมณโดยมีการเพงดูอารมณอยูเนืองๆ 3 . ปติ = ความอิ่มใจหรือความปราโมทยปลื้มใจซาบซาน 4 . สุข = ความสบายทางใจหรือความสุขทางใจอันเกิดแตเจโตสัมผัส 5 . เอกัคคตา = ความที่จิตมีอารมณแนวแนตั้งมัน่ ดิ่งลงเปนหนึ่งเดียว 6 . อุเบกขา = ความวางเฉยหรือกิริยาที่วางเฉยโดยมีความเปนกลางแหงจิต

1 . ปฐมฌาน

233 ปฐมฌาน คือ รูปฌานขัน้ ที่ 1 มีองคฌานหรือองคประกอบแหงฌาน 5 ประการ ไดแก วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา โดยในพระไตรปฎกไดกลาวแสดงความหมาย และ อธิบายซึง่ ปฐมฌานเอาไววา “ ภิกษุในศาสนานี้ เจริญมรรคปฏิปทาเพื่อเขาถึงรูปภพ สงัดจาก กาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแลว บรรลุปฐมฌานที่มีปฐวีกสิณเปนอารมณ ประกอบดวย วิตก วิจาร มีปติและสุขอันเกิดแตวิเวกอยู ในสมัยใด ฌานมีองค 5 คือ วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตาแหงจิต มีในสมัยนั้น นี้เรียกวา “ ปฐมฌาน ” ธรรมทัง้ หลายที่เหลือ เรียกวา “ ธรรมที่ สัมปยุตดวยฌาน ” อนึ่ง เธอทํากายนีแ้ ล ใหชุมชืน่ อิ่มเอิบ ซาบซาน ดวยปติและสุขอันเกิด แตวิเวก ไมมเี อกเทศไหนๆแหงกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปติและสุขอันเกิดแตวิเวกจะไมถูกตอง เปรียบเหมือนพนักงานสรงสนาน หรือลูกมือของพนักงานสรงสนานผูฉ ลาด ใสจุรณสีตัวลงใน ภาชนะสําริด แลวพรมดวยน้ําหมักไว กอนจุรณสีตัวนัน้ มียางซึมไปจับติดกันทัง้ ขางในขางนอก ยอมไมกระจายออก ฉะนั้น ”

2 . ทุติยฌาน ทุติยฌาน คือ รูปฌานขัน้ ที่ 2 มีองคฌานหรือองคประกอบแหงฌาน 3 ประการ ไดแก ปติ สุข และเอกัคคตา โดยในพระไตรปฎกไดกลาวแสดงความหมาย และอธิบายซึง่ ทุติยฌาน เอาไววา “ ภิกษุในศาสนานี้ เจริญมรรคปฏิปทาเพื่อเขาถึงรูปภพ บรรลุทุติยฌานทีม่ ีปฐวีกสิณ เปนอารมณ เปนไปในภายใน เปนธรรมชาติผองใส เพราะวิตกวิจารสงบ เปนธรรมเอกผุดขึ้น แกใจ ไมมวี ติ ก ไมมีวิจาร มีแตปติและสุขอันเกิดแตสมาธิอยู ในสมัยใด ฌานมีองค 3 คือ ปติ สุข เอกัคคตาแหงจิต มีในสมัยนั้น นีเ้ รียกวา “ ทุติยฌาน ” ธรรมทั้งหลายทีเ่ หลือ เรียกวา “ ธรรมที่สัมปยุตดวยฌาน ” อนึ่ง เธอทํากายนี้แล ใหชุมชื่น อิม่ เอิบ ซาบซาน ดวยปติและสุข อันเกิดแตสมาธิ ไมมีเอกเทศไหนๆแหงกายของเธอทั่วทัง้ ตัว ที่ปติและสุขอันเกิดแตสมาธิจะไม ถูกตอง เปรียบเหมือนหวงน้ําลึก มีน้ําขังอยู ไมมที างทีน่ ้ําจะไหลมาได ทั้งในดานตะวันออก ดานตะวันตก ดานเหนือ ดานใต ทัง้ ฝนก็ไมตกเพิ่มตามฤดูกาล แตสายน้าํ เย็นพุขึ้นจากหวงน้ํา นั้นแลว จะพึงทําหวงน้ํานัน้ แลใหชุมชื่น เอิบอาบ ซาบซึมดวยน้ําเย็น ไมมีเอกเทศไหนๆแหง หวงน้าํ นัน้ ทั้งหมดทีน่ ้ําเย็นจะไมถูกตอง ฉะนัน้ ”

3 . ตติยฌาน

234 ตติยฌาน คือ รูปฌานขัน้ ที่ 3 มีองคฌานหรือองคประกอบแหงฌาน 2 ประการ ไดแก สุข และเอกัคคตา โดยในพระไตรปฎกไดกลาวแสดงความหมาย และอธิบายซึง่ ตติยฌานเอาไว วา “ ภิกษุในศาสนานี้ เจริญมรรคปฏิปทาเพื่อเขาถึงรูปภพ เพราะคลายปติไดอีกดวย จึงเปนผูมี จิตเปนอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู และเสวยสุขดวยนามกาย บรรลุตติยฌานทีม่ ีปฐวีกสิณ เปนอารมณ ซึ่งเปนฌานทีพ่ ระอริยเจาทัง้ หลายกลาวสรรเสริญผูไดบรรลุวา เปนผูม ีจิตเปน อุเบกขา มีสติ อยูเ ปนสุข ดังนี้ อยูในสมัยใด ฌานมีองค 2 คือ สุข เอกัคคตาแหงจิต มีใน สมัยนัน้ นี้เรียกวา “ ตติยฌาน ” ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกวา “ ธรรมที่สัมปยุตดวยฌาน ” อนึง่ เธอทํากายนี้แล ใหชุมชืน่ เอิบอาบ ซาบซาน ดวยสุขอันปราศจากปติ ไมมีเอกเทศไหนๆแหง กายของเธอทัว่ ทัง้ ตัว ที่สุขอันปราศจากปติจะไมถูกตอง เปรียบเหมือนในกออุบล กอปทุม หรือ กอบุณฑริก แตละชนิด กออุบล กอปทุม หรือกอบุณฑริก ดอกบัวบางชนิด เกิดในน้าํ เจริญในน้ํา ยังไมพน จากน้ํา จมอยูในน้ํา น้าํ เลี้ยงไว อันน้ําเย็นหลอเลี้ยง เอิบอาบซึมซาบไป แตยอดและเหงา ไมมเี อกเทศไหนๆแหงกออุบล กอปทุม หรือกอบุณฑริก ที่นา้ํ เย็นจะไม ถูกตอง ฉะนัน้ ”

4 . จตุตถฌาน จตุตถฌาน คือ รูปฌานขั้นที่ 4 มีองคฌานหรือองคประกอบแหงฌาน 2 ประการ ไดแก อุเบกขา และเอกัคคตา โดยในพระไตรปฎกไดกลาวแสดงความหมาย และอธิบายซึง่ จตุตถ ฌานเอาไววา “ ภิกษุในศาสนานี้ เจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เขาถึงรูปภพ บรรลุจตุตถฌานที่มีปฐวี กสิณเปนอารมณ ไมมีทกุ ข ไมมีสุข เพราะละสุขและทุกขได เพราะโสมนัสและโทมนัสดับสนิท มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา อยูในสมัยใด ฌานมีองค 2 คือ อุเบกขา เอกัคคตาแหงจิต มีใน สมัยนัน้ นี้เรียกวา “ จตุตถฌาน ” ธรรมทัง้ หลายที่เหลือ เรียกวา “ ธรรมที่สัมปยุตดวยฌาน ” อนึ่ง เธอนัง่ แผไปทั่วกายนีแ้ ล ดวยใจอันบริสุทธิ์ผองแผว ไมมีเอกเทศไหนๆแหงกายของเธอทัว่ ทั้งตัว ที่จิตอันบริสุทธิ์ผองแผวจะไมถูกตอง เปรียบเหมือนบุรุษ นั่งคลุมตัวตลอดศีรษะดวยผา ขาว ไมมีเอกเทศไหนๆแหงกายทุกๆสวนของเขา ที่ผาขาวจะไมถกู ตอง ฉะนั้น ”

วสี 5

235 วสี คือ ความคลองแคลวชํานิชาํ นาญในฌาน ซึง่ มี 5 ประการ ไดแก อาวัชชนวสี สมาปชชนวสี อธิษฐานวสี วุฏฐานวสี และปจจเวกขณวสี

1 . อาวัชชนวสี อาวัชชนวสี คือ ความชํานาญหรือความคลองแคลว ในการนึกตรวจองคฌานทีต่ นได แลว มีอาวัชชนวสีภาวะ กลาวคือ นักปฏิบัติเมื่อเบื้องแรกเขาสูปฐมฌานกอน เมื่อออกจาก ปฐมฌานแลว ก็พิจารณาองคฌานมี 5 ประการ ไดแก วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เฉพาะๆไป โดยมีมหากุศลชวนะเกิดขึ้นไมถึง 7 ขณะ มีแตเพียง 4 หรือ 5 ขณะ ตามสมควรแก ติกขะและมันทะ เมื่อสุดวิถีหนึ่งๆลงแลวนั้น ไมมีภวังคเกิดมากดวง คงมีแตภวังคจลนะ ภวัง คุปจเฉทะ 2 ดวงเทานัน้ ตอแตนั้นวิถีจิตก็เกิดตอไป โดยมโนทวาราวัชชนะ ตอดวยชวนะ 4 หรือ 5 ขณะเชนเดียวกัน เรียกวา “ อาวัชชนวสีภาวะ ” ทีเ่ ปนวสีภาวะอยางสูงสุด บุคคลอื่นๆไม สามารถจะทําได คงทําไดแตเฉพาะพระพุทธองคและพระอัครสาวกเทานัน้ สําหรับบุคคลอื่นๆ นอกนั้น แมวา สิ้นวิถหี นึง่ ๆจะมีภวังคเกิดขึ้น 4 หรือ 5 ขณะก็ตาม ก็คงไดชื่อวาสําเร็จในอาวัชชน วสีภาวะ เชนเดียวกัน

2 . สมาปชชนวสี สมาปชชนวสี คือ ความชํานาญหรือความคลองแคลว ในการทีเ่ ขาฌานไดรวดเร็วทันที มีสมาปชชนวสีภาวะ กลาวคือ เมื่อมีความประสงคจะเขาฌานเวลาใด ก็สามารถเขาไดโดย ฉับพลัน โดยไมตองเพงปฏิภาคนิมิตนาน เพียงแตเพงเล็กนอย ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ ก็ เกิดขึ้น ตอแตนั้น มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู และฌาน หรือ มโนทวาราวัชชนะ อุปจาร อนุโลม โคตรภู และฌาน เรื่อยๆไปก็เกิดขึ้น เปนเชนดังนี้ จึง เรียกวา “ สมาปชชนวสีภาวะ ” ที่เปนวสีภาวะอยางสูงสุดของพระพุทธองค และพระอัครสาวก สําหรับบุคคลอื่นนอกนัน้ แมวาจะมีภวังคเกิด 4 หรือ 5 ขณะก็ตาม ก็คงไดชื่อวาสําเร็จในสมาปช ชนวสีภาวะ เชนเดียวกัน

3 . อธิษฐานวสี อธิษฐานวสี คือ ความชํานาญหรือความคลองแคลว ในการที่จะกําหนดระยะเวลาการ เขาฌาน และรักษาฌานจิตนั้นไวมิใหตกภวังค มีอธิษฐานวสีภาวะ กลาวคือ กระแสแหงฌาน เกิดขึ้นอยูเรื่อยๆไมขาดสายอันนี้เรียกวา “ เขาฌาน ” สวนกระแสแหงฌานขาดไปโดยตกลงสูภวังค

236 นั้นเรียกวา “ ออกจากฌาน ” ผูมีความสามารถในอธิษฐานวสีนนั้ เมือ่ มีความประสงคจะเขาฌาน ประมาณชั่วขณะดีดนิ้วครั้งหนึง่ ก็สามารถเขาได หรือถาจะตองเขาถึง 1 ชัว่ โมงหรือ 2 ชัว่ โมง เปนตนขึน้ ไป ฌานจิตก็เกิดอยูไดตลอดเวลาที่ตองการนัน้ เชนนีจ้ ึงเรียกวา “ อธิษฐานวสีภาวะ ”

4 . วุฏฐานวสี วุฏฐานวสี คือ ความชํานาญหรือความคลองแคลว ในการจะออกจากฌานเมื่อใดก็ได ตามตองการ มีวุฏฐานวสีภาวะ กลาวคือ ผูท ี่มีความสามารถในวุฏฐานวสีนนั้ เมื่อไดตั้งใจวา จะออกจากฌานในเวลาประมาณเทาใด ครั้นถึงเวลาทีไ่ ดกําหนดไว ก็สามารถออกไดทันทีโดยไม เลยไป ดังนี้แหละเรียกวา “ วุฏฐานวสีภาวะ ” ฉะนัน้ ความแตกตางกันระหวางอธิษฐานวสีภาวะ กับวุฏฐานวสีภาวะ กลาวคือ ความสามารถตั้งอยูในฌานได ตามเวลาที่ไดกําหนดไวโดยไมให หยอนไป ชื่อวา “ อธิษฐานวสีภาวะ ” สวนความสามารถออกจากฌานได ตามเวลาที่กาํ หนดไว โดยไมใหเลยไป ชื่อวา “ วุฏฐานวสีภาวะ ”

5 . ปจจเวกขณวสี ปจจเวกขณวสี คือ ความชํานาญหรือความคลองแคลว ในการพิจารณาทบทวนองค ฌาน มีปจจเวกขณวสีภาวะ กลาวคือ เมื่อออกจากฌานแลว ก็มีการพิจารณาองคฌาน โดยเฉพาะๆ ปจจเวกขณชวนะยอมเกิดขึน้ 4 หรือ 5 ขณะ และในระหวางวิถหี นึ่งๆที่เกิด ตอเนื่องกันอยูน ี้ มีแตภวังคจลนะและภวังคุปจเฉทะ 2 ดวงเทานัน้ ที่เกิดขึ้น เชนนี้จงึ เรียกวา “ ปจจเวกขณวสีภาวะ ” ที่เปนวสีภาวะอยางสูงสุดของพระพุทธองคและพระอัครสาวก สําหรับ บุคคลอื่นๆนอกนัน้ แมวา ในระหวางวิถีหนึ่งๆจะมีภวังคเกิดถึง 4 หรือ 5 ขณะก็ตาม ก็คงไดชื่อวา สําเร็จในปจจเวกขณวสีภาวะ เชนเดียวกัน

สมถกรรมฐาน 40 สมถกรรมฐาน อันเปนกรรมฐานที่เปนเครื่องสงบระงับจิต ยังจิตใหปราศจากซึง่ นิวรณ เครื่องเศราหมอง และเพื่อความควรแกการงานของจิต ซึง่ นําไปใชในกิจการงานหรือการดําเนิน กิจกรรมในชีวติ ประจําวันตางๆ หรือใชเพือ่ เปนบาทในการที่จะเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปนัน้ มีดวยกันอยู 40 ประการหรือ 40 กอง ประกอบไปดวย 1 . กสิณ 10 กอง (วาดวยการเพงมองไปยังวัตถุตางๆ) 2 . อสุภ 10 กอง (วาดวยการพิจารณาซากศพระยะตางๆ)

237 3 . อนุสติ 10 กอง (วาดวยการระลึกถึงในใจหรือยกขึ้นมาไวในใจ) 4 . อัปปมัญญา 4 กอง (วาดวยการแผไปโดยไมมีประมาณ) 5 . อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 กอง (วาดวยการพิจารณาอาหารดวยสัมมาทิฏฐิ) 6 . จตุธาตุววัฏฐาน 1 กอง (วาดวยการแยกธาตุทั้งสี)่ 7 . อรูป 4 กอง (วาดวยกรรมฐานที่กาํ หนดสิ่งที่ปราศจากรูป)

ตารางสําหรับเลือกสมถกรรมฐาน 40 เมื่อนักปฏิบัตไิ ดไตรตรองพิจารณาในตนเอง จนไดขอสรุปแลววา ตนเองนั้นเปนบุคคลที่ มีจริตหนักไปทางดานใด จากการศึกษาเรื่องจริตทั้ง 6 ประการในหัวขอที่ผานมาแลว บัดนีน้ ัก ปฏิบัติก็สามารถที่จะทําการเลือกกรรมฐาน เพื่อนําไปปฏิบัติใหถูกตองและเหมาะสมกับตนเองได แตก็มิไดหมายความวาจะถือตายตัวเสียทีเดียว เพราะมนุษยปุถุชนนัน้ นอกจากจะมีจริตอัน แตกตางกันออกไปแลว ในบางครั้งแตละคนก็อาจจะมีจริตหลายประการในหลายๆเวลา โดย ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมในชีวิตประจําวันที่เปลี่ยนไป และในการเจริญกรรมฐานนัน้ ก็มิใชวาจะไม สามารถจะเจริญกรรมฐานกองที่ไมเหมาะกับจริตของตนเองได หากแตกรรมฐานทีเ่ หมาะที่ตรงกับ จริตของตนเองนัน้ ยอมนํามาซึ่งความสะดวก และอาจกอใหเกิดความกาวหนาไดรวดเร็วกวาการ เจริญกรรมฐานในกองที่ไมเหมาะไมตรงกับจริตของตนเองเทานัน้ โดยนักปฏิบัตพิ ึงทําการเลือก กรรมฐานจากตารางขางลางตอไปนี้ (ตารางจากพุทธธรรม : พระธรรมปฎก ป.อ.ปยุตโต)

238

กสิณ 10

O

O

O O

O O O O O

X X X X X

X

X X

O O X X

X X X X

X X X X

X X X X

X X X X

X X X X

O O

O O

O O

O O

O O

O

O

O

O

O

O

อรูปฌาน 4

O

จตุตถฌาน

X

ตติยฌาน

X

O O

ทุติยฌาน

วิตกจริต

พุทธิจริต X

O O

ปฐมฌาน

X

อุปจารสมาธิ

X

ศรัทธาจริต

X

X X

ขีดขั้นความสําเร็จ ปฏิภาคนิมิต

อนุสติ 10 - 6 ขอแรก - อุปสมานุสติ - มรณสติ - กายคตาสติ - อานาปานสติ อัปปมัญญา 4 - สามขอแรก - อุเบกขา อาหาเรปฏิกูลฯ จตุธาตุววัฏฐาน อรูปฌาน 4 - อากาสานัญฯ - วิญญาณัญฯ - อากิญจัญฯ - เนวสัญญาฯ

โทสจริต

กสิณ 10 - วรรณกสิณ 4 - กสิณอื่นๆ อสุภะ 10

ราคจริต

กรรมฐาน

โมหจริต

จริตที่เหมาะ

O

O O X X X X

O O O O

O O O O

1 2 3 4

239 กสิณ หมายถึง วัตถุอันจูงใจหรือวัตถุสาํ หรับใชเพง เพื่อจูงจิตใหตงั้ มั่นและแนวแนลง เปนสมาธิ โดยการเพงกสิณนี้ จัดเปนกรรมฐานอยางหนึ่งมี 10 กอง ประกอบไปดวย 1 . ปฐวีกสิณ (กสิณดิน) 2 . อาโปกสิณ (กสิณน้าํ ) 3 . เตโชกสิณ (กสิณไฟ) 4 . วาโยกสิณ (กสิณลม) 5 . นีลกสิณ (กสิณสีเขียว) 6 . ปตกสิณ (กสิณสีเหลือง) 7 . โลหิตกสิณ (กสิณสีแดง) 8 . โอทาตกสิณ (กสิณสีขาว) 9 . อาโลกกสิณ (กสิณแสงสวาง) 10 . ปริจฉินนากาสกสิณ (กสิณชองวาง)

ปฐวีกสิณ ปฐวีกสิณ คือ กสิณดิน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในปฐวีนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ ปฐวีสญ ั ญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับปฐวีกสิณ บุคคลผูเหมาะกับปฐวีกสิณ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

240 2 . ขอบเขตของปฐวีกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญปฐวีกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของปฐวีกสิณ อานิสงสของปฐวีกสิณมี 7 ประการ ไดแก 1 . เนรมิตคนๆเดียว ใหเปนหลายรอยหลายพันคนได 2 . เนรมิตตนเอง ใหเปนพญานาคพญาครุฑได 3 . ทําทองอากาศ แมน้ํา มหาสมุทร ใหเปนพืน้ แผนดินได 4 . เนรมิตตนไม วิมาน วัดวาอาราม เคหสถาน บานเรือน วัตถุสิ่งของได 5 . ทําสิง่ ทีเ่ บาใหหนักได 6 . ทําใหวัตถุที่ตั้งมัน่ ติดแนนอยู มิใหโยกยายเคลื่อนทีไ่ ปได 7 . สามารถขมอิฏฐารมณและอนิฏฐารมณ มิใหมาปรากฏภายในจิตใจของตนได

4 . วิธีสรางองคปฐวีกสิณ องคปฐวีกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคปฐวีกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และองค ปฐวีกสิณที่อยูต ามธรรมชาติ

4.1 องคปฐวีกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคปฐวีกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียมโดยการขุดดินที่อยูตามธรรมชาติ ขึ้นมา ดินตามธรรมชาตินนั้ โดยปกติยอมอาจมีสีตางๆคละเคลากันไป เชน สีขาว สีดาํ สี แดง และสีอรุณ (สีทองฟาในยามเชา) ใหทาํ การคัดเอาสีขาว สีดํา และสีแดงออก ใหเหลือ เพียงสีอรุณ เพราะการเพงสีขาว สีดํา และสีแดง จะทําใหกสิณนัน้ เปนวรรณกสิณหรือกสิณสี ไป มิใชปฐวีกสิณตามจุดประสงค ตอจากนั้น ใหนาํ ดินที่ทาํ การคัดสีออกแลวมาผสมกับน้าํ แลวเลือกเอาเศษหญา รากไม และสิ่งสกปรกทัง้ หลายออก นําดินนัน้ มานวดคลึงใหมีลกั ษณะ

241 คลายดินเหนียวทีพ่ รอมจะขึ้นรูป เมื่อเลือกสถานที่สาํ หรับเจริญกสิณ เชน หองอันสงบเงียบ ลานกวางอันปราศจากสิง่ รบกวนตางๆ ในถ้ํา ในวัด หรือใตตนไมไดแลว ใหจัดหาวัตถุที่ สามารถโคงงอไดเชนเสนหวาย ทีม่ ีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณเศษหนึง่ สวนสี่นวิ้ โดยประมาณความยาวใหเมื่อขดเปนวงกลมแลว มีขนาดเทาจานขาว เสร็จแลวใหนาํ ดินที่ จัดเตรียมไวมาใสในวงหวายนัน้ แลวทําการปรับผิวของดินใหราบเรียบสม่ําเสมอ ทิง้ ไวใหดนิ แหง สักระยะเวลาหนึง่ ตอจากนั้นทําการจัดหาสี อาจเปนสีชนิดใดก็ได เชน สีนา้ํ มันสําหรับทาบาน สีน้ํา สีโปสเตอร โดยใหเลือกเอาสีเขียวหรือสีขาว มาทําการทาลงบนเสนหวายที่ขดโดยรอบนั้น

4.2 องคปฐวีกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคปฐวีกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ พืน้ ดินตามธรรมชาติทวั่ ๆไปที่มีสีอรุณ ไมมีตนไม ตนหญา รากไม และสิง่ สกปรกเจือปนทัง้ หลายในบริเวณนัน้ พืน้ ดินนัน้ จึงสามารถนํามาใชเปน องคปฐวีกสิณ สําหรับการเจริญปฐวีกสิณได แตการเจริญกสิณโดยใชองคปฐวีกสิณที่อยูตาม ธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคปฐวีกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญปฐวีกสิณ วิธีเจริญปฐวีกสิณนั้น สามารถแสดงขอปฏิบัติเปนลําดับไดดังนี้

5.1 พิจารณาโทษของกาม 1 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยรางกระดูก อันสัตวบริโภคไดรับความอิ่มและความสุขนอย 2 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยกอนเนื้อ สัตวตัวใดคาบไวไมวางก็จักถูกยื้อแยงไมมที ี่สิ้นสุด 3 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยคบหญาติดเพลิง บุคคลผูถือไวมีแตจะลวกลนใหตนเรารอนร่ําไป 4 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยหลุมถานเพลิง ใครตกลงไปยอมไดรับความทุกขเวทนาแสนสาหัส 5 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยความฝน พอตื่นขึ้นแลวก็หายไป 6 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยของยืมมาใช บัดเดีย๋ วก็ตองสงคืนเจาของเขาไป 7 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยตนไมผล ยอมถูกเขาปนปายไปเก็บผลจนกิง่ กานหักลง 8 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยคมดาบคมมีด ใครไปถูกเขายอมกอใหเกิดบาดแผล 9 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยคมหอกคมหลาว ใครไปถูกเขายอมกอใหเกิดบาดแผล 10 . กามทั้งหลาย เปรียบดวยหัวงูพษิ ใครเผลอไปเหยียบเขาพาลแตจะถูกงูกัดตาย

5.2 พิจารณาอานิสงสของการหลีกออกจากกาม 1 . นิวรณยอมถูกกําจัด

242 2 . มีความสุขในความสงัด 3 . สามารถอดทนตอความทุกข 4 . บรรลุธรรมขั้นตน

5.3 พิจารณาคุณของพระรัตนตรัย 1 . พระผูมพี ระภาคเจาพระองคนนั้ เปนพระอรหันต เปนผูหา งไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบ ไดโดยพระองคเอง เปนผูถงึ พรอมดวยวิชชาและจรณะ เปนผูไปแลวดวยดี เปนผูร ูโลกแจง เปน ผูสามารถฝกคนที่ควรฝกอยางไมมีใครยิ่งกวา เปนครูสอนของเทวดาและมนุษยทงั้ หลาย เปนผูรู ผูตื่นผูเบิกบานดวยธรรม เปนผูมีความเจริญจําแนกธรรมสั่งสอนสัตว 2 . พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาพระองคนนั้ ตรัสไวดีแลว เปนสิง่ ที่ไมขึ้นอยู กับกาลเวลา เปนสิง่ ที่ผูศกึ ษาจะพึงพิสูจนใหเห็นไดดวยตนเอง เปนสิ่งที่ควรกลาวกับผูอื่นวาจง มาดูเถิด เปนสิ่งที่ควรนอมมาใสตน เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน 3 . พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด ปฏิบตั ิดีแลว ปฏิบัติตรงแลว ปฏิบัติ เพื่อรูธรรมเปนเครื่องออกจากทุกขแลว ปฏิบัติสมควรแลว พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาค เจาหมูนนั้ เปนสงฆควรแกการสักการะที่เขานํามาบูชา เปนสงฆควรแกการสักการะที่เขาจัดของ ไวตอนรับ เปนผูควรรับทักษิณาทาน เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลีกรรม เปนนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอืน่ ยิ่งกวา

5.4 เพงดวงกสิณ นักปฏิบัติ เริม่ ทําการเพงดูโดยทัว่ ตลอดทั้งองคกสิณ อยาไดใชสายตาจดจอแตเพียงสวน ใดสวนหนึง่ ขององคกสิณเปนอันขาด เมือ่ ทําการเพงแผใจโดยทั่วๆไปอยูนนั้ ก็จงอยาไดไปสนใจ กับสีของปฐวีที่เปนองคกสิณ และสภาวะลักษณะของปฐวีทมี่ ีความแข็งหรือออนแตอยางใดๆ ทั้งสิน้ ทั้งนี้กเ็ พราะวามิไดทําการเพงวรรณกสิณ แตกาํ ลังทําการเพงปฐวีกสิณอยู ทั้งไมตองไป ทําการพิจารณาถึงปรมัตถปฐวีแตประการใดอีกดวย หากแตตองตัง้ ใจเพงดูอยูเฉพาะแตใน บัญญัติปฐวีอยางเดียวเทานัน้ ฝายภายในดานจิตใจ ก็จงทําความพอใจ อิ่มใจ ตั้งมัน่ อยูอยาง จริงจังในองคกสิณ ใหเหมือนกับเสือที่กาํ ลังเพียรพยายาม กัดดึงดูดเอาแตเฉพาะเนื้อเตาออกมา จากกระดองเตา โดยในขณะเมื่อกําลังเพงดูอยู ก็จงลืมตาดูอยูอยางธรรมดา อยาลืมตาใหโต หรือหรี่ตาใหเล็กลงไปแตอยางใดนัก พรอมกันนั้น ก็จงใชปากบริกรรมวา “ ปฐวีๆ ” หรือ “ ดินๆ ” เปนระยะๆไป ไมจําเปนจะตองบริกรรมโดยไมหยุดหยอน ซึง่ จะทําใหกลายเปนการเสกคาถาไป และจงพยายามลืมตาบริกรรมใหมากที่สุดเทาที่จะมากได สวนการหลับตาบริกรรมนัน้ ก็จงใช

243 บางเปนบางครั้งบางคราว แตอยาใหบอยนัก ทําอยูเชนนีเ้ รื่อยๆไป จนกวาอุคคหนิมิตจะปรากฏ ในระหวางทีก่ าํ ลังเพงดูปฐวีองคกสิณ พรอมกับใชปากบริกรรมวา “ ปฐวีๆ ” หรือ “ ดินๆ ” อยูนนั้ นักปฏิบัตินนั้ ยอมมีความตองการใหอุคคหนิมิตปรากฏขึ้นโดยเร็วที่สดุ ที่จะเร็วได แตอุคคหนิมิต นั้นก็มิปรากฏไดโดยเร็วตามความประสงคของนักปฏิบัติ ฉะนัน้ จิตใจของนักปฏิบตั ิจึงรูสึกเหน็ด เหนื่อย เมื่อจิตใจรูสึกเหน็ดเหนื่อยขึ้นมาแลว รางกายก็พลอยออนเพลียและเหน็ดเหนื่อยตาม จิตใจไปดวย เมื่อเปนเชนนี้ ถีนมิทธนิวรณก็ไดโอกาสเกิดขึ้นครอบงํา โดยทําใหอยากหยุดพัก หรือไปทํากิจอืน่ ๆ มีการปดกวาด ทําความสะอาด สวดมนตไหวพระ เปนตน ซึ่งเปนปลิโพธ เครื่องกังวลตางๆ ดังนัน้ ถาอาการดังกลาวนี้บังเกิดขึ้นแกนกั ปฏิบัติแลวไซร ก็จงเตือนตนเองวา “ มิวนั ใดวันหนึ่งนั้น ความตายก็จะบังเกิดมีแกตนอยางแนแท ทัง้ อุคคหนิมิตก็ยังมิไดเกิดขึ้นเลย ถาตนขืนหยุดพักหรือมัวไปกังวลอยูกับการงานอื่นๆแลว สมาธิของตนก็จะเสียไป ทั้งการงาน เหลานี้ ตนก็เคยกระทํามาแลวหลายภพหลายชาติ จนกระทัง่ ถึงภพนี้ก็ยงั ตองทําอยู ” เมื่อ พิจารณาดังนีแ้ ลว จึงเลิกละจากกิจหรือการงานตางๆเหลานัน้ เสียได และเพียรพยายามอดทน เพงดูองคปฐวีกสิณตอไป ในระหวางนี้อยากระพริบตาใหบอยนัก สวนเรื่องของการบริกรรมนั้น ประมาณ 2 หรือ 3 นาที จึงคอยใชปากบริกรรมวา “ ปฐวีๆ ” หรือ “ ดินๆ ” เสียครั้งหนึ่ง เปน ระยะหางกันไปตามสมควร จนกวาอุคคหนิมิตจะปรากฏขึ้น

5.5 เกิดอุคคหนิมิต นักปฏิบัติ เมือ่ กําลังเพงองคปฐวีกสิณ ที่ยงั เปนบริกรรมนิมิตอยูน ั้น บางทานบางคนก็ ไดอุคคหนิมิตเร็ว บางทานบางคนก็ไดชา คือตองพยายามอดทนตอสูอยูนานกับนิวรณ ซึ่งเปน ตัวอุปสรรคคอยขัดขวางอยางยิง่ อุคคหนิมิตจึงจะปรากฏขึ้นได เมือ่ อุคคหนิมิตปรากฏขึ้นทางใจ ไดแลว ก็ไมจาํ เปนตองเพงองคปฐวีกสิณที่เปนบริกรรมนิมิต ซึง่ เปนอารมณภายนอกอีก แต กลับเพงอุคคหนิมิต อันเปนอารมณที่ปรากฏขึ้นทางใจ และในเวลานั้น ความเปนไปขององค ปฐวีกสิณที่เปนอุคคหนิมิตกับจิตใจของนักปฏิบัตินั้น เสมือนแมเหล็กที่มีกาํ ลัง ดึงดูดเอาสิ่งของที่ เปนเหล็กดวยกันใหมาติดอยูไดฉันใด จิตใจของนักปฏิบัติ ก็ดงึ ดูดเอาองคปฐวีกสิณที่เปนอุคคห นิมิตใหติดแนบอยูกับใจไดฉันนัน้ โดยในการเห็นสิง่ ของตางๆรอบบริเวณ ทีน่ ักปฏิบัติกําลังนั่งเพง กสิณอยู นักปฏิบัติจะเห็นสิ่งของตางๆ ก็เฉพาะแตในเวลาที่นกั ปฏิบัติลืมตาดูอยูเ ทานัน้ ครั้น หลับตาลง ก็คงเห็นแตเพียงภาพองคปฐวีกสิณทีเ่ ปนอุคคหนิมิตอยูอยางเดียว อารมณตางๆที่ได เห็นมาดวยตา จะไมมีการมาปรากฏทางใจไดเลย ไมวาจะอยูในอิรยิ าบถใดๆทัง้ สิน้ กลาวคือ ในขณะทีห่ ลับตานอนอยูก็ดี ก็คงเห็นแตภาพองคปฐวีกสิณเทานั้นมาปรากฏอยูเบื้องบน เมื่อลุก

244 ขึ้นนัง่ ก็ปรากฏใหเห็นอยูขางหนา เมื่อกมหนาลงก็เห็นอยูขางลาง เมื่อเงยหนาขึ้นก็เห็นอยูขางบน จะเหลียวซายแลขวา ก็คงเห็นมาปรากฏอยูขางๆตัว เมื่อหลับตาเดินจงกลมก็คงเห็นอยูขางหนา เรื่อยๆไป แมที่สุดจะลืมตาอยูในทีม่ ืด จักขุทวารวิถกี ็ไมเกิด คงเห็นแตภาพองคปฐวีกสิณทีเ่ ปน อุคคหนิมิตเทานัน้ อุปมาดังเชนคนทีก่ ลัวผี บังเอิญเดินไปพบซากศพ หรือมีความจําเปนที่ จะตองชวยจัดชวยทําความสะอาดใหแกศพบางบางประการ ครั้นถึงยามเขานอน พอหลับตาลง เวลาใด ก็จะเห็นแตภาพศพที่ตนไดไปพบเห็นหรือจับตองจัดแจงมานั้น ปรากฏขึน้ ติดตาอยูไมรู หาย ขอนี้ฉนั ใด อุคคหนิมติ ที่ปรากฏติดอยูทางใจของนักปฏิบัติก็ฉนั นั้น นอกจากจะนอนหลับ เทานัน้ จึงจะไมแลเห็น ถาตื่นขึ้นเวลาใด ในขณะที่ยงั ไมลืมตา เวลานัน้ ภาพองคปฐวีกสิณก็จะ ปรากฏขึ้นทางใจใหแลเห็นไดทันที พรอมกับทําใหความงวงเหงาหาวนอน และความเกียจคราน ออนแอ ทอแท ซึง่ เปนตัวถีนมิทธนิวรณใหก็คอยๆถอยหางจางไป พรอมดวยนิวรณที่เหลือ นอกนั้น ก็คอยๆทุเลาเบาบางลงไปดวย

5.6 เกิดปฏิภาคนิมิต นักปฏิบัติทที่ ําการเพงองคปฐวีกสิณ จนถึงไดอุคคหนิมิตปรากฏขึ้นทางใจแลวนัน้ นัก ปฏิบัติก็ไมตองไปนั่งเพงองคปฐวีกสิณนัน้ อีก แตตองยายที่ไปเสียทีอ่ ื่น สุดแตจะเห็นวาที่ใดจะ สะดวกสบายและสมควร ก็จงพักอาศัยอยู ณ. ที่แหงนั้น แลวตั้งตนเพงอุคคหนิมิตที่ไดมาแลวนัน้ ตอไป ถาอุคคหนิมิตที่ตนกําลังเพงบริกรรมอยูนนั้ เกิดเลือนหายไป เนื่องมาจากปลิโพธเครื่อง กังวลใจอยางใดอยางหนึง่ แลว จงรีบกลับไปยังที่เกา เริ่มตนเพงองคปฐวีกสิณเสียใหม ตอเมือ่ ไดอุคคหนิมิตแลว จึงกลับไปยังที่ใหมตามเดิม แลวเริม่ เพงอุคคหนิมิตนั้นตอไป ทั้งนี้ก็เพราะวา ถายังเพงองคปฐวีกสิณเดิมอยูอกี จะทําใหปฏิภาคนิมติ ปรากฏขึ้นไดโดยยาก ครั้นพยายามเพง อุคคหนิมิตอยูต อไปอยางไมขาดสายแลว อุคคหนิมิตทีถ่ ูกเพงอยูน นั้ ก็จะมีสภาพสะอาด ปราศจากริ้วรอย หรือดางพรอยดวยมลทินตางๆ มีแตความละเอียดประณีตยิ่งขึ้น มากกวา อุคคหนิมิตทีป่ รากฏเมื่อขณะแรก คือคอยๆใสขึ้นมาเปนลําดับ เหมือนหนึ่งกับเนือ้ กระจก จิตใจ ในขณะนัน้ ก็มแี ตความชุม ชื่นอิ่มเอิบอยูโดยไมรูเบื่อตอการนัน้ เลย อุคคหนิมิตที่มีคุณภาพเชนนี้ มีชื่อเรียกชื่อใหมวา “ ปฏิภาคนิมิต ” อนึง่ กามาวจรสมาธิของนักปฏิบัติ นับจําเดิมตั้งแตเริ่มเพง บริกรรมนิมิตเปนตนมา ตลอดจนถึงการเพงอุคคหนิมติ นั้น ยังเปนบริกรรมภาวนาคือบริกรรม สมาธิอยู ตอเมื่อถึงตอนปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้นแลวนัน้ กามาวจรสมาธิของนักปฏิบัตินั้น ก็จะถูก เปลี่ยนชื่อใหมซึ่งเรียกวา “ อุปจารภาวนา ” หรือ “ อุปจารสมาธิ ” ไป ดวยอํานาจแหงอุปจารสมาธิ

245 นี้เอง นิวรณธรรมตางๆยอมสงบลงเปนอยางดี ไมมีโอกาสจะปรากฏขึ้นมาเปนปริยฏุ ฐานะได คือปราศจากซึง่ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา

5.7 รักษาปฏิภาคนิมิต เมื่อนักปฏิบัตไิ ดพยายามเจริญภาวนาตลอดมา จนปฏิภาคนิมิตไดปรากฏขึ้นนัน้ ถานัก ปฏิบัตินั้นเปนติกขบุคคลแลว ในไมชา ก็จะสําเร็จเปนฌานลาภีบุคคล คือรูปาวจรปฐมฌานที่ชื่อ วา “ อัปปนาภาวนา ” หรือ “ อัปปนาสมาธิ ” ไดบังเกิดขึ้นแกนักปฏิบัตินนั่ เอง แตถาหากนักปฏิบัติ เปนมันทบุคคล ก็จะสําเร็จเปนฌานลาภีบุคคลไดชา ดังนัน้ ในระหวางที่รูปาวจรปฐมฌานยังไม เกิดนัน้ นักปฏิบัติจําเปนตองมีการระวังรักษาปฏิภาคนิมิตไวเปนอยางดี อุปมาเสมือนหนึง่ พระ ราชินที ี่กําลังทรงพระครรภ อันพราหมณปุโรหิตทัง้ หลายไดทํานายวา พระกุมารในพระครรภนี้ เปนพระโอรส และจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิ์ ฉะนัน้ พระนางจึงทรงทะนุถนอม บํารุงรักษาพระ ครรภนั้นเปนอยางดี มิใหมภี ัยอันตรายใดๆมาพองพานไดฉันใด นักปฏิบัตินั้นก็ตองระวังรักษา ปฏิภาคนิมิตไวใหจงดี เสมือนดังเชนพระราชินที รงระวังพระครรภฉันนั้น ถาหากไมระวังรักษาไว ใหดีแลว ปฏิภาคนิมิตนัน้ ก็จะเลือนหายไป เมื่อเปนเชนนี้ ภาวนาจิตหรือสมาธิของนักปฏิบัติก็ จะลดต่ําลงไป กลาวคือภาวนาจิตหรือสมาธิของนักปฏิบัติ ในขณะที่ปฏิภาคนิมติ กําลังปรากฏ อยูนนั้ จัดเขาอยูในขัน้ อุปจารฌานหรืออุปจารสมาธิ เมื่อปฏิภาคนิมิตเลือนหายไป ภาวนาจิต หรือสมาธิของนักปฏิบัตินนั้ ก็จะลดลงไปอยูขั้นบริกรรมภาวนา หรือบริกรรมสมาธิตามไปดวย ดังนัน้ พระมหาพุทธโฆษาจารยจึงไดแสดงไวในวิสทุ ธิมรรคอรรถกถาวา “ นักปฏิบตั ิที่มีการรักษา ปฏิภาคนิมิตไวเปนอยางดี ยอมไมมกี ารเสื่อมจากอุปจารฌานสมาธิที่ตนไดมาแลว ถาไมมีการ รักษาปฏิภาคนิมิตใหดีแลว อุปจารฌานสมาธิที่ตนไดมานัน้ ก็ยอมเสื่อมหายไป ” อนึ่ง นักปฏิบัติ เมื่อมีความประสงคที่จะรักษาปฏิภาคนิมติ ไวใหเปนอยางดีนนั้ พึงเวนจากอสัปปายะ อันเปนสิง่ ที่ไมควรแกการภาวนาสมาธิมี 7 ประการ ไดแก อาวาสอสัปปายะ โคจรอสัปปายะ ภัสสะอสัป ปายะ ปุคคลอสัปปายะ โภชนะอสัปปายะ อุตุอสัปปายะ และอิรยิ าปถอสัปปายะ แลวพึง เจริญสัปปายะ อันเปนสิง่ ที่ควรแกการภาวนาสมาธิมี 7 ประการ ซึง่ ตรงขามกับอสัปปายะดังที่ได แสดงมาแลวนั้น เมื่อนักปฏิบัติไดปฏิบัติตามดังนี้ บางทานก็ไดอัปปนาฌานในกาลไมนานนัก

5.8 ขยายปฏิภาคนิมิต เมื่อนักปฏิบัตริ ักษาปฏิภาคนิมิตไวไดเปนอยางดีแลว จากนั้นก็ควรขยายปฏิภาคนิมิตนี้ ใหคอยๆกวางใหญขึ้นไปๆทีละนอย จนแผตลอดไปถึงภูเขา จักรวาล เพื่อเปนการอบรมสมาธิให มีกําลังแกกลายิ่งๆขึ้นไป สําหรับอุคคหนิมิตนั้นไมควรขยาย เพราะการขยายอุคคหนิมิตนัน้ ไมได

246 รับประโยชนอนั ใด กลับจะทําใหสมาธิทมี่ ีกําลังดีอยูแลวนัน้ เสื่อมถอยลงไป หากจะขยายใหแผ กวางออกไปเหมือนกับการขยายปฏิภาคนิมิต ก็คงทําไดเชนกัน แตจิตใจนั้นมิอาจตั้งมัน่ อยูใน อุคคหนิมิตนี้ใหตลอดทั่วถึงได การทีก่ ลาววาคอยๆแผกวางออกไปทีละนอยๆนั้น คือการขยาย ปฏิภาคนิมิตทีม่ ีอยูจากเดิมนั้นออกไปทีละ 1 นิ้ว 2 นิว้ 4 นิ้ว 8 นิ้ว 1 ศอก 2 ศอก จนถึงรอบบริเวณ สถานทีน่ ั่งปฏิบัติอยู แลวก็คอยๆขยายใหกวางใหญออกไปจนถึงหมูบ าน ตําบล จังหวัด และ ประเทศ กระทั่งถึงที่สุดจรดขอบเขตภูเขาจักรวาล อนึง่ การขยายปฏิภาคนิมิตนี้ นักปฏิบัติจะ ขยายในขณะที่สมาธิยงั เปนอุปจารสมาธิ คือสมาธิที่ใกลตอฌานก็ได หรือภายหลังจากที่ได สําเร็จอัปปนาสมาธิ คือเมือ่ ไดฌานแลวก็ได

5.9 เขาสูปฐมฌาน เมื่อนักปฏิบัตไิ ดปฏิบัติถูกตองดังที่ไดพรรณนามาแลวนี้ รูปาวจรปฐมฌานที่มีองคฌาน 5 ก็เกิดขึ้นแกนักปฏิบัติเปนไปดังนี้คือ มโนทวาราวัชชนะที่มีปฐวีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณ เกิดขึ้น ตัดกระแสภวังคขาด ในลําดับนั้น มหากุศลญาณสัมปยุตตชวนะดวงใดดวงหนึ่งก็เกิดขึ้น 4 ขณะ แกมันทบุคคล หรือ 3 ขณะแกติกขบุคคล ซึง่ มีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณ ไดแก บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู สําหรับมันทบุคคล และ อุปจาร อนุโลม โคตรภู สําหรับติกข บุคคล ชวนะเหลานี้เรียกวา “ กามชวนะ ” ในฌานวิถีแลวก็ดับไป ตอจากนั้น ปฐมฌานกุศลที่ เปนอัปปนาสมาธิ ที่มีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณเกิดขึ้น 1 ขณะ ชวนะนี้เรียกวา “ อัปปนาชวนะ ” แลวก็ดับลง หลังจากนั้นภวังคจิตก็เกิดตอไป หลังจากภวังคจิตปจจเวกขณวิถีทมี่ ีมโนทวาราวัช ชนจิต 1 ครั้ง มหากุศลชวนจิต 7 ครั้งก็เกิดขึ้นหลายๆรอบ ทําการพิจารณาองคฌานทั้ง 5 โดยเฉพาะๆวาเปนวิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เสมือนผูท ี่ตื่นจากหลับแลวพิจารณาถึง ความฝนของตนวาไดฝนเรื่องอะไรบาง ในฌานวิถนี ี้ อารมณของบริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู ที่เปนกามชวนะกับอารมณของอัปปนาฌานที่เปนอัปปนาชวนะนัน้ แมวาจะมีปฐวี ปฏิภาคนิมิตเปนอารมณเหมือนกันก็จริง แตขณะที่กามชวนะเกิดอยูน ั้น อํานาจของกามตัณหา หาไดสงบราบคาบไม และจิตใจก็ยังไมมกี ําลังเต็มที่ ตอเมื่อปฐมฌานเกิดขึ้นนัน้ แมวาเกิดเพียง ขณะจิตเดียวก็จริง แตสามารถขมกามตัณหาใหสงบลงไดอยางราบคาบเปนพิเศษ จิตใจก็มี กําลังกลาแข็งเต็มที่ องคฌานทั้ง 5 ก็ปรากฏขึ้นมาอยางเดนชัด อุปมาเหมือนกับการตอกตะปูลง ไปบนแผนกระดานจนแนนฉันใด การเขาสูอารมณของปฐมฌานก็ไมหวัน่ ไหวคลอนแคลนฉันนัน้ ฉะนัน้ จึงทําใหรูไดวาฌานเกิดขึ้นแลวแกตน สวนจะบอกไดหรือไมนนั้ เกีย่ วกับความรูในดาน

247 อภิธรรมโดยตรง กลาวคือ ถาไดรับการศึกษาอภิธรรมในเรื่องวิถีจิตมาดีพอก็อาจพูดได ถาไมได รับการศึกษามาดีพอก็อาจพูดไมถูก

5.10 เขาสูทุติยฌาน สําหรับการปฏิบัติ เพื่อจะใหทุติยฌานเปนตนเกิดขึ้นไดนั้น ในขั้นแรกฌานลาภีบุคคลพึง กระทําปฐมฌานกุศลชวนะใหเกิดติดตอกันอยูตลอด 1 วันถึง 7 วันเสียกอน เพื่อจะไดอบรมจิตใจ ใหมีสมาธิกลาแข็งขึ้น เพื่อเปนบาทแหงการฝกหัดวสีภาวะ 5 ประการตอไป ที่ตองกระทําดังนี้ เพราะการเจริญทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ใหเกิดตอไปตามลําดับไดนั้น นักปฏิบัติ จําเปนตองอาศัยวสีภาวะทัง้ 5 นี้เปนเหตุสาํ คัญ ถาขาดวสีภาวะทัง้ 5 นี้เสียแลว ฌานเบื้องบนก็ เกิดขึ้นไมได วสีภาวะทัง้ 5 จะสําเร็จลงได ก็ตองอาศัยการเขาปฐมฌานอยูเ สมอๆเสียกอน จน จิตใจมีสมาธิกลาแข็งขึ้น ความสามารถเขาปฐมฌานไดติดตอกันอยูเรื่อยๆตลอด 1 วันถึง 7 วันนี้ แหละ เปนจิตใจที่มีสมาธิกลาแข็ง อันเปนเหตุสาํ คัญขั้นแรก การที่จะใหปฐมฌานกุศลชวนะ เกิดขึ้นไดเสมอๆนั้น ก็ตองเพงปฏิภาคนิมิตเสียกอน ทั้งนี้ก็เพราะวาเมื่อเพงปฏิภาคนิมิตเวลาใด เวลานั้นฌานจิตก็ตองเกิดขึน้ เปนธรรมดา แตทวาในวิถีหนึ่งๆนัน้ คงมีปฐมฌานกุศลชวนะเกิดขึ้น เพียง 1 ขณะหรือ 2-3 ขณะแลวภวังคจิตก็เกิดตอไป เปนไปอยูดังนี้ ฉะนั้นขณะใดที่รูสึกวาฌาน จิตที่เกิดขึ้นนัน้ ไดดับไปแลว ขณะนั้นตองรีบเพงปฏิภาคนิมิตอีก เพือ่ จะไดกลับเขาปฐมฌานอีก อยานิง่ นอนใจและอยาสนใจในเรื่องอื่นใดทั้งสิน้ จงพยายามเขาปฐมฌานไวเสมอๆอยาใหขาด สาย เพื่อเปนการอบรมจิตใจใหสมาธิกลาแข็งขึ้น ในระหวางที่กาํ ลังพยายามเขาปฐมฌานอยู ถายังเขาไมไดตลอด 1 วัน 2 วันเปนตนนัน้ ในเวลานั้นอยาสนใจในการพิจารณาองคฌาน 5 มี วิตกเปนตนใหมากนัก ควรสนใจแตในการเพงปฏิภาคนิมิต เพื่อจะไดเขาปฐมฌานประการเดียว เพราะวาถาพิจารณาองคฌานมากไปในขณะนั้น องคฌานเหลานั้นก็จะปรากฏขึน้ เปนของหยาบ และมีกําลังนอย เมื่อเปนเชนนีก้ ็จะทําใหปฐมฌานที่ไดมาแลวเสื่อมไป ทุติยฌานที่จะเกิดขึ้นใหม ก็เกิดไมได เมื่อพยายามเขาปฐมฌานไดเสมอๆตลอด 1 วันถึง 7 วันดังนี้แลว ตอจากนั้นก็ควร ฝกหัดในดานการกระทําวสีภาวะทั้ง 5 ใหชํานาญตอไป (โปรดเปดยอนกลับไปดูหวั ขอเรื่องวสี 5) เมื่อปฐมฌานลาภีบุคคลไดฝกฝนในวสีภาวะทั้ง 5 จนชํานาญแลว จากนัน้ จงเขาปฐมฌานกอน ออกจากปฐมฌานแลวก็พิจารณาปฐมฌานนัน้ วา ปฐมฌานนี้เปนฌานทีย่ ังใกลกับนิวรณอยู ทั้ง องคฌานคือวิตกและวิจารนัน้ ก็มีสภาพหยาบ ซึง่ เปนเหตุใหองคฌานอื่นๆมีปติเปนตนมีกาํ ลังนอย ไป ทําใหจิตใจมีสมาธิไมเขมแข็งพอ นิวรณที่ถูกประหารไปแลวนั้นอาจกลับเกิดขึ้นไดอีก ทําให ปฐมฌานที่ไดมาแลวนี้กลับเสื่อมสูญไป สวนทุติยฌานนั้นยอมหางไกลจากนิวรณ ทั้งองคฌานก็

248 มีความประณีตสุขุมอีกดวย เมื่อไดใครครวญอยางนีโ้ ดยถี่ถว น จนเกิดการเบื่อหนายในปฐมฌาน ปราศจากนิกนั ติตัณหา คือไมมีการใสใจในปฐมฌานแตอยางใดแลว จากนัน้ ก็จงเริ่มตนเพง ปฏิภาคนิมิตโดยภาวนาจิตทั้งสามตามลําดับ อันเปนวิตักกวิราคภาวนาและวิจารวิราคภาวนา คือในขณะที่กาํ ลังเพงปฏิภาคนิมิตพรอมกับบริกรรมในใจวา “ ปฐวีๆ ” เพื่อจะใหไดมาซึ่งทุติยฌาน นั้น ภาวนาจิตในขณะนั้นชือ่ วาบริกรรมภาวนา และนิมิตของบริกรรมภาวนาในระยะนี้คือปฏิภาค นิมิต มิใชบริกรรมนิมิตหรืออุคคหนิมิต ซึ่งตางกับบริกรรมภาวนาทีเ่ ปนเบื้องตนของปฐมฌาน ที่ มีบริกรรมนิมติ และอุคคหนิมิตเปนอารมณ เมื่อนักปฏิบัติทําการเพงและบริกรรมอยูดังนี้ จะรูว า ภาวนาจิตของตนไดเขาใกลในขอบเขตของอัปปนาภาวนาคือทุติยฌานหรือยัง ก็จงเขาปฐมฌาน เสียกอน เมื่อออกจากปฐมฌานก็พิจารณาองคฌานทั้ง 5 ตามลําดับๆโดยเฉพาะ และในขณะที่มี การพิจารณานี้ ถาเห็นสภาพของวิตกและวิจารวามีสภาพหยาบ และเห็นสภาพขององคฌานทัง้ 3 ที่เหลือมีปติ สุข และเอกัคคตา มีความละเอียดสุขมุ เชนนี้ ก็พงึ รูไดวาภาวนาจิตของตนนี้ได เขาถึงขัน้ อุปจารภาวนา ซึง่ ใกลเคียงกับอัปปนาภาวนาคือทุติยฌานแลว ถาหากยังไมเห็นสภาพ หยาบของวิตกและวิจาร และสภาพละเอียดประณีตของปติ สุข และเอกัคคตาแลว เวลานั้น ภาวนาจิตก็ยงั คงเปนบริกรรมภาวนาอยู เปนอันรูไดวา ยังหางไกลจากอัปปนาภาวนาคือทุตยิ ฌาน เมื่อเปนเชนนี้ ควรพยายามเพงและบริกรรมตอไป จนอุปจารภาวนาเกิดขึ้น ครั้นการเพงได เขาถึงขัน้ อุปจารภาวนาเวลาใด หากพยายามเพงตอไป ในไมชาอัปปนาภาวนาคือทุติยฌานก็จัก เกิดขึ้นโดยลําดับดังนี้คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจ เฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู ทุติยฌาน และภวังค จากนัน้ ปจจเวกขณวิถี ที่มีการพิจารณาองค ฌานที่เหลือคือ ปติ สุข และเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานักปฏิบัติไดสําเร็จเปนทุติยฌานลาภี บุคคลแลว

5.11 เขาสูตติยฌาน สําหรับการปฏิบัติ เพื่อจะใหตติยฌานเปนตนเกิดขึ้นไดนั้น ในขั้นแรกทุติยฌานลาภี บุคคล พึงกระทําทุติยฌานกุศลชวนะใหเกิดติดตอกันอยูตลอด 1 วันถึง 7 วันเสียกอน เพื่อจะได อบรมจิตใจใหมีสมาธิกลาแข็งขึ้น เพื่อเปนบาทแหงการฝกหัดวสีภาวะ 5 ประการตอไป ที่ตอง กระทําดังนี้ เพราะการเจริญตติยฌานและจตุตถฌาน ใหเกิดตอไปตามลําดับไดนั้น จําเปนตอง อาศัยวสีภาวะทั้ง 5 นีเ้ ปนเหตุสําคัญ ถาขาดวสีภาวะทัง้ 5 นี้เสียแลว ฌานเบื้องบนก็เกิดขึ้นไมได วสีภาวะทัง้ 5 จะสําเร็จลงไดก็ตองอาศัยการเขาทุติยฌานอยูเสมอๆเสียกอน จนจิตใจมีสมาธิกลา แข็งขึ้น ความสามารถเขาทุติยฌานไดติดตอกันอยูเรื่อยๆตลอด 1 วันถึง 7 วันนี้แหละ เปนจิตใจ

249 ที่มีสมาธิกลาแข็งอันเปนเหตุสําคัญขั้นแรก เมื่อทุติยฌานลาภีบุคคลไดฝกฝนในวสีภาวะทั้ง 5 จน ชํานาญแลว จากนั้นจงเขาทุติยฌานกอน ออกจากทุติยฌานแลวก็พิจารณาทุติยฌานนั้นวา ทุติยฌานนี้เปนฌานทีย่ ังใกลกับนิวรณอยู ทั้งองคฌานคือปตินั้นก็มีสภาพหยาบ ซึง่ เปนเหตุให องคฌานอืน่ ๆมีสุขเปนตนมีกําลังนอยไป ทําใหจติ ใจมีสมาธิไมเขมแข็งพอ นิวรณที่ถูกประหารไป แลวนั้นอาจกลับเกิดขึ้นไดอีก ทําใหทุติยฌานที่ไดมาแลวนี้กลับเสื่อมสูญไป สวนตติยฌานนัน้ ยอมหางไกลจากนิวรณ ทั้งองคฌานก็มีความประณีตสุขุมอีกดวย เมื่อไดใครครวญอยางนี้โดยถี่ ถวน จนเกิดการเบื่อหนายในทุติยฌาน ปราศจากนิกนั ติตัณหา คือไมมีการใสใจในทุติยฌาน แตอยางใดแลว จากนัน้ ก็จงเริ่มตนเพงปฏิภาคนิมิตโดยภาวนาจิตทัง้ สามตามลําดับ อันเปนปติวิ ราคภาวนา เมื่อนักปฏิบัติทาํ การเพงและบริกรรมอยูดังนี้ จะรูว าภาวนาจิตของตนไดเขาใกลใน ขอบเขตของอัปปนาภาวนาคือตติยฌานหรือยัง ก็จงเขาทุติยฌานเสียกอน เมื่อออกจากทุติย ฌาน ก็พิจารณาองคฌานทั้ง 3 ตามลําดับโดยเฉพาะๆ และในขณะที่มีการพิจารณานี้ ถาเห็น สภาพของปตวิ ามีสภาพหยาบ และเห็นสภาพขององคฌานทัง้ 2 ทีเ่ หลือมีสุขและเอกัคคตา วามี ความละเอียดสุขุมเชนนี้ ก็พึงรูไดวา ภาวนาจิตของตนนี้ไดเขาถึงขัน้ อุปจารภาวนา ซึ่งใกลเคียง กับอัปปนาภาวนาคือตติยฌานแลว ถาหากยังไมเห็นสภาพหยาบของปติ และสภาพละเอียด ประณีตของสุขและเอกัคคตาแลว เวลานัน้ ภาวนาจิตก็ยังคงเปนบริกรรมภาวนาอยู เปนอันรูไดวา ยังหางไกลจากอัปปนาภาวนาคือตติยฌาน เมื่อเปนเชนนี้ ควรพยายามเพงและบริกรรมตอไปจน อุปจารภาวนาเกิดขึ้น ครั้นการเพงไดเขาถึงขั้นอุปจารภาวนาเวลาใด หากพยายามเพงตอไปใน ไมชาอัปปนาภาวนาคือตติยฌาน ก็จักเกิดขึ้นโดยลําดับดังนี้ คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจ เฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู ตติยฌาน และภวังค จากนัน้ ปจจเวกขณวิถีที่มกี ารพิจารณาองคฌานที่เหลือคือสุขและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานักปฏิบัติ ไดสําเร็จเปนตติยฌานลาภีบุคคลแลว

5.12 เขาสูจตุตถฌาน สําหรับการปฏิบัติ เพื่อจะใหจตุตถฌานเกิดขึ้นไดนั้น ในขั้นแรก ตติยฌานลาภีบุคคล พึงกระทําตติยฌานกุศลชวนะใหเกิดติดตอกันอยูตลอด 1 วันถึง 7 วันเสียกอน เพื่อจะไดอบรม จิตใจใหมีสมาธิกลาแข็งขึน้ เพื่อเปนบาทแหงการฝกหัดวสีภาวะ 5 ประการตอไป ที่ตองกระทํา ดังนี้ เพราะการเจริญจตุตถฌานใหเกิดตอไปไดนั้น จําเปนตองอาศัยวสีภาวะทัง้ 5 นี้เปนเหตุ สําคัญ ถาขาดวสีภาวะทั้ง 5 นี้เสียแลว ฌานเบื้องบนก็เกิดขึ้นไมได วสีภาวะทั้ง 5 จะสําเร็จลง ไดก็ตองอาศัยการเขาตติยฌานอยูเ สมอๆเสียกอน จนจิตใจมีสมาธิกลาแข็งขึ้น ความสามารถ

250 เขาตติยฌานไดติดตอกันอยูเรื่อยๆตลอด 1 วันถึง 7 วันนี้แหละ เปนจิตใจที่มีสมาธิกลาแข็งอันเปน เหตุสําคัญขั้นแรก เมื่อตติยฌานลาภีบุคคลไดฝกฝนในวสีภาวะทั้ง 5 จนชํานาญแลว จากนัน้ จง เขาตติยฌานกอน ออกจากตติยฌานแลวก็พจิ ารณาตติยฌานนั้นวา ตติยฌานนี้เปนฌานทีย่ ัง ใกลกับนิวรณอยู ทัง้ องคฌานคือสุขนัน้ ก็มีสภาพหยาบ ซึง่ เปนเหตุใหองคฌานอื่นๆมีอุเบกขา และเอกัคคตามีกําลังนอยไป ทําใหจิตใจมีสมาธิไมเขมแข็งพอ นิวรณที่ถูกประหารไปแลวนั้นอาจ กลับเกิดขึ้นไดอีก ทําใหตติยฌานที่ไดมาแลวนี้กลับเสื่อมสูญไป สวนจตุตถฌานนั้นยอมหางไกล จากนิวรณ ทัง้ องคฌานก็มคี วามประณีตสุขุมอีกดวย เมื่อไดใครครวญอยางนี้โดยถี่ถวน จนเกิด การเบื่อหนายในตติยฌานปราศจากนิกนั ติตัณหา คือไมมีการใสใจในตติยฌานแตอยางใดแลว จากนั้นก็จงเริม่ ตนเพงปฏิภาคนิมิตโดยภาวนาจิตทั้งสามตามลําดับ อันเปนสุขวิราคภาวนา เมือ่ นักปฏิบัติทาํ การเพงและบริกรรมอยูดังนี้ จะรูวา ภาวนาจิตของตนไดเขาใกลในขอบเขตของอัปป นาภาวนาคือจตุตถฌานหรือยัง ก็จงเขาตติยฌานเสียกอนเมื่อออกจากตติยฌาน ก็พิจารณาองค ฌานทั้ง 3 ตามลําดับโดยเฉพาะๆ และในขณะที่มกี ารพิจารณานี้ ถาเห็นสภาพของสุขวามีสภาพ หยาบ และเห็นสภาพขององคฌานทั้ง 2 มีอุเบกขาและเอกัคคตามีความละเอียดสุขุมเชนนี้ ก็พงึ รูไดวา ภาวนาจิตของตนนี้ไดเขาถึงขั้นอุปจารภาวนา ซึ่งใกลเคียงกับอัปปนาภาวนาคือจตุตถ ฌานแลว ถาหากยังไมเห็นสภาพหยาบของสุข และสภาพละเอียดประณีตของอุเบกขาและ เอกัคคตาแลว เวลานัน้ ภาวนาจิตก็ยงั คงเปนบริกรรมภาวนาอยู เปนอันรูไดวาตนนั้นยังหางไกล จากอัปปนาภาวนาคือจตุตถฌาน เมื่อเปนเชนนี้ ควรพยายามเพงและบริกรรมตอไป จนอุปจาร ภาวนาเกิดขึ้น ครั้นการเพงไดเขาถึงขั้นอุปจารภาวนาเวลาใด หากพยายามเพียรเพงตอไปในไม ชาอัปปนาภาวนาคือจตุตถฌาน ก็จักเกิดขึ้นโดยลําดับดังนี้ คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจ เฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู จตุตถฌาน และภวังค จากนั้น ปจจเวกขณวิถีที่มกี ารพิจารณาองคฌานที่เหลือคืออุเบกขาและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานัก ปฏิบัติไดสําเร็จเปนจตุตถฌานลาภีบุคคลแลว

5.13 เขาสูอากาสานัญจายตนฌาน (อรูปฌานที่ 1) ขั้นแรกของการปฏิบัติ เพื่อใหอากาสานัญจายตนฌานเกิดขึ้นนัน้ ฌานลาภีบุคคลพึง กระทํารูปาวจรจตุตถฌานกุศลชวนะ ใหเกิดติดตอกันจนชํานาญในวสีภาวะทั้ง 5 ของรูปาวจร จตุตถฌาน เหมือนกับการปฏิบัติของปฐมฌานลาภีเพือ่ ใหทุติยฌานเกิดฉะนัน้ ตางกันก็เพียง กอนหนาจะเริม่ ฝกหัดในวสีภาวะทั้ง 5 นัน้ ฌานลาภีบุคคลไดมีความเห็นตางกันเปน 2 ฝาย คือ ฝายหนึง่ เปนความเห็นทัว่ ๆไปในเวลาทีว่ างจากพระพุทธศาสนา อีกฝายหนึง่ เปนความเห็นทั่วๆไป

251 ในเวลาที่มพี ระพุทธศาสนาปรากฏขึ้นแลว ความเห็นในเวลาทีว่ างจากพระพุทธศาสนานัน้ จตุ ตฌานลาภีบคุ คลมีความเห็นวา การประหัตประหารซึ่งกันและกันดวยอาวุธตางๆก็ดี โรคตางๆก็ ดี ความหิวกระหายก็ดี ความกําหนัดรักใครซึ่งกันและกันก็ดี เหลานี้ลว นแตเนื่องจากรางกาย นั้นเองเปนตนเหตุ และรางกายนี้เลาก็เกิดมาจากโลหิตของมารดาและบิดา อันเปนของไมสะอาด อีกดวย ฉะนัน้ กายนี้จึงเรียกวา “กรชกาย” สวนในอรูปภูมินั้น เปนภูมิที่ปราศจากรางกาย มี แตจิตใจอยางเดียว ฉะนัน้ เรื่องเดือดรอนตางๆที่เกีย่ วกับรางกายนัน้ จึงถูกระงับไปหมดสิ้น เปน ความสุขอยางยิ่ง เมื่อไดคิดเห็นเชนนี้แลว ก็เกิดความเบื่อหนายในรางกาย มีแตความอยากได ไปเกิดในอรูปภูมิ พรอมกันนัน้ ก็มีความหวาดกลัวในปฏิภาคนิมติ อันเปนอารมณของรูปาวจร จตุตถฌาน ที่เกิดเนื่องตอกันมาจากรูปที่เปนองคกสิณอีกดวย เสมือนหนึง่ ผูทกี่ ลัวผีในเวลา กลางคืน ไดแลเห็นตอไมเขาก็สําคัญผิดคิดวาผีหลอก เกิดการสะดุง กลัวฉันใด จตุตถฌานลาภี บุคคลที่มีการเห็นโทษของรางกายก็ฉนั นัน้ ทีย่ อมกลัวตอรูปฌานทีม่ ีรูปกสิณเปนอารมณ สวน ความเห็นในสมัยทีพ่ ระพุทธศาสนาอุบัติขนึ้ แลวนัน้ จตุตถฌานลาภีบุคคล หาไดมกี ารพิจารณา เห็นโทษในรางกายแตประการใดไม เพียงแตมีความเห็นวาสมาธิที่เกิดจากอรูปฌานนัน้ มีกําลัง มั่นคงและประณีตมากกวาสมาธิที่เกิดจากรูปฌาน ฉะนั้นจึงอาจทําอภิญญาได หรือถาไดสําเร็จ เปนพระอนาคามีหรือพระอรหันตเวลาใด ก็ยังชวยใหตนสามารถเขานิโรธสมาบัติ อันเปนสันติสุข ที่มีสภาพคลายกับอนุปาทิเสสนิพพานไดอีกดวย เมื่อมีความเห็นเชนนี้แลว ก็เริม่ ตนปฏิบัติในวสี ภาวะทั้ง 5 ตอไป ในระยะขัน้ สุดทายนี้ เมื่อออกจากรูปาวจรจตุตถฌานแลว ถาเห็นวา ปริมณฑลของปฏิภาคนิมิตทีแ่ ผไปในนั้นเล็กเกินไป อยากขยายใหใหญถึงภูเขาจักรวาลก็ทําได แลวแตกําลังสมาธิของตนทีจ่ ะสามารถเพงใหทั่วถึงได ถาเห็นวาใหญมากเกินไปอยากทําใหเล็กลง ก็ทําไดเชนกัน แตอยางเล็กที่สุดตองมีขนาด 1 คืบกับ 4 องคุลีจะเล็กกวานี้ไมได หรือเห็นวาไม จําเปนที่จะขยายใหใหญหรือเล็กลง เมื่อมีขนาดเทาใดก็คงใหมีอยูเทานัน้ ก็ได แลวเพงตอไป อยางไมสนใจบริเวณใดๆในปฏิภาคนิมิตทีป่ รากฏอยูนนั้ เลย มีแตความพยายามทีจ่ ะพรากใจออก จากปฏิภาคนิมิตนั้น แลวกลับพยายามยึดหนวงใหอากาศบัญญัติมาปรากฏแทนที่ โดยคิดวา ปฐวีปฏิภาคนิมิตไมมี คงมีแตอากาศวางเปลาอยูเทานัน้ พรอมกับบริกรรมอยูภายในใจวา “ อา กาโส อนันโตๆ ” หรือ “ อากาศไมมีที่สนิ้ สุดๆ ” เมื่อจตุตถฌานลาภีบุคคล พยายามเจริญเชนนี้ เสมอไปนั้น เวลาใดจิตใจปราศจากนิกนั ติตัณหาในรูปาวจรจตุตถฌาน เวลานัน้ ภาวนาจิตของ นักปฏิบัตินนั้ ก็จะขึ้นสูขั้นอุปจารภาวนา การเจริญภาวนาจากนี้ตอไปไมชานัก ปฐวีปฏิภาคนิมติ ที่ เปนนิมิตกรรมฐานก็จะสูญหายไปจากใจ คงเหลือแตอากาศวางเปลา ทีเ่ ปนภายในบริเวณของ

252 ปฏิภาคนิมิตทีแ่ ผไป อุปมาดังผูที่กาํ ลังเพงดูผามานที่ตดิ อยูกับชองหนาตางอยางสนใจ ในขณะ นั้นผามานก็หลุดไปดวยอํานาจพายุทพี่ ัดมาอยางแรง จึงมองเห็นแตอากาศที่วา งๆอยูเทานัน้ ฉันใด นักปฏิบัติผูเพิกปฐวีปฏิภาคนิมิตออกจากใจไดก็ฉันนัน้ แตการเพิกกสิณออกจากใจนั้น หาใช เหมือนกับการเลิกเสื่อออก หรือยกจานอาหารออกจากถาดแตอยางใดไม หากเปนการเพิกโดย ไมใหจิตใจไปคิดนึกพัวพันอยูในกสิณอีกเทานั้น ดังในวิสุทธิมรรคไดกลาวไววา “ พระโยคีบุคคล เพิกองคกสิณออกจากใจนี้ หาใชเหมือนกับการเลิกเสือ่ ออก หรือยกจานขนมออกแตอยางใดไม หากแตเปนการเลิกสนใจในกสิณนิมิตนั้นเสีย กลับไปสนใจเพงและบริกรรมวาอากาโสๆตอไป ” เมื่อสามารถเพิกปฐวีปฏิภาคนิมิต ซึ่งเปนนิมิตกรรมฐานที่ติดอยูกับใจเสียได ในเวลานั้นอากาศ บัญญัติก็ปรากฏขึ้นแทนทีท่ นั ที พรอมดวยอากาสานัญจายตนฌานทีม่ ีองคฌาน 2 องคก็เกิดขึ้น เปนไปดังนี้คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู อากาสานัญจายตนฌาน และภวังค จากนัน้ ปจจเวกขณวิถที ี่มกี ารพิจารณา อุเบกขาและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานักปฏิบัติไดสําเร็จเปนอากาสานัญจายตนฌานลาภี บุคคลแลว

5.14 เขาสูวิญญาณัญจายตนฌาน (อรูปฌานที่ 2) เมื่อนักปฏิบัติ ตองการเจริญวิญญาณัญจายตนฌานตอไป ขั้นแรกก็จงปฏิบัติในวสี ภาวะทั้ง 5 ทีเ่ กี่ยวกับอากาสานัญจายตนฌานเสียกอน หลังจากมีความชํานาญในวสีภาวะทัง้ 5 อยางสมบูรณดีแลว จากนัน้ ก็จงเขาอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อออกจากฌานก็พิจารณาเห็น โทษของอากาสานัญจายตนฌานวา อากาสานัญจายตนฌานนี้ เปนฌานที่ใกลกบั รูปาวจร จตุตถฌาน อันเปนขาศึกแกกันอยู ถาขาดการเขาฌานนี้อยูเสมอๆเวลาใดแลว เวลานั้นฌานนี้ อาจเลือนหายไปจากใจ และกลับทําใหสมาธิลดระดับลงไปตั้งอยูในรูปาวจรจตุตถฌานตามเดิม ไดอีก ทั้งสมาธิทเี่ กิดจากฌานนี้ก็ยงั หยาบกวาสมาธิที่เกิดจากวิญญาณัญจายตนฌานอีกดวย เมื่อพิจารณาเห็นโทษในอากาสานัญจายตนฌานดังนี้แลว จึงพยายามพรากใจออกจากอากาศ บัญญัตินั้นเสีย แลวกลับพยายามยึดหนวงใหวิญญาณัญจายตนฌานมาปรากฏแทนที่ โดย บริกรรมวา “ วิญญาณัง อนันตังๆ ” หรือ “ วิญญาณไมมที ี่สิ้นสุด ” เมื่อนักปฏิบัติพยายามเจริญอยู อยางนี้เสมอไปนั้น เวลาใดจิตใจปราศจากนิกันติตัณหาในอากาสานัญจายตนฌาน เวลานัน้ ภาวนาจิตของนักปฏิบัตินนั้ ก็ขึ้นสูขั้นอุปจารภาวนา การเจริญภาวนาตอไปในไมชา อากาศ บัญญัติที่เปนนิมิตกรรมฐานก็จักสูญหายไปจากใจ การพยายามกาวลวงอากาศบัญญัติ ซึง่ เปน นิมิตกรรมฐานติดอยูกับใจเสียไดในเวลาใด เวลานั้น อากาสานัญจายตนฌานก็ปรากฏขึ้นแทนที่

253 ทันทีพรอมดวยวิญญาณัญจายตนฌาน (เพราะการทีจ่ ะเกิดวิญญาณัญจายตนฌานไดนนั้ ตอง อาศัยอากาสานัญจายตนฌาน อุปมาเหมือนมหาดเล็กที่แลเห็นโทษของพระราชาในประการตางๆ เชน ความไมเปนธรรม มากนอยเพียงใดก็ตามที แตกต็ องมีใจเคารพรักและคอยปฏิบัติรับใชตอ พระองคอยูน นั่ เอง เพื่อที่จะไดเปนที่อาศัยพักพิง ยังอาชีพของตนใหเจริญรุงเรืองตอไปในภาย ภาคหนา) ที่มอี งคฌาน 2 องคก็เกิดขึ้นเปนไปดังนี้คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ มโน ทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู วิญญาณัญจายตนฌาน และภวังค จากนั้น ปจจเวกขณวิถีที่มกี ารพิจารณาอุเบกขาและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานักปฏิบัติไดสําเร็จเปน วิญญาณัญจายตนฌานลาภีบุคคลแลว

5.15 เขาสูอากิญจัญญายตนฌาน (อรูปฌานที่ 3) เมื่อนักปฏิบัติ ตองการเจริญอากิญจัญญายตนฌานตอไป ขั้นแรกก็จงปฏิบัติในวสีภาวะ ทั้ง 5 ทีเ่ กี่ยวกับวิญญาณัญจายตนฌานเสียกอน หลังจากมีความชํานาญในวสีภาวะทัง้ 5 อยาง สมบูรณดีแลว จากนัน้ ก็จงเขาวิญญาณัญจายตนฌาน เมื่อออกจากฌานก็พิจารณาเห็นโทษของ วิญญาณัญจายตนฌานวา วิญญาณัญจายตนฌานนี้ เปนฌานที่ใกลกับอากาสานัญจายตน ฌานอันเปนขาศึกแกกนั อยู ถาขาดการเขาฌานนี้อยูเสมอๆเวลาใดแลว เวลานัน้ ฌานนี้อาจเลือน หายไปจากใจ และกลับทําใหสมาธิลดระดับลงไปตั้งอยูใ นอากาสานัญจายตนฌานตามเดิมไดอกี ทั้งสมาธิที่เกิดจากฌานนี้ ก็ยังหยาบกวาสมาธิที่เกิดจากอากิญจัญญายตนฌานอีกดวย เมื่อ พิจารณาเห็นโทษในวิญญาณัญจายตนฌานดังนี้แลว ก็เกิดการฝกใฝสนใจในอากาสานัญจายตน ฌานที่ดับสูญขาดไปจากจิตสันดานของตนอยางไมมีเหลืออยูเลย แมที่สุดเพียงแตภวังคักขณะ ของฌานนั้น ก็หาไดมีเหลืออยูไม โดยการพยายามพรากใจออกจากอากาสานัญจายตนฌาน นั้นๆเสีย แลวกลับพยายามยึดหนวงใหนัตถิภาวบัญญัติมาปรากฏแทนที่ โดยบริกรรมวา “ นัตถิ กิญจิๆ ” หรือ “ ไมมีอะไรเลยๆ ” เมื่อนักปฏิบัติพยายามเจริญอยูอยางนี้เสมอไปนัน้ เวลาใดจิตใจ ปราศจากนิกนั ติตัณหาในวิญญาณัญจายตนฌาน เวลานัน้ ภาวนาจิตของนักปฏิบัตินั้นก็ขนึ้ สูขนั้ อุปจารภาวนา การเจริญภาวนาตอไปในไมชา อากาสานัญจายตนฌานที่เปนนิมติ กรรมฐานก็จกั สูญหายไปจากใจ อุปมาเสมือนกับบุรุษนายหนึง่ ที่กําลังเดินผานไปทางดานหนาสภาประชุม สงฆ ในขณะนั้นไดเหลือบเห็นหมูสงฆกาํ ลังประชุมกันอยูอยางคับคั่งแลวก็เดินเลยไป ขากลับก็ คงเดินผานมาทางดานนัน้ อีกเชนกัน แตครั้งนี้มิไดเห็นเหมือนเชนเดิม ทั้งนี้กเ็ พราะคณะสงฆได กลับไปหมดสิน้ แลว บุรุษนัน้ รําพึงอยูภายในใจวา บัดนี้พระสงฆทา นกลับไปหมดสิ้นแลวแมแต เพียงรูปหนึ่งก็ไมมีเหลืออยูเลย การพยายามกาวลวงอากาสานัญจายตนฌาน ซึ่งเปนนิมิต

254 กรรมฐานติดอยูกับใจเสียไดในเวลาใด เวลานัน้ นัตถิภาวบัญญัติกป็ รากฏขึ้นแทนทีท่ ันที พรอม ดวยอากิญจัญญายตนฌานที่มีองคฌาน 2 องคก็เกิดขึ้นเปนไปดังนี้คอื ภวังค ภวังคจลนะ ภวัง คุปจเฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู อากิญจัญญายตนฌาน และภวังค จากนัน้ ปจจเวกขณวิถีที่มกี ารพิจารณาอุเบกขาและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานัก ปฏิบัติไดสําเร็จเปนอากิญจัญญายตนฌานลาภีบุคคลแลว

5.16 เขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน (อรูปฌานที่ 4) เมื่อนักปฏิบัติ ตองการเจริญเนวสัญญานาสัญญายตนฌานตอไป ขั้นแรกก็จงปฏิบัติใน วสีภาวะทัง้ 5 ที่เกีย่ วกับอากิญจัญญายตนฌานเสียกอน หลังจากมีความชํานาญในวสีภาวะทัง้ 5 อยางสมบูรณดีแลว จากนัน้ ก็จงเขาอากิญจัญญายตนฌาน เมื่อออกจากฌานก็พจิ ารณาเห็น โทษของอากิญจัญญายตนฌานวา อากิญจัญญายตนฌานนี้ เปนฌานที่ใกลกับวิญญาณัญจาย ตนฌานอันเปนขาศึกแกกนั อยู ถาขาดการเขาฌานนี้อยูเสมอๆเวลาใดแลว เวลานัน้ ฌานนี้อาจ เลือนหายไปจากใจ และกลับทําใหสมาธิลดระดับลงไปตั้งอยูในวิญญาณัญจายตนฌานตามเดิม ไดอีก ทั้งสมาธิทเี่ กิดจากฌานนี้ก็ยงั ไมประณีต และความสงบนัน้ เลา ก็ยังไมสงบเทากับความ สงบที่มีอยูในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สําหรับสวนของสัญญาคือความจําทีม่ ีอยูในอา กิญจัญญายตนฌานนัน้ ก็ยังหยาบอยูจึงเปนอุปสรรคแกสมาธิ สวนสัญญาที่มีอยูใ นเนวสัญญา นาสัญญายตนฌานนัน้ ประณีตสุขุมมากกวานีย้ ิ่งนัก ฉะนัน้ อรูปฌานที่ 4 นี้ จึงเปนฌานที่มี ความประณีตอยางยอดยิ่ง เหลานี้เปนการพิจารณาเห็นโทษ เพื่อใหหมดซึ่งความยินดีปรีดาใน อากิญจัญญายตนฌาน แตก็ยังเห็นความดีในฌานนี้อยูวา ถึงแมจะสงบประณีตไมเทากับอรูป ฌานที่ 4 ก็จริงอยู แตทวามีความสงบความประณีตอยูไมนอยเหมือนกัน เพราะสามารถรับ บัญญัติอารมณที่ไมมีปรมัตถรองรับที่เปนอภาวบัญญัติ หรือนัตถิภาวบัญญัติอันเกี่ยวกับอา กาสานัญจายตนฌานได เมื่อคิดเชนนี้แลว ก็สนใจนึกถึงในอากิญจัญญายตนฌานที่ดับไปแลว จากจิตสันดานของตน โดยการพยายามพรากใจออกจากนัตถิภาวบัญญัตินั้นเสีย แลวกลับ พยายามยึดหนวงใหอากิญจัญญายตนฌานมาปรากฏแทนที่โดยบริกรรมวา “ สันตเมตัง ปนีตเม ตังๆ ” หรือ “ สันตัง ปนีตังๆ ” (อากิญจัญญายตนฌานนี้มีสมาธิสงบมากประณีตมาก) เมื่อนัก ปฏิบัติพยายามเจริญอยูอยางนี้เสมอไปนัน้ เวลาใดจิตใจของนักปฏิบัติปราศจากนิกนั ติตัณหาใน อากิญจัญญายตนฌาน เวลานัน้ ภาวนาจิตของนักปฏิบัตินั้นก็ขนึ้ สูขนั้ อุปจารภาวนา การเจริญ ภาวนาตอไปในไมชานัก นัตถิภาวบัญญัติที่เปนนิมิตกรรมฐานก็จกั สูญหายไปจากใจ การกาว ลวงจากนัตถิภาวบัญญัติ ซึ่งเปนนิมิตกรรมฐานติดอยูก ับใจนักปฏิบตั ิเสียไดในเวลาใด เวลานัน้

255 อากิญจัญญายตนฌานก็จะปรากฏขึ้นแทนทีท่ ันที พรอมดวยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานที่มี องคฌาน 2 องคก็เกิดขึ้นเปนไปดังนี้คือ ภวังค ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาร อนุโลม โคตรภู เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และภวังค จากนั้นปจจ เวกขณวิถีที่มกี ารพิจารณาอุเบกขาและเอกัคคตาก็เกิดขึ้น เปนอันวานักปฏิบัติไดสําเร็จเปนเนว สัญญานาสัญญายตนฌานลาภีบุคคลแลว อนึ่ง การปฏิบัติเพื่อใหไดมาซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนฌานของนักปฏิบัตินั้น กอน บริกรรม ก็ไดพิจารณาเห็นโทษของอากิญจัญญายตนฌานโดยนานาประการ แตครั้นลงมือ บริกรรม กลับเห็นคุณความดีของฌานนีอ้ ยูไมนอย ทัง้ ไดยกยองชมเชยเปนอันมาก ดังที่ปรากฏ ในคําบริกรรมวา “ สันตเมตัง ปนีตเมตังๆ ” เชนนี้ มิเปนการขัดกันไปหรือ? แกวาหาไดขัดกันแต อยางใดไม อุปมาเหมือนกับคนๆหนึง่ ซึง่ มีรูปรางสัณฐานผิวพรรณไมงดงามไมนา ชมเชยเลย แตจิตใจประกอบดวยคุณความดีหลายประการ เมื่อผูใดผูหนึง่ ไดพบเขา ก็กลาวคําตําหนิเยย หยันวาชางมีรปู รางขี้ริ้วขี้เหรเสียจริงๆ แตครั้นไดเขาใกลทราบถึงอัธยาศัยจิตใจกันเปนอยางดีแลว ก็จะตองสรรเสริญในคุณความดีของบุคคลนั้นฉันใด การพิจารณาเห็นโทษแลวกลับเห็นความดีใน อากิญจัญญายตนฌานของนักปฏิบัติก็ฉนั นั้น สวนการยกยองชมเชยอากิญจัญญายตนฌาน โดยการบริกรรมวา “ สันตเมตัง ปนีตเมตังๆ ” นั้น หาใชมีความประสงคจะเขาฌานนี้อกี ก็หามิได เพียงแตอาศัยใชบริกรรม เพื่อจะพนไปจากฌานนี้ แลวกาวขึ้นสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ตอไปตางหาก อุปมาดังพระราชาประทับทรงชางออกไปทอดพระเนตรในการแสดงศิลปหัตถกรรม ฌ. สถานที่แหงหนึ่ง ในขณะทีท่ อดพระเนตรโดยทั่วๆไปภายในบริเวณนั้น ไดทอดพระเนตรเห็น บุรุษนายหนึ่ง กําลังนั่งแกะสลักงาชางอยางวิจิตรงดงาม ทรงพอพระทัยในฝมือของบุรุษนัน้ เปน อยางยิ่ง ถึงกับออกพระโอษฐชมเชยวา บุรุษนี้ชา งมีฝม ือในการแกะสลักเปนอยางยิ่ง ยากที่จะ หาผูใดเทียมได แมจะทรงพอพระทัยมากมายเพียงใดก็ดี แตกห็ าไดมีพระดําริจะทรงสละราช สมบัติออกมา เปนนายชางแกะสลักงาชางไม เพียงแตทรงชมเชยแลวก็เสด็จผานเลยไป กลับ เขาสูพระราชวังตามเดิมฉันใด นักปฏิบัตทิ ี่ไดอากิญจัญญายตนฌานแลว แมวาจะไดกลาวคํา ชมเชยในอากิญจัญญายตนฌานนี้โดยบริกรรมวา “ สันตเมตัง ปนีตเมตังๆ ” อยูดังนี้ก็ตามที ครัน้ แลว ก็ไดกาวลวงอากิญจัญญายตนฌานนี้ไปเสีย ทัง้ นีก้ ็เพราะนักปฏิบัติไมมีความประสงคจะ เขาฌานสมาบัตินี้อีก

256

อาโปกสิณ อาโปกสิณ คือ กสิณน้าํ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในอาโปนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ อาโปสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอาโปกสิณ บุคคลผูเหมาะกับอาโปกสิณ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอาโปกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอาโปกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของอาโปกสิณ อานิสงสของอาโปกสิณมี 6 ประการ ไดแก 1 . แทรกลงหรือผุดขึ้นจากแผนดินได 2 . ทําใหฝนตกได 3 . ทําพื้นแผนดินใหเปนแมน้ําและมหาสมุทรได

257 4 . ทําน้ําใหเปนน้าํ มันหรือน้าํ นมหรือน้าํ ผึ้งได 5 . ทําใหกระแสน้ําพุงออกมาจากรางกายได 6 . ทําใหภูเขาหรือปราสาทหรือวิมานสะเทือนหวั่นไหวได

4 . วิธีสรางองคอาโปกสิณ องคอาโปกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคอาโปกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และ องคอาโปกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

4.1 องคอาโปกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคอาโปกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการฝงถวยชามหรือหมอน้าํ ไวในดินสะอาด ทําขอบปากใหเสมอกับหนาดิน เสนรอบวงมีระยะประมาณ 1 ชวงแอก น้ํานัน้ ควรเปนน้าํ ฝน ไมมีสีใดเจือปน ถวยหรือหมอนัน้ ควรบรรจุน้ําจนเต็มเสมอขอบปาก

4.2 องคอาโปกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคอาโปกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ น้ําในสถานทีต่ างๆ เชน ในบอ ในสระ ในบึง ในแมนา้ํ ในทะเลสาบ และในทองน้าํ แตการเจริญกสิณ โดยใชองคอาโปกสิณที่อยูตาม ธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคอาโปกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญอาโปกสิณ วิธีเจริญอาโปกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันที่อาโปกสิณจะบริกรรมวา “ อาโปๆ ” หรือ “ น้ําๆ ” แทน

เตโชกสิณ เตโชกสิณ คือ กสิณไฟ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในเตโชนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ เตโชสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับเตโชกสิณ บุคคลผูเหมาะกับเตโชกสิณ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม

258 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของเตโชกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญเตโชกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของเตโชกสิณ อานิสงสของเตโชกสิณมี 6 ประการ ไดแก 1 . ทําใหเกิดควันและเปลวไฟลุกโชติชว งจากรางกายหรือวัตถุอื่นๆได 2 . ทําใหฝนถานเพลิงตกลงมาได 3 . ใชไฟที่เกิดจากฤทธิ์ของตนดับไฟที่เกิดจากฤทธิ์ของผูอ ื่นได 4 . สามารถเผาผลาญบานเมืองหรือวัตถุสงิ่ ของตางๆได 5 . ทําใหแสงสวางเกิดขึ้นได 6 . ทําใหความมืดหายไปได

4 . วิธีสรางองคเตโชกสิณ องคเตโชกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคเตโชกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และองค เตโชกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

259 4.1 องคเตโชกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคเตโชกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการรวบรวมเชื้อไฟกองไวใน ที่สะอาด เผาเชื้อไฟจากขางลางขึ้นไป เวลาเพงใหสงจิตไปที่กลางเปลวไฟทีห่ นาทึบ โดยไม พิจารณาควัน

4.2 องคเตโชกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคเตโชกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ ไฟที่มีหญาเปนเชื้อ ไฟที่มีไมเปนเชื้อ ไฟปา หรือบานที่ถกู ไฟไหม แตการเจริญกสิณ โดยใชองคเตโชกสิณที่อยูตามธรรมชาตินี้ ยอมเกิด อุคคหนิมิตไดชากวาองคเตโชกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญเตโชกสิณ วิธีเจริญเตโชกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันทีเ่ ตโชกสิณจะบริกรรมวา “ เตโชๆ ” หรือ “ ไฟๆ ” แทน

วาโยกสิณ วาโยกสิณ คือ กสิณลม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในวาโยนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ วาโยสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับวาโยกสิณ บุคคลผูเหมาะกับวาโยกสิณ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

260 2 . ขอบเขตของวาโยกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวาโยกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของวาโยกสิณ อานิสงสของวาโยกสิณมี 4 ประการ ไดแก 1 . เหาะไปบนอากาศได 2 . ไปปรากฏตนยังสถานทีๆ่ ตนตองการจะไปในทันทีทนั ใดได 3 . ทําสิง่ ทีห่ นักใหเบาได 4 . ทําพายุใหญใหเกิดขึ้นได

4 . วิธีสรางองควาโยกสิณ องควาโยกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องควาโยกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และองค วาโยกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

4.1 องควาโยกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องควาโยกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยเจาะกําแพงใหเปนรู แลว นํากระบอกไมไผใสไวที่รูนั้น ใหลมออกจากกระบอกไมไผมาตองกาย ใชเปนนิมิต

4.2 องควาโยกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องควาโยกสิณที่อยูตามธรรมชาติมี 2 ลักษณะ ลักษณะที่หนึง่ โดยการมองดู เชน มองดู ไรมันเทศ สวนไผ และทุง หญาที่ถูกลมพัด ลักษณะที่สองโดยการสัมผัส คือเมือ่ มีลมใดๆมา ตองกาย สามารถนํามาใชกําหนดเปนนิมิตได แตการเจริญกสิณ โดยใชองควาโยกสิณที่อยูตาม ธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองควาโยกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญวาโยกสิณ วิธีเจริญวาโยกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันทีว่ าโยกสิณจะบริกรรมวา

261 “ วาโยๆ ” หรือ “ ลมๆ ” แทน

นีลกสิณ นีลกสิณ คือ กสิณสีเขียว มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในนีลนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ นีลสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับนีลกสิณ บุคคลผูเหมาะกับนีลกสิณ ไดแก บุคคลผูมีโทสจริต คือผูที่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทาง ใจรอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของนีลกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญนีลกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของนีลกสิณ อานิสงสของนีลกสิณมี 5 ประการ ไดแก 1 . ทําวัตถุสิ่งของใหเปนสีเขียวได 2 . ทําเหล็ก ทองเหลือง และทองแดงเปนตน ใหเปนแกวมรกตได 3 . ทําความมืดใหเกิดขึ้นไมวาในเวลาใดได 4 . มีอายตนะอันยิ่งใหญ 5 . ไดศุภวิโมกข

262 4 . วิธีสรางองคนีลกสิณ องคนีลกสิณนัน้ มี 2 ประเภท ไดแก องคนีลกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และองค นีลกสิณที่อยูต ามธรรมชาติ

4.1 องคนีลกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคนีลกสิณทีไ่ ดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการสรางดวงกสิณไวทผี่ า แผนกระดาน หรือกําแพง ดวยดอกไมสีเขียว เปนรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือวงกลม ลอม ดวยดอกไมอกี สี

4.2 องคนีลกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคนีลกสิณทีอ่ ยูตามธรรมชาติ คือ ดอกไมสีเขียวที่อยูกับตน อยูกบั แจกัน ผาสีเขียว หรือของที่มีสเี ขียวในทุกสถานที่ แตการเจริญกสิณ โดยใชองคนีลกสิณที่อยูตามธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคนีลกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญนีลกสิณ วิธีเจริญนีลกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันที่นีลกสิณจะบริกรรมวา “ นีลๆ ” หรือ “ เขียวๆ ” แทน

ปตกสิณ ปตกสิณ คือ กสิณสีเหลือง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในปตนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ ปตสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับปตกสิณ บุคคลผูเหมาะกับปตกสิณ ไดแก บุคคลผูมีโทสจริต คือผูที่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทาง ใจรอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของปตกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญปตกสิณ ไดแก

263 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของปตกสิณ อานิสงสของปตกสิณมี 4 ประการ ไดแก 1 . ทําวัตถุสิ่งของใหเปนสีเหลืองได 2 . ทําเหล็ก ทองเหลือง และทองแดงเปนตน ใหเปนทองได 3 . มีอายตนะอันยิ่งใหญ 4 . ไดศุภวิโมกข

4 . วิธีสรางองคปตกสิณ องคปตกสิณนัน้ มี 2 ประเภท ไดแก องคปตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และองค ปตกสิณที่อยูต ามธรรมชาติ

4.1 องคปตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคปตกสิณทีไ่ ดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการสรางดวงกสิณไวทผี่ า แผนกระดาน หรือกําแพง ดวยดอกไมสีเหลือง เปนรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือวงกลม ลอมดวยดอกไมอีกสี

4.2 องคปตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคปตกสิณทีอ่ ยูตามธรรมชาติ คือ ดอกไมสีเหลืองทีอ่ ยูกับตน อยูก ับแจกัน ผาสี เหลือง หรือของที่มีสีเหลืองในทุกสถานที่ แตการเจริญกสิณ โดยใชองคปตกสิณทีอ่ ยูตาม ธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคปตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญปตกสิณ วิธีเจริญปตกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันที่ปตกสิณจะบริกรรมวา “ ปตๆ ” หรือ “ เหลืองๆ ” แทน

264

โลหิตกสิณ โลหิตกสิณ คือ กสิณสีแดง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในโลหิตนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ โลหิตสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับโลหิตกสิณ บุคคลผูเหมาะกับโลหิตกสิณ ไดแก บุคคลผูมีโทสจริต คือผูทมี่ ีพนื้ เพแหงจิตหนักไป ทางใจรอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของโลหิตกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญโลหิตกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของโลหิตกสิณ อานิสงสของโลหิตกสิณมี 4 ประการ ไดแก 1 . ทําวัตถุสิ่งของใหเปนสีแดงได 2 . ทําเหล็ก ทองเหลือง และทองแดงเปนตน ใหเปนแกวทับทิมได 3 . มีอายตนะอันยิ่งใหญ 4 . ไดศุภวิโมกข

4 . วิธีสรางองคโลหิตกสิณ องคโลหิตกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคโลหิตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และ องคโลหิตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

265 4.1 องคโลหิตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคโลหิตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการสรางดวงกสิณไวที่ผา แผนกระดาน หรือกําแพง ดวยดอกไมสแี ดง เปนรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือวงกลม ลอม ดวยดอกไมอกี สี

4.2 องคโลหิตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคโลหิตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ ดอกไมสีแดงที่อยูกับตน อยูกับแจกัน ผาสีแดง หรือของที่มีสแี ดงในทุกสถานที่ แตการเจริญกสิณ โดยใชองคโลหิตกสิณที่อยูตามธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคโลหิตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญโลหิตกสิณ วิธีเจริญโลหิตกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันทีโ่ ลหิตกสิณจะบริกรรมวา “ โลหิตๆ ” หรือ “ แดงๆ ” แทน

โอทาตกสิณ โอทาตกสิณ คือ กสิณสีขาว มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในโอทาตนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ โอทาตสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับโอทาตกสิณ บุคคลผูเหมาะกับโอทาตกสิณ ไดแก บุคคลผูมีโทสจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางใจรอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของโอทาตกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญโอทาตกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน

266 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของโอทาตกสิณ อานิสงสของโอทาตกสิณมี 4 ประการ ไดแก 1 . ทําวัตถุสิ่งของใหเปนสีขาวได 2 . ทําเหล็ก ทองเหลือง และทองแดงเปนตน ใหเปนเงินได 3 . ทําใหหายจากความงวงเหงาหาวนอนได 4 . ทําความมืดใหหายไป และทําความสวางใหเกิดขึ้นได

4 . วิธีสรางองคโอทาตกสิณ องคโอทาตกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคโอทาตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และ องคโอทาตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

4.1 องคโอทาตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคโอทาตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการสรางดวงกสิณไวที่ผา แผนกระดาน หรือกําแพง ดวยดอกไมสขี าว เปนรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือวงกลม ลอม ดวยดอกไมอกี สี

4.2 องคโอทาตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคโอทาตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ ดอกไมสีขาวทีอ่ ยูกับตน อยูก ับแจกัน ผาสี ขาว หรือของที่มีสีขาวในทุกสถานที่ แตการเจริญกสิณโดยใชองคโอทาตกสิณที่อยูตามธรรมชาติ นี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคโอทาตกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญโอทาตกสิณ วิธีเจริญโอทาตกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันทีโ่ อทาตกสิณจะบริกรรม วา “ โอทาตๆ ” หรือ “ ขาวๆ ” แทน

อาโลกกสิณ อาโลกกสิณ คือ กสิณแสงสวาง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในอาโลกนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ อาโลกสัญญา เปนกิจ

267 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอาโลกกสิณ บุคคลผูเหมาะกับอาโลกกสิณ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอาโลกกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอาโลกกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของอาโลกกสิณ อานิสงสของอาโลกกสิณมี 4 ประการ ไดแก 1 . ทําวัตถุสิ่งของใหเกิดแสงสวาง หรือทําใหรางกายเกิดแสงสวางเปนรัศมีได 2 . เนรมิตตนเปนรูปตางๆ ที่ประกอบดวยแสงสวางอยางรุงโรจนได 3 . ทําใหไมงว งเหงาหาวนอนได 4 . ทําความมืดใหหายไป และทําความสวางใหเกิดขึ้นได

4 . วิธีสรางองคอาโลกกสิณ องคอาโลกกสิณนั้นมี 2 ประเภท ไดแก องคอาโลกกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม และ องคอาโลกกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

268 4.1 องคอาโลกกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคอาโลกกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวิธีจัดเตรียม โดยการเลือกเอากําแพงที่หนั หนาไปทางทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก เอาน้ําใสถว ยจนเต็ม วางไวในบริเวณที่มีแสงอาทิตย ใกลๆกําแพงนัน้ แสงอาทิตยยอมสะทอนไปยังกําแพง ใชเปนนิมิต

4.2 องคอาโลกกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคอาโลกกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ แสงจันทร แสงอาทิตย และแสงสะทอนของ เพชร แตการเจริญกสิณ โดยใชองคอาโลกกสิณที่อยูต ามธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชา กวาองคอาโลกกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญอาโลกกสิณ วิธีเจริญอาโลกกสิณนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันที่อาโลกกสิณจะบริกรรม วา “ อาโลกๆ ” หรือ “ สวางๆ ” แทน

ปริจฉินนากาสกสิณ ปริจฉินนากาสกสิณ คือ กสิณชองวาง มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความแนบแนนอยูในปริจฉินนากาสนิมิต เปนลักษณะ 2 . มีความไมทอดทิง้ ปริจฉินนากาสสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความคิดที่ไมแตกซานออกไป เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับปริจฉินนากาสกสิณ บุคคลผูเหมาะกับปริจฉินนากาสกสิณ ไดแก บุคคลผูม ีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

269 2 . ขอบเขตของปริจฉินนากาสกสิณ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญปริจฉินนากาสกสิณ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของปริจฉินนากาสกสิณ อานิสงสของปริจฉินนากาสกสิณมี 3 ประการ ไดแก 1 . ทําการเปดเผยสิ่งที่ปกปดซอนเรนใหปรากฏเห็นได 2 . ทําใหเกิดอุโมงคอากาศในพืน้ ดิน แมน้ํา และมหาสมุทรได 3 . เดินผานสิง่ กีดขวางตางๆได

4 . วิธีสรางองคปริจฉินนากาสกสิณ องคปริจฉินนากาสกสิณนัน้ มี 2 ประเภท ไดแก องคปริจฉินนากาสกสิณที่ไดมาจากการ จัดเตรียม และองคปริจฉินนากาสกสิณที่อยูตามธรรมชาติ

4.1 องคปริจฉินนากาสกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม องคปริจฉินนากาสกสิณที่ไดมาจากการจัดเตรียม มีวธิ ีจัดเตรียม โดยการทําชองวางให เกิดขึ้นทีก่ ําแพง ใชเปนนิมิต

4.2 องคปริจฉินนากาสกสิณที่อยูตามธรรมชาติ องคปริจฉินนากาสกสิณที่อยูตามธรรมชาติ คือ ชองวางแหงหนาตางที่เปดไว หรือในที่ วางระหวางกิง่ ของตนไมเปนตน แตการเจริญกสิณ โดยใชองคปริจฉินนากาสกสิณที่อยูตาม ธรรมชาตินี้ ยอมเกิดอุคคหนิมิตไดชากวาองคปริจฉินนากาสกสิณทีไ่ ดมาจากการจัดเตรียม

5 . วิธีเจริญปริจฉินนากาสกสิณ วิธีเจริญปริจฉินนากาสกสิณนั้น เหมือนกับวิธีเจริญปฐวีกสิณ ตางกันที่ปริจฉินนากาส กสิณจะบริกรรมวา “ ปริจฉินนากาสๆ ” หรือ “ ชองวางๆ ” แทน

270

อสุภ 10 อสุภ หมายถึง สภาพที่ไมงามไมนามอง สวนอสุภกรรมฐาน หมายถึง กรรมฐานชนิด หนึง่ ซึง่ ใชซากศพในระยะตางๆหรือสภาพตางๆ อันเปนสิ่งที่ไมงามไมนามอง มาเปนอารมณ กรรมฐาน โดยมีทงั้ หมด 10 สภาพดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุทธุมาตกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่มีอาการขึ้นพอง) 2 . วินีลกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่เนาและมีสีเขียวเขม) 3 . วิปุพพกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่เต็มไปดวยน้าํ เหลืองไหลออกมา) 4 . วิจฉิททกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพทีถ่ ูกตัดขาดกลางตัว) 5 . วิกขายิตกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่ถูกสัตวแทะและกัดกินจนเหวอะหวะ) 6 . วิกขิตตกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพทีม่ ือเทาและศีรษะอยูคนละทิศละทางกัน) 7 . หตวิกขิตตกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่ถูกสับถูกฟนจนยับเยิน) 8 . โลหิตกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่มีโลหิตไหลอาบไปทั่วราง) 9 . ปุฬุวกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่มีหนอนชอนไชไปทั่วราง) 10 . อัฏฐิกกรรมฐาน (กรรมฐานในศพที่เหลือแตเพียงโครงกระดูก)

อุทธุมาตกกรรมฐาน อุทธุมาตกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่มีอาการขึ้นพอง (อุทธุมาตกะ) มาเปน อารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในอุทธุมาตกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในอุทธุมาตกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอุทธุมาตกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับอุทธุมาตกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูม ีราคจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

271 2 . ขอบเขตของอุทธุมาตกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของอุทธุมาตกกรรมฐาน อานิสงสของอุทธุมาตกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของอุทธุมาตกะ อุทธุมาตกะ มีลักษณะเปนศพที่เพิ่งตายไดไมนานนัก คือประมาณ 2-3 วันหลังตาย มี สภาพความพองอืดขึ้น อันสังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน วิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน สามารถแสดงขอปฏิบัติเปนลําดับไดดังนี้

5.1 ประกอบดวยลักษณะ 1 . อยูตามลําพัง เพื่อใหไดรับความสงบแหงกาย 2 . มีสติตงั้ มั่นไมลุมหลง 3 . สํารวมระวังอินทรีย มีจติ ไมฟุงซาน 4 . ไมบาํ เพ็ญตามทางสัญจร ที่มีผูคนขวักไขวไปมา 5 . หลีกเลีย่ งการอยูใตลม เพราะจะทําใหเหม็น 6 . มีองคอุทธุมาตกสัญญาอยูตรงหนา ในระยะที่ไมใกลไมไกลจนเกินไป

272 5.2 พิจารณาโดยอาการ 10 อาการ 1 . โดยสี : กําหนดสีดําวาเปนสีดํา สีขาววาเปนสีขาว สีไมดําไมขาววาไมดําไมขาว 2 . โดยเพศ : กําหนดสวนทีย่ าววายาว สัน้ วาสั้น อวนวาอวน เล็กวาเล็ก ฯลฯ 3 . โดยทิศ : กําหนดวาทิศนี้เปนศีรษะ ทิศนี้เปนแขน ทิศนี้เปนขา ทิศนี้เปนทอง ฯลฯ 4 . โดยสัณฐาน : กําหนดวาศีรษะวางอยูท นี่ ี่ แขนวางอยูทนี่ ี่ ขาวางอยูทนี่ ี่ ฯลฯ 5 . โดยตัดตอน : กําหนดศีรษะสูเทา เทาสูศีรษะ โดยรอบเปรียบเหมือนกองขี้วัว 6 . โดยขอตอ : กําหนดวาในแขนทั้ง 2 ขางมี 6 ขอตอ คอมี 1 ขอตอ เอวมี 1 ขอตอ ฯลฯ 7 . โดยชอง : กําหนดวานีช่ อ งปาก นี่ชองตา นี่ชองโพรงมือ นี่ชองโพรงเทา ฯลฯ 8 . โดยสวนลุม : กําหนดวาที่ลุมลงนี้คือหลุมตา นี้คือหลุมคอ นี้คือปาก ฯลฯ 9 . โดยสวนดอน : กําหนดวาทีน่ ูนขึน้ นี้คือหนาผาก นี้คอื หัวไหล นี้คอื หัวเขา ฯลฯ 10 . โดยรอบ : กําหนดรูทวั่ ไปรอบๆรางของศพเฉพาะสวนที่ชัดเจน หางราวๆ 2 ชวงแขน

5.3 ไดปฐมฌาน เมื่อกําหนดโดยอาการทัง้ 10 ประการซ้าํ แลวซ้ําเลาในตัวศพ (บริกรรมนิมิต) โดยบริกรรม วา “ อุทธุมาตกปฏิกูลๆ ” อยูเรื่อยไป จนมองเห็นประหนึ่งวาภาพอสุภนั้นติดอยูกับนัยนตาของตน (อุคคหนิมิต) และพัฒนาจนเกิดภาพเปนลักษณะของหุนปนใสสะอาดแลว (ปฏิภาคนิมิต) บัดนัน้ นิวรณจะระงับไป องคฌานมีวิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตาจึงเกิดขึ้นแกจติ เปนอันวานัก ปฏิบัติไดสําเร็จเปนปฐมฌานลาภีบุคคล เมื่อมีความตองการที่จะเจริญใหสูงขึ้นสูท ตุ ิยฌาน ตติย ฌาน และจตุตถฌานตอไป พึงเปลี่ยนกรรมฐานเสีย เพราะอสุภกรรมฐานนั้นเปนกรรมฐานที่ หยาบ ไมสามารถละวิตกและวิจารเพื่อลดองคฌานได เพราะวิตกและวิจารนั้นเปนอุปกรณใน การเริ่มเจริญอสุภกรรมฐาน สวนการที่จะเจริญฌานใหสูงขึน้ ละเอียดขึ้นนั้น ยกตัวอยางเชน การเปลี่ยนไปพิจารณาสีของเลือดในตัวศพแทน ซึง่ ก็คอื การเปลี่ยนไปเจริญโลหิตกสิณนั่นเอง

หมายเหตุ 1 . นักปฏิบัตผิ ูหวังเจริญอสุภกรรมฐานใหไดผลนั้น ควรระมัดระวังการทําลายความกลัว ของตนในตัวศพ เพราะความกลัวในตัวศพและความกลัวผีนนั้ มีประโยชนสําหรับการเจริญอสุภ กรรมฐานนี้ในแงการปฏิบัติ กลาวคือ ในขั้นการเตรียมศพสําหรับทําอสุภกรรมฐานนัน้ มิควร จัดแจงศพหรือมีการจัดวางสถานที่และโยกยายศพดวยตนเอง เพราะจะเปนการทําลายความกลัว ในตัวศพนั้นเสีย พึงไหววานผูอื่นใหเปนผูจัดเตรียมให และกรณีผูทจี่ ะเจริญอสุภกรรมฐานนัน้ เปนผูทปี่ กติมคี วามคุนเคยและคลุกคลีอยูก ับศพบอยๆแลว ก็จะเปนการไมเอื้ออํานวยที่จะเลือก

273 อสุภกรรมฐานมาเปนกรรมฐานเพื่อสรางสมาธิใหกับตน เชน อาชีพแพทย เปนตน เพราะ ปราศจากความกลัวในศพนัน้ เสียแลว จะทําใหเกิดอุคคหนิมิตไดยากมาก 2 . ในวิสทุ ธิมรรคไดกลาวไววา การเจริญอสุภกรรมฐานนั้น ใชวาจะเจริญไดเฉพาะกับ คนตายเทานัน้ แมแตคนเปนก็สามารถที่จะนํามาเจริญอสุภกรรมฐานได โดยพิจารณาไดหลาย อุบายเชน พิจารณามือที่บวมเพราะผึง้ ตอยเปนอุทธุมาตกกรรมฐาน พิจารณาแผลที่มีหนองไหล เยิ้มเปนวิปพุ พกกรรมฐาน พิจารณาแขนหรือมือที่ขาดไปเปนวิจฉิททกกรรมฐาน พิจารณาเลือดที่ ไหลโชคตัวขณะเกิดอุบัติเหตุเปนโลหิตกกรรมฐาน และพิจารณาฟนเปนอัฏฐิกกรรมฐาน เปนตน 3 . อันอุคคหนิมิตนั้น มิใชความจําไดในรูปรางสัณฐานของศพ แตเปนในลักษณะของ ภาพถายเหมือนจริง แมในยามที่ไมไดนึกถึงก็ปรากฏออกมาใหเห็น ไมใชการระลึกถึงทีน่ ํามาจาก สัญญาขันธเวลาที่เราอยากจะนึกถึงศพนัน้ ๆ สังเกตุความแตกตางไดโดย ถาเราเห็นภาพนั้นในใจ พอเปนภาพคราวๆวาอะไรเปนอะไร แสดงวาเปนการระลึกทีน่ ําออกมาจากสัญญามิใชอุคคหนิมิต สวนอุคคหนิมติ นั้น จะเห็นไดโดยละเอียดทุกขุมขนทีเดียว วาตรงนั้นเปนอยางนัน้ ตรงนี้เปนอยาง นี้ เสมือนการหยิบภาพถายออกมาดูนั่นเอง ที่ยอมพิจารณาสวนนัน้ สวนนี้ได เมื่อเขาใจดังนี้ การเจริญอสุภกรรมฐานยอมถูกทาง

วินีลกกรรมฐาน วินีลกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่เนาและมีสีเขียวเขม (วินีลกะ) มาเปน อารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในวินีลกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในวินีลกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับวินีลกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับวินีลกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูทมี่ ีพื้นเพแหงจิตหนัก ไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของวินีลกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวินีลกกรรมฐาน ไดแก

274 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของวินีลกกรรมฐาน อานิสงสของวินีลกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของวินีลกะ วินีลกะ มีลกั ษณะเปนศพทีต่ ายไดประมาณ 3 วัน รางกายเริ่มเนาและเปลี่ยนเปนสีเขียว เขมกับเคลาไปดวยสีอื่นๆ อันสังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญวินีลกกรรมฐาน วิธีเจริญวินีลกกรรมฐานนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันทีว่ นิ ีลก กรรมฐานจะบริกรรมวา “ วินลี กปฏิกูลๆ ” แทน

วิปุพพกกรรมฐาน วิปุพพกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่เต็มไปดวยน้าํ เหลือง (วิปุพพกะ) ไหล ออกมา มาเปนอารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในวิปุพพกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในวิปุพพกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

275 1 . บุคคลผูเหมาะกับวิปุพพกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับวิปพุ พกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูท ี่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของวิปุพพกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวิปุพพกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของวิปุพพกกรรมฐาน อานิสงสของวิปุพพกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของวิปุพพกะ วิปุพพกะ มีลักษณะเปนศพที่ตายแลวประมาณ 3 วัน มีน้ําเหลืองไหลเยิ้มออกจาก รางกาย เหมือนเนยเหลวทีล่ นออกมา อันสังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญวิปุพพกกรรมฐาน วิธีเจริญวิปพุ พกกรรมฐานนั้น เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันทีว่ ปิ ุพพก กรรมฐานจะบริกรรมวา “ วิปุพพกปฏิกูลๆ ” แทน

276

วิจฉิททกกรรมฐาน วิจฉิททกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่ถกู ตัดขาดกลางตัว (วิจฉิททกะ) มาเปน อารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในวิจฉิททกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในวิจฉิททกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับวิจฉิททกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับวิจฉิททกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูม ีราคจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของวิจฉิททกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวิจฉิททกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของวิจฉิททกกรรมฐาน อานิสงสของวิจฉิททกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

277 4 . ลักษณะของวิจฉิททกะ วิจฉิททกะ มีลักษณะเปนศพทีถ่ ูกฟนขาดออกเปน 2 ทอน จากมีดดาบหรือสิ่งมีคม อัน สังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญวิจฉิททกกรรมฐาน วิธีเจริญวิจฉิททกกรรมฐานนั้น เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่ วิจฉิททกกรรมฐานจะบริกรรมวา “ วิจฉิททกปฏิกูลๆ ” แทน

วิกขายิตกกรรมฐาน วิกขายิตกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่ถกู สัตวแทะและกัดกินจนเหวอะหวะ (วิกขายิตกะ) มาเปนอารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในวิกขายิตกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในวิกขายิตกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับวิกขายิตกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับวิกขายิตกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูม ีราคจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของวิกขายิตกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวิกขายิตกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของวิกขายิตกกรรมฐาน อานิสงสของวิกขายิตกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา

278 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของวิกขายิตกะ วิกขายิตกะ มีลักษณะเปนศพที่ถกู สัตวตา งๆ รุมกัดและจิกทึง้ ยื้อแยงกัน ไมวาจะเปน นกแรง อีกา สุนัข เสือ และหมี เปนตน อันสังเกตุไดโดยชัดเจน โดยใหทาํ การรวบรวมชิน้ ตางๆใหหางกันประมาณ 2 นิ้ว แลวนํามาพิจารณา

5 . วิธีเจริญวิกขายิตกกรรมฐาน วิธีเจริญวิกขายิตกกรรมฐานนั้น เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่ วิกขายิตกกรรมฐานจะบริกรรมวา “ วิกขายิตกปฏิกูลๆ ” แทน

วิกขิตตกกรรมฐาน วิกขิตตกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่มือ เทา และศีรษะ อยูคนละทิศละ ทางกัน (วิกขิตตกะ) มาเปนอารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในวิกขิตตกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในวิกขิตตกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับวิกขิตตกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับวิกขิตตกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูม ีราคจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของวิกขิตตกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวิกขิตตกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ

279 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของวิกขิตตกกรรมฐาน อานิสงสของวิกขิตตกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของวิกขิตตกะ วิกขิตตกะ มีลักษณะเปนศพที่มีอวัยวะตางๆ กระจัดกระจายอยูคนละทิศละทางกัน อัน สังเกตุไดโดยชัดเจน โดยใหทาํ การรวบรวมอวัยวะตางๆ มาวางรวมกันใหหา งกันประมาณ 2 นิว้ แลวนํามาพิจารณา

5 . วิธีเจริญวิกขิตตกกรรมฐาน วิธีเจริญวิกขิตตกกรรมฐานนั้น เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่ วิกขิตตกกรรมฐานจะบริกรรมวา “ วิกขิตตกปฏิกูลๆ ” แทน

หตวิกขิตตกกรรมฐาน หตวิกขิตตกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่ถกู สับฟนจนยับเยิน (หตวิกขิตตกะ) มาเปนอารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในหตวิกขิตตกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในหตวิกขิตตกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

280 1 . บุคคลผูเหมาะกับหตวิกขิตตกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับหตวิกขิตตกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูที่มพี ื้นเพแหงจิต หนักไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของหตวิกขิตตกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญหตวิกขิตตกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของหตวิกขิตตกกรรมฐาน อานิสงสของหตวิกขิตตกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของหตวิกขิตตกะ หตวิกขิตตกะ มีลักษณะเปนศพของคนทีถ่ ูกฆาดวยคมดาบ ธนู หอก หลาว จนขาด ออกเปนชิน้ ๆเรี่ยราดไปหมด มิไดแยกออกเปนอวัยวะนัน้ อวัยวะนี้ มีการสังเกตุเห็นริ้วรอยจาก ของมีคมบาดเปนริ้วตีนกา เปนตน อันสังเกตุไดโดยชัดเจน โดยใหทําการรวบรวมชิ้นเนื้อตางๆ มาวางรวมกันใหหา งกันประมาณ 2 นิ้ว แลวนํามาพิจารณา

5 . วิธีเจริญหตวิกขิตตกกรรมฐาน วิธีเจริญหตวิกขิตตกกรรมฐานนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่ หตวิกขิตตกกรรมฐานจะบริกรรมวา “ หตวิกขิตตกปฏิกลู ๆ ” แทน

281

โลหิตกกรรมฐาน โลหิตกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึ่งใชซากศพทีม่ ีโลหิตไหลอาบไปทัว่ ราง (โลหิตกะ) มาเปนอารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในโลหิตกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในโลหิตกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับโลหิตกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับโลหิตกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูท ี่มีพนื้ เพแหงจิตหนัก ไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของโลหิตกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญโลหิตกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของโลหิตกกรรมฐาน อานิสงสของโลหิตกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

282 4 . ลักษณะของโลหิตกะ โลหิตกะ มีลกั ษณะเปนศพที่ทว มไปดวยเลือด รางกายนัน้ ถูกอาบดวยเลือดทีเ่ จิ่งนองเต็ม ไปหมดทัว่ ตัว อันสังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญโลหิตกกรรมฐาน วิธีเจริญโลหิตกกรรมฐานนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่โลหิตก กรรมฐานจะบริกรรมวา “ โลหิตกปฏิกูลๆ ” แทน

ปุฬุวกกรรมฐาน ปุฬุวกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่มหี นอนชอนไชไปทั่วราง (ปุฬุวกะ) มาเปน อารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในปุฬุวกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในปุฬุวกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับปุฬุวกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับปุฬวุ กกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูท ี่มีพนื้ เพแหงจิตหนัก ไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของปุฬุวกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญปุฬุวกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของปุฬุวกกรรมฐาน อานิสงสของปุฬุวกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา

283 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของปุฬุวกะ ปุฬุวกะ มีลกั ษณะเปนศพทีเ่ ต็มไปดวยตัวหนอนชอนไชเต็มไปหมด ดูเหมือนและคลาย กับกองไขมุก อันสังเกตไดโดยชัดเจน

5 . วิธีเจริญปุฬุวกกรรมฐาน วิธีเจริญปุฬวุ กกรรมฐานนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่ปุฬวุ ก กรรมฐานจะบริกรรมวา “ ปุฬุวกปฏิกูลๆ ” แทน

อัฏฐิกกรรมฐาน อัฏฐิกกรรมฐาน คือ กรรมฐานซึง่ ใชซากศพที่เหลือแตเพียงโครงกระดูก (อัฏฐิกะ) มาเปน อารมณกรรมฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการสงจิตไปสําคัญหมายในอัฏฐิกะ เปนลักษณะ 2 . มีความรังเกียจในอัฏฐิกสัญญา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใสใจถึงความเนาเหม็นและความไมสะอาด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอัฏฐิกกรรมฐาน บุคคลผูเหมาะกับอัฏฐิกกรรมฐาน ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูทมี่ ีพื้นเพแหงจิตหนัก ไปทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของอัฏฐิกกรรมฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอัฏฐิกกรรมฐาน ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

284 3 . อานิสงสของอัฏฐิกกรรมฐาน อานิสงสของอัฏฐิกกรรมฐานมี 8 ประการ ไดแก 1 . มีสติภายในกายของตน 2 . สามารถไดอนิจจสัญญา 3 . สามารถไดมรณสัญญา 4 . ครอบงํากามตัณหาได 5 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในรูปได 6 . กําจัดความยึดมั่นถือมั่นในอิฏฐารมณได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงอมตธรรม

4 . ลักษณะของอัฏฐิกะ อัฏฐิกะมี 5 ลักษณะดวยกัน ไดแก 1 . โครงกระดูกที่มีเนื้อเล็กนอย มีเลือดเล็กนอย และมีเสนเอ็นเล็กนอย รัดรึงอยู 2 . โครงกระดูกที่ไมมีเนื้อ แตมีเลือดเล็กนอย และมีเสนเอ็นเล็กนอย รัดรึงอยู 3 . โครงกระดูกที่ไมมีเนื้อ ไมมีเลือด แตมีเสนเอ็นเล็กนอย รัดรึงอยู 4 . โครงกระดูกที่ไมมีเนื้อ ไมมีเลือด ไมมีเสนเอ็น รัดรึงอยู และกระจัดกระจายไปทั่ว 5 . ทอนกระดูกที่มีสีขาว เปรียบไดดวยสีสังข

5 . วิธีเจริญอัฏฐิกกรรมฐาน วิธีเจริญอัฏฐิกกรรมฐานนัน้ เหมือนกับวิธีเจริญอุทธุมาตกกรรมฐาน ตางกันที่อัฏฐิก กรรมฐานจะบริกรรมวา “ อัฏฐิกปฏิกูลๆ ” แทน

อนุสติ 10 อนุสติ หมายถึง สติที่ตามระลึกถึงอารมณอยูเนืองๆ มี 10 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . พุทธานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระพุทธเจา) 2 . ธัมมานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระธรรม) 3 . สังฆานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระอริยสงฆ) 4 . สีลานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงศีลที่ตนรักษา)

285 5 . จาคานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงทานที่ตนบริจาค) 6 . เทวตานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงคุณทีท่ าํ คนใหเปนเทวดา) 7 . มรณานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงความตายที่จะตองมีมาถึงตนเปนธรรมดา) 8 . กายคตาสติ (สติที่ตามระลึกทัว่ ไปในกายใหเห็นวาไมงาม) 9 . อานาปานสติ (สติที่ตามระลึกถึงลมหายใจเขาออก) 10 . อุปสมานุสติ (สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระนิพพาน)

พุทธานุสติ พุทธานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระพุทธเจา มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักถึงคุณของพระพุทธเจา เปนลักษณะ 2 . มีความทรงจําในพระพุทธคุณ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการดํารงชีวิตอยูดวยความมัน่ ใจ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับพุทธานุสติ บุคคลผูเหมาะกับพุทธานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของพุทธานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญพุทธานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของพุทธานุสติ อานิสงสของพุทธานุสติมี 12 ประการ ไดแก 1 . ทําใหเปนผูมีศรัทธามากขึ้น 2 . เกิดปติ 3 . มีปญญา 4 . มีคารวะ 5 . มีบุญ 6 . มีสุข 7 . สามารถอดทนตอความยากลําบาก

286 8 . ไมมีความกลัว 9 . มีความละอายตอบาปในปจจุบนั 10 . มีความเปนอยูใกลพระศาสดา 11 . ไดสืบทอดพุทธประเพณี 12 . เขาถึงอมตภาวะ

4 . วิธีเจริญพุทธานุสติ ไปสูสถานที่สงัดรักษาจิตไวไมใหฟุงซาน แลวพึงระลึกถึงคุณของพระพุทธเจา ตามพระ บาลีตอไปนี้

4.1 อรหัง พระองคเปนผูไ กลจากขาศึกคือกิเลส อีกนัยหนึง่ วาเปนผูที่ไมมีที่รโหฐาน หมายความวา แมแตในที่ลับก็ไมกระทําบาป มีจิตใจบริสุทธิ์ผองใสงดงาม เปนผูควรไดรับการสักการะบูชาเปน พิเศษจากมวลมนุษย เทวดา และพรหมทั้งหลาย

4.2 สัมมาสัมพุทโธ พระองคเปนผูท ี่ตรัสรูโดยชอบดวยพระองคเองในธรรมอันควรรู 5 ประการ ไดแก 1 . สังขาร (ธรรมที่ถูกปจจัยปรุงแตง) 2 . วิการ (ความแปรปรวนแปรผัน) 3 . ลักขณะ (ความเกิดขึ้น - ตั้งอยู - ดับไป) 4 . นิพพาน (ธรรมที่ไมถูกปจจัยปรุงแตง) 5 . บัญญัติ (สัททบัญญัติและอัตถบัญญัติ)

4.3 วิชชาจรณสัมปนโน พระองคเปนผูม ีวิชชา 3 ประการ ไดแก 1 . ปุพเพนิวาสานุสติญาณ (ความรูชีวิตในอดีตชาติ) 2 . จุตูปปาตญาณ (ความรูการตายและการเกิดของสรรพสัตว) 3 . อาสวักขยญาณ (ความรูในธรรมที่สนิ้ อาสวะ) พระองคเปนผูม ีจรณะ 15 ประการ ไดแก 1 . สีลสัมปทา (ความถึงพรอมดวยศีล) 2 . อินทรียสังวร (การสํารวมระวังในอินทรียคือทวารทั้งหลาย)

287 3 . โภชเนมัตตัญุตา (ความเปนผูรูจักประมาณในการบริโภค) 4 . ชาคริยานุโยค (การหมั่นประกอบความไมเห็นแกการนอน) 5 . ศรัทธา (ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ดีงาม) 6 . หิริ (ความละอายตอการกระทําความชัว่ ) 7 . โอตตัปปะ (ความกลัวในผลที่จะไดรับจากการกระทําความชัว่ ) 8 . พาหุสัจจะ (ความเปนผูค งแกเรียน) 9 . วิริยารัมภะ (การปรารภความเพียร) 10 . สติ (ความระลึกรูไมเผลอใจตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง) 11 . ปญญา (ความรูทวั่ หรือปรีชาหยัง่ รูตามความเปนจริง) 12 . ปฐมฌาน (รูปฌาณที่ 1) 13 . ทุติยฌาน (รูปฌาณที่ 2) 14 . ตติยฌาน (รูปฌาณที่ 3) 15 . จตุตถฌาน (รูปฌาณที่ 4)

4.4 สุคโต พระองคทรงไปแลวดวยดี ซึ่งในที่นมี้ ีความหมายถึง 4 นัย ไดแก 1 . ทรงเสด็จไปงาม คือไปสูที่บริสุทธิ์อนั ปราศจากโทษภัยทั้งปวง ซึง่ หมายถึงอริยสัจ 4 ประการ 2 . ทรงเสด็จไปสูฐานะอันประเสริฐ คืออมตธรรม อันเปนธรรมที่สงบระงับจากกิเลสและกองทุกข 3 . ทรงเสด็จไปในทีถ่ ูกที่ควร คือพนจากวัฏฏะ ไมตองกลับมาเวียนวายตายเกิดอีกตอไป 4 . ทรงตรัสไปในทางที่ถูกที่ชอบ เทศนาในความจริงและเปนประโยชนดวยลักษณะ 6 ประการ 4.1 ไมจริง - ไมมีประโยชน - ไมเปนที่ชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส 4.2 ไมจริง - ไมมีประโยชน - เปนที่ชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส 4.3 จริง - ไมมีประโยชน - ไมเปนที่ชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส 4.4 จริง - ไมมีประโยชน - เปนที่ชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส 4.5 จริง - มีประโยชน - ไมเปนที่ชอบใจของผูอื่น - ตรัส 4.6 จริง - มีประโยชน - เปนที่ชอบใจของผูอ ื่น - ตรัส

4.5 โลกวิทู พระองคทรงรูโลกอยางแจมแจงดวยประการทั้งปวง คือ ทรงรูจักโลก เหตุเกิดของโลก ธรรมที่ดับของโลก และทางปฏิบัติใหถึงธรรมที่ดับของโลก อีกนัยหมายถึงรูจักโลกทัง้ 3 คือ

288 สังขารโลก สัตวโลก และโอกาสโลก ประการแรก สังขารโลก ไดแก โลกมี 1 (สัตวทั้งหลาย) โลกมี 2 (นามรูป) โลกมี 3 (เวทนา3) โลกมี 4 (อาหาร 4) โลกมี 5 (อุปาทานขันธ 5) โลกมี 6 (อายตนะ6) โลกมี 7 (วิญญาณฐีติ 7) โลกมี 8 (โลกธรรม 8) โลกมี 9 (สัตตาวาส 9) โลกมี 10 (อกุศลกรรมบถ 10) โลกมี 12 (อายตนะ 12) และโลกมี 18 (ธาตุ 18) ประการตอมา สัตวโลก ไดแก คนและสัตวทงั้ หลาย ซึ่งทรงรูแจงในประเภท เหตุใหเกิด นิสัย จริต และบารมี ประการสุดทาย โอกาสโลก ไดแก ภูมิ อันเปนทีเ่ กิดที่อาศัยอยูของสัตวทงั้ หลาย

4.6 อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ พระองคเปนบุรุษผูยอดเยี่ยมหาที่เปรียบมิได มิมีใครเสมอเหมือนในการอบรมสั่งสอน เวไนยสัตวทงั้ หลาย ที่ไมมศี ีล สมาธิ และปญญา ใหตั้งอยูในศีล สมาธิ และปญญา โดย ลําดับยิ่งๆขึ้นไป จนกระทัง่ ถึงไดฌาน มรรค ผล โดยอุบายวิธีตางๆ ดวยการปลอบโยน กดขี่ ยกยอง ตามควรแกอัธยาศัยของสัตวนนั้ ๆ

4.7 สัตถา เทวมนุสสานัง พระองคทรงเปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย ซึง่ ไมมีศาสดาใดจะเทียมเทา เพราะทรงนําสัตวทั้งหลาย ใหพน จากกองทุกขคือ ชาติ ชรา และมรณะ เสียได

4.8 พุทโธ พระองคทรงเปนผูรูแจงในอริยสัจ 4 ประการ โดยรอบคอบอยางถี่ถว น และสามารถยัง สัตวทั้งหลาย ใหรูตามพระองคได

4.9 ภควา พระองคทรงเปนผูทมี่ ีบุญ 6 ประการที่ประเสริฐสุด ไดแก 1 . อิสสริยะ คือ ความเปนใหญ 8 ประการ ไดแก อณิมา (หายตัวไดอยางมหัศจรรย) ลฆิมา (เหาะไปไดอยางรวดเร็ว) มหิมา (เนรมิตรางกายใหใหญที่สุด) ปตติ (เสด็จไปที่ใดๆไดตาม พุทธประสงค) ปากมัม (เนรมิตเปนรูปรางสัณฐานตางๆ) อีสิตา (มีอํานาจบังคับบัญชาตอมนุษย เทวดา และพรหม) วสิตา (สามารถเขาฌานและทําอภิญญาไดในทันที) และยัตถกามาวสายิตา (สามารถทํากิจธุระใหเสร็จโดยเร็ว) 2 . ธรรมะ คือ มรรค 4 ทีส่ ามารถประหารกิเลสใหหมดไปเปนสมุจเฉทปหาน 3 . ยัสสะ คือ เกียรติยศชือ่ เสียงที่แผไปทั่วในหมูม นุษย เทวดา และพรหมทัง้ หลาย 4 . สิรี คือ มีผิวพรรณเปลงปลั่งงดงามตามมหาปุริสลักษณะ 32 และอนุพยัญชนะ 80

289 5 . กาม คือ เมื่อประสงคสิ่งใดก็สําเร็จในสิ่งนั้นตามประสงคทุกประการ 6 . ปยตัต คือ ทรงใชความเพียร ในอันที่จะใหเวไนยสัตวทงั้ หลายไดรับประโยชน

ธัมมานุสติ ธัมมานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักถึงคุณของพระธรรม เปนลักษณะ 2 . มีการวิเคราะหในธรรม เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความเขาใจความหมายของธรรม เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับธัมมานุสติ บุคคลผูเหมาะกับธัมมานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของธัมมานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญธัมมานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของธัมมานุสติ อานิสงสของธัมมานุสติมี 12 ประการ ไดแก 1 . ทําใหเปนผูมีศรัทธามากขึ้น 2 . เกิดปติ 3 . มีปญญา 4 . มีคารวะ 5 . มีบุญ 6 . มีสุข 7 . สามารถอดทนตอความยากลําบาก 8 . ไมมีความกลัว 9 . มีความละอายตอบาปในปจจุบนั 10 . มีความเปนอยูใกลพระศาสดา 11 . ไดสืบทอดพุทธประเพณี

290 12 . เขาถึงอมตภาวะ

4 . วิธีเจริญธัมมานุสติ ไปสูสถานที่สงัดรักษาจิตไวไมใหฟุงซาน แลวพึงระลึกถึงคุณของพระธรรม ตามพระบาลี ตอไปนี้

4.1 สวากขาโต เปนธรรมทีท่ รงตรัสไวดีแลว สมบูรณทั้งอรรถและพยัญชนะ ดีพรอมทั้งเบื้องตน ทามกลางและในที่สุด คุณธรรมขอนี้ หมายถึง พระปริยัติธรรม

4.2 สันทิฏฐิโก เปนธรรมที่ผูศกึ ษาและปฏิบตั ิพึงเห็นไดดวยตนเอง คุณธรรมขอนี้ หมายถึง โลกุตตรธรรมทั้ง 9 ไดแก มรรค 4 ผล 4 และนิพพาน 1

4.3 อกาลิโก เปนธรรมทีพ่ งึ ปฏิบัติได และใหผลทันทีในลําดับนั้นเลยทีเดียว โดยไมตองรอเวลาหรือมี ระหวางคัน่ แตอยางใด คุณธรรมขอนี้ หมายถึง มรรค 4

4.4 เอหิปสสิโก เปนธรรมที่ควรแกการเชื้อเชิญใหผูอื่นมาดูมาชมได โดยกลาววา “ ทานจงมาดูเถิด พระ ธรรมเหลานี้มจี ริง เหมือนดวงอาทิตยและดวงจันทรทกี่ ําลังโคจรอยู ” คุณธรรมขอนี้ หมายถึง โลกุตตรธรรมทั้ง 9

4.5 โอปนยิโก เปนธรรมที่ควรนอมนํามาใหบังเกิดแกตน และทําใหแจงแกตน หมายความวาควร บําเพ็ญเพียรใหเกิดมรรคจิตและผลจิต ก็จะแจงซึ่งพระนิพพาน คุณธรรมขอนี้ หมายถึง โลกุตตรธรรมทั้ง 9 เชนกัน

4.6 ปจจัตตัง เวทิตพ ั โพ วิญูหิ เปนธรรมที่ผูรกู ็รูไดเฉพาะตนเอง ผูอื่นหารูดวยไมวา “ มรรคเราเจริญ ผลเราบรรลุ นิโรธ เราไดแจงแลว ” เปนการรูดวยการประจักษแจงอยางที่เรียกวา “ ประจักขสิทธิ ”

291

สังฆานุสติ สังฆานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระอริยสงฆ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักถึงคุณของพระอริยสงฆ เปนลักษณะ 2 . มีความเคารพในพระอริยสงฆ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใหความสําคัญตอคุณของพระอริยสงฆ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับสังฆานุสติ บุคคลผูเหมาะกับสังฆานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของสังฆานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญสังฆานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของสังฆานุสติ อานิสงสของสังฆานุสติมี 12 ประการ ไดแก 1 . ทําใหเปนผูมีศรัทธามากขึ้น 2 . เกิดปติ 3 . มีปญญา 4 . มีคารวะ 5 . มีบุญ 6 . มีสุข 7 . สามารถอดทนตอความยากลําบาก 8 . ไมมีความกลัว 9 . มีความละอายตอบาปในปจจุบนั 10 . มีความเปนอยูใกลพระศาสดา 11 . ไดสืบทอดพุทธประเพณี 12 . เขาถึงอมตภาวะ

292 4 . วิธีเจริญสังฆานุสติ ไปสูสถานที่สงัดรักษาจิตไวไมใหฟุงซาน แลวพึงระลึกถึงคุณของพระอริยสงฆ ตามพระ บาลีตอไปนี้

4.1 สุปฏิปนโน พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนผูป ฏิบัติดี ปฏิบัติตามหลัก มัชฌิมาปฏิปทา ปฏิบัติไมถอยหลัง ปฏิบัติสอดคลองกับคําสอนของพระพุทธเจา ดํารงอยูใน ธรรมวินัย สมบูรณดวยศีล สมาธิ และปญญา

4.2 อุชุปฏิปนโน พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนผูป ฏิบัติตรงตอหนทางทีจ่ ะนําเขาสู พระนิพพานโดยสวนเดียว ไมเกี่ยวของกับเรื่องทางโลก ทั้งไมมีมารยาสาไถยแตอยางใดเขามา เจือปน

4.3 ญายปฏิปนโน พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนผูป ฏิบัติถูกทางที่จะนําเขาสูพระ นิพพาน คือปฏิบัติโพธิปกขิยธรรม ธรรมอันเปนฝกฝายแหงความตรัสรู หรือธรรมที่เกื้อหนุนแก อริยมรรคมี 37 ประการ ไดแก สติปฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 และมรรคมีองค 8

4.4 สามีจิปฏิปนโน พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนผูป ฏิบัติชอบ ปฏิบัตินาเคารพนับ ถือ สมควรแกการเคารพกราบไหวของชนทัง้ หลาย ดวยกายและใจ

4.5 อาหุเนยโย พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ สามารถใหผลเกิดขึน้ อยางมหาศาล ดังนัน้ จึงเปนผูควรรับอามิสบูชาที่เขานํามาจากที่ไกล ที่เขานํามาถวายในโอกาสตางๆ

4.6 ปาหุเนยโย พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนแขกที่ประเสริฐที่สุดของคนทัว่ โลก เพราะมีแตในสมัยของพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงอุบัติขึ้นเทานั้น ดังนั้น จึงเปนผูท ี่ควรแกการ ตอนรับดวยปจจัย 4 ที่เขาจัดไวสําหรับรับแขกเมื่อไปถึงบาน เชน น้าํ ดื่มและอาหาร เปนตน

293 4.7 ทักขิเนยโย พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ สามารถใหอานิสงสผลเกิดขึ้นตามความ ประสงคของคนทัง้ หลายได ดังนัน้ จึงควรแกการรับทักขิณาทาน คือการบริจาคทานของผูม ี ความปรารถนาในภวสมบัติ โภคสมบัติ ที่เกีย่ วกับตนหรือคนอื่นในภพหนา

4.8 อัญชลีกรณีโย พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนผูป ระกอบดวยศีล สมาธิ และ ปญญา ดังนัน้ จึงสมควรแกการทําอัญชลีของมนุษย เทวดา และพรหมทั้งหลาย

4.9 อนุตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ พระอริยสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานัน้ เปนทีห่ วานอันประเสริฐแหงพืชตางๆ คือบุญกุศลของมนุษย เทวดา และพรหมทัง้ หลาย เปรียบเหมือนพื้นที่นาชัน้ เอก ทีท่ ําใหเมล็ด พืชเจริญงอกงามเปนอยางดี แมที่สุดจะหวานลงเพียงเล็กนอย

สีลานุสติ สีลานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงศีลที่ตนรักษา มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักรูอานิสงสของศีล เปนลักษณะ 2 . มีการมองเห็นความนากลัวแหงศีลวิบตั ิ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการใหความสําคัญแกบรมสุขอันเกิดจากศีล เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับสีลานุสติ บุคคลผูเหมาะกับสีลานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ ีพนื้ เพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของสีลานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญสีลานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของสีลานุสติ อานิสงสของสีลานุสติมี 11 ประการ ไดแก 1 . เคารพพระพุทธเจา

294 2 . เคารพพระธรรม 3 . เคารพพระสงฆ 4 . เอื้อเฟอตอศีลบัญญัติ 5 . เคารพทาน 6 . มีสติ 7 . มองเห็นภัยในความผิดแมเพียงเล็กนอย 8 . รักษาตนเอง 9 . คุมครองผูอ ื่น 10 . ไมมีภัยในโลกนี้ 11 . ไมมีภัยในโลกหนา

4 . วิธีเจริญสีลานุสติ การเจริญสีลานุสตินี้ ผูเจริญจะตองปฏิบัติใหถูกตามหลักทัง้ 5 ประการเสียกอน ไดแก 1 . จะตองชําระศีลของตนใหพนจากโทษทัง้ 4 ไดแก 1.1 ศีลขาด (ลวงละเมิดขอแรกสุดหรือขอสุดทายขอใดขอหนึ่ง) 1.2 ศีลทะลุ (ลวงละเมิดระหวางขอแรกถึงขอสุดทายขอใดขอหนึ่ง) 1.3 ศีลดาง (ลวงละเมิดระหวางขอแรกถึงขอสุดทายหลายขอแตไมติดกัน) 1.4 ศีลพรอย (ลวงละเมิดระหวางขอแรกถึงขอสุดทายหลายขอติดๆกัน) 2 . เปนการรักษาศีลที่ไมมีความมุง หวังตอโลกียสมบัติ คือทั้งภวสมบัติและโภคสมบัติ 3 . มีการปฏิบตั ิทางกายและวาจาใหตั้งอยูใ นสิกขาบท จนมิอาจจะมีผูใดผูหนึ่งมาจับผิดได 4 . ศีลของตนนั้นแมคนอันธพาลจะไมเห็นดีเห็นชอบดวย แตวิญูชนทัง้ หลายยอมสรรเสริญ 5 . ตองประกอบดวยความรูวาศีลนี้เปนเหตุแหงอุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ และมรรคผล ลําดับตอไป พึงระลึกถึงศีลของตนดังนี้วา “ ศีลของเรานีบ้ ริสุทธิ์ดีจริงหนอ ทัง้ ไมขาด ทั้งไมทะลุ ทัง้ ไมดาง ทัง้ ไมพรอย ศีลของเรานีท้ าํ ใหเราพนไปจากการเปนทาสของตัณหา ศีล ของเรานี้มิอาจที่จะมีผมู ากลาวหาได ศีลของเรานี้แมคนอันธพาลและผูที่เปนศัตรูกับเราจะไมเห็น ดีดว ยก็ตาม แตวิญูชนทัง้ หลายนั้นยอมสรรเสริญ ศีลของเรานี้เปนบาทใหอุปจารสมาธิ อัปป นาสมาธิ และมรรคผล เจริญขึ้นไดอยางแนนอน ” การคํานึงถึงเชนนี้ชื่อวา “ สีลานุสติ ”

295

จาคานุสติ จาคานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงทานทีต่ นบริจาคแลว มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักรูคุณของการบริจาค เปนลักษณะ 2 . มีความไมตระหนี่ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความไมละโมบ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับจาคานุสติ บุคคลผูเหมาะกับจาคานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของจาคานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญจาคานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของจาคานุสติ อานิสงสของจาคานุสติมี 9 ประการ ไดแก 1 . ไดรับความสุขเพราะการสละ 2 . เพราะการสละจึงไมละโมบ 3 . อยูอยางไมมีทุกข 4 . คิดถึงบุคคลอื่น 5 . เปนที่รักของผูอื่น 6 . มีปติมาก 7 . มีจิตประกอบดวยกรุณา 8 . อยูเ ปนสุข 9 . เขาถึงเทวโลก

4 . วิธีเจริญจาคานุสติ การเจริญจาคานุสตินี้ ผูเจริญจะตองมีการบริจาคทานที่ถงึ พรอมดวยคุณความดี ซึ่งมีอยู ดวยกัน 3 ประการ ไดแก 1 . ธัมมิยลัทธวัตถุ คือ วัตถุสิ่งของที่เปนเทยยธรรมนัน้ ไดมาโดยชอบ 2 . บริบูรณดวยเจตนาทัง้ 3 คือ ปุพพเจตนา มุญจเจตนา และอปรเจตนา

296 3 . มุตตจาคี คือ เปนการบริจาคที่ละซึง่ ความตระหนี่ ตัณหา มานะ และทิฏฐิ เมื่อการบริจาคทานของตน ไดถึงพรอมดวยคุณความดีดังนี้แลว ก็มาคํานึงนึกถึงความ เปนอยูของโลก เทียบกันกับความเปนอยูของตนวา “ ตามธรรมชาติชนทัง้ หลายนัน้ โดยมากมักมี ความตระหนีห่ วงแหนในทรัพยสนิ เงินทองของตน ไมใครจะยอมบริจาคใหเปนทาน แตกลับไป สนใจอยูในเรือ่ งการบํารุงบําเรอตัณหา มานะ และทิฏฐิ กลาวคือ มีการตบแตงรางกายเกิน กวาเหตุ อาหารการบริโภคเกินสมควร การสนุกสนานเพลิดเพลิน โออวดซึ่งกันและกัน ลวนแต เปนเรื่องที่หาสาระมิไดทั้งสิน้ สําหรับตนในคราวนี้นนั้ ยอมมีโอกาสไดชัยชนะตอศัตรูภายใน คือ ความตระหนีห่ วงแหนในทรัพยสนิ เงินทองที่มีอยู ดวยการยอมลดละจากการบํารุงบําเรอตัณหา มานะ และทิฏฐิ มีการตบแตงรางกายเกินควร เปนตนเสียได ซึง่ นับวาเปนโชคดีของตนอยาง แทจริง แตตอไปในภายภาคหนา ก็จะไดรับอานิสงสที่ดีงาม มีอายุ วรรณะ สุขะ และพละ ประกอบไปดวยความโสมนัสอยางยอดยิ่ง ” การคํานึงถึงเชนนี้ชื่อวา “ จาคานุสติ ”

เทวตานุสติ เทวตานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงคุณทีท่ ําคนใหเปนเทวดา มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักรูบุญของตนเอง เปนลักษณะ 2 . มีการชืน่ ชมบุญ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความมั่นใจในผลของบุญ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับเทวตานุสติ บุคคลผูเหมาะกับเทวตานุสติ ไดแก บุคคลผูมีศรัทธาจริต คือผูทมี่ พี ื้นเพแหงจิตหนักไป ทางนอมใจเชือ่

2 . ขอบเขตของเทวตานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญเทวตานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของเทวตานุสติ อานิสงสของเทวตานุสติมี 8 ประการ ไดแก 1 . เพิ่มพูนคุณ 5 ประการ คือ ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ และปญญา 2 . สามารถไดรับสิ่งที่เทวดาในสวรรคปรารถนา

297 3 . เปนสุขในการรอเสวยผลของบุญ 4 . เคารพตนเอง 5 . เทวดานับถือชื่นชม 6 . สามารถปฏิบัติสีลานุสติและจาคานุสติได 7 . อยูเ ปนสุข 8 . เขาถึงเทวโลก

4 . วิธีเจริญเทวตานุสติ ไปสูสถานที่สงัดรักษาจิตไวไมใหฟุงซาน แลวพึงระลึกถึงคุณธรรม ที่ทาํ บุคคลใหเปน เทวดา ดังตอไปนี้ “ ณ. เทวโลกอันมีเทวภูมิอยู 6 ภูมิ ไดแก ชัน้ จาตุมมหาราชิกา ชั้นดาวดึงส ชั้นยามา ชั้นดุสิต ชัน้ นิมมานรดี และชั้นปรินิมมิตวสวัตตี มีเทวดาทีน่ ับเนื่องในหมูพ รหม และเทวดาอื่นๆ เทวดาเหลานัน้ ขณะทานยังเปนมนุษย เพราะดวยการประพฤติธรรม ไดแก ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปญญา หิริ และโอตตัปปะ เมื่อจุติจากโลกนี้แลวจึงอุบัติเกิดในที่ นั้น เราก็ประพฤติธรรม ไดแก ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปญญา หิริ และโอตตัปปะ เชนนั้นเหมือนกัน ” การคํานึงถึงเชนนี้ชื่อวา “ เทวตานุสติ ”

มรณานุสติ มรณานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงความตายที่จะตองมีมาถึงตนเปนธรรมดา พิจารณา ใหเกิดความไมประมาทและเรงขวนขวายทําความดี มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความตระหนักรูถงึ ความตายของตน เปนลักษณะ 2 . มีความสลดหดหูและไมพึงพอใจ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความสุขสบายเพราะอุเบกขา เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับมรณานุสติ บุคคลผูเหมาะกับมรณานุสติ ไดแก บุคคลผูมีพุทธิจริต คือผูทมี่ ีพนื้ เพแหงจิตหนักไป ทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของมรณานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญมรณานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

298 3 . อานิสงสของมรณานุสติ อานิสงสของมรณานุสติมี 10 ประการ ไดแก 1 . เปนผูมีความสันโดษ 2 . ไมตระหนี่ 3 . มีอายุยนื 4 . ไมยึดมัน่ สิง่ ทัง้ หลาย 5 . มีอนิจจสัญญา 6 . มีทุกขสัญญา 7 . มีอนัตตสัญญา 8 . อยูเ ปนสุข 9 . เขาถึงอมตธรรม 10 . เมื่อเวลาตายยอมไมเปนทุกขเพราะความหลงลืมสติ

4 . วิธีเจริญมรณานุสติ ไปสูสถานที่สงัดรักษาจิตไวไมใหฟุงซาน แลวพึงระลึกถึงความตาย อันจะตองมีมาถึงตน เปนธรรมดา มีการเจริญโยนิโสมนสิการ ดวยอุบายใดอุบายหนึง่ ใน 7 ประการนี้

4.1 โดยความปรากฏของฆาตกร เปรียบเหมือนบุคคลผูถูกนําไปสูที่ประหาร เมื่อเขาเห็นเพชฌฆาตชักดาบออกมา แลว เดินเขามาหาตน เขาคิดวา “ บุรุษนี้ประสงคจะฆาเรา เราจักถูกฆาไดทุกขณะ เราจักถูกฆาไดใน ทุกยางกาว ถาเราถอยกลับ เราตองถูกฆาแนนอน ถาเรานัง่ ลง เราตองถูกฆาแนนอน ถาเรา มัวแตหลับ เราตองถูกฆาแนนอน ”

4.2 โดยความไมปรากฏแหงเหตุใหสําเร็จกิจ “ ไมมีเหตุหรือความเชีย่ วชาญใด ที่สามารถทําชีวิตใหเปนอมตะได เมื่อพระอาทิตยหรือ พระจันทรขึ้น ไมมีเหตุหรือความเชีย่ วชาญใด ที่สามารถทําใหมนั หมุนกลับได ”

4.3 โดยการเปรียบเทียบ “ กษัตริยเปนจํานวนมาก ผูมีสมบัติมหาศาลและเปนพระเจาจักรพรรดิ์ มีมหากษัตริย สุทัสสนะผูทรงอภิมหาอํานาจ อีกพระเจามันธาตุและกษัตริยอื่นๆ ยังถึงแกความตาย มหาฤาษี ในกาลกอนหลายทาน มีทา นเวสมิตรและทานยมตักกี ผูทรงมหิทธานุภาพ สามารถบันดาลให

299 ไฟและน้ําไหลออกจากรางของตนได ก็เขาสูสภาพแหงความตายเหมือนกัน พระมหาสาวกใน อดีต เชน พระสารีบุตรเถระ พระมหาโมคคัลลานเถระ และทานอืน่ ๆผูมีปญญาและอานุภาพ มาก ก็เขาถึงสภาพแหงความตาย พระปจเจกพุทธเจาหลายองค ผูตรัสรูโดยไมมีครู และผู ประกอบดวยคุณความดีทงั้ ปวง ก็เขาถึงสภาพแหงความตาย อนึง่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัม พุทธเจา พระผูไมมีใครเปรียบ ประกอบดวยวิชชาและจรณะ เสด็จถึงฝงโนนแหงความดี อัน พระตถาคตเจาเหลานัน้ ก็เขาถึงสภาพแหงความตายเชนเดียวกัน เราผูมีอายุสนั้ จักหลบหนี การเขาสูสภาพแหงความตายไปไดอยางไร ”

4.4 โดยความที่กายเปนสิ่งสาธารณะแกสิ่งทั้งหลาย “ เพราะความผิดปกติของลมและเสมหะ สภาพแหงความตายก็ชื่อวาสําเร็จแลว หรือ เพราะการรบกวนของตัวพยาธิเปนจํานวนมาก หรือเพราะขาดน้ําและอาหาร สภาพแหงความ ตายก็ชื่อวาสําเร็จแลว หรือเพราะถูกงูพิษกัด ถูกตะขาบ กิ้งกือ หรือหนูกัด ความตายก็ชื่อวา สําเร็จแลว หรือถูกสิงโต เสือโครง หรือเสือดาวขยำ หรือถูกนาคโจมตี หรือถูกโคขวิด ความ ตายก็ชื่อวาสําเร็จแลว หรือถูกมนุษยหรืออมนุษยฆา ความตายก็ชอื่ วาสําเร็จแลว ”

4.5 โดยความออนแอของอายุ มรณานุสติโดยความออนแอของอายุดวยวิธีการ 2 ประการ 1 . โดยความที่อายุถูกใสไวในความไมมีอาํ นาจ “ อายุชอื่ วาเปนธรรมชาติอันออนแอ เพราะความทีม่ ันถูกใสไวในภาวะที่ไมมีอํานาจ อุปมาเหมือนตนกลวยและอุปมาเหมือนฟองน้าํ เพราะมันวางเปลาจากความจริง และปราศจากความจริง ” 2 . โดยการอิงอาศัยสิ่งที่ไมมอี ํานาจ “ อายุนี้ถูกรักษาไวโดยลมหายใจเขาและลมหายใจ ออก โดยปฐวีธาตุ โดยอาโปธาตุ โดยเตโชธาตุ โดยวาโยธาตุ น้าํ ดื่มและอาหาร อิริยาบถยืน เดิน นั่ง นอน และไออุน อายุอาศัยสิง่ ที่ไมมีอํานาจอยางนี้ เพราะเหตุนั้น อายุจึงเปน ธรรมชาติอันออนแอ ”

4.6 โดยการกําหนดเวลา “ เราสงสัยวา เปนไปไดหรือไม ที่เราจะมีชีวิตอยูตลอดคืนและวัน เราสงสัยวา ในชวง เวลานั้น เราสามารถคิดถึงคําสอนของพระผูมีพระภาคเจาไดหรือไม คือเราสามารถมีโอกาส เชนนั้นหรือไม เราสงสัยวา เราสามารถมีชีวิตอยูแมเพียงวันเดียวหรือไม หรือมีชีวิตอยูเพียงครึ่ง วัน หรือแมเพียงชั่วขณะหรือไม เราสามารถมีชวี ิตอยูนานพอที่จะบริโภคอาหารได 1 มื้อ หรือ ครึ่งมื้อ หรือแมเปนเวลานานพอที่จะบริโภคอาหาร 4 หรือ 5 คําหรือไม เราสามารถมีชีวิตอยูน าน

300 พอที่จะหายใจออกหลังจากหายใจเขาแลวหรือไม เราสามารถมีชวี ติ อยูนานพอทีจ่ ะหายใจเขา หลังจากที่หายใจออกแลวหรือไม ”

4.7 โดยความไมปรากฏแหงเครื่องหมาย “ ไมมีเครื่องหมายใด ที่จะสามารถบอกเราไดวา เรานั้นจะตองตายในเวลานั้นในเวลานี้ ของวันนัน้ ของวันนี้ อุปมาเหมือนกับรถยนตที่ไมมหี นาปดบอกระดับของน้ํามัน คนขับรถนัน้ ยอม มิสามารถรูระยะทางที่รถจะสามารถวิ่งได วาจะวิ่งไดระยะทางอีกสักเทาไร ”

กายคตาสติ กายคตาสติ คือ สติที่ตามระลึกทั่วไปในกายใหเห็นวาไมงาม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการปรากฏออกมาแหงลักษณะของกาย เปนลักษณะ 2 . มีการรูแจงความที่กายเปนสิ่งที่ไมงาม เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการแสดงใหเห็นลักษณะที่ไมจริง เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับกายคตาสติ บุคคลผูเหมาะกับกายคตาสติ ไดแก บุคคลผูมีราคจริต คือผูทมี่ ีพนื้ เพแหงจิตหนักไป ทางรักสวยรักงาม

2 . ขอบเขตของกายคตาสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญกายคตาสติ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน

3 . อานิสงสของกายคตาสติ อานิสงสของกายคตาสติมี 7 ประการ ไดแก 1 . เปนผูมีความอดทนตอสิ่งทีน่ ากลัว 2 . เปนผูมีความอดทนตอความรอนหนาว 3 . มีอนิจจสัญญา 4 . มีทุกขสัญญา

301 5 . มีอนัตตสัญญา 6 . มีอสุภสัญญา 7 . เขาถึงอมตธรรม

4 . วิธีเจริญกายคตาสติ ผูที่จะเจริญกายคตาสติ พึงศึกษาในธรรม 2 ประการ ไดแก อุคคหโกสัลละ และ มนสิการโกสัลละ

4.1 อุคคหโกสัลละ อุคคหโกสัลละ คือ ความฉลาดในการศึกษามี 7 ประการ โดย 2 ประการแรกเปน หลักการหรือหัวใจของการปฏิบัติ ไดแก วจสาและมนสา สวนอีก 5 ประการที่เหลือนั้น เปน เครื่องประกอบของมนสา ไดแก วรรณโต สัณฐานโต ทิสาโต โอกาสโต และปริจเฉทโต

4.1.1 วจสา+มนสา อุคคหโกสัลละ 2 ประการแรก อันเปนประธานในการเจริญกายคตาสติกรรมฐานนี้ ประกอบไปดวยวจสาและมนสา โดยวจสา คือ การศึกษาโดยใชวาจา สวนมนสา คือ การศึกษาโดยใจ โดยการศึกษานั้นจะทําการศึกษาในอาการทั้ง 32 อาการ เรียกวา “ โกฏฐาส ” ไดแก ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา มันสมอง น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้าํ มันขน น้าํ ตา น้ํามันเหลว น้าํ ลาย น้ํามูก ไขขอ น้ํามูตร และสามารถ แบงเปนหมวดๆ ไดดังตอไปนี้ 1 . ตจปญจกะ : ผม ขน เล็บ ฟน หนัง 2 . วักกปญจกะ : เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม 3 . ปปผาสปญจกะ : หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด 4 . มัตถลุงคปญจกะ : ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา มันสมอง 5 . เมทฉักกะ : น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้ํามันขน 6 . มุตตฉักกะ : น้ําตา น้ํามันเหลว น้าํ ลาย น้ํามูก ไขขอ น้ํามูตร อนึ่ง การศึกษาโดยวาจาและใจนี้ จะปฏิบัติโดยการทองดวยวาจาคือการออกเสียง เพราะการทองดวยวาจานัน้ เปนเหตุสําคัญที่จะใหไดรับความสะดวกสบายในการพิจารณาดวยใจ

302 โดยแบงการทองออกเปนระยะๆ โดยแตละระยะ จะกําหนดเวลาวาจะตองทําการทองเปนระยะ เวลานานเทาไร กีว่ นั

วันที่ 1 – 15 ตจปญจกะ (ครบ 15 วัน) วันที่ ทอง 1-5 “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ” 6-10 “ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” 11-15 “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ” “ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ”

วันที่ 16 – 30 วักกปญจกะ (ครบ 1 เดือน) วันที่ ทอง 16-20 “ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อในกระดูก ~ มาม ” 21-25 “ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ” 26-30 “ เนือ้ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อในกระดูก ~ มาม ” “ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ”

วันที่ 31 – 45 บทรวม (ครบ 1 เดือน 15 วัน) วันที่ ทอง 31-35 “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อในกระดูก ~ มาม ” 36-40 “ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” 41-45 “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อในกระดูก ~ มาม ” “ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ”

303 วันที่ 46 – 60 ปปผาสปญจกะ (ครบ 2 เดือน) วันที่ ทอง 46-50 “ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ” 51-55 “ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ” 56-60 “ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ” “ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ”

วันที่ 61 – 75 บทรวม (ครบ 2 เดือน 15 วัน) วันที่ ทอง 61-65 “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อ ในกระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ” 66-70 “ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อ 71-75 ในกระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ” “ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยือ่ ในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ”

วันที่ 76 – 90 มัตถลุงคปญจกะ (ครบ 3 เดือน) วันที่ ทอง 76-80 “ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ” 81-85 “ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ” 86-90 “ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ” “ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ”

304 วันที่ 91 – 105 บทรวม (ครบ 3 เดือน 15 วัน) วันที่

ทอง “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน 91-95 กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ” “ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ 96-100 ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ 100-105 ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ” “ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ”

วันที่ 106 – 120 เมทฉักกะ (ครบ 4 เดือน) วันที่ ทอง 106-110 “ น้าํ ดี ~ เสมหะ ~ น้าํ เหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ” 111-115 “ น้าํ มันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้ําเหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ” 115-120 “ น้าํ ดี ~ เสมหะ ~ น้าํ เหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ” “ น้าํ มันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้ําเหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ”

305 วันที่ 121 – 135 บทรวม (ครบ 4 เดือน 15 วัน) วันที่

ทอง “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน 121-125 กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ~ น้ําดี ~ เสมหะ ~ น้ําเหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ” “ น้าํ มันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้ําเหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ~ 126-130 มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยือ่ ในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ~ น้ําดี ~ เสมหะ 131-135 ~ น้ําเหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ” “ น้ํามันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้าํ เหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ~ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ”

วันที่ 136 – 150 มุตตฉักกะ (ครบ 5 เดือน) วันที่ ทอง 136-140 “ น้าํ ตา ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําลาย ~ น้ํามูก ~ ไขขอ ~ น้ํามูตร ” 141-145 “ น้าํ มูตร ~ ไขขอ ~ น้ํามูก ~ น้าํ ลาย ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําตา ” 146-150 “ น้าํ ตา ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําลาย ~ น้ํามูก ~ ไขขอ ~ น้ํามูตร ” “ น้าํ มูตร ~ ไขขอ ~ น้ํามูก ~ น้าํ ลาย ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําตา ”

306 วันที่ 151 – 165 บทรวม (ครบ 5 เดือน 15 วัน) วันที่

ทอง “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ 151-155 ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ~ น้ําดี ~ เสมหะ ~ น้ําเหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ~ น้ําตา ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําลาย ~ น้ํามูก ~ ไขขอ ~ น้ํามูตร ” “ น้าํ มูตร ~ ไขขอ ~ น้ํามูก ~ น้าํ ลาย ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําตา ~ น้ํามันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้ําเหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ~ 156-160 มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยือ่ ในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” “ ผม ~ ขน ~ เล็บ ~ ฟน ~ หนัง ~ เนื้อ ~ เอ็น ~ กระดูก ~ เยื่อใน กระดูก ~ มาม ~ หัวใจ ~ ตับ ~ พังผืด ~ ไต ~ ปอด ~ ใสใหญ ~ ใสนอย ~ อาหารใหม ~ อาหารเกา ~ มันสมอง ~ น้ําดี ~ เสมหะ ~ น้ําเหลือง ~ เลือด ~ เหงื่อ ~ น้ํามันขน ~ น้ําตา ~ น้ํามันเหลว 160-165 ~ น้ําลาย ~ น้ํามูก ~ ไขขอ ~ น้ํามูตร ” “ น้ํามูตร ~ ไขขอ ~ น้ํามูก ~ น้ําลาย ~ น้ํามันเหลว ~ น้ําตา ~ น้าํ มันขน ~ เหงื่อ ~ เลือด ~ น้าํ เหลือง ~ เสมหะ ~ น้ําดี ~ มันสมอง ~ อาหารเกา ~ อาหารใหม ~ ใสนอย ~ ใสใหญ ~ ปอด ~ ไต ~ พังผืด ~ ตับ ~ หัวใจ ~ มาม ~ เยื่อในกระดูก ~ กระดูก ~ เอ็น ~ เนื้อ ~ หนัง ~ ฟน ~ เล็บ ~ ขน ~ ผม ” บุคคลที่ทําการเจริญกรรมฐานนี้ มีอยูดวยกัน 3 จําพวก ไดแก 1 . ติกขบุคคล บุคคลที่มีบารมีแกกลา 2 . มัชฌิมบุคคล บุคคลทีม่ ีบารมีปานกลาง 3 . มันทบุคคล บุคคลที่มบี ารมีออน

307 ในบรรดาบุคคลทั้ง 3 จําพวกนี้ ติกขบุคคลที่ทาํ การเจริญกายคตาสติกรรมฐาน จะสําเร็จ เปนปฐมฌานลาภีบุคคลและอริยบุคคลได โดยใชเวลาไมถึง 5 เดือน 15 วัน บางทานยังไมทันทํา การเจริญทองบนแตอยางใด เพียงแตศึกษาอยูกบั อาจารย โกฏฐาสก็ปรากฏแกใจ ตอแตนนั้ ฌาน มรรค ผล ก็เกิดขึ้นเปนลําดับไปในเวลานัน้ เอง ถาเปนมันทบุคคลก็จะสําเร็จไดชา คือ เกินกวา 5 เดือน 15 วัน สําหรับมัชฌิมบุคคลนั้น เมื่อปฏิบัติครบกําหนดเวลา 5 เดือน 15 วันแลว ก็จักสําเร็จ โดยการเจริญทองบนครั้งแรกในหมวดหนึ่งๆนั้น ผูเจริญจะตองทองบนโดยความเปน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน ประการเดียว ไมตองพิจารณาโดยความเปนสี เปนปฏิกูล เปนปฐวีธาตุหรืออาโปธาตุแตอยางใด โดยอาจมีนิมิตปรากฏดังนี้ 1 . ถาหากวรรณนิมิตปรากฏขึ้น ก็เพราะโกฏฐาสทัง้ หมดมีสีอยู ขณะที่กาํ ลังทองบนวา เกสาๆหรือผมๆอยูนั้น สีดํา สีขาว สีแดง อันเปนวรรณนิมิตก็จักปรากฏได เพราะผมมีหลายสี สวนขน เล็บ ฟน หนัง เปนตนนั้น วรรณนิมิตก็ปรากฏไดเชนเดียวกัน ผลจากการเพงซึง่ วรรณกสิณตอไปนั้น ยอมสามารถบรรลุไดถึงรูปาวจรจตุตถฌาน และสามารถนํารูปฌานระดับ ใดระดับหนึ่งนัน้ มาใชเปนบาท สําหรับการเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไป จนสําเร็จอรหัตตมรรค อรหัตตผล ซึง่ เปนจุดมุงหมายสูงสุดได 2 . ถาหากปฏิกูลนิมิตปรากฏขึ้น ก็เพราะโกฏฐาสทั้งหมดนั้นเปนปฏิกูลอยูแลว ผลที่ ไดรับจากการทองบนพิจารณาโดยความเปนปฏิกูลตอไปนั้น ยอมสามารถบรรลุไดถึงรูปาวจร ปฐมฌาน จากนัน้ ก็อาศัยปฐมฌานนัน้ เปนบาท สําหรับการเจริญวิปสสนากรรมฐานตอไป จน สําเร็จอรหัตตมรรคอรหัตตผล ซึง่ เปนจุดมุงหมายสูงสุดได 3 . ถาหากธาตุนิมิตปรากฏขึ้น ก็เพราะโกฏฐาส 20 มีผมจนถึงมันสมองนัน้ เหลานี้ลว น แตเปนปฐวีธาตุ สวนโกฏฐาสที่เหลืออีก 12 มีน้ําดีจนถึงน้าํ มูตรเปนอาโปธาตุ ผลที่ไดรับจากการ ทองบนพิจารณา โดยความเปนธาตุตอไปนั้น ยอมสามารถบรรลุไดเพียงอุปจารสมาธิ ไม ถึงอัปปนาสมาธิหรือฌาน แตก็สามารถนําอุปจารสมาธินี้มาเปนบาท สําหรับการเจริญวิปสสนา กรรมฐานตอไป จนสําเร็จอรหัตตมรรคอรหัตตผล ซึ่งเปนจุดมุงหมายสูงสุดได ในบรรดานิมิตทั้ง 3 อยางนั้น วรรณนิมิตและปฏิกูลนิมิตปรากฏไมยาก เมื่อปรากฏแลวผู เจริญก็ตัดสินไดถูก วาเปนวรรณนิมิตหรือปฏิกูลนิมิต สวนธาตุนิมิตนั้นปรากฏยาก เมื่อปรากฏ แลวก็รูไดยากวาเปนธาตุนิมติ หรือไม ในประการนี้สามารถอธิบายการปรากฏแหงธาตุนิมิตไดวา ในขณะทีน่ ักปฏิบัติกําลังทองบนโกฏฐาสในหมวดตางๆอยู เวลาทีธ่ าตุนิมิตปรากฏนั้นอัตถบัญญัติ คือรูปรางสัณฐานของผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน เหลานี้ไมมี สัญญาทีเ่ คยจําไววาเปน

308 สัตตชีวะก็หายไปจากใจ อุปมาเหมือนผูท ี่เห็นเถาจากการเผาศพ ขณะนั้นไมไดเห็นเปนรูปราง สัณฐานหรือเปนบุคคลหญิงชายแตอยางใดเลย คงเห็นแตความเปนเถาอยูเทานัน้ ขอนี้ฉนั ใด ขณะที่กําลังทองบนวาผมๆหรือขนๆเปนตนอยูน ั้น ผมก็ปรากฏเสมือนหนึ่งหญาคาที่ขึ้นอยูบนจอม ปลวก ขนก็ปรากฏเสมือนหนึ่งหญาแพรกที่ขึ้นอยูในบานราง เล็บก็ปรากฏเสมือนหนึ่งลูกมะซางที่ เสียบติดอยูกบั ปลายไม ฟนก็ปรากฏเสมือนหนึ่งเมล็ดน้ําเตาที่เสียบไวกับกอนดิน หนังก็ปรากฏ เสมือนหนึง่ หนังโคสดที่ขึงไวบนพื้น เนื้อก็ปรากฏเสมือนหนึ่งดินเหนียวที่ฉาบฝาเรือน เอ็นก็ ปรากฏเสมือนหนึง่ เถาวัลยทผี่ ูกพันทัพพสัมภาระเรือนไว กระดูกก็ปรากฏเสมือนหนึ่งเสาฝาและตัว เรือน ดังนี้เปนตน มิไดปรากฏวาเปนคนชายหญิงหรือสัตวแตอยางใด จิตของนักปฏิบัติเมื่อมี ความรูสึกดังนี้ จึงตัดสินไดวาเปนการปรากฏแหงธาตุนิมิต วิธีทองบนพิจารณาโดยความเปนธาตุนนั้ พิจารณาเห็นวาผมนี้ไมรวู า ตนไดงอกอยูใ นหนัง บนศีรษะ สวนหนังทีห่ ุมศีรษะอยูก็ไมรูวา ผมไดงอกขึ้นบนตน ฉะนัน้ ผมนีจ้ ึงมิใชเปนคน ไมมีชวี ติ จิตใจแตอยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ ขนก็ไมรูวาตนไดขึ้นอยูในหนังทั่วรางกาย หนังทีห่ ุมรางกายอยูน ั้นก็ไมรูวาขนขึน้ อยูในตนทัว่ ไป ฉะนั้นขนจึงมิใชเปนคน ไมมีชวี ิตจิตใจแต อยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ เล็บมือและเล็บเทาเหลานี้ ก็ไมรูวา ตนไดงอกอยู ตามปลายนิว้ มือและนิ้วเทา สวนปลายนิว้ มือและนิว้ เทา ก็ไมรูวา มีเล็บงอกอยู ฉะนัน้ เล็บมือ และเล็บเทาเหลานี้จงึ มิใชเปนคน ไมมีชีวติ จิตใจแตอยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ ฟนก็ไมรูวาตนไดงอกขึ้นมาจากกระดูกคาง สวนกระดูกคางก็ไมรูวา ฟนไดงอกขึ้นมาจากตน ฉะนัน้ ฟนนี้จงึ มิใชคน ไมมชี ีวิตจิตใจแตอยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ หนังก็ไมรวู า ตนไดปกคลุมอยูทั่วไปตลอดรางกาย รางกายก็ไมรูวา มีหนังปกคลุมหุมหอตนไว ฉะนัน้ หนังนี้จงึ มิใชเปนคน ไมมีชีวิตจิตใจแตอยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ ปฐวีโกฏฐาสที่เหลือ อีก 15 ประการตั้งแตหนังเปนตน จนถึงมันสมองก็ไมมกี ารรูเชนเดียวกัน ฉะนัน้ จึงมิใชเปนคน ไมมีชีวิตจิตใจแตอยางใด เพียงแตเปนรูปคือปฐวีธาตุเทานัน้ สําหรับอาโปโกฏฐาส 12 มีน้ําดีเปน ตนจนถึงน้ํามูตรก็ไมมีการรูเชนเดียวกัน ฉะนัน้ จึงมิใชเปนคน ไมมีชวี ิตจิตใจแตอยางใด เพียงแต เปนรูปคืออาโปธาตุเทานั้น ในขณะทีท่ องบนพิจารณาเห็นวาเปนแตปฐวีธาตุหรืออาโปธาตุ มิใชคน ไมมีชีวิตจิตใจ แตประการใดๆนั้น อุสสทาเตโชคือเตโชธาตุที่มกี ําลังกลา ก็จะปรากฏที่ทองมากรูไดอยางชัดเจน อุสสทาวาโยคือวาโยธาตุที่มกี ําลังกลา ก็จะปรากฏที่ปลายจมูกมากรูไดอยางชัดเจน เปนอันวาได พิจารณาเห็นธาตุทงั้ 4 ครบบริบูรณ สําเร็จเปนจตุธาตุววัฏฐานกรรมฐานดวย เมือ่ พิจารณาเห็น

309 ธาตุทงั้ 4 ที่มอี ยูในรางกายตนจนครบบริบูรณแลว จากนัน้ ก็พิจารณาเห็นอุปาทยรูปที่อาศัย มหาภูตรูปเกิดอยูภายในกายของตนนัน้ ๆพรอมกันไปดวย เปนอันวาไดพิจารณาเห็นรูปขันธที่เกิด อยูภายในตนโดยภาวนามัย ตอแตนั้นนามขันธ 4 ก็จะปรากฏขึ้นดวยอํานาจแหงการกระทบกัน ระหวางอารมณกับทวาร เปนอันวานักปฏิบัติไดเห็นขันธ 5 ที่เกิดอยูภ ายในตนครบถวนทุกประการ การปรากฏขึ้นแหงขันธ 5 โดยลําดับดังที่กลาวนี้ ทําใหนักปฏิบัติไดกําหนดรูตอไปไดอีกวาขันธ 5 นี้ ก็คืออายตนะ 12 ธาตุ 18 นัน่ เองและสําเร็จเปนนามรูปปริจเฉทญาณ จากนัน้ ไดพจิ ารณาเห็นวา รูปนามที่กาํ ลังเปนไปอยูน ี้เกิดขึ้นโดยอาศัยอวิชชา ตัณหา กรรม และอาหารเปนเหตุ หาใช เกิดขึ้นโดยปราศจากเหตุแตอยางใดไม และสําเร็จเปนปจจัยปริคคหญาณ ปราศจากความเห็น วาเปนสัตว เปนคน มีชีวติ หรือไมมีชีวิต คงเห็นแตรูปนามกับเหตุทั้ง 4 ที่ใหรูปนามเกิดขึ้นเทานั้น เปนญาตปริญญา ผูเจริญทําการเจริญตลอดมานับแตการเริ่มตนทองบนพิจารณาโกฏฐาสโดย ความเปนธาตุ จนถึงปจจัยปริคคหญาณเกิดนั้นไดชื่อวา “ จูฬโสดาบัน ” เปนพระโสดาบันขั้นแรก บังเกิดความภาคภูมิใจในผลกําไรที่ตนไดรับจากการเกิดมาเปนมนุษย ในสมัยที่มีพระพุทธศาสนา ถาหากเจริญตอไปมิไดหยุดยั้งเพียงนี้ ก็จักสําเร็จเปนมัชฌิมโสดาบัน มหาโสดาบัน ตลอดจน สําเร็จเปนพระอรหันตได

4.1.2 วรรณโต+สัณฐานโต+ทิสาโต+โอกาสโต+ปริจเฉทโต อุคคหโกสัลละอีก 5 ประการที่เหลือนั้น เปนเครื่องประกอบของมนสา กลาวคือ เมื่อใจ พิจารณาเห็นโกฏฐาสอยางใดอยางหนึง่ ตามวาจาทีท่ องบนอยู ในเวลานัน้ การพิจารณาโดย ความเปนสี เปนรูปรางสัณฐาน ที่เกิด ที่ตั้ง และกําหนดขอบเขตก็มีพรอมกันไป กลาวคือ วรรณโต คือ การศึกษาโดยสี สัณฐานโต คือ การศึกษาโดยรูปรางสัณฐาน ทิสาโต คือ การศึกษาโดยที่เกิด (เบื้องบน - เบื้องต่ํา) โอกาสโต คือ การศึกษาโดยที่ตั้ง และปริจเฉทโต คือ การศึกษาโดยกําหนดขอบเขต อนึ่ง สามารถแสดงการพิจารณาโกฏฐาสทัง้ 32 ประการ ดังตอไปนี้

+ + + + + ผม + + + + + ผมทั้งหลายนัน้ วาโดยสี มีสีดํา เหมือนสีลูกมะคําดีควายสดๆ วาโดยสัณฐาน ยาว กลม มีสัณฐานคลายคันชัง่ วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ที่ขางทั้งสองกําหนด ดวยจอนหู ขางหนากําหนดดวยหนาผาก ขางหลังกําหนดดวยกกคอ หนังสดทีห่ ุมกระโหลก ศีรษะเปนโอกาสแหงผมทัง้ หลาย วาโดยปริจเฉท ผมทั้งหลายเบื้องต่ํา กําหนดดวยพืน้ รากของ ผม ทีห่ ยัง่ ลึกลงไปในหนังหุม ศีรษะประมาณปลายเมล็ดขาวเปลือก เบื้องบน กําหนดดวย

310 อากาศ โดยรอบกําหนดดวยเสนผมดวยกัน การกําหนดวา ผมสองเสน มิไดรวมเปนเสน เดียวกัน นี้ชอื่ วาสภาคปริจเฉท การกําหนดวา ผมไมปะปนกันดวยโกฏฐาส 31 ทีเ่ หลือ อยางนี้ วา ผมมิใชขน ขนมิใชผม นี้ชื่อวาวิสภาคปริจเฉท

+ + + + + ขน + + + + + ขนทัง้ หลายนัน้ วาโดยสีตามปกติ ไมดาํ สนิทเหมือนผม แตเปนสีดําปนเหลือง วาโดย สัณฐาน มีสณ ั ฐานปลายโคง เหมือนรากตนตาล วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส เวนโอกาสที่ผมทั้งหลายตั้งอยู และพืน้ ฝามือฝาเทาแลว โดยมากเกิดตามหนังหุมสรีระที่เหลือ วาโดยปริจเฉท เบื้องลางกําหนดดวยพื้นรากของขนที่หยั่งลึกเขาไปในหนังหุมสรีระประมาณลิกขา หนึง่ (หนวยในสมัยโบราณ) เบื้องบนกําหนดดวยอากาศ โดยรอบกําหนดดวยเสนขนดวยกัน การกําหนดวา ขนสองเสนมิไดรวมกันเปนเสนเดียว นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนั่นแล

+ + + + + เล็บ + + + + + เล็บทั้ง 20 อันนั้น วาโดยสี เปนสีขาว วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานดังเกล็ดปลา วาโดย ทิศ เกิดในทิศทั้งสองคือ เล็บเทาเกิดในทิศเบื้องต่ํา เล็บมือเกิดในทิศเบื้องสูง วาโดยโอกาส ตั้งอยูเฉพาะทีห่ ลังตอนปลายนิ้วทัง้ หลาย วาโดยปริจเฉท ในทิศทัง้ สองกําหนดดวยเนื้อปลายนิว้ ขางในกําหนดดวยเนื้อหลังนิว้ ขางนอกและปลายกําหนดดวยอากาศ เบื้องขวากําหนดดวยเล็บ ดวยกัน การกําหนดวา เล็บ 2 อันมิไดรวมเปนอันเดียวกัน นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาค ปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ฟน + + + + + กระดูกฟนมี 32 ซี่ วาโดยสี มีสีขาว วาโดยสัณฐาน พิจารณาฟนแถวลางกอน ฟน 4 ซี่ตรงกลาง มีสัณฐานดุจเมล็ดน้ําเตา ที่เขาปกเรียงกันไวทกี่ อนดินเหนียว สองขางฟนกลาง 4 ซี่ นั้น ฟนขางละซี่มีราก 1 มีปลาย 1 มีสัณฐานดังดอกมะลิตูม ถัดจากนัน้ ฟนขางละซี่มีราก 2 มี ั ฐานดังไมคา้ํ เกวียน ถัดจากนั้น ฟนขางละ 2 ซี่มีราก 3 มีปลาย 3 ถัดจากนัน้ ปลาย 2 มีสณ ฟนขางละ 2 ซีม่ ีราก 4 มีปลาย 4 แมฟน แถวขางบน ก็มีนยั เชนเดียวกันนี้ วาโดยทิศ เกิดในทิศ เบื้องบน วาโดยโอกาส ตัง้ อยูทกี่ ระดูกกรามทัง้ สอง วาโดยปริจเฉท เบื้องลางกําหนดดวยพืน้ รากของฟนอันตั้งอยูท ี่กระดูกกราม เบือ้ งบนกําหนดดวยอากาศ เบื้องขวางกําหนดดวยฟน ดวยกัน (ฟนแถวลาง) การกําหนดวา ฟน 2 ซี่มิไดรวมเปนซี่เดียวกัน นี้เปนสภาคปริจเฉท สวน วิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

311 + + + + + หนัง + + + + + หนังหุม สรีระทัว่ รางกาย วาโดยสี มีสีขาวเทานัน้ ก็ความที่หนังเปนสีขาวนัน้ ยอม ปรากฏเมื่อผิวถลอกออกไป เพราะเปลวไฟลวก หรือถูกประหารดวยเครื่องประหารเปนตน วา โดยสัณฐาน มีสัณฐานเหมือนรางกาย โดยพิสดารนัน้ หนังนิว้ เทามีสัณฐานดังรังของตัวไหม หนังหลังเทามีสัณฐานดังรองเทาหุม สน หนังแขงมีสัณฐานดังใบตาลหอขาว หนังขามีสัณฐานดัง ถุงยาวบรรจุขา วสาร หนังตะโพกมีสัณฐานดังผืนผากรองน้าํ อันเต็มดวยน้าํ หนังหลังมีสัณฐานดัง หนังหุม โลห หนังทองมีสัณฐานดังหนังหุม รางพิณ หนังอกมีสัณฐานเปนรูปสี่เหลีย่ ม หนังแขน ทั้งสองมีสัณฐานดังหนังหุมแลงธนู หนังหลังมือมีสัณฐานดังฝกมีดหรือดังถุงโลห หนังนิว้ มือมี สัณฐานดังฝกกุญแจ หนังคอมีสัณฐานดังเสื้อปดคอ หนังหนาซึ่งมีชองนอยชองใหญมีสัณฐานดัง รังตั๊กแตน หนังศีรษะมีสัณฐานดังถลกบาตร วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส ตั้ง คลุมสรีระทั้งสิน้ วาโดยปริจเฉท เบื้องลางกําหนดดวยพืน้ ที่ตงั้ อยู เบื้องบนกําหนดดวยอากาศ นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + เนื้อ + + + + + ชิ้นเนื้อมี 900 ชิ้น วาโดยสี มีสีแดงเชนกับดอกทองกวาว วาโดยสัณฐาน เนื้อปลีแขงมี สัณฐานดังขาวหอดวยใบตาล เนื้อหลังมีสัณฐานดังแผนตาลงบ เนือ้ สีขางทัง้ สองมีสัณฐานดัง การฉาบทาดวยดินเหนียวบางๆในทองยุงขาว เนื้อถันทั้งสองมีสัณฐานดังกอนดินเหนียวที่เขา แขวนหอยไว เนื้อแขนทั้งสองมีสัณฐานดังหนูตัวใหญทเี่ ขาถลกหนังทําไวเปนสองสวน วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส ตั้งฉาบติดกระดูก 310 ทอน วาโดยปริจเฉท เบือ้ งลางกําหนด ดวยพืน้ ที่ตงั้ อยูที่รางกระดูก เบื้องบนกําหนดดวยหนัง เบื้องขวางกําหนดดวยเนื้อดวยกัน นี้เปน สภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + เอ็น + + + + + เอ็นมี 900 เสน วาโดยสี เอ็นทัง้ หมดมีสีขาว วาโดยสัณฐาน เอ็นใหญที่รึงรัดสรีระ ตั้งแตเบื้องบนแหงคอหยั่งลงไปขางหนาหทัย 5 เสน ขางหลัง 5 เสน ขางขวา 5 เสน ขางซาย 5 เสน แมรึงรัดมือขวา ขางหนามือก็ 5 เสน ขางหลังมือก็ 5 เสน แมที่รึงรัดมือซายก็อยางนั้น ที่ รึงรัดเทาขวา ขางหนาเทาก็ 5 เสน ขางหลังเทาก็ 5 เสน แมที่รึงรัดเทาซายก็อยางนั้น เอ็นใหญ 60 เสน รึงรัดหยัง่ ลงตลอดกายอยางนี้ ดวยประการฉะนี้ จึงชื่อวา " สรีรธารกา " (ทรงไวซึ่งสรีระ) ทานเรียกวา " กัณฑรา " ดังนี้บาง เอ็นเหลานัน้ แมทงั้ หมด มีสัณฐานดังตนคลาออนๆ สวนเอ็น เหลาอืน่ ที่รงึ รัดสวนนั้นๆอยู คือที่เล็กกวาสรีรธารกานัน้ มีสัณฐานดังเชือกดาย เอ็นเหลาอื่นที่

312 เล็กกวานัน้ มีสัณฐานดังเถากระพังโหม เอ็นเหลาอืน่ ที่เล็กกวานัน้ มีสัณฐานดังสายพิณใหญ เอ็นเหลาอืน่ อีก มีสัณฐานดังเสนดายใหญ เอ็นที่หลังมือและเทา มีสัณฐานดังตีนนก เอ็นที่ ศีรษะ มีสัณฐานดังตาขายคลุมหัวเด็ก เอ็นทีห่ ลังมีสณ ั ฐานดังอวนเปยกที่เขาแผผึ่งแดด เอ็นที่ ั ฐานดังเสื้อรางแหที่คลุมสรีระ วาโดยทิศ เอ็นเกิดใน เหลือซึ่งไปตามอวัยวะนอยใหญนนั้ ๆ มีสณ ทิศทัง้ สอง วาโดยโอกาส ตั้งยึดกระดูกทั้งหลาย วาโดยปริจเฉท เบื้องต่ํากําหนดดวยพืน้ อัน ตั้งอยูบนกระดูก 300 ทอน เบื้องบนกําหนดดวยประเทศที่ตั้งอยูจดเนือ้ และหนัง เบื้องขวาง กําหนดดวยเอ็นดวยกัน นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผม นั่นแล

+ + + + + กระดูก + + + + + กระดูกมี 300 ทอน ไมนับกระดูกฟน 32 ซี่ ประกอบไปดวย กระดูกมือ 64 ทอน กระดูกเทา 64 ทอน กระดูกออนติดเนื้อ 64 ทอน กระดูกสนเทา 2 ทอน กระดูกขอเทาสองขาง 2 ทอน กระดูกแขงสองขาง 2 ทอน กระดูกเขาสองขาง 2 ทอน กระดูกขา 2 ทอน กระดูกสะเอว 2 ทอน กระดูกสันหลัง 18 ทอน กระดูกซีโ่ ครง 24 ทอน กระดูกหนาอก 14 ทอน กระดูกใกลหวั ใจ 1 ทอน กระดูกไหปลารา 2 ทอน กระดูกสะบัก 2 ทอน กระดูกแขนทอนบน 2 ทอน กระดูกแขน ทอนลางสองขาง 4 ทอน กระดูกคอ 7 ทอน กระดูกคาง 2 ทอน กระดูกดั้งจมูก 1 ทอน กระดูก เบาตา 2 ทอน กระดูกหู 2 ทอน กระดูกหนาผาก 1 ทอน กระดูกกระหมอม 1 ทอน และกระดูก กระโหลก 9 ทอน กระดูก 300 ทอนนี้นนั้ วาโดยสี มีสขี าว วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตางๆกัน โดยกระดูกนิ้วเทาทอนปลาย มีสัณฐานดังเมล็ดบัว กระดูกนิว้ เทาทอนกลางถัดจากทอนปลาย มีสัณฐานดังเมล็ดขนุน กระดูดนิ้วเทาทอนโคนถัดจากทอนกลาง มีสัณฐานดังบัณเฑาะว กระดูกหลังเทา มีสัณฐานดังหมูตน เคลาที่ถูกทุบ กระดูกสนเทา มีสัณฐานดังจาวตาลลอนเดียว กระดูกขอเทา มีสัณฐานดังลูกสะบาคู กระดูกแขงในทีเ่ ปนที่ตงั้ จดขอเทา มีสัณฐานดังหนอไม ออนที่ปลอกเปลือก กระดูกแขงทอนเล็ก มีสัณฐานดังคันธนู กระดูกแขงทอนใหญ มีสัณฐาน ดังหลังงูที่แหงแลว กระดูกเขา มีสัณฐานดังตอมน้ําทีแ่ หวงไปขางหนึ่ง ตรงที่เปนกระดูกแขงจด กระดูกเขานั้น มีสัณฐานดังเขาโคปลายทู กระดูกขาออน มีสัณฐานดังดามพราหรือดามขวานที่ เขาทําหยาบๆ ที่ตรงกระดูกขาออนจดอยูที่กระดูกสะเอวนัน้ มีสัณฐานดังลูกสะบากีฬา ตรงที่ กระดูกสะเอวจดกระดูกขานัน้ มีสัณฐานดังผลมะงัว่ ใหญปลายปาด กระดูกสะเอวแม 2 อัน มี สัณฐานดังเตาของนายชางหมอ แยกแตละอัน มีสัณฐานดังคีมของนายชางทอง กระดูกตะโพก ตอนปลาย มีสัณฐานดังพังพานงูที่เขาจับคว่ําหนา มีชอ งนอยชองใหญ 7 แหง กระดูกสันหลัง

313 ขางใน มีสัณฐานดังหวงแผนตะกัว่ ทีว่ างซอนๆกันไว ขางนอกมีสัณฐานดังลูกประคํา ในระหวาง แหงกระดูกเหลานัน้ มีเดือยสองสามอันเชนกับฟนเลื่อย บรรดากระดูกซี่โครง 24 ซี่ ซี่ที่ไมเต็ม มีสัณฐานดังเคียวที่ไมเต็มเลม ซี่ที่เต็ม มีสัณฐานดังเคียวเต็มเลม กระดูกซี่โครงแมทั้งหมด มี สัณฐานดังปกกางของไกขาว กระดูกอก 14 ชิ้น มีสัณฐานดังลูกกรงคานหามเกา กระดูกใกล หัวใจ มีสัณฐานดังจวัก กระดูกไหปลารา มีสัณฐานดังดามมีดโลหะเลมเล็ก กระดูกสะบัก มี สัณฐานดังจอบของชาวสิงหฬที่เหี้ยนไปขางหนึ่ง กระดูกตนแขน มีสณ ั ฐานดังดามแวน ทอน ปลาย มีสัณฐานดังรากตาลคู กระดูกขอมือ มีสัณฐานดังหวงแผนตะกั่วที่เขาเชือ่ มติดกันตั้งไว กระดูกหลังมือ มีสัณฐานดังกองตนเคลาทีท่ ุบแลว กระดูกขอโคนนิว้ มือ มีสัณฐานดังบัณเฑาะว ทอนกลาง มีสัณฐานดังเมล็ดขนุนไมเต็มเม็ด ทอนปลาย มีสัณฐานดังเมล็ดตุมกา กระดูกคอ 7 ชิ้น มีสัณฐานดังแวนหนอไมไผที่เขาใชไมเสียบตั้งไวโดยลําดับ กระดูกคางลาง มีสัณฐานดังคีม เหล็กของนายชางโลหะ ทอนบน มีสัณฐานดังเหล็กขูด กระดูกเบาตาและกระดูกหลุมจมูก มี สัณฐานดังเตาของลูกตาลออนที่ควักจาวออกแลว กระดูกหนาผาก มีสัณฐานดังเปลือกสังขที่ตงั้ คว่ําหนา กระดูกกกหู มีสณ ั ฐานดังฝกมีดโกนของชางกัลบก กระดูกที่ตั้งติดกันเปนแผนตอนบน ของกระดูกหนาผากและกระดูกกกหู มีสณ ั ฐานดังทอนแผนผาเต็มหมอที่ยับยูยี่ กระดูกกระหมอม มีสัณฐานดังกระโหลกมะพราวเบีย้ วที่ปาดหนาแลว กระดูกศีรษะ มีสัณฐานดังกระโหลกน้าํ เตา เกาที่เขาเย็บติดกันตั้งไว วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส ตั้งอยูในสรีระทั้งสิน้ โดยไม แปลกกัน แตเมื่อวาโดยแปลกกันในทีน่ ี้ กระดูกศีรษะตั้งอยูบนกระดูกคอ กระดูกคอตั้งอยูบน กระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังตั้งอยูบนกระดูกสะเอว กระดูกสะเอวตั้งอยูบนกระดูกขาออน กระดูกขาออนตั้งอยูบนกระดูกเขา กระดูกเขาตั้งอยูบนกระดูกแขง กระดูกแขงตั้งอยูบนกระดูก ขอเทา กระดูกขอเทาตัง้ อยูบ นกระดูกหลังเทา วาโดยปริจเฉท ภายในกําหนดดวยเยื่อในกระดูก ขางบนกําหนดดวยเนื้อ ทีป่ ลายและโคนกําหนดดวยกระดูกดวยกัน นี้เปนสภาคปริจเฉท สวน วิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + เยื่อในกระดูก + + + + + เยื่อในกระดูกนั้น วาโดยสี มีสีขาว วาโดยสัณฐาน เยื่อที่อยูภายในแหงกระดูกทอน ใหญๆ มีสัณฐานดังยอดหวายใหญที่เขาลนไฟยัดไวในกระบอกไมไผ เยื่อที่อยูภายในกระดูกทอน เล็กๆ มีสัณฐานดังยอดหวายเล็กที่เขาลนไฟยัดไวในปลองแหงขอไมไผ วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้ง สอง วาโดยโอกาส ตั้งอยูภ ายในกระดูกทั้งหลาย วาโดยปริจเฉท กําหนดดวยพืน้ ภายในแหง กระดูกทัง้ หลาย นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

314 + + + + + มาม + + + + + มาม มีลักษณะเปนดังลิน้ อยูในทอง วาโดยสี มีสนี า้ํ เงินแก ดุจดอกคนทิสอ วาโดย สัณฐาน มีสณ ั ฐานดังลิน้ ลูกโคดํา ยืน่ ออกไปประมาณ 7 นิว้ วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วา โดยโอกาส อาศัยตั้งอยูขา งบนพืน้ ทองทางซายของหัวใจ เมื่อมันออกมาขางนอกเพราะถูก ประหารดวยเครื่องประหาร สัตวทั้งหลายก็จะสิน้ ชีวิต วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปน มาม นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + หัวใจ + + + + + เนื้อหัวใจ วาโดยสี มีสีแดงดังสีหลังกลีบดอกปทุม วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานดังดอก ปทุมตูม ที่เขาปลิดกลีบขางนอกออกแลวตั้งคว่าํ ลง ภายนอกเกลี้ยง แตภายในเปนเชนกับ ภายในผลบวบขม เนื้อหัวใจของคนมีปญ  ญาแยมบานหนอยหนึง่ ของคนผูไรปญญา เปนดัง ดอกบัวตูม ก็ภายในของเนือ้ หัวใจนั้น เปนหลุมมีประมาณดุจเมล็ดในดอกบุนนาคได ในที่ใด โลหิตมีประมาณกึ่งฟายมือขังอยู มโนธาตุและมโนวิญญาณธาตุอาศัยที่ใดเปนไปอยู ก็แลโลหิต นั้นๆในทีน่ ั้นๆ ของคนมีราคจริตเปนสีแดง ของคนมีโทสจริตเปนสีดํา ของคนมีโมหจริตเปนเชน กับสีนา้ํ ลางเนือ้ ของคนมีวติ กจริตเปนสีเชนกับน้ําตมถัว่ พู ของคนมีศรัทธาจริตเปนสีดังดอก กรรณิการ ของคนมีพุทธิจริตมีความสุกใสผุดผอง บริสุทธิ์ไมหมองมัว ดุจแกวมณีบริสุทธิ์ที่ เจียระไนแลว วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ตั้งอยูใกลทามกลางระหวางถันทัง้ สองในภายในสรีระ วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนเนื้อหัวใจ นี้เปนสภาคปริจเฉท สวน วิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ตับ + + + + + ตับ มีลกั ษณะเปนแผนเนื้อคู วาโดยสี มีสีแดงพืน้ เหลือง ไมแดงจัดดังสีหลังกลีบกุมุท (ดอกบัวแดง) วาโดยสัณฐาน ที่โคนเปนแผนเดียวกัน ที่ปลายเปนสองแฉก มีสณ ั ฐานดังใบ ทองหลาง อนึ่ง ตับนัน้ สําหรับของคนไมมีปญญา เปนแผนใหญแผนเดียวเทานัน้ ของคนมี ปญญา เปนแผนเล็กๆสองหรือสามแผน วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส อาศัย อยูขางขวาภายในระหวางถันทัง้ คู วาโดยปริจเฉท ตับก็กําหนดโดยสวนที่เปนตับ นี้เปนสภาค ปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

315 + + + + + พังผืด + + + + + พังผืด มีลกั ษณะเปนเนื้อสําหรับหุม มีสองชนิดแยกเปน พังผืดชนิดปกปด และพังผืด ชนิดที่ไมปกปด วาโดยสี มีสีขาวดังสีผา ทุกูลเกา (ผาทําดวยเปลือกไม) วาโดยสัณฐาน มี สัณฐานตามทีต่ ั้งอยูของตน วาโดยทิศ พังผืดชนิดทีป่ กติเกิดในทิศเบือ้ งบน พังผืดนอกจากนีเ้ กิด ในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส พังผืดชนิดทีป่ กปด ตั้งหุม หัวใจและไตอยู พังผืดชนิดที่ไมปกติ ตั้งยึดเนื้อใตหนังในสรีระทัง้ สิ้น วาโดยปริจเฉท เบื้องลางกําหนดดวยเนื้อ เบื้องบนกําหนดดวย หนัง และเบือ้ งขวางกําหนดโดยสวนที่เปนพังผืด นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึง กําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ไต + + + + + ไต มีลักษณะเปนกอนเนื้อสองกอน มีขวั้ เดียวกัน วาโดยสี มีสีแดงออนดังสีเมล็ดไม ทองหลาง วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานดังสะบาคูสําหรับเลนของเด็กๆ หรือมีสัณฐานดังผลมะมวง คูมีขั้วเดียวกัน วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ตั้งอยูโ ดยเปนขั้วเดียวกับดวยเอ็น ใหญ มีรากเดียวกัน ออกจากหลุมคอไปหนอยหนึ่งแลวก็แยกออกเปน 2 เสน โอบเนื้อหัวใจ วา โดยปริจเฉท ไตกําหนดไดดวยสวนที่เปนไต นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึง กําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ปอด + + + + + ปอด วาโดยสี มีสีแดงดังผลมะเดื่อไมสุกจัด วาโดยสัณฐาน มีสณ ั ฐานดังขนมชิ้นหนา ที่ตัดไมเสมอกัน สวนภายในมีสีซีดเผือด เพราะถูกไอรอนที่เกิดแตกรรมเผาผลาญ โดยไมมีสงิ่ ที่ กินและดื่มเขาไป เหมือนกอนใบไมที่เขาเคี้ยวกินแลว หารสและโอชะมิได วาโดยทิศ เกิดในทิศ เบื้องบน วาโดยโอกาส ตัง้ หอยปกคลุมหัวใจและตับ อยูระหวางถันทัง้ สองในภายในสรีระ วา โดยปริจเฉท กําหนดดวยสวนที่เปนปอด นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนด เชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ไสใหญ + + + + + ไสใหญ สําหรับผูชายยาวประมาณ 32 ศอก สําหรับผูหญิงยาวประมาณ 28 ศอก เปน ไสทบ เพราะขดไปมาในที่ 21 แหง วาโดยสี มีสีขาวดังสีกอนกรวดขาวๆ วาโดยสัณฐาน มี สัณฐานดังปลาไหลเผือก ทีเ่ ขาตัดหัวขดไวในรางเลือด วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดย โอกาส ตัง้ อยูภายในสรีระ มีคอและทวารหนักเปนเขตแดน โดยเนื่องเปนอันเดียวกัน คือเบือ้ ง

316 บนตั้งอยูท หี่ ลุมคอ เบื้องลางตั้งอยูทที่ วารหนัก วาโดยปริจเฉท กําหนดสวนที่เปนไสใหญ นี้ เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนั่นแล

+ + + + + ไสนอย + + + + + ไสนอย มีลักษณะเปนสายพันอยูในที่ขนดไสใหญ วาโดยสี มีสีขาวดังรากจงกลนี วา โดยสัณฐาน มีสัณฐานดังรากจงกลนีเชนกัน วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส ไส นอยนั้นตั้งยึดขนดไสใหญไวเปนมัดเดียวกัน ดุจสายเชือกเครื่องยนตที่ยึดแทนยนตไว ในเวลาที่ เครื่องยนตดึง ของนายชางผูทําการงานทัง้ หลาย มีการเจาะและการถาก เปนตน ซึง่ ตั้งอยูใน ระหวางขนดไสใหญในที่ 21 แหง เหมือนเชือกที่เย็บรอยในระหวางมณฑลเชือกสําหรับเช็ดเทา วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนไสนอย นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึง กําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + อาหารใหม + + + + + อาหารใหม ไดแก ของที่กนิ ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม แลวเขาไปอยูในทอง วาโดยสี มีสี ดังอาหารทีก่ ลืนเขาไป วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานดังถุงบางๆที่บรรจุขาวสาร วาโดยทิศ เกิดใน ทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ตั้งอยูในกระเพาะอาหาร อวัยวะเยื่อลําไสเชนกับโปงผาที่เกิดขึ้นตรง กลางแหงผาเปยกทีเ่ ขารวบชายไว เรียกวา “ อุทร ” อุทรนัน้ ขางนอกเกลี้ยง ขางในเชนกับผาทีห่ อ เศษเนื้อหรือผาหอประจําเดือนที่เปอนแลว วาโดยปริจเฉท กําหนดดวยเยื่ออุทร และสวนที่เปน อาหารใหม นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + อาหารเกา + + + + + อาหารเกา คือ อุจจาระ วาโดยสี มีสดี ังอาหารทีก่ ลืนเขาไปเสียโดยมาก วาโดย สัณฐาน มีสณ ั ฐานตามที่ตงั้ อยู วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องต่ํา วาโดยโอกาส ตั้งอยูที่กระเพาะ อุจจาระ เปนเชนกับกระบอกไมไผ สูงประมาณ 8 องคุลีอยูตอนสุดของลําไสใหญ ระหวางสะดือ ตอนลางกับโครงกระดูกสันหลัง อาหารอยางใดอยางหนึ่งมีนา้ํ และขาวเปนตน ตกไปแลวใน กระเพาะอาหาร เดือดเปนฟองดวยไฟในอุทร สุกไปๆแหลกละเอียดราวกับถูกบดดวยลูกหินบด แลว จึงเคลื่อนไปๆตามโพรงแหงลําไสใหญ ตกไปทับถมกันอยูราวกับดินสีเหลือง ทีเ่ ขาขยําไสไว ในปลองไมไผฉะนัน้ วาโดยปริจเฉท กําหนดดวยเยื่อกระเพาะอุจจาระและโดยสวนที่เปนอุจจาระ นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

317 + + + + + มันสมอง + + + + + มันสมอง มีลกั ษณะเปนกองเยื่อที่ตั้งอยูภายในกระโหลกศีรษะ วาโดยสี มีสีขาวดังดอก เห็ด หรือจะกลาววามีสีดังนมสดทีย่ ังไมเปลี่ยนเปนนมสมก็ได วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ ตั้งอยู วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส อาศัยแนวประสาน 4 แหง ตั้งรวมกันอยู ภายในกระโหลกศีรษะ ดุจกอนแปง 4 กอนที่เขาตั้งไวรวมกัน วาโดยปริจเฉท กําหนดดวยพื้น ภายในกระโหลกศีรษะ และโดยสวนทีเ่ ปนมันสมอง นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนั่นแล

+ + + + + น้ําดี + + + + + น้ําดี มีทงั้ น้าํ ดีที่อยูในถุงน้ําดีและที่ไมอยูในถุงน้าํ ดี วาโดยสี น้าํ ดีที่อยูในถุงน้าํ ดีมสี ีดัง น้ํามันมะซางขน น้าํ ดีที่ไมอยูในถุงน้าํ ดีมีสีดังดอกพิกลุ แหง วาโดยสัณฐาน มีสณ ั ฐานตามที่ ตั้งอยูทงั้ 2 ชนิด วาโดยทิศ น้าํ ดีในถุงเกิดในทิศเบื้องบน น้ําดีนอกถุงเกิดทัง้ ในทิศเบื้องบนและ เบื้องต่ํา วาโดยโอกาส เวนผม ขน เล็บ ฟน และหนังที่แหงกระดางแลว ตัง้ อยูเอิบอาบซึม ซาบในสรีระทีเ่ หลือ ดุจหยาดน้ํามันในน้าํ เอิบอาบซึมซาบแผไป ฉะนั้นเมื่อน้าํ ดีนกี้ ําเริบ นัยนตา ของสัตวยอมเหลือง ยอมวิงเวียนศีรษะ รางกายยอมหวั่นไหว ยอมผื่นคัน น้ําดีที่ขังอยูในถุง น้ําดี ตัง้ อยูในถุงของน้าํ ดี เชนกับฝกของบวบใหญ มันติดอยูทเี่ นือ้ ตับในระหวางหัวใจกับปอด เมื่อน้ําดีนี้กาํ เริบ สัตวทงั้ หลายยอมเปนบา มีจิตวิปลลาส ละทิ้งหิริโอตตัปปะ ยอมกระทําสิง่ ที่ ไมควรกระทํา ยอมกลาวสิ่งที่ไมควรกลาว ยอมคิดสิ่งทีไ่ มควรคิด วาโดยปริจเฉท กําหนดโดย สวนที่เปนน้าํ ดี นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + เสมหะ + + + + + เสมหะ หมายถึง เสลด วาโดยสี มีสขี าว ดังสีน้ําใบแตงหนู วาโดยสัณฐาน มี สัณฐานตามทีต่ ั้งอยู วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ตั้งอยูที่เยื่ออุทร ในเวลาที่ กลืนน้ําและขาวเปนตน ก็เมื่อน้ําและขาวเปนตนตกลงไป มัน (เสมหะ) ก็จะแยกออกจากกันแลว ก็กลับหุม ปกปดตามเดิม เปรียบเหมือนแหนในน้าํ ครั้นเมื่อไมหรือกระเบื้องตกลงไป มันก็จะ แยกออกจากกันแลวก็กลับหุมเขาตามเดิม วาโดยปริจเฉท กําหนดสวนที่เปนเสมหะ นี้เปน สภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

318 + + + + + น้ําเหลือง + + + + + น้ําเหลือง วาโดยสี มีสีดังใบไมเหลือง แตในรางกายของผูตาย มีสีดังน้ําขาวขนที่บูด วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ตงั้ อยู วาโดยทิศ เกิดในทิศทัง้ สอง วาโดยโอกาส ชื่อวา โอกาสของน้ําเหลืองมิไดขังอยูเปนนิตย ก็แตเมื่อสวนแหงรางกายใดๆ ถูกกระทบดวยตอไม หนามแหลม เครื่องประหาร และเปลวไฟเปนตน โลหิตก็จะหอขึ้น หรือวาตอมมีฝเปนตน เกิดขึ้นในที่ใดๆ น้ําเหลืองนั้นก็พงึ กอตัวขึ้นในทีน่ นั้ ๆ วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปน น้ําเหลือง นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนั่นแล

+ + + + + เลือด + + + + + เลือด มีทงั้ เลือดที่ขังและเลือดที่ไหลเวียน วาโดยสี เลือดที่ขังมีสีดงั น้าํ ครั่งขนที่แกไฟ เลือดที่ไหลเวียนมีสีดงั น้าํ ครั่งใสๆ วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามทีต่ ั้งอยู วาโดยทิศ เลือดที่ขงั เกิดในทิศเบื้องบน เลือดทีไ่ หลเวียนเกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส เลือดที่ขงั มีประมาณ บาตรหนึง่ (ขนาดใบเล็ก) ตั้งอยูเต็มสวนใตของที่ตั้งของตับ คอยๆไหลไปบนไต หัวใจ ตับ ปอด ทําใหไตหัวใจตับปอดชุมอยูเสมอ เพราะวาเมื่อโลหิตนี้ไมทําใหไตหัวใจเปนตนชุมอยู สัตว ทั้งหลายยอมกระหาย สวนเลือดที่ไหลเวียน ตั้งแผไปสูอุปาทินนกสรีระทั้งสิน้ ตามเสนโลหิต เวน ผม ขน เล็บ ฟน และหนังที่แหงกระดาง วาโดยปริจเฉท กําหนดสวนที่เปนโลหิต นีเ้ ปน สภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + เหงื่อ + + + + + เหงื่อ หมายถึง อาโปธาตุที่ไหลออกตามรูขุมขนตางๆ วาโดยสี มีสีดังน้ํามันงาใส วา โดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ตั้งอยู วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วาโดยโอกาส ชื่อวาโอกาส ของเหงื่อ มิไดมีอยูเปนนิตยเหมือนเลือด แตเมื่อใด รางกายเกิดรอนดวยความรอนของไฟ ของ แสงแดด และจากความเปลี่ยนแปลงของอุตุ เมื่อนั้น เหงื่อก็จะไหลออกจากรูผมและรูขุมขนทั้ง ปวง ราวกะกําสายบัว พอถอนขึ้นพนจากน้ําซึ่งมีรากเหงาขาดไมเสมอกัน น้าํ ก็จะไหลออกไป ฉะนัน้ เพราะฉะนัน้ แมสณ ั ฐานของเหงือ่ นั้น ก็พงึ ทราบดวยสามารถแหงชองรูผมและขน นัก ปฏิบัติผูกําหนดเหงื่อเปนอารมณ พึงมนสิการเหงื่อตามที่ขังอยูเ ต็มในชองรูผมและขนนัน่ แล วา โดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนเหงื่อ นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนด เชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

319 + + + + + น้ํามันขน + + + + + น้ํามันขน วาโดยสี มีสีดังขมิ้นที่ผา ออกแลว วาโดยสัณฐาน สําหรับบุคคลผูมีรางกาย อวนนั้น มีสณ ั ฐานดังผาทุกูลเกาสีขมิน้ ตั้งอยูในระหวางหนังกับเนือ้ สวนบุคคลผูมีรางกายผอม นั้น มีสัณฐานดังผาทุกูลเกาสีขมิ้นที่ทาํ เปน 2-3 ชิ้น อาศัยเนื้อเหลานี้คือ เนื้อแขง เนื้อขา เนื้อ หลังติดอยูกับกระดูกสันหลัง และเนื้อทองนอย วาโดยทิศ เกิดในทิศทัง้ สอง วาโดยโอกาส สําหรับคนอวน มันแผไปสูสรีระทั้งสิน้ สําหรับคนผอม อาศัยเนื้อแขงเปนตนตัง้ อยู น้าํ มันขนนี้ เพราะเปนของนารังเกียจอยางยิง่ ชนทั้งหลาย จึงมิไดถือเอาเพื่อใชทาศีรษะและใชเปนน้ํามัน หยอดจมูกเปนตน วาโดยปริจเฉท เบื้องต่ํากําหนดดวยเนื้อ เบื้องบนกําหนดดวยหนัง เบื้อง ขวางกําหนดโดยสวนที่เปนน้ํามันดวยกัน นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนด เชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + น้ําตา + + + + + น้ําตา หมายถึง อาโปธาตุอันไหลออกจากนัยนตา วาโดยสี มีสีดังน้ํามันงาใส วาโดย สัณฐาน มีสณ ั ฐานตามที่ตงั้ อยู วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ตัง้ อยูทเี่ บาตา แตวาน้าํ ตานัน้ มิไดขังอยูในเบาตาทุกเมื่อ เหมือนน้าํ ดีในถุงน้าํ ดี ก็เมื่อใดสัตวทั้งหลาย เกิด โสมนัสหัวเราะใหญ เกิดโทมนัสรองไหคร่ําครวญ กินอาหารที่ทาํ ใหน้ําตาไหลได หรือดวงตาของ สัตวทั้งหลายนั้นกระทบกับควันละอองธุลเี ปนตน เมื่อนั้น น้าํ ตาของสัตวทงั้ หลายนั้นยอมไหล ออก อนึง่ นักปฏิบัติผูกําหนดน้ําตาเปนอารมณ พึงกําหนดดวยสามารถแหงน้ําตา ที่ตงั้ อยูเต็ม เบาตานั่นแล วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนน้าํ ตา นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาค ปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + น้ํามันเหลว + + + + + น้ํามันเหลว วาโดยสี มีสดี ังน้ํามันมะพราว แมจะกลาววา มีสีดังน้าํ มันที่ราดลงในขาว ตังก็ควร วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานแผไปดังหยาดน้าํ มันที่ลอยควางอยูเหนือน้ําอันใส ในเวลาที่ ทําการชําระลาง วาโดยทิศ เกิดในทิศทัง้ สอง วาโดยโอกาส โดยมากตั้งอยูท ี่ฝา มือ หลังมือ ฝาเทา หลังเทา ปลายจมูก หนาผาก และจงอยบา ก็แตนา้ํ มันเหลวนัน้ มิไดละลายอยูในที่ เหลานั้นทุกเมือ่ เมื่อใด สวนของรางกายเหลานัน้ เกืดความรอนขึน้ ดวยไฟ แสงแดด อุตุ และ ธาตุ เมื่อนั้น จึงซานไปขางโนนขางนี้ ราวกับการแผไปของหยาดน้าํ มันเหนือน้าํ ใส ในเวลาทํา ความสะอาดฉะนัน้ วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนน้ํามันเหลว นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

320 + + + + + น้ําลาย + + + + + น้ําลาย หมายถึง อาโปธาตุที่ประสมขึ้นเปนฟองภายในปาก วาโดยสี มีสีขาวดัง ฟองน้ํา วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ตั้งอยู แมจะกลาววามีสณ ั ฐานดังฟองน้ําก็ควร วาโดย ทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดยโอกาส ออกจากกระพุงแกมทัง้ สองมาตัง้ อยูท ี่ลนิ้ แตมิไดขังอยู ในทีน่ ั้นทุกเมือ่ แตเมื่อใด สัตวทงั้ หลายเห็นหรือนึกถึงอาหาร หรือวาวางสิง่ อะไรๆที่มีรสรอน ขม เผ็ด เค็ม และเปรี้ยวลงไปในปาก หรือวาเมื่อใด หัวใจของสัตวเหลานัน้ ออนเพลีย หรือ เกิดความหิวกระหายในอะไรๆขึ้น เมื่อนัน้ น้ําลายยอมเกิดขึ้น แลวก็หลัง่ ลงมาทีก่ ระพุง แกมทัง้ สองขางมาอยูท ี่ลิ้น อนึง่ น้ําลายนั้น ทีป่ ลายลิน้ มีนอย ทีโ่ คนลิน้ มีมาก มิรูจักหมดสิ้นไปทัง้ สามารถเพื่อจะยังอะไรๆ มีขาวเมา หรือขาวสาร หรือของที่ควรเคี้ยว ที่ใสเขาไปในปากใหชุม อยู ดุจบอน้าํ ที่เขาขุดไวใกลหาดทรายฉะนั้น วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนน้าํ ลาย นี้ เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนั่นแล

+ + + + + น้ํามูก + + + + + น้ํามูก หมายถึง น้ําอันไมสะอาด ที่ไหลออกมาจากมันสมอง วาโดยสี มีสีดังเยื่อใน เม็ดตาลออน วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ตงั้ อยู วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องบน วาโดย โอกาส ตัง้ อยูเต็มโพรงจมูก แตมิไดขังอยูในทีน่ นั้ ทุกเมื่อ ก็แลเมื่อใด สัตวทั้งหลายรองไห หรือ เปนผูมีธาตุกาํ เริบ อันเกิดขึน้ ดวยอาหารแสลงหรือฤดูเปลี่ยนแปลง เมื่อนั้น มันสมองทีถ่ ึงความ เปนเสมหะเสีย จึงเคลื่อนหยัง่ ลงตามชองเพดานขางบน มาตั้งอยูเต็มโพรงจมูก หรือยอมไหล ออกไป เปรียบเหมือนคนหอนมสมดวยใบบัว แลวเอาหนามแทงขางลาง ทีนนั้ น้ําเหลวของนม สมก็จะไหลออกตามชองนัน้ แลวพึงตกไปภายนอกฉะนัน้ นักปฏิบัติผูกําหนดน้าํ มูกเปนอารมณ พึงกําหนดดวยสามารถแหงน้ํามูกที่ตงั้ อยูเต็มจมูกนี้แล วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปน น้ํามูก นี้เปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + ไขขอ + + + + + ไขขอ หมายถึง ไขลื่นเปนมัน ที่มีกลิน่ เหม็นสางภายในขอตอของรางกาย วาโดยสี มี สีดังยางดอกกรรณิการ วาโดยสัณฐาน มีสัณฐานตามที่ตั้งอยู วาโดยทิศ เกิดในทิศทั้งสอง วา โดยโอกาส ตัง้ อยูที่ขอตอ 108 แหง ซึง่ ทํากิจ คือ การหยอดทาขอตอกระดูกทั้งหลายใหสําเร็จ อยู ก็ไขขอนัน้ ของผูใดมีนอยไป เมื่อผูนั้นลุกขึ้น นั่งลง กาวไปขางหนา ถอยมาขางหลัง คู เหยียด กระดูกทั้งหลายจะลั่นดัง “ กฏะๆ ” เหมือนคนเที่ยวดีดนิ้วมือ เมื่อเดินทางไกล แม ประมาณโยชนหนึ่งหรือสองโยชน วาโยธาตุก็จะกําเริบ รางกายยอมเปนทุกข แตของผูใดมีมาก

321 กระดูกทัง้ หลายยอมไมสงเสียงดัง “ กฏะๆ ” ในเวลาลุกขึน้ และนัง่ ลงเปนตน เมื่อเดินทางไกล วาโยธาตุก็ไมกําเริบ รางกายก็ไมเปนทุกข วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยสวนที่เปนไขขอ นี้เปน สภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับผมนัน่ แล

+ + + + + น้ํามูตร + + + + + น้ํามูตร หมายถึง น้าํ ปสสาวะ วาโดยสี มีสีดังน้ําดางถั่วเหลือง วาโดยสัณฐาน มี สัณฐานดังน้าํ ซึง่ อยูในหมอน้ําที่เขาตั้งปดปากไว วาโดยทิศ เกิดในทิศเบื้องต่ํา วาโดยโอกาส ตั้งอยูภายในกระเพาะปสสาวะ ในกระเพาะปสสาวะเหลานัน้ น้ํามูตรยอมไหลออกจากสรีระ แต ทางที่เขาไปของน้าํ มูตรนัน้ มิไดปรากฏ สวนทางที่ออกไปยอมปรากฏ เปรียบเหมือนน้าํ ครําทีซ่ ึม เขาไปในหมอน้ําเกลือที่ปดปาก อันเขาทิ้งไวในแองน้าํ ครํา ทางเขาของมันมิไดปรากฏฉะนัน้ อนึ่ง ในกระเพาะปสสาวะใดเลา เต็มแลวดวยน้ํามูตร ความขวนขวายของสัตวทงั้ หลาย จัก เกิดขึ้นวา “ เราจักถายปสสาวะ ” ดังนี้ วาโดยปริจเฉท กําหนดโดยภายในแหงกระเพาะปสสาวะ และโดยสิ่งที่เปนน้าํ มูตร นีเ้ ปนสภาคปริจเฉท สวนวิสภาคปริจเฉท พึงกําหนดเชนเดียวกันกับ ผมนั่นแล

หมายเหตุ 1 . ตามธรรมดาคนทัง้ หลายนัน้ เมื่อไดเห็นกันและกันแลว ยอมสําคัญผิดถือวาเปนคน นั้น เปนคนนี้ เปนชาย เปนหญิง งาม ไมงาม อยูอยางนี้เสมอไป จิตใจก็เศราหมองไปดวย กิเลสมี ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ เปนตนอยูตลอดเวลา ครั้นไดทําการพิจารณาซึง่ โกฏฐาสทัง้ 32 ประการ โดยความเปน วรรณะ สัณฐาน เปนตนแลว ความสําคัญผิดที่เคยจํา ไววาเปนคนนัน้ คนนี้ ชาย หญิง งาม ไมงาม ก็หายไป มีแตวรรณนิมิต หรือปฏิกูลนิมิต หรือธาตุนมิ ิต อยางใดอยางหนึ่งปรากฏขึ้น จิตใจก็ผองใสปราศจากราคะ โทสะ โมหะ เปน สาเหตุสาํ คัญที่จะใหไดบรรลุอรหัตตมรรค อรหัตตผล อุปมาดังตัวเสือที่นายชางประดิษฐขึ้นตาม หลักวิทยาศาสตร มีการเคลื่อนไหวไปมา อาปาก กระพริบตาไดดุจเสือจริงๆ เมือ่ เด็กๆ ทั้งหลายแลเห็นเขา ก็ยอมมีความกลัวไมกลาเขาไปจับตอง ครั้นนายชางจัดการถอดออกเปน ชิ้นๆ วางไวใหดูแลว ความกลัวก็หายไป เขาไปจับถือเลนได ขอนี้ฉันใด การพิจารณาโกฏฐาส โดยความเปนสี สัณฐาน เปนตนของนักปฏิบัติ ก็เพื่อที่จะใหโกฏฐาสเหลานั้นปรากฏเปนสวนๆ ไดฉันนั้น 2 . หากผูใดพิจารณาโกฏฐาสอยูแตนิมิตทัง้ 3 คือ วรรณนิมิต (สี) ปฏิกูลนิมิต (ความนา เกลียด) และธาตุนิมิต (ความสูญจากความเปนสัตตชีวะ) อยางใดอยางหนึ่งมิไดปรากฏเลย ผูนนั้

322 ก็มิควรละทิ้งกรรมฐานนี้ โดยไปเขาใจเสียวานิมิตไมปรากฏแกตนแลว แตควรพยายามในการ พิจารณาโกฏฐาสตอไปอยูเนืองๆ เพราะไดฟงสืบตอกันมาวา ในครั้งโบราณพระมหาเถระ ทั้งหลายไดกลาววา การพิจารณาโกฏฐาสนี้เปนสิง่ สําคัญมาก เมื่อผูเ จริญไมละทิ้ง พยายาม ตอไป ตามทีท่ านอรรถกถาจารยไดสั่งสอนไวแลวนี้ ก็จักไดรับผลอยางแนนอน โดยโกฏฐาส เหลานั้นจะปรากฏขึ้นโดยเฉพาะๆทั้งภายในตนและคนอื่น เสมือนหนึง่ พวงมาลัยที่เขารอยดวย ดอกไม 32 ชนิด ฉะนัน้ เมื่อจะมองดูตนก็ดี หรือเห็นคนใดคนหนึ่ง สัตวตัวใดตัวหนึ่งผานไปก็ดี ในขณะนัน้ ยอมรูสึกวาเปนแตเพียงโกฏฐาสตางๆรวมกันอยู ไมมีความรูสึกนึกคิดวาเปนคนนัน้ คนนี้ สัตวตัวนั้นตัวนี้เหมือนเมื่อกอนเลย และในขณะที่กําลังบริโภคอาหารอยู ก็ไมมีความรูสึก วาตนกําลังตักอาหารใสปากเคี้ยวและกลืนแตอยางใด คงมีความรูสึกแตเพียงวากําลังตักอาหารใส ลงในโกฏฐาสเทานัน้ จากนั้นนิมิตก็จะปรากฏตามความประสงคของตน หลังจากนิมิตปรากฏ แลว ฌาน มรรค ผล ก็จะบังเกิดตอไป แลวแตการพิจารณานิมติ นั้นๆ อนึ่ง ทานอรรถกถา จารยไดกลาวไววา ผูท ี่ไดสาํ เร็จเปนพระอรหันต จากการเจริญกายคตาสติกรรมฐานเพียงแต อุคคหโกสัลละ 7 ประการนี้ มีจํานวนมากมายนัก

4.2 มนสิการโกสัลละ มนสิการโกสัลละ คือ ความฉลาดในการพิจารณามี 10 ประการ ไดแก อนุปพุ พโต นาติสีฆโต นาติสณิกโต วิกเขปปปฏิพาหนโต ปณณัตติสมติกมโต อนุปพุ พมุญจนโต อัปปนา โต ตโยจสุตตันตา (อธิจิตตสูตร) ตโยจสุตตันตา (สีติภาวสูตร) และตโยจสุตตันตา (โพชฌังค โกสัลลสูตร)

4.2.1 อนุปุพพโต อนุปุพพโต คือ การพิจารณาไปตามลําดับ ขอนี้อธิบายวา ภายหลังจากการศึกษา อุคคหโกสัลละ 7 ประการจบเรียบรอยแลว นักปฏิบัติไมตองทําการทองบนดวยวาจา แตตองทํา การพิจารณาโกฏฐาส 32 เหลานัน้ ดวยใจ โดยสี สัณฐาน ที่ตั้ง ที่เกิด และขอบเขต ใหถูก ตรงตามหลักแหงขอนี้ คือ พิจารณาไปตามลําดับ ไมลักลั่น

4.2.2 นาติสีฆโต นาติสีฆโต คือ การพิจารณาโดยไมรีบรอนนัก ขอนี้อธิบายวา ขณะที่กาํ ลังพิจารณาไป ตามลําดับนั้น อยาพิจารณาใหเร็วนัก เพราะถาพิจารณาเร็วแลว สี สัณฐาน ที่ตั้ง ที่เกิด และขอบเขต ของโกฏฐาสนั้น จะปรากฏไมชัด

323 4.2.3 นาติสณิกโต นาติสณิกโต คือ การพิจารณาโดยไมเฉือ่ ยชานัก ขอนี้อธิบายวา ขณะที่กําลัง พิจารณาไปตามลําดับนั้น อยาพิจารณาใหชานัก เพราะถาพิจารณาชาแลว สี สัณฐาน ที่ตงั้ ที่เกิด และขอบเขต ของโกฏฐาสนัน้ ก็จะปรากฏโดยความเปนของสวยงาม ทําใหกรรมฐานไม ถึงที่สุด คือ ไมใหไดฌานและมรรคผล นัน่ เอง

4.2.4 วิกเขปปปฏิพาหนโต วิกเขปปปฏิพาหนโต คือ การพิจารณาโดยบังคับจิตไมใหไปที่อนื่ ขอนี้อธิบายวา การ เจริญกรรมฐานของนักปฏิบตั ินั้น เปรียบดังคนทีเ่ ดินไปใกลเหว ซึ่งมีชองทางชัว่ รอบเทาเดียว จะตองระวังอยางที่สุดเพื่อไมใหพลาดตกลงไป ขอนี้ฉนั ใด นักปฏิบัติพึงปองกันความฟุงซานของ จิตใจ แลวใหตั้งมัน่ อยูแตในอารมณกรรมฐาน ก็ฉนั นัน้

4.2.5 ปณณัตติสมติกมโต ปณณัตติสมติกมโต คือ การพิจารณาโดยกาวลวงบัญญัติ ขอนี้อธิบายวา ในขณะที่ พิจารณาไปตามลําดับอยูน นั้ นักปฏิบัติไดมีการพิจารณานามบัญญัติและสัณฐานบัญญัติอยูดวย เพื่อจะใหปฏิกลู นิมิตปรากฏ ครั้นปฏิกูลนิมิตปรากฏแลว ก็มจิ ําเปนที่จะตองพิจารณาถึงนาม บัญญัติ คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง ฯลฯ และสัณฐานบัญญัติ คือ รูปรางสัณฐาน แต อยางใดอีก เปรียบดังคนเห็นบอน้าํ ในปาเวลาหาน้ํายาก จึงไดจัดทําเครื่องหมายเพือ่ จําไว จะได สะดวกแกการที่จะมาหาน้าํ ดื่ม และอาบในครั้งตอๆไป ครั้นไปมาบอยๆเขาก็ชํานาญในทางนัน้ เปนอยางดี ไมจําเปนที่จะตองจําเครื่องหมายนั้นอีก ขอนี้ฉันใด เมือ่ ปฏิกูลนิมิตปรากฏแลว ผู เจริญก็พึงกาวลวงบัญญัติเสีย ก็ฉนั นัน้

4.2.6 อนุปุพพมุญจนโต อนุปุพพมุญจนโต คือ การพิจารณาโดยทิ้งโกฏฐาสที่ไมปรากฏโดย สี สัณฐาน ที่เกิด ที่ตั้ง และขอบเขต ขอนี้อธิบายวา ในขณะที่พิจารณาไปตามลําดับ ตัง้ แตผมจนถึงน้าํ มูตรโดย อนุโลม และตั้งแตน้ํามูตรจนถึงผมโดยปฏิโลมอยูนนั้ นักปฏิบัติพงึ สังเกตุดูวา โกฏฐาสอันใด หรือหมวดใดปรากฏไมชัด ก็พงึ ละการพิจารณาโกฏฐาสอันนัน้ หรือหมวดนัน้ เสีย แลวพิจารณา โกฏฐาสอันอืน่ หรือหมวดอืน่ ที่เหลือ ซึง่ มีการปรากฏชัดมากตอไป และในระหวางนัน้ ก็พึงสังเกตุดู อีกวา โกฏฐาสอันใดหรือหมวดใดปรากฏชัดกวา ก็จงพิจารณาแตโกฏฐาสอันนั้นหรือหมวดนัน้ แลวละทิง้ ที่ไมคอยชัดนั้นเสีย ใหคัดเลือกอยางนี้เรื่อยไปจนเหลือโกฏฐาส 2 อัน และใน 2 อันนัน้

324 จงสังเกตุดูอีกวาอันไหนปรากฏชัดมากกวา ก็พิจารณาอันนัน้ ละอันที่ปรากฏชัดนอยนัน้ เสีย เพราะการพิจารณาโกฏฐาสนี้ เมื่อถึงขัน้ สุดทายแลว ตองถือเอาแตเพียงอันเดียว หาใชถือเอา ทั้ง 32 อันนั้นไม เปรียบเทียบขอนี้วา ดุจดังนายพรานตองการจับลิงซึ่งอยูในปาตาล มีตาลอยู 32 ตน เอาลูกศรยิงใบตาลซึ่งลิงเกาะอยูในตนแรกแลวทําการตะคอก ลิงจึงโดดไปที่ตนตาลอืน่ ๆ โดยลําดับจนกระทัง่ ถึงตนสุดทาย นายพรานก็ตามไปทําอยางนัน้ อีกในตนสุดทายนัน้ ลิงก็โดด กลับมาสูตาลตนแรกโดยทํานองนี้อีก กลับไปกลับมาอยูอยางนี้ โดยที่ถกู ตะคอกตลอดเวลา ใน ที่สุดก็หมดแรงตองหยุดอยูท ี่ตนตาลตนหนึ่ง โดยยึดใบตาลออนไวแนน แมถูกนายพรานแทง เทาใดก็ไมกระโดดหนี ฉันใด จิตใจของนักปฏิบัติทยี่ ึดอยูในโกฏฐาสอยางใดอยางหนึง่ ใน 32 อัน นั้นก็เชนกัน โกฏฐาสทัง้ 32 อันเปรียบเหมือนตนตาล 32 ตนในปาตาล สวนใจเปรียบเหมือนลิง และนักปฏิบัตนิ ั้นเปรียบเหมือนนายพราน ก็ฉนั นัน้

4.2.7 อัปปนาโต อัปปนาโต คือ การพิจารณาในโกฏฐาสอยางใดอยางหนึ่งใหเขาถึงอัปปนาสมาธิ ขอนี้ อธิบายวา เมือ่ นักปฏิบัติไดพิจารณาโดยการละทิง้ โกฏฐาสที่ไมคอยชัดไปตามลําดับ จนกระทัง่ เหลืออันใดอันหนึง่ แลว ตอจากนั้นก็พิจารณาในโกฏฐาสอันนัน้ จนถึงไดฌาน ไมตองพิจารณา โกฏฐาสที่ละทิ้งไปแลวๆนัน้ อีก เพราะโกฏฐาสแตละอยางก็ใหไดฌานดวยกันทั้งสิน้ การที่ตอง เจริญโกฏฐาสทั้ง 32 อันในระยะแรกนัน้ ก็เพื่อจะไดรับประโยชนอยางใดอยางหนึ่งใน 2 ประการ ประการทีห่ นึ่ง คือ ในขณะที่กาํ ลังพิจารณาโกฏฐาส โดยอนุโลมและปฏิโลมในหมวดทัง้ 6 ตามลําดับอยูน ั้น ปฐมฌานอาจเกิดขึ้นก็ได อีกประการหนึง่ คือ ถาหากวาฌานไมเกิดขึ้น ก็ จะไดพิจารณาคัดเลือกโกฏฐาสอื่นตอไปวา โกฏฐาสอันใดจะเหมาะกับอัธยาศัยของตนมากที่สดุ (จากหลักการของอนุปุพพมุญจนโต)

4.2.8 ตโยจสุตตันตา (อธิจิตตสูตร) การปฏิบัติตามหลักอธิจิตตสูตรนั้น นักปฏิบัติตองพิจารณาในนิมิตทัง้ 3 คือ สมาธินิมิต (จิตใจที่สงบ) ปคคหนิมิต (ความพยายาม) และอุเบกขานิมิต (ความวางเฉย) วาอยางใดมาก เกินไปหรือนอยเกินไป แลวแกไขเพิ่มเติมนิมิตนัน้ ๆใหเสมอกัน จนกระทั่งสมาธิของตนขึ้นสูขั้น ของอธิจิต คือสมาธิที่มีกาํ ลังยิ่ง สามารถทําจิตใหนงิ่ อยูในอารมณกรรมฐานได ทั้งนี้ก็เพราะวา ถาสมาธินิมิตมาก โกสัชชะคือความเกียจครานยอมเกิดขึ้น ถาปคคหนิมิตมาก ความฟุงซาน ยอมเกิดขึ้น ถาอุเบกขานิมติ มาก ก็จะไมถึงซึง่ ฌานและมรรคผล ดังนัน้ นักปฏิบัติจึงไมควร ใฝใจในนิมิตอยางใดอยางหนึ่งใหมากเกินไป แตควรใฝใจในนิมิตทั้ง 3 นั้นใหเสมอกัน พระพุทธ

325 องคทรงอุปมาวา เสมือนหนึ่งชางทองกอนที่จะทําทองยอมผูกเบา ครั้นผูกเบาแลวจึงฉาบปาก เบา ครั้นฉาบปากเบาแลวจึงเอาคีมหยิบทองใสเขาที่ปากเบา ยอมเปาตามกาลอันควร พรมน้าํ ตามกาลอันควร พักตามกาลอันควร ทองนัน้ ยอมเปนของออนควรแกการงาน ผุดผองและทั้งสุก ปลั่ง ใชทาํ สิง่ ใดก็ไดดี ถาหากวาการงานทัง้ 3 อยางนีอ้ ยางใดอยางหนึง่ มากกวากันและกัน ทองนั้นก็จะไหมละลายไป เย็นไป ไมสุกปลั่ง จะทําเปนเครื่องประดับอันใดก็มิได

4.2.9 ตโยจสุตตันตา (สีติภาวสูตร) การปฏิบัติตามหลักสีติภาวสูตรนั้น นักปฏิบัติตองปฏิบัติตามขอธรรม 6 ประการ เพื่อทํา ใหแจงซึง่ พระนิพพาน ที่เรียกวา “ สีติภาวะ ” ไดแก 1 . ขมจิตใจในคราวที่ควรขม คือ ขมจิตเมื่อจิตมีความเพียรมากเกินไป 2 . ประคองจิตในคราวที่ควรประคอง คือ ประคองจิตเมื่อจิตมีความงวงเหงาหรือหดหู 3 . ปลอบจิตในคราวที่ควรปลอบ คือ ปลอบจิตเมื่อจิตไมยินดีในการงาน 4 . พักผอนจิตในคราวที่ควรพักผอน คือ พักผอนจิตเมือ่ จิตดําเนินอยูด วยดีในกรรมฐาน 5 . มีจิตนอมไปในมรรคผล 6 . มีความยินดีในพระนิพพาน

4.2.10 ตโยจสุตตันตา (โพชฌังคโกสัลลสูตร) เมื่อใดจิตใจมีความงวงเหงาหดหูท อถอย ตองอบรมโพชฌงค 3 ประการนี้ ไดแก 1 . ธัมมวิจยสัมโพชฌงค (ความสอดสองสืบคนในธรรม) 2 . วิริยสัมโพชฌงค (ความเพียรมุมานะบากบัน่ ไมยอทอ) 3 . ปติสัมโพชฌงค (ความอิม่ ใจดื่มด่ําในใจ) เมื่อใดจิตใจมีความเพียรมากไปจนฟุง ซาน ตองอบรมโพชฌงค 3 ประการนี้ ไดแก 1 . ปสสัทธิสัมโพชฌงค (ความสงบและผอนคลายกายและใจ) 2 . สมาธิสัมโพชฌงค (ความมีใจตั้งมัน่ แนวแน) 3 . อุเบกขาสัมโพชฌงค (ความวางใจเปนกลางไมยนิ ดียินราย)

326

อานาปานสติ อานาปานสติ คือ สติที่ตามกําหนดลมหายใจเขาออก มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําสัญญาเกี่ยวกับลมหายใจเขาออก เปนลักษณะ 2 . มีความใสใจตอสัมผัส ณ. จุดที่ลมหายใจเขาออกมากระทบ เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการละซึง่ วิตก เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอานาปานสติ บุคคลผูเหมาะกับอานาปานสติ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 2 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน

2 . ขอบเขตของอานาปานสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอานาปานสติ ไดแก 1 . ไดปฏิภาคนิมิต 2 . ไดอุปจารสมาธิ 3 . ไดปฐมฌาน 4 . ไดทุติยฌาน 5 . ไดตติยฌาน 6 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของอานาปานสติ อานิสงสของอานาปานสติมี 4 ประการ ไดแก 1 . มีชวี ิตที่สงบประณีตและสุขุม 2 . มีชวี ิตทีเ่ ปนสุข 3 . ทําบาปอกุศลธรรมไมใหปรากฏและใหดับไปทันทีที่เกิดขึ้น 4 . กายและจิตไมกระสับกระสาย

4 . วิธีเจริญอานาปานสติ วิธีเจริญอานาปานสติมีแนวทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 1 . ณ. สถานที่อันเงียบสงบ นักปฏิบัติลงนัง่ คูบัลลังก ตั้งกายตรง ดํารงสติไวใหมั่น

327 2 . สําเหนียกวา เมื่อหายใจเขายาวและออกยาว ก็รวู าหายใจเขายาวและออกยาว 3 . สําเหนียกวา เมื่อหายใจเขาสั้นและออกสั้น ก็รูวาหายใจเขาสั้นและออกสั้น 4 . สําเหนียกวา เมื่อเราหายใจเขาและออก เราจักรูช ัดซึ่งตนลม กลางลม และปลายลม 5 . สําเหนียกวา เราจักทําลมหายใจเขาและออกนี้ จากหยาบใหละเอียด ตามนัยขอที่ 1 นัน้ นักปฏิบตั ิจะตองตั้งใจคอยกําหนดลมหายใจทีก่ ระทบกับปลายจมูก หรือริมฝปากบน ในขณะที่ตนหายใจเขาและหายใจออก การกระทบของลมที่ปรากฏชัดนั้น แลวแตบุคคล คือ บุคคลใดจมูกยาวลมก็ปรากฏชัดที่โครงจมูก ถาจมูกสั้นลมก็ปรากฏชัดที่ริม ฝปากบน การใหกําหนดรูอยูในลมหายใจเขาออกอยูเสมอๆนี้ ก็เพื่อจะมิใหจิตซัดสายไปในเรื่อง อื่นๆ เปนการฝกฝนอบรมจิตใจใหเกิดสมาธิ เพราะตามธรรมดาจิตใจของคนเรานี้ ยอมฟุง ซาน ไปในอารมณตางๆ หาเวลาสงบนิ่งอยูในอารมณอันเดียวไดยาก แตกระนั้นก็หารูต ัวไม ที่เปน เชนนี้ก็เพราะมิไดมีการสังเกตุดูนั่นเอง หากจะสังเกตุดูจริงๆแลว จะเห็นวา ชัว่ ขณะที่สวดมนต ไหวพระอยู ใจก็หาไดนิ่งแนวอยูในบทสวดมนตนนั้ ไม คงวาไปเปลาๆดวยความชํานาญเทานัน้ เหตุนนั้ เมื่อจะทําการฝกฝนอบรมจิตใจใหเปนสมาธิ จึงจําเปนที่จะตองตั้งใจคอยกําหนดลม หายใจเขาออกที่กระทบกับปลายจมูกหรือริมฝปากบน การเจริญอานาปานสติกรรมฐานนัน้ ประกอบดวยหลักการปฏิบตั ิ โดยแบงเปน 3 ลําดับขั้นตอน อันไดแก 1 . คณนานัย (นับลมหายใจเขาออก) 2 . อนุพนั ธนานัย + ผุสนานัย (กําหนดรูตามลมหายใจ + การกําหนดรูการกระทบของลม) 3 . อนุพนั ธนานัย + ฐปนานัย (กําหนดรูตามลมหายใจ + การกําหนดจดจอในปฏิภาคนิมิต)

4.1 คณนานัย คณนานัย คือ การนับลมหายใจเขาและลมหายใจออก อันมีอยูดวยกัน 2 นัย ไดแก ธัญญมามกคณนานัย และ โคปาลกคณานานัย

4.1.1 ธัญญมามกคณนานัย ธัญญมามกคณนานัย คือ การนับลมหายใจเขาออกดวยวิธนี ับชาๆ ดุจคนตวง ขาวเปลือก การนับชาๆนัน้ หมายความวา ตองนับแตลมหายใจเขาหรือลมหายใจออก ที่รูสึก ชัดเจนทางใจเทานั้น สวนลมหายใจที่ไมรสู ึกชัดเจนทางใจจงทิง้ เสีย ไมตองนับ สําหรับนัก ปฏิบัติก็ตองมีการหายใจเขาออกอยางชาๆ เพื่อจะไดกาํ หนดรูทนั และนับถูก การนับนั้นแบงเปน 6 หมวด ไดแก ปญจกะ ฉักกะ สัตตกะ อัฏฐกะ นวกะ และทสกะ

328 หมวด ปญจกะ ฉักกะ สัตตกะ อัฏฐกะ นวกะ ทสกะ

1,1 1,1 1,1 1,1 1,1 1,1

2,2 2,2 2,2 2,2 2,2 2,2

3,3 3,3 3,3 3,3 3,3 3,3

ธัญญมามกคณนานัย 4,4 5,5 4,4 5,5 6,6 4,4 5,5 6,6 7,7 4,4 5,5 6,6 7,7 8,8 4,4 5,5 6,6 7,7 8,8 9,9 4 , 4 5 , 5 6 , 6 7 , 7 8 , 8 9 , 9 10 , 10

ยกตัวอยางการนับโดยธัญญมามกคณนานัยในหมวดปญจกะไดดังนี้ หายใจเขานับ “ 1 ” หายใจออกนับ “ 1 ” หายใจเขานับ “ 2 ” หายใจออกนับ “ 2 ” หายใจเขานับ “ 3 ” หายใจออกนับ “ 3 ” หายใจเขานับ “ 4 ” หายใจออกนับ “ 4 ” หายใจเขานับ “ 5 ” หายใจออกนับ “ 5 ” โดยวิธกี ารนับนั้น ใหนับไลตั้งแตหมวดแรกถึงหมวดสุดทายจนครบทุกหมวด เสร็จแลวก็ กลับมาเริ่มทีป่ ญจกะใหมอกี ตั้งแตหมวดปญจกะเปนตน จนถึงหมวดทสกะเวียนไปมาอยูอยางนี้ จนกวาจะนับลมเขาออกไดชัดเจนทุกขณะ มิตองเวนลมเขาออกที่ไมชัดเจน ตามลําดับหมวดทั้ง 6 โดยไมพลัง้ เผลอ อนึ่ง การนับลมเขาออกในหมวดตางๆที่ไดกลาวไวนี้ ยกเวนหมวดปญจกะ เสียแลว การนับขึ้นตนใหมวา “ หนึง่ ” ในหมวดตางๆบางทีกน็ ับลมออกวา “ หนึง่ ” กอน บางทีก็ นับลมเขาวา “ หนึ่ง ” กอน ดังนัน้ ตามทีแ่ สดงไวก็เปนแตเพียงตัวอยางชี้ใหรูวิธนี ับเทานั้น จะถือ ใหตรงตามนี้ทเี ดียวหาไดไม ทีเ่ ปนดังนีก้ ็เพราะวาการนับลมเขาออกตามธัญญมามกคณนานัย นับเฉพาะแตลมเขาและลมออก ที่รูสึกชัดเจนทางใจอยางเดียว เวนลมเขาออกทีไ่ มรูสึกชัดทางใจ เสียนัน่ เอง

4.1.2 โคปาลกคณนานัย โคปาลกคณนานัย คือ การนับลมหายใจเขาออกดวยวิธีนับเร็วๆ ดุจคนเลี้ยงโคทําการ นับโคที่เบียดกันออกจากคอกที่คับแคบเปนหมูๆ การนับเร็วๆนั้นหมายความวา เมือ่ ทําการนับลม หายใจเขาออกตามวิธีธัญญมามกคณนานัยอยูเรื่อยๆนั้น ความรูสึกชัดเจนทางใจก็มีขึ้นทุกๆขณะ การหายใจเขาและการหายใจออก เนื่องมาจากมีสมาธิดี ความรูสกึ ไมชัดเจนก็จะหมดไป การ

329 หายใจเขาออกก็จะเร็วขึ้น การกําหนดนับก็เร็วตามไปดวย การนับนั้นแบงเปน 6 หมวด ไดแก ปญจกะ ฉักกะ สัตตกะ อัฏฐกะ นวกะ และทสกะ หมวด ปญจกะ ฉักกะ สัตตกะ อัฏฐกะ นวกะ ทสกะ

1 1 1 1 1 1

2 2 2 2 2 2

3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 4 4

โคปาลกคณนานัย 5 5 6 5 6 5 6 5 6 5 6

7 7 7 7

8 8 8

9 9

10

ยกตัวอยางการนับโดยโคปาลกคณนานัยในหมวดปญจกะไดดังนี้ หายใจเขานับ “ 1 ” หายใจออกนับ “ 2 ” หายใจเขานับ “ 3 ” หายใจออกนับ “ 4 ” หายใจเขานับ “ 5 ” สําหรับการนับลมหายใจเขาออกตามโคปาลกคณนานัยนัน้ นักปฏิบัติจะตองพยายามนับ ตามลําดับของลมเขาออกทัง้ หมด ใหถกู ตรงตามลําดับเลขในหมวดนั้นๆ เหมือนอยางที่ไดแสดง ไวนี้อยาใหลักลั่น เพราะการปฏิบัติที่ไดผานธัญญมามกคณนานัยมาเปนอยางดีแลวนัน้ สติและ สมาธิยอมดีขึ้น การหายใจเขาออกก็เร็ว โดยเหตุนี้จงึ ตองพยายามนับใหถูกตามลําดับของลม และใหถูกตองตามลําดับเลข การนับก็อยานับดวยปากตองกําหนดนับดวยใจ

4.2 อนุพันธนานัย + ผุสนานัย เมื่อไดกําหนดนับตามโคปาลกคณนานัยเรื่อยมาจนชัดเจนดีแลว ตอไปก็หยุดนับ กลับ ตั้งใจไวอยูที่ปลายจมูก ทําการกําหนดรูตามลมเขาออกทุกๆขณะ อยางนี้คืออนุพนั ธนานัยที่อยู ในขั้นผุสนา ที่กลาววาการนับตามโคปาลกคณนานัยไดชัดเจนดีนนั้ คือมีความรูส ึกชัดเจนทางใจ ทุกขณะตามลําดับของลมเขาออก และการนับตัวเลขในหมวดหนึง่ ๆก็ไมผิดพลาด เปนไปดวยดี ทั้งสองประการ อนึ่ง การปฏิบัติที่เขาถึงอนุพนั ธนานัยนี้ นักปฏิบัตติ องปฏิบัติตามหลักของขอ 2 ถึงขอ 5 ที่พระพุทธองคทรงวางไว ดังที่ไดกลาวมาแลว ตามขอ 2 และขอ 3 นัน้ คือเมื่อกําหนดรู ตามลมเขาและลมออกทุกๆขณะนั้น ถาลมเขาและออกยาวก็รูวา หายใจเขายาวและหายใจออก ยาว ถาลมเขาและลมออกสั้นก็รูวา หายใจเขาสั้นและหายใจออกสัน้ ธรรมดาคนเรามีการหายใจ

330 เขาออกไมเหมือนกัน บางคนก็หายใจเขาออกยาว คลายๆกับลมหายใจเขาออกของงู วัว และ ชาง บางคนก็หายใจเขาออกสั้น คลายๆกับลมหายใจเขาออกของหมา แมว และนก แม กระนัน้ ในคนๆเดียวกันก็มีไดทั้งสองอยาง คือคนที่มีปกติลมหายใจเขาออกยาว ครั้นเหนื่อย หรือไมสบาย ในขณะนัน้ ก็มีการหายใจเขาออกสั้นได สวนคนที่มีปกติลมหายใจเขาออกสั้น ครั้นกําลังคิดเรื่องตางๆหรือกําลังอานหนังสือเพลินอยู ในขณะนัน้ ก็มกี ารหายใจเขาออกยาวได เชนเดียวกัน ตามหลักขอ 4 นัน้ เมื่อกําหนดรูลมเขาออกยาวสั้นไดชัดเจนดีแลว จากนัน้ ก็ตอง กําหนดรูตน กลาง และปลาย ของลมดวย คือขณะทีห่ ายใจเขา ตนลมอยูทปี่ ลายจมูก กลางลมอยูท หี่ นาอก และปลายลมอยูท สี่ ะดือ สวนขณะที่หายใจออก ตนลมอยูท ี่สะดือ กลาง ลมอยูทหี่ นาอก และปลายลมอยูที่ปลายจมูก การกําหนดรูตน กลาง และปลายของลมนี้ นัก ปฏิบัติตองตั้งจิตไวที่ปลายจมูก อันเปนทีก่ ระทบของลมเขาและลมออกเทานัน้ อยาวิง่ ไปตามลม ตามหลักขอที่ 5 นั้น ขณะทีก่ ําลังปฏิบัติตามหลักขอที่ 2-3-4 อยูน ั้น เวลานั้นลมหายใจเขาออกก็ จะคอยๆละเอียดขึ้นๆ สําหรับบางคนก็ยงั คงมีความรูสึกติดตออยูไดไมขาด เนื่องจากสติ สมาธิ และปญญา ของผูนั้นมีกาํ ลังดี สวนบางคนที่สติ สมาธิ และปญญา มีกาํ ลังออน ความรูสกึ อาจหายไป ถึงกระนัน้ ก็จงตั้งสติไวใหมนั่ อยูที่ปลายจมูก ไมชาความรูสึกก็จะกลับมามีอยางเดิม อยาวิตกกังวลและทําลมหายใจใหหยาบเขา ตองยังการปฏิบัติใหดําเนินไปตามหลักขอที่ 5 ทีพ่ ระ พุทธองคทรงวางไววา จะตองทําลมเขาและลมออกทีห่ ยาบใหละเอียด แลวจึงจะหายใจเขาและ หายใจออก เพราะความรูสกึ ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยลมหายใจเขาออกอยางหยาบนัน้ มิใชเปนไปดวย อํานาจของสติ สมาธิ และปญญา แตประการใด หากแตเปนไปดวยอํานาจของอารมณ คือ ลมหายใจหยาบที่ตนพยายามทําใหเกิดขึ้นตางหาก ดังนัน้ ผูท ี่มีความรูสึกในลมหายใจเขาออกที่ ละเอียดแลวนัน้ ก็ทรงหามมิใหกลัน้ ลมหายใจไว อนึ่ง ลมหายใจเขาออกนี้เกิดจากจิตเรียกวา “ จิตตชรูปสามัญ ” ผูที่ไมมลี มหายใจนัน้ ก็มีแตบุคคล 8 จําพวกเทานั้น ไดแก ทารกที่อยูในครรภ คนดําน้าํ คนสลบ คนตาย ผูเขาจตุตถฌาน รูปาวจรพรหม อรูปาวจรพรหม และผูที่เขา นิโรธสมาบัติ สรุปความในขอที่ 5 นี้วา ผูที่ไมมีความรูส ึกในลมหายใจที่ละเอียด ก็ทรงหามมิให ทําลมหายใจที่หยาบใหเกิดขึ้น สวนผูทมี่ คี วามรูสึกอยูในลมหายใจทีล่ ะเอียดอยูแลว ก็ทรงหามมิ ใหกลั้นลมหายใจไว และทรงสอนใหมีสติตั้งไวอยูที่ปลายจมูก ซึ่งเปนที่เขาออกของลมหายใจแต ประการเดียว

331 4.3 อนุพันธนานัย + ฐปนานัย นิมิตอันเกิดจากสมาธิ ในการเจริญอานาปานสติกรรมฐานนี้ มีอยูดวยกัน 3 ประการ ไดแก บริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต ในนิมิตทัง้ 3 ประการนี้ ลมหายใจเขา ออกเปนบริกรรมนิมิต ลมหายใจเขาออกที่ปรากฏดุจ สายน้าํ เปลวควัน ปุยสําลี ไมคา้ํ ลอ รถ พวงดอกไม ดอกบัว และลมตาน เหลานี้เปนอุคคหนิมิต สวนลมหายใจเขาออกที่ปรากฏ ดุจ ดวงจันทร ดวงอาทิตย พวงแกวมณี และพวงแกวมุกดา เหลานี้เปนปฏิภาคนิมิต การ กําหนดรูตามลมหายใจเขาออกของนักปฏิบัติ ที่ตงั้ สติไวที่ปลายจมูกนัน้ ครั้นปฏิภาคนิมิตปรากฏ แลว ก็เปลี่ยนมาตัง้ ใจที่ในปฏิภาคนิมิต นี้คืออนุพนั ธนานัยที่เขาถึงฐปนา การตัง้ ใจกําหนดลม หายใจเขาออกในขณะทีม่ ีบริกรรมนิมิต และอุคคหนิมติ อยางใดอยางหนึ่งเปนอารมณอยู สมาธินั้นเรียกวา “ บริกรรมภาวนาสมาธิ ” การตั้งใจกําหนดลมหายใจเขาออกทีม่ ีปฏิภาคนิมิตเปน อารมณ ในระหวางที่ยงั ไมเขาถึงรูปฌาน สมาธินั้นเรียกวา “ อุปจารภาวนาสมาธิ ” การตั้งใจ กําหนดลมหายใจเขาออกทีม่ ีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณ ที่เขาถึงรูปฌานแลว สมาธินั้นเรียกวา “ อัปปนาภาวนาสมาธิ ” ในสมาธิ 3 ประการนี้ อุปจารภาวนาสมาธิ เปนสมาธิที่อยูในชัน้ มหา กุศล มีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณ ทัง้ นิวรณตางๆก็สงบเงียบ ดังนัน้ ผูท ี่เขาถึงอุปจารภาวนา สมาธินี้ จึงเรียกวาไดอุปจารฌาน สําหรับอัปปนาภาวนาสมาธินั้น เปนสมาธิที่อยูในชัน้ มหัคคต กุศล มีปฏิภาคนิมิตเปนอารมณ และนิวรณตางๆก็ถกู ประหารเปนวิกขัมภนปหานดวย ดังนั้น ผูที่เขาถึงขั้นอัปปนาภาวนาสมาธินี้ จึงเรียกวาไดอัปปนาฌาน สําเร็จเปนปฐมฌานลาภีบุคคล

5 . อานาปานสติ 16 ขั้น อันอานาปานสติ 16 ขั้นนี้ เปนหมวดหนึง่ ในหลักปฏิบตั ิของมหาสติปฏฐานสูตร อันมีชื่อ วา “ อานาปานบรรพ ” ซึ่งมีระดับของความสําเร็จสูงสุดถึงขั้นที่จะสามารถประหารกิเลสไดสิ้นเชิง เปนสมุทเฉทปหาณ คือถึงขัน้ ไดมรรคผลทีเดียว ยืนยันไดจากพุทธพจนตอไปนี้ “ ผูเจริญอานา ปานสติ 16 ขัน้ นี้ ชื่อวาทําสติปฏฐาน 4 ใหบริบูรณ ผูเ จริญสติปฏฐาน 4 ใหบริบูรณ ชื่อวาทํา โพชฌงค 7 ใหบริบูรณ ผูเ จริญโพชฌงค 7 ใหบริบูรณ ชื่อวาทําวิชชาและวิมุติใหบริบูรณ ” โดย อันดับแรก นักปฏิบัติพึงเลือกสถานที่อนั เหมาะสม โดยประกอบไปดวยความเงียบสงัดจากเสียง รบกวน เชน โคนไม ในถ้าํ ทองทุง ลอมฟาง เรือนราง บานวาง ปาชา ปาชัฏ เปนตน แลวจึงลงนัง่ คูบัลลังก ตัง้ กายตรง ดํารงสติไวใหมั่น แลวพึงเจริญอานาปานสติ 16 ขั้น ซึง่ แบงเปน 4 หมวด ตามลําดับตอไปนี้

332 หมวดที่ 1 “ กายานุปสสนาสติปฏฐาน ” ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา

จักรูชัดซึ่งลมหายใจยาว จักรูชัดซึ่งลมหายใจสั้น จักรูชัดตลอดกายทัง้ หมด จักระงับซึ่งกายสังขาร

(หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก)

หมวดที่ 2 “ เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ” ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา

จักรูชัดซึ่งปติ จักรูชัดซึ่งสุข จักรูชัดซึ่งจิตตสังขาร จักระงับซึ่งจิตตสังขาร

(หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก)

หมวดที่ 3 “ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ” ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา

จักรูชัดซึ่งจิต จักยังจิตใหบนั เทิง จักยังจิตใหตงั้ มัน่ จักเปลื้องจิต

(หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก)

หมวดที่ 4 “ ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ” ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา ศึกษาวา

จักพิจารณาเห็นความ จักพิจารณาเห็นความ จักพิจารณาเห็นความ จักพิจารณาเห็นความ

ไมเที่ยง เบื่อหนายคลายกําหนัด ดับไป สลัดเสียได

(หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก) (หายใจเขา , หายใจออก)

333

อุปสมานุสติ อุปสมานุสติ คือ สติที่ตามระลึกถึงคุณของพระนิพพาน มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําใหบุญปรากฏตัวออกมา เปนลักษณะ 2 . มีความไมฟุงซาน เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความหลุดพนอันสูงสุด เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอุปสมานุสติ บุคคลผูเหมาะกับอุปสมานุสติ ไดแก บุคคลผูมีพุทธิจริต คือผูที่มพี นื้ เพแหงจิตหนักไป ทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอุปสมานุสติ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะไดจากการเจริญอุปสมานุสติ คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของอุปสมานุสติ อานิสงสของอุปสมานุสติมี 5 ประการ ไดแก 1 . หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข 2 . มีความสงบ 3 . สามารถทําความปรารถนาใหสําเร็จ 4 . เปนที่นับถือของคนเหลาอื่น 5 . เขาถึงอมตภาวะ

4 . วิธีเจริญอุปสมานุสติ พึงเจริญอุปสมานุสติ โดยพรรณนาคุณของพระนิพพานอันมีอยู 24 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ย่ํายีความมัวเมาตางๆ 2 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ บรรเทาเสียซึง่ ความกระหายในกามคุณอารมณ 3 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ถอนเสียซึ่งความอาลัยในกามคุณอารมณ 4 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ตัดเสียซึ่งการเวียนวายในวัฏฏะทั้ง 3 5 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ สิ้นแหงตัณหา 6 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ปราศจากราคะ 7 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ตั้งมั่นอยูเสมอ

334 8 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ไมมีความแก 9 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ปราศจากตัณหา มานะ และทิฏฐิ 10 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ มีความจริงแนนอน 11 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ขามพนจากฝง แหงวัฏฏทุกข 12 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ผูมีปญญานอยยอมเห็นไดยาก 13 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ไมมีความตาย 14 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ปราศจากภัย 15 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ มหัศจรรยอยางยิ่ง 16 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ พนจากการทวมทับของโอฆะทัง้ 4 17 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ บริสุทธิ์จากกิเลส 18 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ สัปปบุรุษทั้งหลายพึงปรารถนา 19 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ สุขุมละเอียด 20 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ไมถูกปรุงแตงดวยปจจัย 4 21 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ พนจากกิเลส 22 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ควรสรรเสริญโดยพิเศษ 23 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ ประเสริฐยิ่งหาที่เปรียบมิได 24 . พระนิพพาน เปนธรรมที่ สุดสิ้นแหงโลกทั้ง 3 อนึ่ง พระผูมพี ระภาคไดทรงตรัสไววา “ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อันที่สตั วโลกพรอมดวย เทวดาทัง้ หลาย ตางพากันสมมุติไปวาโลกียอารมณตางๆ อันมีรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เปนตนเหลานัน้ เปนธรรมที่ดีเปนธรรมทีเ่ ปนสุข สวนธรรมอันใดคือพระนิพพาน อันเปนธรรมที่ ดับแหงรูปนามสังขาร อุปาทานขันธ 5 ทั้งหลายนัน้ เปนธรรมที่ไมดีเปนธรรมที่เปนทุกข และได ดับสูญสิ้นไปหมดแลวนั้น เรากลาววายังมีพระอริยบุคคล ซึง่ ไดรูแจงสันติสุข ในธรรมอันนัน้ คือ พระนิพพาน อันเปนธรรมทีด่ ับแหงรูปนามสังขาร อุปาทานขันธ 5 ทั้งหลาย ที่ปรากฏมีโดย ปรมัตถไดแลวอยูในโลกนี้ พระอริยบุคคลเหลานั้น ไดรูแจงธรรมคือพระนิพพาน อันปุถุชน ทั้งหลายมิอาจที่จะรูถงึ ได จึงมีความเห็นตรงกันขามกับสัตวโลกและเทวดาทัง้ หลาย ทีม่ ีโมหะ ปดบัง และตกอยูภายใตอํานาจของตัณหาอยู เปรียบเสมือนคนสองคนที่ยนื หันหลังใหแกกนั แลววิ่งหนีจากกันไป ”

335

อัปปมัญญา 4 อัปปมัญญา หมายถึง ธรรมที่แผไปโดยไมมีประมาณ ในมนุษยและสัตวทั้งหลาย อยางกวางขวางและสม่าํ เสมอกัน อันไมจํากัดขอบเขตใดๆ มี 4 ประการ ประกอบไปดวย 1 . เมตตา (ความรักความปรารถนาใหผูอนื่ มีความสุข) 2 . กรุณา (ความคิดหาทางชวยเหลือปลดเปลื้องทุกขของผูอื่น) 3 . มุฑิตา (ความพลอยยินดีเมื่อเห็นผูอื่นมีความสุข) 4 . อุเบกขา (ความวางใจเปนกลางไมเอนเอียงดวยชอบหรือชัง)

เมตตา เมตตา คือ ความรักความปรารถนาใหผอู ื่นมีความสุข มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการทําความปรารถนาดีใหเกิดขึ้น เปนลักษณะ 2 . มีความคิดที่ประกอบดวยเมตตา เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความไมโกรธ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับเมตตา บุคคลผูเหมาะกับเมตตา ไดแก บุคคลผูม ีโทสจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจ รอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของเมตตา ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญเมตตา ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดปฐมฌาน 3 . ไดทุติยฌาน 4 . ไดตติยฌาน

3 . อานิสงสของเมตตา อานิสงสของเมตตามี 9 ประการ ไดแก 1 . หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข

336 2 . ไมฝน ราย 3 . เปนที่รักของมนุษย 4 . เปนที่รักของอมนุษย 5 . เทวดายอมรักษาคุมครอง 6 . ยาพิษและศาสตราวุธตางๆทําอันตรายมิได 7 . ทําจิตใหเปนสมาธิไดเร็ว 8 . ไมหลงสติเวลาตาย 9 . ถายังไมบรรลุธรรมสูงสุด ยอมไปบังเกิดในพรหมโลก

4 . วิธีเจริญเมตตา วิธีการเจริญเมตตากรรมฐานนัน้ แบงเปนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้

4.1 แผเมตตาใหอัตตบุคคล อัตตบุคคล คือ ตัวของตนเอง อนึง่ การแผเมตตาที่มิไดมุงหวังจะไดอัปปนาฌาน มี การแผไปในบุคคลอื่น สําหรับตนเองนัน้ จะแผก็ไดไมแผก็ได แตถา หวังจะไดอัปปนาฌาน จะตองแผแกตนเองกอน เพื่อประโยชนอนั ที่จะไดเปนสักขีพยานแกการแผไปยังบุคคลอื่น ทัง้ นีก้ ็ เพราะวา ความรักตอสิ่งอืน่ ๆนั้นจะมีมากมายสักเพียงใดก็ตาม ก็ไมเหมือนความรักที่มีตอตนเอง ดังนัน้ เมื่อทําการแผแกตนกอนอยูเสมอๆแลว ความปรารถนาสุข ความกลัวทุกข ความอยาก มีอายุยนื และความไมอยากตาย ที่มีประจําใจอยูน ั้น ยอมเกิดขึน้ เปนพิเศษ แลวนึก เปรียบเทียบไปในสัตวทงั้ หลายวา ลวนแตมีความปรารถนาเชนเดียวกับตนทุกประการ การนึก เปรียบเทียบระหวางตนกับผูอื่นเชนนี้ เปนเหตุสาํ คัญที่จะชวยใหเมตตาจิตเกิดขึ้นไดงาย และ ตั้งอยูมนั่ คง ในเมื่อทําการแผไปในสัตวทงั้ หลาย ตลอดจนถึงอุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิเกิด ดังพุทธพจนทวี่ า “ บุคคลเอาจิตใจคนควาพิจารณาไปทัว่ ทิศ ยอมไมเห็นใครเปนทีร่ ักยิ่งกวาตนใน ที่ใดๆก็ตาม ตนนัน้ เองเปนที่รักอยางที่สุด คนอื่นก็เชนกัน ฉะนัน้ ผูทรี่ ักตนไมควรเบียดเบียนผูอนื่ แมกระทัง่ มดหรือปลวก ” ดังนัน้ จึงเริ่มดวยการแผเมตตาใหตนเองกอนโดยมี 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหขาพเจา จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอใหขาพเจา จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอใหขาพเจา จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 4 . ขอใหขาพเจา จงเปนผูย ังอัตภาพอยูด วยความสุขกายสุขใจ

337

4.2 แผเมตตาใหปยบุคคล ปยบุคคล คือ บุคคลอันเปนที่รักของตน อนึง่ ในการแผเมตตาใหปยบุคคลในที่นี้ พึง ระลึกนึกถึงปยบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผเมตตามี 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ขอให ..... จงเปนผูไมมศี ัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอให ..... จงเปนผูไมมคี วามวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอให ..... จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 4 . ขอให ..... จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ (..... ในทีน่ ี้ แทนที่ดวยชื่อหรือสรรพนามของบุคคล)

4.3 แผเมตตาใหมัชฌัตตบุคคล มัชฌัตตบุคคล คือ บุคคลที่ตนไมไดรักแตก็ไมไดชัง อนึ่ง ในการแผเมตตาใหมัชฌัตต บุคคลในที่นี้ พึงระลึกนึกถึงมัชฌัตตบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนัน่ เอง อาจเปนการนึกถึง ชื่อของเขากอนแลวจึงนึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผเมตตามี 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ขอให ..... จงเปนผูไมมศี ัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอให ..... จงเปนผูไมมคี วามวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอให ..... จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 4 . ขอให ..... จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ

4.4 แผเมตตาใหเวรีบุคคล เวรีบุคคล คือ บุคคลผูเปนศัตรูกับตน อนึ่ง ในการแผเมตตาใหเวรีบุคคลในที่นี้ พึง ระลึกนึกถึงเวรีบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผเมตตามี 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ขอให ..... จงเปนผูไมมศี ัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอให ..... จงเปนผูไมมคี วามวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอให ..... จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 4 . ขอให ..... จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ

338 4.5 เจริญอโนทิโสผรณาเมตตา 20 การแผเมตตาที่เรียกวา “ อโนทิโสผรณาเมตตา ” นั้น เปนการแผไปโดยไมจํากัดบุคคล ซึ่งมีอยูดวยกัน 5 จําพวก ไดแก สัตวทวั่ ไปทั้งหลาย สัตวทมี่ ีลมหายใจทั้งหลาย (บางพวกไมมี ลมหายใจ) สัตวที่ปรากฏทั้งหลาย (บางพวกไมปรากฏ) บุคคลทั้งหลาย และสัตวที่ครองอัตต ภาพทัง้ หลาย (บางพวกไมมกี าย) โดยทําการแผเมตตาออกไป 20 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสตั วทั่วไปทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลาย จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 4 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลาย จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 5 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 6 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 7 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 8 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 9 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 10 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 11 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลาย จงพนจากอุปท วเหตุทั้งหลาย 12 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลาย จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 13 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 14 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 15 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 16 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 17 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลาย จงเปนผูไมมศี ัตรูภายในและภายนอก 18 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลาย จงเปนผูไมมคี วามวิตกกังวลและเศราโศก 19 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลาย จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 20 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ

4.6 เจริญโอทิโสผรณาเมตตา 28 การแผเมตตาที่เรียกวา “ โอทิโสผรณาเมตตา ” นั้น เปนการแผไปโดยจํากัดบุคคล ซึง่ มี อยูดวยกัน 7 จําพวก ไดแก ผูหญิงทัง้ หลาย ผูชายทั้งหลาย พระอริยทั้งหลาย ผูไมใชอริย

339 ทั้งหลาย เทวดาทัง้ หลาย มนุษยทั้งหลาย และอบายสัตวทงั้ หลาย โดยทําการแผเมตตา ออกไป 28 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 4 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดว ยความสุขกายสุขใจ 5 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 6 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 7 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 8 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดว ยความสุขกายสุขใจ 9 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงเปนผูไมมศี ัตรูภายในและภายนอก 10 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 11 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 12 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 13 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 14 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 15 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 16 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูด วยความสุขกายสุขใจ 17 . ขอใหเทวดาทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 18 . ขอใหเทวดาทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 19 . ขอใหเทวดาทั้งหลาย จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 20 . ขอใหเทวดาทั้งหลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 21 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 22 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 23 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 24 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 25 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลาย จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 26 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลาย จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก

340 27 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลาย จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 28 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลาย จงเปนผูย ังอัตภาพอยูด วยความสุขกายสุขใจ

4.7 เจริญทิสาผรณาเมตตา 480 การแผเมตตาที่เรียกวา “ ทิสาผรณาเมตตา ” นั้น เปนการแผไปในทิศทัง้ 10 ทิศ ไดแก ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงใต ทิศใต ทิศตะวันตก เฉียงใต ทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องลาง โดยทําการแผ เมตตาออกไป 480 กระแส แสดงตัวอยางสําหรับทิศเหนือ ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 2 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 3 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 4 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 5 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 6 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 7 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 8 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 9 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 10 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 11 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 12 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูด วยความสุขกายสุขใจ 13 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 14 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 15 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 16 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดว ยความสุขกายสุขใจ 17 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 18 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 19 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 20 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 21 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก

341 22 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 23 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 24 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดว ยความสุขกายสุขใจ 25 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 26 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 27 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 28 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 29 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 30 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 31 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 32 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 33 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 34 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 35 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 36 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 37 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 38 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 39 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปท วเหตุทงั้ หลาย 40 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ 41 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 42 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 43 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทั้งหลาย 44 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงเปนผูย ังอัตภาพอยูดว ยความสุขกายสุขใจ 45 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีศัตรูภายในและภายนอก 46 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูไมมีความวิตกกังวลและเศราโศก 47 . ขอใหอบายสัตวท้งั หลายในทิศเหนือ จงพนจากอุปทวเหตุทงั้ หลาย 48 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลายในทิศเหนือ จงเปนผูยงั อัตภาพอยูดวยความสุขกายสุขใจ (แทนทิศที่เหลืออีก 9 ทิศจะไดเทากับ 48 x 10 = 480 กระแส)

342 หมายเหตุ 1 . อันนิมิตในสมาธิจากการเจริญเมตตากรรมฐาน ที่มอี ยูดวยกัน 3 ประการนัน้ บริกรรมนิมิต หมายถึง บทแผเมตตาทัง้ หมด อุคคหนิมิต หมายถึง เมตตาจิตที่เกิดขึ้นขณะ บริกรรมบทแผเมตตานัน้ ที่ยงั ไมเปนสีมสัมเภท และปฏิภาคนิมิต หมายถึง เมตตาจิตที่เกิดขึน้ ขณะบริกรรมบทแผเมตตานั้น ที่เปนสีมสัมเภทแลว โดยสีมสัมเภท แปลวา ทําลายขอบเขต ของเมตตา หมายความวา ผูสําเร็จในสีมสัมเภทนั้น ถึงซึ่งความเปนผูมีจิตเสมอภาค ไมเอน เอียงไปใน 4 บุคคล คือ อัตตะ (ตนเอง) ปยะ (ผูที่เรารัก) มัชฌัตตะ (ผูที่เราไมรักไมชัง) และ เวรี (ผูที่เปนศัตรู) มีตัวอยางแสดงไววา มีพวกโจรมาลอมบุคคลทั้ง 4 ทีว่ ามานี้ จะจับไปฆาบูชา ยัญเสียคนหนึง่ โดยถามวาจะใหจับใครไป ถาจะบอกใหจับศัตรูหรือจับผูที่ไมรักไมชังไป ก็แน ชัดวาผูน ั้นยังไมถึงสีมสัมเภท แมตนเองจะยอมใหจับโดยรับกรรมนี้เสียเอง อยางนี้กน็ ับวาไมถึง ซึ่งสีมสัมเภทอยูนนั่ เอง เพราะเมตตานัน้ ยังมีขอบเขตอยู ตอเมื่อมีจิตเสมอภาค จนชี้ชัดไมไดวา จะใหจับใคร เชนนี้จึงจะกลาวไดวาถึงสีมสัมเภท อันสงเคราะหเขาในปฏิภาคนิมิตแลว 2 . บุคคลทีจ่ ะแผเมตตาใหกอ นไมไดนั้นมี 4 จําพวก 2.1 อปยบุคคล ผูท ี่เราไมรกั ใคร เมตตาจะไมเกิด เกิดแตความไมพอใจ 2.2 อติปยบุคคล ผูที่เรารักใครมาก เมตตาจะไมเกิด เกิดแตความวิตกกังวลและโสกะ 2.3 มัชฌัตตบุคคล ผูท ี่เราไมรักและก็ไมชัง เมตตาจะไมเกิด เพราะไมมีความยินดีและยินราย 2.4 เวรีบุคคล ผูท ี่เปนศัตรูแกเรา เมตตาจะไมเกิด เกิดแตความโกรธความเกลียด 3 . บุคคลทีจ่ ะแผเมตตาใหไมไดนั้นมี 2 จําพวก 3.1 ผูท ี่ตายไปแลว เพราะถาจะแผใหแกบุคคลจําพวกนี้ ก็จะไมถงึ อุปจารสมาธิ 3.2 ผูท ี่มีเพศตรงกันขามกับตน เพราะจะทําใหฉนั ทะและราคะเกิดขึ้น แตเมตตาจิตจะไมเกิด

กรุณา กรุณา คือ ความคิดหาทางชวยเหลือปลดเปลื้องทุกขของผูอื่น มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมปรากฏสิ่งที่ไมเปนประโยชน เปนลักษณะ 2 . มีความสุข เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความไมเบียดเบียน เปนเหตุใกล

343 1 . บุคคลผูเหมาะกับกรุณา บุคคลผูเหมาะกับกรุณา ไดแก บุคคลผูม ีโทสจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจ รอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของกรุณา ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญกรุณา ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดปฐมฌาน 3 . ไดทุติยฌาน 4 . ไดตติยฌาน

3 . อานิสงสของกรุณา อานิสงสของกรุณามี 9 ประการ ไดแก 1 . หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข 2 . ไมฝน ราย 3 . เปนที่รักของมนุษย 4 . เปนที่รักของอมนุษย 5 . เทวดายอมรักษาคุมครอง 6 . ยาพิษและศาสตราวุธตางๆทําอันตรายมิได 7 . ทําจิตใหเปนสมาธิไดเร็ว 8 . ไมหลงสติเวลาตาย 9 . ถายังไมบรรลุธรรมสูงสุด ยอมไปบังเกิดในพรหมโลก

4 . วิธีเจริญกรุณา วิธีการเจริญกรุณากรรมฐานนัน้ แบงเปนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้

4.1 แผกรุณาใหอัตตบุคคล อัตตบุคคล คือ ตัวของตนเอง แผกรุณาใหตนเอง ดังตอไปนี้ “ ขอใหขาพเจา จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ ”

344 4.2 แผกรุณาใหมัชฌัตตบุคคล มัชฌัตตบุคคล คือ บุคคลที่ตนไมไดรักแตก็ไมไดชัง อนึ่ง ในการแผกรุณาใหมัชฌัตต บุคคลในที่นี้ พึงระลึกนึกถึงมัชฌัตตบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนัน่ เอง อาจเปนการนึกถึง ชื่อของเขากอนแลวจึงนึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผกรุณา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ ”

4.3 แผกรุณาใหปยบุคคล ปยบุคคล คือ บุคคลอันเปนที่รักของตน อนึง่ ในการแผกรุณาใหปยบุคคลในทีน่ ี้ พึง ระลึกนึกถึงปยบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผกรุณา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ ”

4.4 แผกรุณาใหเวรีบุคคล เวรีบุคคล คือ บุคคลผูเปนศัตรูกับตน อนึ่ง ในการแผกรุณาใหเวรีบุคคลในที่นี้ พึง ระลึกนึกถึงเวรีบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผกรุณา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ ”

4.5 เจริญอโนทิโสผรณากรุณา 5 การแผกรุณาที่เรียกวา “ อโนทิโสผรณากรุณา ” นั้น เปนการแผไปโดยไมจํากัดบุคคล ซึง่ มีอยูดวยกัน 5 จําพวก ไดแก สัตวทั่วไปทั้งหลาย สัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย (บางพวกไมมีลม หายใจ) สัตวที่ปรากฏทั้งหลาย (บางพวกไมปรากฏ) บุคคลทั้งหลาย และสัตวทคี่ รองอัตตภาพ ทั้งหลาย (บางพวกไมมีกาย) โดยทําการแผกรุณาออกไป 5 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสตั วทั่วไปทัง้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 2 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 3 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 4 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 5 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ

345 4.6 เจริญโอทิโสผรณากรุณา 7 การแผกรุณาที่เรียกวา “ โอทิโสผรณากรุณา ” นัน้ เปนการแผไปโดยจํากัดบุคคล ซึง่ มีอยู ดวยกัน 7 จําพวก ไดแก ผูหญิงทั้งหลาย ผูชายทัง้ หลาย พระอริยทัง้ หลาย ผูไ มใชอริย ทั้งหลาย เทวดาทัง้ หลาย มนุษยทั้งหลาย และอบายสัตวทงั้ หลาย โดยทําการแผกรุณาออกไป 7 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 2 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 3 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 4 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 5 . ขอใหเทวดาทัง้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 6 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 7 . ขอใหอบายสัตวทงั้ หลาย จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ

4.7 เจริญทิสาผรณากรุณา 120 การแผกรุณาที่เรียกวา “ ทิสาผรณากรุณา ” นัน้ เปนการแผไปในทิศทั้ง 10 ทิศ ไดแก ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงใต ทิศใต ทิศตะวันตก เฉียงใต ทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องลาง โดยทําการแผ กรุณาออกไป 120 กระแส แสดงตัวอยางสําหรับทิศเหนือ ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 2 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 3 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 4 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 5 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 6 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 7 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 8 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 9 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 10 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ 11 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ

346 12 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลายในทิศเหนือ จงพนจากความทุกขกายทุกขใจ (แทนทิศที่เหลืออีก 9 ทิศจะไดเทากับ 12 x 10 = 120 กระแส)

หมายเหตุ 1 . อันนิมิตในสมาธิจากการเจริญกรุณากรรมฐาน ที่มอี ยูดวยกัน 3 ประการนัน้ บริกรรม นิมิต หมายถึง บทแผกรุณาทัง้ หมด อุคคหนิมิต หมายถึง กรุณาจิตที่เกิดขึ้นขณะบริกรรมบท แผกรุณานั้น ที่ยงั ไมเปนสีมสัมเภท และปฏิภาคนิมิต หมายถึง กรุณาจิตที่เกิดขึ้นขณะบริกรรม บทแผกรุณานัน้ ที่เปนสีมสัมเภทแลว 2 . เหตุที่ใหแผกรุณาแกมัชฌัตตบุคคลกอนปยบุคคลนัน้ เพื่อกันไมใหเกิดกรุณาเทียม โดยกรุณาเทียมนั้น สังเกตุไดวาขณะชวยเหลือเขา ระหวางนัน้ จิตยอมมีความเศราโศก เดือดรอนขุนมัว ซึ่งเปนโทสจิตตุปบาทที่เนื่องมาจากโทมนัสเวทนา สวนกรุณาแทนั้น สังเกตุได วาขณะชวยเหลือเขา ระหวางนั้นจิตยอมมีแตความสดชื่นผองใส เปนมหากุศลหรือมหากริยาจิต ตุปบาทที่เนื่องมาจากกรุณาเจตสิก

มุทิตา มุทิตา คือ ความพลอยยินดีเมื่อเห็นผูอนื่ มีความสุข มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความชื่นชม เปนลักษณะ 2 . มีความไมหวาดกลัว เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีความสิน้ ไปแหงความไมชอบ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับมุทิตา บุคคลผูเหมาะกับมุทิตา ไดแก บุคคลผูม ีโทสจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจ รอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของมุทิตา ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญมุทิตา ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดปฐมฌาน 3 . ไดทุติยฌาน

347 4 . ไดตติยฌาน

3 . อานิสงสของมุทิตา อานิสงสของมุทิตามี 9 ประการ ไดแก 1 . หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข 2 . ไมฝน ราย 3 . เปนที่รักของมนุษย 4 . เปนที่รักของอมนุษย 5 . เทวดายอมรักษาคุมครอง 6 . ยาพิษและศาสตราวุธตางๆทําอันตรายมิได 7 . ทําจิตใหเปนสมาธิไดเร็ว 8 . ไมหลงสติเวลาตาย 9 . ถายังไมบรรลุธรรมสูงสุด ยอมไปบังเกิดในพรหมโลก

4 . วิธีเจริญมุทิตา วิธีการเจริญมุทิตากรรมฐานนั้น แบงเปนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้

4.1 แผมุทิตาใหอัตตบุคคล อัตตบุคคล คือ ตัวของตนเอง แผมุทติ าใหตนเอง ดังตอไปนี้ “ ขอใหขาพเจา จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญที่มีอยู ”

4.2 แผมุทิตาใหปยบุคคล ปยบุคคล คือ บุคคลอันเปนที่รักของตน อนึง่ ในการแผมุทิตาใหปยบุคคลในทีน่ ี้ พึง ระลึกนึกถึงปยบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผมุทิตา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู ”

4.3 แผมุทิตาใหมัชฌัตตบุคคล มัชฌัตตบุคคล คือ บุคคลที่ตนไมไดรักแตก็ไมไดชัง อนึ่ง ในการแผมุทิตาใหมัชฌัตต บุคคลในที่นี้ พึงระลึกนึกถึงมัชฌัตตบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนัน่ เอง อาจเปนการนึกถึง ชื่อของเขากอนแลวจึงนึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผมุทิตา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู ”

348 4.4 แผมุทิตาใหเวรีบุคคล เวรีบุคคล คือ บุคคลผูเปนศัตรูกับตน อนึ่ง ในการแผมุทิตาใหเวรีบุคคลในที่นี้ พึง ระลึกนึกถึงเวรีบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผมุทิตา ดังตอไปนี้ “ ขอให ..... จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู ”

4.5 เจริญอโนทิโสผรณามุทิตา 5 การแผมุทิตาที่เรียกวา “ อโนทิโสผรณามุทิตา ” นัน้ เปนการแผไปโดยไมจํากัดบุคคล ซึง่ มีอยูดวยกัน 5 จําพวก ไดแก สัตวทั่วไปทั้งหลาย สัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย (บางพวกไมมีลม หายใจ) สัตวที่ปรากฏทั้งหลาย (บางพวกไมปรากฏ) บุคคลทั้งหลาย และสัตวทคี่ รองอัตตภาพ ทั้งหลาย (บางพวกไมมีกาย) โดยทําการแผมุทิตาออกไป 5 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 2 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 3 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 4 . ขอใหบุคคลทั้งหลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 5 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทั้งหลาย จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ อี ยู

4.6 เจริญโอทิโสผรณามุทิตา 7 การแผมุทิตาที่เรียกวา “ โอทิโสผรณามุทติ า ” นั้น เปนการแผไปโดยจํากัดบุคคล ซึง่ มีอยู ดวยกัน 7 จําพวก ไดแก ผูหญิงทั้งหลาย ผูชายทัง้ หลาย พระอริยทัง้ หลาย ผูไ มใชอริย ทั้งหลาย เทวดาทัง้ หลาย มนุษยทั้งหลาย และอบายสัตวทงั้ หลาย โดยทําการแผมุทิตาออกไป 7 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 2 . ขอใหผูชายทัง้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 3 . ขอใหพระอริยทั้งหลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู 4 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 5 . ขอใหเทวดาทัง้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 6 . ขอใหมนุษยทงั้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 7 . ขอใหอบายสัตวทงั้ หลาย จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู

349 4.7 เจริญทิสาผรณามุทิตา 120 การแผมุทิตาที่เรียกวา “ ทิสาผรณามุทิตา ” นัน้ เปนการแผไปในทิศทั้ง 10 ทิศ ไดแก ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงใต ทิศใต ทิศตะวันตก เฉียงใต ทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องลาง โดยทําการแผ มุทิตาออกไป 120 กระแส แสดงตัวอยางสําหรับทิศเหนือ ดังตอไปนี้ 1 . ขอใหสัตวทั่วไปทัง้ หลายในทิศเหนือ จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู 2 . ขอใหสัตวที่มีลมหายใจทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 3 . ขอใหสัตวที่ปรากฏทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 4 . ขอใหบุคคลทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 5 . ขอใหสัตวที่ครองอัตตภาพทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 6 . ขอใหผหู ญิงทัง้ หลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 7 . ขอใหผูชายทัง้ หลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 8 . ขอใหพระอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 9 . ขอใหผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสนิ้ จากความสุขความเจริญทีม่ ีอยู 10 . ขอใหเทวดาทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 11 . ขอใหมนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู 12 . ขอใหอบายสัตวทั้งหลายในทิศเหนือ จงอยาไดสิ้นจากความสุขความเจริญที่มีอยู (แทนทิศที่เหลืออีก 9 ทิศจะไดเทากับ 12 x 10 = 120 กระแส)

หมายเหตุ 1 . อันนิมิตในสมาธิจากการเจริญมุทิตากรรมฐาน ที่มีอยูดวยกัน 3 ประการนัน้ บริกรรม นิมิต หมายถึง บทแผมุทิตาทัง้ หมด อุคคหนิมิต หมายถึง มุทิตาจิตที่เกิดขึ้นขณะบริกรรมบท แผมุทิตานั้น ที่ยงั ไมเปนสีมสัมเภท และปฏิภาคนิมิต หมายถึง มุทิตาจิตทีเ่ กิดขึน้ ขณะบริกรรม บทแผมุทิตานัน้ ที่เปนสีมสัมเภทแลว 2 . มุทิตาวาโดยสามัญแลวมี 2 ประการ ไดแก มุทิตาแทและมุทิตาเทียม โดยมุทติ าแท นั้น แมวา จะมีความรืน่ เริงบันเทิงใจตอสัตวที่มีสุขอยู หรือจะไดรับความสุขตอไปขางหนาก็ดี จิตใจหาไดมีการยึดถือหรืออยากโออวดตอผูอื่นแตอยางใดไม มีแตความเบิกบานแจมใสอันเปน ตัวมหากุศล หรือมหากริยาจิตตุปบาทที่เนื่องมาจากมุทิตาเจตสิก อันเปนมุทิตาแท สวนมุทิตา เทียมนัน้ แมจะมีความยินดีปรีดาก็จริง แตก็มีการยึดถืออยากไดดมี ีหนาซอนอยูเ บื้องหลัง

350 เนื่องมาจากโลภมูลโสมนัสจิตตุปบาท มุทิตาเทียมนี้ สวนมากเกิดขึ้นในเมื่อไดเห็นบิดามารดา ญาติพี่นองและบุตรธิดาของตน มียศ มีทรัพย และมีอํานาจ โดยความยึดถือวา นีเ้ ปนบิดา มารดาของตน นี้เปนญาติพี่นองของตน และนี้เปนบุตรธิดาของตน

อุเบกขา อุเบกขา คือ ความวางใจเปนกลางไมเอนเอียงดวยชอบหรือชัง มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความไมยึดมั่นถือมั่น เปนลักษณะ 2 . มีความเปนกลาง เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการกําจัดความไมชอบและความชอบ เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอุเบกขา บุคคลผูเหมาะกับอุเบกขา ไดแก บุคคลผูมีโทสจริต คือผูที่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางใจ รอนขี้หงุดหงิด

2 . ขอบเขตของอุเบกขา ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอุเบกขา ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดจตุตถฌาน

3 . อานิสงสของอุเบกขา อานิสงสของอุเบกขามี 9 ประการ ไดแก 1 . หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข 2 . ไมฝน ราย 3 . เปนที่รักของมนุษย 4 . เปนที่รักของอมนุษย 5 . เทวดายอมรักษาคุมครอง 6 . ยาพิษและศาสตราวุธตางๆทําอันตรายมิได 7 . ทําจิตใหเปนสมาธิไดเร็ว 8 . ไมหลงสติเวลาตาย

351 9 . ถายังไมบรรลุธรรมสูงสุด ยอมไปบังเกิดในพรหมโลก

4 . วิธีเจริญอุเบกขา วิธีการเจริญอุเบกขากรรมฐานนั้น แบงเปนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้

4.1 แผอุเบกขาใหอัตตบุคคล อัตตบุคคล คือ ตัวของตนเอง แผอุเบกขาใหตนเอง ดังตอไปนี้ “ ขาพเจา มีกรรมเปนของตน ”

4.2 แผอุเบกขาใหมัชฌัตตบุคคล มัชฌัตตบุคคล คือ บุคคลที่ตนไมไดรักแตก็ไมไดชัง อนึ่ง ในการแผอุเบกขา ใหมัชฌัตตบุคคลในทีน่ ี้ พึงระลึกนึกถึงมัชฌัตตบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวติ ประจําวันนัน่ เอง อาจเปน การนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึงนึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผอุเบกขา ดังตอไปนี้ “ ..... มีกรรมเปนของตน ”

4.3 แผอุเบกขาใหปยบุคคล ปยบุคคล คือ บุคคลอันเปนที่รักของตน อนึง่ ในการแผอุเบกขาใหปยบุคคลในทีน่ ี้ พึงระลึกนึกถึงปยบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนัน่ เอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลว จึงนึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผอุเบกขา ดังตอไปนี้ “ ..... มีกรรมเปนของตน ”

4.4 แผอุเบกขาใหเวรีบุคคล เวรีบุคคล คือ บุคคลผูเปนศัตรูกับตน อนึ่ง ในการแผอุเบกขาใหเวรีบุคคลในที่นี้ พึง ระลึกนึกถึงเวรีบุคคลผูที่ตนรูจักในชีวิตประจําวันนั่นเอง อาจเปนการนึกถึงชื่อของเขากอนแลวจึง นึกถึงหนาของเขา แลวทําการแผอุเบกขา ดังตอไปนี้ “ ..... มีกรรมเปนของตน ”

4.5 เจริญอโนทิโสผรณาอุเบกขา 5 การแผอุเบกขาที่เรียกวา “ อโนทิโสผรณาอุเบกขา ” นัน้ เปนการแผไปโดยไมจํากัดบุคคล ซึ่งมีอยูดวยกัน 5 จําพวก ไดแก สัตวทวั่ ไปทั้งหลาย สัตวทมี่ ีลมหายใจทั้งหลาย (บางพวกไมมี ลมหายใจ) สัตวที่ปรากฏทั้งหลาย (บางพวกไมปรากฏ) บุคคลทั้งหลาย และสัตวที่ครองอัตต ภาพทัง้ หลาย (บางพวกไมมกี าย) โดยทําการแผอุเบกขาออกไป 5 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . สัตวทวั่ ไปทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน

352 2 . สัตวที่มีลมหายใจทัง้ หลาย มีกรรมเปนของตน 3 . สัตวที่ปรากฏทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน 4 . บุคคลทัง้ หลาย มีกรรมเปนของตน 5 . สัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลาย มีกรรมเปนของตน

4.6 เจริญโอทิโสผรณาอุเบกขา 7 การแผอุเบกขาที่เรียกวา “ โอทิโสผรณาอุเบกขา ” นัน้ เปนการแผไปโดยจํากัดบุคคล ซึง่ มีอยูดวยกัน 7 จําพวก ไดแก ผูหญิงทัง้ หลาย ผูชายทั้งหลาย พระอริยทั้งหลาย ผูไมใชอริย ทั้งหลาย เทวดาทัง้ หลาย มนุษยทั้งหลาย และอบายสัตวทงั้ หลาย โดยทําการแผอุเบกขา ออกไป 7 กระแส ดังตอไปนี้ 1 . ผูห ญิงทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน 2 . ผูชายทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน 3 . พระอริยทัง้ หลาย มีกรรมเปนของตน 4 . ผูไมใชอริยทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน 5 . เทวดาทัง้ หลาย มีกรรมเปนของตน 6 . มนุษยทงั้ หลาย มีกรรมเปนของตน 7 . อบายสัตวทั้งหลาย มีกรรมเปนของตน

4.7 เจริญทิสาผรณาอุเบกขา 120 การแผอุเบกขาที่เรียกวา “ ทิสาผรณาอุเบกขา ” นัน้ เปนการแผไปในทิศทัง้ 10 ทิศ ไดแก ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงใต ทิศใต ทิศตะวันตก เฉียงใต ทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องลาง โดยทําการแผ อุเบกขาออกไป 120 กระแส แสดงตัวอยางสําหรับทิศเหนือ ดังตอไปนี้ 1 . สัตวทวั่ ไปทั้งหลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 2 . สัตวที่มีลมหายใจทัง้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 3 . สัตวที่ปรากฏทั้งหลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 4 . บุคคลทัง้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 5 . สัตวที่ครองอัตตภาพทัง้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 6 . ผูห ญิงทั้งหลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 7 . ผูชายทั้งหลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน

353 8 . พระอริยทัง้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 9 . ผูไมใชอริยทั้งหลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 10 . เทวดาทัง้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 11 . มนุษยทงั้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน 12 . อบายสัตวทงั้ หลายในทิศเหนือ มีกรรมเปนของตน (แทนทิศที่เหลืออีก 9 ทิศจะไดเทากับ 12 x 10 = 120 กระแส)

หมายเหตุ 1. นักปฏิบัติผูเจริญอุเบกขากรรมฐาน จะตองเปนผูท ี่ไดถึงตติยฌาน โดยอาศัยเมตตา กรรมฐาน กรุณากรรมฐาน หรือมุทิตากรรมฐาน อยางหนึ่งอยางใดมาเสียกอน จึงจะเจริญ อุเบกขากรรมฐานตอไปได 2 . ไมสามารถนําตติยฌานจากกรรมฐานกองอื่น มาเจริญอุเบกขากรรมฐานตอได 3 . ในอุเบกขากรรมฐานนี้ จะตองใหถึงสีมสัมเภทเหมือนกับเมตตากรรมฐานดวย 4 . อุเบกขากรรมฐานนั้น ไดผลเปนจตุตถฌานระดับเดียวเทานั้น 5 . เหตุที่ตองแผใหมัชฌัตตบุคคลกอนปยบุคคลนั้น เพราะเกิดอุเบกขาจิตขึ้นไดงายกวา 6 . อุเบกขาวาโดยสามัญแลวมี 2 ประการ ไดแก อุเบกขาแทและอุเบกขาเทียม โดย อุเบกขาแทนั้น เปนไปดวยอํานาจแหงตัตตรมัชฌัตตตา คือ สภาวะที่ไมมีการเกีย่ วของ หรือ สละความวุนวายทีเ่ นื่องดวยกับเมตตา กรุณา และมุทติ าออกเสีย จึงเปนสภาวะที่มีสภาพ เขาถึงความเปนกลางโดยสวนเดียว สวนอุเบกขาเทียมนั้น เปนไปดวยอํานาจแหงโมหะคือเมื่อได ประสบกับสิ่งที่นา รักก็ไมรูจกั รัก นาขวนขวายนาอยากไดก็ไมมีการขวนขวายอยากได นากลัวนา เกลียดก็ไมรูจกั กลัวรูจักเกลียด ควรสนับสนุนสงเสริมก็ไมรูจักสนับสนุนสงเสริม ควรแกไขใหดีขึ้น ในการงานทัง้ ปวงก็กลับนิง่ เฉยเสีย อนึ่ง อุเบกขาเทียมนี้มีอีกชื่อเรียกวา “ อญาณอุเบกขา ”

อาหาเรปฏิกูลสัญญา อาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ การกําหนดหมายความเปนปฏิกูลในอาหาร พิจารณาใหเห็น วาเปนของนาเกลียดโดยอาการตางๆ มีลกั ขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีความรูโทษของอาหาร เปนลักษณะ 2 . มีความไมชอบใจ เปนกิจ

354 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการครอบงําตัณหาได เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับอาหาเรปฏิกูลสัญญา บุคคลผูเหมาะกับอาหาเรปฏิกูลสัญญา ไดแก บุคคลผูมีพุทธิจริต คือผูที่มีพนื้ เพแหงจิต หนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอาหาเรปฏิกูลสัญญา ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ จากการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของอาหาเรปฏิกูลสัญญา อานิสงสของอาหาเรปฏิกูลสัญญามี 7 ประการ ไดแก 1 . รูลักษณะของคําขาว 2 . เขาใจแจมแจงถึงตัณหา 5 ประการ 3 . รูแจงรูปขันธ 4 . รูแจงความไมบริสุทธิ์ 5 . จิตยอมหลีกหนีความอยากในรส 6 . อยูเ ปนสุข 7 . เขาถึงอมตภาวะ

4 . วิธีเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา ไปสูสถานที่สงัด รักษาจิตไวไมใหฟงุ ซาน แลวพิจารณาเบื้องตนถึงความนารังเกียจ ของสิ่งที่อยูในรูปของเคี้ยว ของเลีย ของดื่ม หรือของที่บริโภคเขาไป วาอันอาหารทั้งหลาย เหลานั้น เปนอาหารทีป่ รุงอยางดี มีรสชาติหลายรอยชนิด เปนอาหารทีม่ ีรสอรอยของคนทั่วไป มีสีสันสวยงามและมีกลิน่ หอม เหมาะสมสําหรับคนชัน้ สูง แตหลังจากที่อาหารเหลานี้เขาไปสู รางกาย มันกลับกลายเปนของไมสะอาด เปนของปฏิกูล บูดเนาและนาชัง เมือ่ เสร็จจากการ พิจารณาในเบือ้ งตนนี้แลว พึงเริ่มเจริญซึ่งอาหาเรปฏิกลู สัญญา โดยเลือกพิจารณาวิธกี ารใด วิธีการหนึ่งใน 10 ประการ ดังตอไปนี้

4.1 โดยการไปสูสถานที่ที่มีอาหาร พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยการไปสูสถานที่ทมี่ ีอาหารวา แมจะมีการงานที่ของเกี่ยวกับ คันถธุระและวิปสสนาธุระ อยูในทีท่ ี่ปราศจากคนยัดเยียด สะอาด เรียบรอย บริบูรณดวย

355 น้ําทา รมเงาเยือกเย็น สุขสบายเงียบสงัด และนาพึงพอใจอยางไรก็ตาม แตพอถึงรุงอรุณ ก็ ตองจัดการนุง หมครองจีวร บายหนามุง ตรงตอหมูบานเพื่อหาอาหาร เทีย่ วไปในสถานที่ที่ไมสงบ และไมเรียบรอย ไดรับความลําบากตางๆนานา มีการเห็น การไดยิน การไดกลิ่น ในสิง่ ที่ไมดี ไมงาม กรําแดดกรําฝน เบียดเบียนไปดวยฝูงชนทั้งหลายอยางนาเบื่อ ถาเปนคฤหัสถก็ตองไป ทํางาน หรือประกอบการคาขายเพื่อจะไดเงินมาใชดํารงชีพ นี้แหละเปนสิง่ ทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยการไปสูสถานทีท่ ี่มีอาหาร

4.2 โดยการแสวงหา พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยการแสวงหาวา เมื่อถึงหมูบานแลวก็ตอ งแวะไปที่บา นนัน้ บาง บานนี้บา ง จากถนนสายนี้ไปยังถนนสายอืน่ เพือ่ หาอาหารใหไดพอเพียง บางพวกก็ให บางพวกก็มิไดให บางพวกก็ใหของคางแตวานนี้บา ง บูดแลวบาง เกาบาง ฝายพวกที่มิไดให นั้น นอยพวกนักที่จะกลาววา “ โปรดสัตวขางหนาเถิดเจาขา ” บางพวกก็ทําเปนไมเห็น หรือ มิฉะนัน้ ก็แสรงทําเปนพูดกับคนอื่นเสีย บางพวกก็ซ้ําดาดวยคําหยาบ จําตองเหยียบหลุม โสโครก บอน้าํ ครํา ทีเ่ จือปนดวยน้ําลางปลา น้าํ ลางเนื้อ น้าํ ซาวขาว น้ํามูก น้าํ ลาย มูล สุนัขและสุกร เกลื่อนกลนไปดวยหมูหนอนแมลงวันหัวเขียว ซึง่ เปนแมลงวันที่ชาวบานเพาะขึ้น เที่ยวจับแฝงอยูที่ผาสังฆาติบาง ที่บาตรบาง ที่ศีรษะบาง จําตองเห็น จําตองไดกลิ่น จําตอง อดกลั้น จําเดิมแตเขาไปจนกระทั่งออก ถาเปนฆราวาสก็ตองไปตลาดออกจากรานนั้นเขารานนี้ จากตลาดนี้ไปตลาดโนน เหยียบย่ําไปในทีท่ ี่เฉอะแฉะสกปรก ปะปนไปดวยสิง่ ทีด่ ีบางไมดีบาง นี้แหละเปนสิง่ ที่นา เกลียดในอาหาร โดยการแสวงหา

4.3 โดยการบริโภค พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยการบริโภควา อาหารนี้ เมื่อหยอนมือลงไปหยิบทําเปนคํา แลวใสเขาไปในปาก ก็คลุกเคลาปะปนดวยน้ําลายใสทีป่ ลายลิน้ ดวยน้ําลายขนทีก่ ลางลิน้ ฟน ลางทํากิจตางครก ฟนบนทํากิจตางสาก ลิน้ ทํากิจตางมือ เคี้ยวอยูก็แปดเปอนดวยมูลของฟนที่ ไมชําระและทีช่ ําระไมถึง สี กลิ่น และเครื่องปรุงที่จัดวาเปนอยางดีนั้น ก็กลับเปลี่ยนเปนของ นาเกลียดไป ดุจดังรากสุนขั ที่อยูในรางสุนัข แมเปนเชนนัน้ ก็ยังกลืนกินได ก็เพราะลับสายตา หากวากอนทีจ่ ะกลืนคายออกมาดูเสียกอน แลวจึงคอยหยิบใสปากกลืนไปใหม ดังนี้ก็จกั บริโภค ตอไปไมไหว นอกจากนีย้ ังตองบริโภคแลวบริโภคอีกซ้ําๆซากๆอยูเสมอ ทุกค่าํ เชามิไดเวนวัน ดังนัน้ อาหารที่คนๆหนึ่งไดบริโภคเขาไป นับจําเดิมตัง้ แตคลอดจากครรภมารดามา จนกระทั่ง ถึงตายแตละอยางๆ ถานําเอาออกมากองรวมไวเปนสวนๆเฉพาะๆแลว ก็มมี ากมายใหญโต

356 เพียงแตขาวสารกับน้าํ 2 อยางเทานัน้ ขาวสารคะเนวาจะเปนกองใหญเทากับเรือนหลังหนึง่ จํานวนขาวสักประมาณ 150 กระสอบ สวนน้าํ นัน้ เทากับสระโบกขรณี 1 สระ นี้วา กันแตภพนี้ ยังหาไดรวมภพกอนๆเขาดวยไม ฉะนัน้ บัณฑิตทัง้ หลายจึงกลาววา “ ทองของเรานี้ เปนดุจ มหาสมุทรอยางหนึง่ ที่มีประจํารางกายของสัตวทง้ั หลาย ” นี้แหละ เปนสิง่ ทีน่ า เกลียดในอาหาร โดยการบริโภค

4.4 โดยที่อยู พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยที่อยูว า อาหารที่บริโภคเขาไปนี้มที ี่อาศัยอยู 4 อยาง คือ น้ําดี เสมหะ หนอง และเลือด ใน 4 อยางนี้ พระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา และพระเจา จักรพรรดิ์ มีอยางใดอยางหนึง่ สวนชนทั้งหลายนอกจากนี้มีครบทัง้ 4 อยาง เหตุนั้นผูใดมีน้ําดี มาก อาหารของผูนั้นก็แปดเปอนดวยน้ําดี ดุจดังเขาเคลาดวยน้ํามันมะซางขน ถามีเสมหะมาก ก็แปดเปอนดวยเสมหะ ดุจดังเขาระคนดวยน้าํ กะทาทิง ถามีหนองมากก็แปดเปอ นดวยหนอง ดุจดังเขาระคนดวยเปรียงเนา ถามีเลือดมากก็แปดเปอนดวยเลือด ดุจดังเขาระคนดวยน้ํายอม นี้แหละ เปนสิ่งทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยที่อยู

4.5 โดยกระเพาะซึ่งเปนที่หมักหมมรวมกันแหงอาหารใหม พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยกระเพาะซึง่ เปนทีห่ มักหมมรวมกันแหงอาหารใหมวา อาหารที่ระคนดวย น้ําดี เสมหะ หนอง และเลือด 4 อยางนัน้ อยางใดอยางหนึง่ เมื่อเขา ไปสูภายใน มิใชวาจะไปหมักหมมรวมกันตั้งอยูในภาชนะเงิน ภาชนะทอง หรือภาชนะแกวมณี เปนตนแตอยางใดไม หากแตไดเขาไปหมักหมมรวมกัน ไวในกระเพาะที่โสโครกนาเกลียด ฉะนัน้ ผูมีอายุ 10 ปบริโภคเขาไป อาหารก็ไปหมักหมมรวมกันไวในกระเพาะทีโ่ สโครกนี้ตลอด ระยะเวลา 10 ป โดยมิไดมกี ารชําระลางหรือถายทิง้ ออกเสียแตอยางใด เปนไปเสมือนหนึง่ ดุจ หลุมคูถที่มิไดขุดลอกถายออกทิ้งก็ฉะนั้น ถาผูมีอายุ 20 ป 30 ป 50 ป ... 100 ป ไดบริโภคเขาไป อาหารก็คงเขาไปหมักหมมรวมกันไวในกระเพาะที่โสโครกนี้ ตลอดระยะเวลานานเทานั้น มิไดมี เวลาที่จะทําการถายทิง้ หรือชําระไดแมแตอยางใดเลย นี้แหละเปนสิง่ ที่นา เกลียดในอาหาร โดย กระเพาะซึง่ เปนทีห่ มักหมมรวมกันแหงอาหารใหม

4.6 โดยยังไมยอย พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยยังไมยอยวา อาหารที่บริโภคแตวานนีก้ ็ดีหรือวันนีก้ ด็ ี ที่เขา ไปหมักหมมรวมกันอยูในกระเพาะอันเปนที่โสโครกนี้ มีอาการเปนฟองเกิดขึ้นดวยอํานาจของปา จกเตโชทีม่ ีประจําอยูภายในกระเพาะอาหาร ทําการเผาผลาญใหยอยละลาย เปนไปเสมือนหนึ่ง

357 ขยะมูลฝอยเศษอาหารตางๆมีหญา ใบไม ซากงู ซากสุนัข และซากหนู เปนตน ที่ชาวบาน พากันทิ้งไวในหลุม เมื่อฝนตกในฤดูแรงและถูกแสงอาทิตยแผดเผาใหรอน ก็เดือดปุดเปนฟอง ขึ้นมาเปนฝาอยูฉันใด อาหารที่บริโภคเขาไปแตวานนีห้ รือวันนี้ ก็มีสภาพกลายเปนของเนานา สะอิดสะเอียนเปนอยางยิ่งก็ฉันนัน้ นี้แหละเปนสิง่ ทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยยังไมยอย

4.7 โดยยอยแลว พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยยอยแลววา อาหารทีถ่ ูกเผาผลาญดวยปาจกเตโชนี้ เมื่อ ยอยเสร็จแลวนั้น หาใชกลายเปนทองเปนเงิน ดังเชนการเลนแรแปรธาตุใหสําเร็จเปนทองคําเปน เงินขึน้ เชนนีก้ ็หาไม หากแตกลายไปเปนอุจจาระและปสสาวะ สวนที่เปนอุจจาระนัน้ ก็ไปขังอยู ในกระเพาะอุจจาระเปนกอนๆ เหมือนดังดินเหลืองที่เขาบดใหละเอียดแลวใสไวในกระบอกไมใผ ฉันนัน้ สวนที่เปนปสสาวะก็ไปขังเต็มอยูใ นกระเพาะปสสาวะ นี้แหละเปนสิง่ ทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยยอยแลว

4.8 โดยผลที่สําเร็จ พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยผลที่สําเร็จวา อาหารทีย่ อยเสร็จเรียบรอยแลว ดวยอํานาจ ปาจกเตโชธาตุนั้น ยอมใหสําเร็จเปนเลือด เนื้อ กระดูก ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน สวนอาหารที่ไมยอยนั้น ก็กลับทําใหโรคตางๆเกิดขึ้นมากมาย เชน หิดเปอย หิดดาน หืด ไอ คุดทะราด โรคเรื้อน กลาก ลงแดง เปนตน ลวนแตเปนผลที่เกิดจากอาหารที่บริโภคเขาไป นี้ แหละเปนสิง่ ทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยผลที่สําเร็จ

4.9 โดยการหลั่งไหล พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยการหลัง่ ไหลวา อาหารที่บริโภคเขาไปนี้ เมื่อขณะบริโภค นั้นยอมเขาไปแตทางเดียว ครั้นเมื่อไหลออกกลับไหลออกจากชองใหญ 9 ชองและชองเล็กๆทุกขุม ขน เปนไปโดยประการตางๆนานา เปนตนวาไหลออกจากชองตาทัง้ สองเปนขี้ตา ไหลออกจาก ชองหูทั้งสองเปนขี้หู ไหลออกจากชองจมูกทัง้ สองเปนขีม้ ูก ไหลออกจากชองปากเปนน้าํ ลายและ เสมหะ ไหลออกจากชองทวารหนักเปนอุจจาระ ไหลออกจากทวารเบาเปนปสสาวะ และไหล ออกจากชองขุมขนเปนเหงื่อ ขณะที่บริโภคอยูนั้น ยอมนั่งลอมวงพรอมหนากันเปนหมูๆ เมื่อถึง คราวที่จะถายออกเปนอุจจาระหรือปสสาวะ ก็ตองปลีกออกจากหมูไปแอบแฝงแตเดียวดาย เมือ่ บริโภคในวันแรกมีทั้งยินดี ราเริง สนุกสนาน ปลื้มใจ ปติโสมนัส ครั้นวันที่สอง อันเปนเวลา ที่จะถายออก ยอมปดจมูก หนานิ่วคิ้วขมวด สะอิดสะเอียน เกอเขิน และในวันแรกมีความ เอร็ดอรอย ชอบอกชอบใจจดจอหลงไหล พอรุงขึ้นวันที่สองทิ้งไวเพียงคืนเดียว ก็หมดความชอบ

358 กลับรูสึกรังเกียจขยะแขยง มีความรําคาญไมสบาย เพราะจะตองทําการถายออก นี้แหละเปน สิ่งทีน่ าเกลียดในอาหาร โดยการหลั่งไหล

4.10 โดยความแปดเปอน พิจารณาความเปนปฏิกูลโดยความแปดเปอนวา อาหารนี้แมในเวลาบริโภคอยูยอมแปด เปอนมือ ปาก ลิ้น เพดานปาก ฉะนั้น อวัยวะเหลานี้จึงมีการเปรอะเปอนไปดวยสิ่งเหม็นคาว ทั้งสิน้ แมลา งแลวก็ตองลางอีก ถึงกระนั้นกลิ่นคาวเหม็นก็ไมคอยจะหมดไป จําตองลางดวย เครื่องหอมซ้าํ อีกเพื่อจักขจัดกลิ่นใหสนิ้ สูญ ครั้นถึงคราวที่จะไหลออกหลังจากยอยเสร็จแลวก็ เปอนเปรอะไปทั่วตัว คือเปอนตาโดยเปนขี้ตา เปอนหูโดยเปนขี้หู เปอนจมูกโดยเปนขี้มกู เปอนฟนโดยเปนขี้ฟน เปอนปาก ลิ้น และเพดานปากโดยเปนน้าํ ลายและเสมหะ เปอน รางกายทั่วไปโดยเปนเหงื่อ เปอนทวารหนักและทวารเบาโดยเปนอุจจาระและปสสาวะ เปรอะ เปอนนาเกลียดทั่วไปหมด แมจะหมัน่ อาบน้ําชําระขัดสีอยูทุกวันก็ไมสะอาดไปได เปรอะเปอนอยู แตอยางนี้ตลอดไป บางสวนของรางกายชําระลางเพียงครั้งหนึง่ หรือสองครั้ง ก็พอจะสะอาด สะอานเกลี้ยงเกลาลงไดบาง เสร็จแลวมือก็ไมตองลางคงสะอาดหมดจดไปดวย สําหรับบางสวน มีทวารหนักทวารเบานัน้ ตองชําระลางเปนพิเศษ เสร็จแลวก็ตองทําการลางมือเสียใหมดวย เครื่องชําระลางตางๆ เพื่อขจัดความแปดเปอนสกปรกทีม่ ือใหหมดไป นี้แหละเปนสิ่งทีน่ าเกลียด ในอาหาร โดยความแปดเปอ น

หมายเหตุ 1 . นิมิตทีเ่ กิดขึ้นในการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญานี้ มีเพียงบริกรรมนิมิตแตเพียงอยาง เดียว คือ อาหารตางๆที่เกี่ยวเนื่องดวยสัญญาของตนที่เห็นวาเปนปฏิกูลเทานัน้ สวนอุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิตนั้น ไมมีในกรรมฐานนี้ 2 . การเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญานี้ ผูเจริญยอมไดปริญญา 3 ประการ 2.1 ญาตปริญญา คือ เห็นความทุกขยากลําบากนานาประการในการบริโภค 2.2 ตีรณปริญญา คือ เห็นความเกิดดับของอาหารที่บริโภคเขาไป 2.3 ปหานปริญญา คือ สามารถประหารความพอใจยินดีในรสเสียได

359

จตุธาตุววัฏฐาน จตุธาตุววัฏฐาน คือ การกําหนดพิจารณาแยกแยะรางกาย ออกเปนธาตุทั้ง 4 ไดแก ปฐวีธาตุ (ธาตุดิน) อาโปธาตุ (ธาตุนา้ํ ) เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) และวาโยธาตุ (ธาตุลม) อันทําใหรู สภาวรูปความเปนจริงของรางกาย วาสักแตเปนเพียงธาตุที่ประชุมกันขึ้นเทานั้น หาไดเปนตัว เปนตนบุคคลเราเขาแตอยางใดไม จตุธาตุววัฏฐาน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ 1 . มีการไตรตรองธาตุทงั้ 4 อยางใกลชิด เปนลักษณะ 2 . มีการเขาใจความวางเปลาจากตัวตน เปนกิจ 3 . มีความสงบนิ่งแหงจิต เปนผล 4 . มีการกําจัดความคิดเกี่ยวกับบัญญัติทงั้ หลาย เปนเหตุใกล

1 . บุคคลผูเหมาะกับจตุธาตุววัฏฐาน บุคคลผูเหมาะกับจตุธาตุววัฏฐาน ไดแก บุคคลผูมีพทุ ธิจริต คือผูท มี่ ีพื้นเพแหงจิตหนัก ไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของจตุธาตุววัฏฐาน ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงไดจากการเจริญจตุธาตุววัฏฐาน คือ อุปจารสมาธิ

3 . อานิสงสของจตุธาตุววัฏฐาน อานิสงสของจตุธาตุววัฏฐานมี 10 ประการ ไดแก 1 . อนัตตลักขณะยอมปรากฏทางใจ 2 . ละความเห็นวาเปนสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา เสียได 3 . ไมมีความหวาดกลัวตอภัยนอยใหญ ที่เนื่องมาจากสัตวรายตางๆนานา 4 . สามารถละความไมยินดีในการงาน ที่เปนคันถธุระและวิปสสนาธุระได 5 . สามารถละความยินดีในกามคุณอารมณเสียได 6 . ไมมกี ารรื่นเริงสนุกสนานในอารมณทนี่ า รักใคร 7 . ไมมกี ารขุน หมองในอารมณที่ไมนา รักใคร 8 . เปนผูมีปญ  ญากวางขวางมาก 9 . มีพระนิพพานเปนที่สุดในภพนี้ 10 . ถายังไมเขาสูพระนิพพานในภพนี้ ก็จะมีสุคติภูมิเปนที่ไปในภพหนา

360 4 . วิธีเจริญจตุธาตุววัฏฐาน วิธีเจริญจตุธาตุววัฏฐานนัน้ พึงพิจารณาธาตุทงั้ 4 โดยวิธีการดังตอไปนี้

4.1 พิจารณาธาตุทั้งหลายโดยยอ พึงพิจารณาเปรียบเปรยไปวา บรรดาทีอ่ ยูอาศัยตางๆอันชาวโลกทั้งหลายกลาวเรียกกัน วาเปนเคหสถานบานเรือนเหลานี้ จริงๆแลวหาไดเปนเชนนั้นไม แทที่จริงก็ไดแกการรวมตัวกัน ของไม อิฐ ปูน ทราย สังกะสี กระเบื้อง ตะปู และเหล็ก จึงปรากฏขึ้นเปนที่อยูอาศัยได โดยสวนลางมีผืนแผนดินรองรับ สวนบนและรอบบริเวณมีอากาศลอมรอบ ขอนี้ฉนั ใดรางกาย ของเรานี้แททจี่ ริงแลวก็ไดแกกระดูก 300 ทอน เสนเอ็น 900 สาย กอนเนื้อ 900 กอน ลอมรอบ ดวยผิวหนังไปทั่วกายควบคุมกันเขาเปนรูปรางสัณฐาน ปรากฏขึ้นในที่ที่มีอากาศลอมรอบก็ฉันนัน้ อนึ่ง กายที่มแี ตกระดูกเสนเอ็นกอนเนื้อและผิวหนังควบคุมกันอยูน ี้ เมื่อจะคนควาหาสิ่งที่มีจริง และปรากฏชัดแลว ก็เปนแตเพียงการรวมกันประกอบกันของธาตุทั้ง 4 คือ สิง่ ที่แข็งกระดาง เปนปฐวีธาตุหรือธาตุดิน สิง่ ที่เกาะกุมเหนียวและเอิบอาบซึมซาบไหลเปนอาโปธาตุหรือธาตุนา้ํ สิ่งทีท่ ําใหสุกโดยอาการเจริญเติบโตเปนหนุมสาว การเหี่ยวยนของผิวหนัง การแกหงอมลง และ ความเย็นรอนในกายทัว่ ไปเปนเตโชธาตุหรือธาตุไฟ และสิ่งทีท่ าํ ใหอริ ิยาบถใหญนอ ยเครงตึงตั้งมั่น และเคลื่อนไหวไปมาไดเปนวาโยธาตุหรือธาตุลม ฉะนัน้ จึงไมควรเขาใจผิดคิดไปวา นี้คือเรา นัน้ คือเขา เราเปนผูชาย เขาเปนผูหญิง นัน่ เปนสัตว ฯลฯ อีกมากมายก็หาไดไม หากแตเปน เพียงธาตุทั้ง 4 ที่มาประชุมกันเพียงเทานัน้ เอง

4.2 พิจารณาธาตุทั้งหลายโดยพิสดาร พึงพิจารณาแยกธาตุทั้ง 4 ออกเปน 42 ธาตุ แบงเปนหมวดๆดังตอไปนี้

4.2.1 ปฐวีธาตุ 20 ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา และมันสมอง (รายละเอียดดูกายคตาสติ)

4.2.2 อาโปธาตุ 12 น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้ํามันขน น้ําตา น้ํามันเหลว น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ และน้าํ มูตร (รายละเอียดดูกายคตาสติ)

4.2.3 เตโชธาตุ 4 1 . อุสมาเตโช : ไฟที่ใหความอบอุนแกรางกาย

361 2 . ปาจกเตโช : ไฟทีย่ อยอาหาร 3 . ชิรณเตโช : ไฟที่บม ใหรางกายทรุดโทรม แกชราไปตามวัย 4 . สันตาปนเตโช : ไฟทีท่ ําใหรอนเปนไขไดปวย

4.2.4 วาโยธาตุ 6 1 . อุทธังคมวาโย : ลมทีพ่ ัดขึ้นเบื้องบน เชน การเรอ การหาว การไอ การจาม 2 . อโธคมวาโย : ลมที่พัดลงสูเบื้องต่ํา เชน การผายลม ลมเบง 3 . กุจฉิฏฐวาโย : ลมที่อยูในชองทอง เชน ทองอืด ทองเฟอ 4 . โกฏฐาสยวาโย : ลมที่อยูในลําไส เชน ลมที่ขับอาหารเกา 5 . อังคมังคานุสารีวาโย : ลมที่พัดอยูทวั่ รางกาย ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได 6 . อัสสาสปสสาสวาโย : ลมหายใจเขา และลมหายใจออก โดยใหพจิ ารณาธาตุทั้งหมดที่มีอยูในรางกายนี้ ดวยความเปนอวินพิ โภครูปทั้ง 8 องค ธรรม ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม สี กลิ่น รส และโอชา โดยหลักการที่วา ธาตุดินนั้นรูไดโดยอาศัยการสัมผัสทางกาย ธาตุน้ํานัน้ รูไดโดยอาศัยการคิดนึกทางใจ ธาตุไฟนัน้ รูไดโดยอาศัยการสัมผัสทางกาย ธาตุลมนั้นรูไดโดยอาศัยการสัมผัสทางกาย สีนนั้ รูไดโดยอาศัย การเห็นทางตา กลิน่ นัน้ รูไดโดยอาศัยการดมทางจมูก รสนั้นรูไดโดยอาศัยการชิมทางลิ้น และ โอชานัน้ รูไดโดยอาศัยการคิดนึกทางใจ

4.3 พิจารณาธาตุทั้งหลายโดยอาการ 13 พึงพิจารณาธาตุทั้ง 4 โดยอาการ 13 อาการดังตอไปนี้

4.3.1 โดยความหมายแหงศัพท พิจารณาโดยความหมายแหงศัพทวา ปฐวีมีความใหญและแผไป อาโปมีความไหลซึม ซาบซุมอยู เตโชมีความเย็นรอนอบอุน และวาโยมีความเครงตึงพัดไหว ธาตุเหลานี้มกี ารทรงไว ซึ่งสภาพของตนเอง แลวแสดงภาพนั้นๆใหปรากฏขึ้นกับรางกายของตน ดวยการพิจารณาดังนี้ วา ฉะนัน้ ในรางกายของตนนี้ สวนที่ใหญและแผไปเปนปฐวี สวนที่ไหลซึมซาบซุมอยูเปนอาโป ความเย็นรอนอบอุนเปนเตโช และความเครงตึงพัดไหวเปนวาโย

4.3.2 โดยความเปนหมวดหมู พิจารณาโดยความเปนหมวดหมูวา ธาตุบางอยางมีหวั ใจเปนตนนั้น มีรูปรวมอยู 12 อยาง คือ อวินพิ โภครูป 8 กายปสาทรูป 1 ภาวรูป 1 หทยรูป 1 และชีวิตรูป 1 สวนเนื้อ

362 เอ็น หนัง ตับ ปอด และสมอง มีรูปรวมอยู 11 อยาง คือ อวินพิ โภครูป 8 กายปสาทรูป 1 ภาวรูป 1 และชีวิตรูป 1 ปาจกเตโชมีรูปรวมอยู 9 อยาง คือ อวินพิ โภครูป 8 และชีวิตรูป 1 สวนผม ขน เล็บ และธาตุบางอยางมีเลือดและน้ําเหลือง เปนตน รวมทั้งธาตุไฟที่เหลือกับ ธาตุลมเหลานี้ มีรูปรวมอยู 8 อยาง คือ อวินพิ โภครูป 8 ดังนั้นที่กลาววา เปนสัตตะ เปนชีวะ เปนเรา เปนเขา เปนหญิง และเปนชาย เหลานี้จึงไมควรที่จะกลาวถึงเลย

4.3.3 โดยความเปนผงละเอียด พิจารณาโดยความเปนผงละเอียดวา รางกายทีม่ ีขนาดปานกลางนี้ เมื่อจะทุบใหแหลก ละเอียดลงจนเปนผงเล็กเทาปรมาณู แลวทําการตวงดูดวยเครื่องตวงจะไดประมาณ 20 - 30 ลิตร โดยการที่ปรากฏเปนรูปรางสัณฐานไดนนั้ ก็เพราะมีอาโปธาตุเชื่อมเกาะกุมยึดอยู มีเตโชธาตุเปน ผูเลี้ยงรักษา และมีวาโยธาตุคอยค้ําจุนใหตั้งมัน่ นอกจากธาตุทงั้ 4 นี้แลว ก็หามีอะไรอื่นอีกไม

4.3.4 โดยลักษณะ พิจารณาโดยลักษณะวา ปฐวีธาตุนั้นมีความแข็งเปนลักษณะ เปนที่ตงั้ แหงรูปอื่นๆเปน กิจ มีการรองรับรูปอื่นๆเปนอาการปรากฏ อาโปธาตุมคี วามไหลและเกาะกุมเปนลักษณะ ทําให รูปอื่นๆเจริญขึ้นเปนกิจ มีการรวบรวมรูปอื่นๆใหเปนกลุม เปนกอนเปนอาการปรากฏ เตโชธาตุมี ความเปนไออุนเปนลักษณะ ทําใหรูปอื่นๆมีความสุกแกขึ้นเปนกิจ มีการทําใหรูปอื่นๆออนนุม เปนอาการปรากฏ และวาโยธาตุมกี ารอุดหนุนรูปอื่นๆใหตั้งมัน่ เปนลักษณะ มีการชักดึงรูปอื่นๆ เปนกิจ มีการเคลื่อนไหวพัดไปมาเปนอาการปรากฏ นอกจากธาตุทั้ง 4 ประการนี้แลว ก็หามี อะไรอื่นอีกไม

4.3.5 โดยสมุฏฐาน พิจารณาโดยสมุฏฐานวา ในธาตุทั้ง 42 ประการนี้ อาหารใหม อาหารเกา น้าํ เหลือง และน้ํามูตร 4 อยางนี้ เกิดจากอุตุ น้ําตา เหงื่อ น้าํ มูก และน้าํ ลาย 4 อยางนี้ บางทีก็เกิดจาก อุตุบางทีก็เกิดจากจิต ปาจกเตโชนัน้ เกิดจากกรรม อัสสาสปสสาสวาโยเกิดจากจิต สวนธาตุที่ เหลืออีก 32 ประการนัน้ เกิดจากสมุฏฐาน 4 อยางใดอยางหนึ่งไดทงั้ นั้น

4.3.6 โดยความตางกันและเหมือนกัน พิจารณาโดยความตางกันและเหมือนกันวา อันธาตุทั้ง 4 นี้ลวนแตมีลกั ษณะ กิจ ผล และเหตุใกล แตกตางกันออกไปแตละอยางๆ แตถงึ กระนัน้ ก็ดี ก็ยังคงเปนมหาภูตรูป เปนธาตุ มีความเกิดดับ เปนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา อยางเดียวกันนัน่ เอง

363 4.3.7 โดยความแยกออกจากกัน พิจารณาโดยความแยกออกจากกันวา อันธาตุทั้ง 4 นี้แยกจากกันไดก็เฉพาะแต ลักษณะ กิจ ผล และเหตุใกลเทานัน้ แตโดยอวินพิ โภครูปนั้น แยกออกจากกันไมได

4.3.8 โดยความเขากัน พิจารณาโดยความเขากันวา ปฐวีธาตุกบั อาโปธาตุ 2 อยางนี้ เปนสภาคะคือถูกกัน เพราะเปนครุกธาตุหรือธาตุหนักดวยกัน สวนเตโชธาตุกับวาโยธาตุ 2 อยางนี้ เปนสภาคะคือถูก กัน เพราะเปนลหุธาตุหรือธาตุเบาดวยกัน แตระหวางปฐวีและอาโป กับ เตโชและวาโย ธาตุ ทั้ง 2 ฝายนี้ เปนวิสภาคะคือไมถูกกัน ทีเ่ ปนดังนี้ เพราะฝายหนึ่งเปนครุกธาตุ สวนอีกฝายหนึง่ เปนลหุธาตุ

4.3.9 โดยความเปนภายในและภายนอก พิจารณาโดยความเปนภายในและภายนอกวา อันธาตุทั้ง 4 ที่เกิดอยูในรางกายสัตว ทั้งหลายนี้ เปนที่อาศัยของปสาทรูป 5 หทยรูป 1 ภาวรูป 1 ชีวิตรูป 1 และวิญญัติรูป 2 ประกอบไปดวยอิริยาบถใหญทั้ง 4 และเกิดจากสมุฏฐานทั้ง 4 ครบบริบูรณ สวนธาตุทงั้ 4 ที่เกิด ภายนอกสัตวนั้น นอกจากมิไดเปนที่อาศัยเกิดของรูปดังทีก่ ลาวมาแลว ยังมิไดประกอบดวย อิริยาบถใหญทั้ง 4 และยังเกิดจากอุตุสมุฏฐานเพียงอยางเดียวเทานัน้

4.3.10 โดยความสงเคราะหกัน พิจารณาโดยความสงเคราะหกนั วา ปฐวีธาตุที่เกิดจากกรรมนี้ นับสงเคราะหเขากับ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ที่เกิดจากกรรมดวยกันได สําหรับปฐวีธาตุที่เกิดจากจิต อุตุ และอาหารนั้น ก็นับสงเคราะหเขากับอาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ทีเ่ กิดจากจิต อุตุ และอาหารดวยกันได

4.3.11 โดยความอุปถัมภกัน พิจารณาโดยความอุปถัมภกันวา ปฐวีธาตุนี้ เปนที่ตั้งแหงมหาภูตรูป 3 ทีเ่ หลือ มีธาตุ น้ํายึดเกาะกุมมิใหกระจัดกระจาย ธาตุไฟรักษา ธาตุลมชวยประคองค้ําจุน แลวชวยอุดหนุนแก มหาภูตรูปที่เหลือดวยอํานาจแหงสหชาตะ นิสสยะ และอัญญมัญญะ เปนตน อาโปธาตุนี้ มี การยึดเกาะกุมมหาภูตรูป 3 ที่เหลือมิใหกระจัดกระจาย มีธาตุดินเปนที่ตงั้ ธาตุไฟรักษา ธาตุลม ประคองค้ําจุน แลวชวยอุดหนุนมหาภูตรูปที่เหลือดวยอํานาจแหงสหชาตะ นิสสยะ และอัญญ มัญญะ เปนตน เตโชธาตุนี้ มีการทําใหมหาภูตรูป 3 ที่เหลือสุกแกออนนุม มีธาตุดินเปนที่ตั้ง

364 ธาตุนา้ํ ยึดเกาะกุมมิใหกระจัดกระจาย ธาตุลมชวยประคองค้ําจุน แลวชวยอุดหนุนแกมหาภูตรูป ที่เหลือดวยอํานาจแหงสหชาตะ นิสสยะ และอัญญมัญญะ เปนตน และวาโยธาตุนี้ มีการ ประคองค้ําจุนมหาภูตรูป 3 ที่เหลือใหตั้งมัน่ มีธาตุดินเปนที่ตงั้ ธาตุน้ํายึดเกาะกุมมิใหกระจัด กระจาย ธาตุไฟรักษา แลวชวยอุดหนุนแกมหาภูตรูปที่เหลือดวยอํานาจแหงสหชาตะ นิสสยะ และอัญญมัญญะ เปนตน

4.3.12 โดยความไมมีการรูสึกในอารมณ พิจารณาโดยความไมมกี ารรูสึกในอารมณวา ปฐวีธาตุนี้ มิไดรูวาตนเปนธาตุดนิ และ มิไดรูวาตนนี้ กําลังทําการชวยอุดหนุนแกธาตุที่เหลือทัง้ 3 โดยความเปนที่ตงั้ สวนธาตุที่เหลือทั้ง 3 ก็มิไดรูวามีปฐวีธาตุเปนทีต่ ั้ง อาโปธาตุนี้ มิไดรูวาตนเปนธาตุน้ํา และมิไดรูวา ตนนี้ กําลังทํา การชวยอุดหนุนแกธาตุที่เหลือทั้ง 3 โดยการเกาะกุมและใหไหลไป สวนธาตุที่เหลือทั้ง 3 ก็มิไดรูวา มีอาโปธาตุมาชวยเกาะกุมและทําใหไหลไป เตโชธาตุนี้ มิไดรูวาตนเปนธาตุไฟ และมิไดรูวาตน นี้ กําลังทําการชวยอุดหนุนแกธาตุที่เหลือทั้ง 3 โดยทําใหสุกแกออนนุม สวนธาตุที่เหลือทั้ง 3 ก็ มิไดรูวามีเตโชธาตุมาชวยทําใหสุกแกออนนุม วาโยธาตุนี้ มิไดรูวาตนเปนธาตุลม และมิไดรูวา ตนนี้กาํ ลังทําการประคองค้าํ จุนแกธาตุที่เหลือทัง้ 3 ใหตงั้ มั่น สวนธาตุที่เหลือทั้ง 3 ก็มิไดรูวามี วาโยธาตุมาชวยประคองค้าํ จุนใหตงั้ มั่น

4.3.13 โดยการจําแนกปจจัย พิจารณาโดยการจําแนกปจจัยวา รางกายของสัตวทงั้ หลายทีป่ รากฏมีขึ้นไดนี้ ก็เพราะ เนื่องมาจากกรรม จิต อุตุ และอาหาร ดวยกันทัง้ สิน้ กลาวคือ บางสวนมีกรรมเปนประธาน ใหเกิด สวนจิต อุตุ และอาหาร ทัง้ 3 อยางนี้ชว ยอุดหนุนแกการเกิดขึ้น มีอยู 18 อยาง ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น เปนตน ที่เรียกวา “ กรรมชรูป ” บางสวนมีอุตุและอาหารเปนประธานใหเกิด สวนกรรมและจิต ทั้ง 2 อยางนี้ชวยอุดหนุนแกการเกิดขึ้น มีอยู 13 อยาง ไดแก โครงกาย ทั้งหมด เลือด เนื้อ หนัง เสนเอ็น ตับ เปนตน ที่เรียกวา “ อุตุชรูป ” และ “ อาหารชรูป ” ตามลําดับ บางสวนมีจิตเปนประธานใหเกิด สวนกรรม อุตุ และอาหาร ทัง้ 3 อยางนี้ชว ย อุดหนุนแกการเกิดขึ้น มีอยู 15 อยาง ไดแก การเคลือ่ นไหวของกาย วาจา เชน การหัวเราะ รองไห หายใจ เปนตน ทีเ่ รียกวา “ จิตตชรูป ”

365

อรูป 4 อรูป หมายถึง ฌานทีก่ ําหนดซึ่งอรูปธรรม อันไดแกสงิ่ ที่ไมมีรูป นํามาใชเปนอารมณ กรรมฐาน เรียกกันวา “ อรูปฌาน ” มี 4 ประการ ประกอบไปดวย 1 . อากาสานัญจายตนะ (อรูปฌานทีก่ ําหนดอากาศอันหาที่สุดมิไดเปนอารมณ) 2 . วิญญาณัญจายตนะ (อรูปฌานทีก่ ําหนดวิญญาณอันหาที่สุดมิไดเปนอารมณ) 3 . อากิญจัญญายตนะ (อรูปฌานที่กําหนดภาวะที่ไมมีอะไรเลยเปนอารมณ) 4 . เนวสัญญานาสัญญายตนะ (อรูปฌานทีก่ ําหนดภาวะทีม่ ีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็ ไมใชเปนอารมณ)

อากาสานัญจายตนะ อากาสานัญจายตนะ คือ อรูปฌานที่กาํ หนดซึ่งอากาศอันหาที่สุดมิไดเปนอารมณ

1 . บุคคลผูเหมาะกับอากาสานัญจายตนะ บุคคลผูเหมาะกับอากาสานัญจายตนะ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอากาสานัญจายตนะ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอากาสานัญจายตนะ ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดจตุตถฌาน 3 . ไดอากาสานัญจายตนะ

3 . อานิสงสของอากาสานัญจายตนะ อานิสงสของอากาสานัญจายตนะมี 3 ประการ ไดแก

366 1 . ไดขามพนโทษของรูปฌานเพราะอารมณของรูปเปนธรรมหยาบ 2 . ไดเขาสูอากาสานัญจายตนภูมิ 3 . อายตนะทัง้ 6 ยอมถูกทําลายลง

4 . วิธีเจริญอากาสานัญจายตนะ วิธีเจริญอากาสานัญจายตนะนัน้ เริ่มตนโดยการละออกจากนิมิตเดิมที่ตนปฏิบัติมาในรูป ฌาน แลวพึงเพงอากาศในฐานะเปนอารมณอันหาที่สดุ ไมได เมื่อนักปฏิบัติเจริญกรรมฐานเชนนี้ นักปฏิบัติยอมทําลายนิมิตในรูปฌานไดอยางรวดเร็ว เมื่อจิตของนักปฏิบัติกาวพนจากนิมิตแลว จึงกาวไปสูทวี่ า งอันไมมีที่สดุ เพราะไดรบั ความสะดวกในการรับรูขอบเขตของความไมมที ี่สุดแหง อากาศ นักปฏิบัตินั้นยอมบรรลุอัปปนาสมาธิ เมื่อใดนักปฏิบัตินนั้ ไดกาวลวงรูปสัญญาโดย สิ้นเชิง เพราะความดับไปแหงปฏิฆสัญญา และเพราะความไมใสใจในนานัตตสัญญา นัก ปฏิบัตินั้นยอมเขาถึง และอยูในอากาสานัญจายตนะ

วิญญาณัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ คือ อรูปฌานที่กาํ หนดซึ่งวิญญาณอันหาทีส่ ุดมิไดเปนอารมณ

1 . บุคคลผูเหมาะกับวิญญาณัญจายตนะ บุคคลผูเหมาะกับวิญญาณัญจายตนะ ไดแก บุคคลผูม ีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของวิญญาณัญจายตนะ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญวิญญาณัญจายตนะ ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดจตุตถฌาน 3 . ไดวิญญาณัญจายตนะ

367 3 . อานิสงสของวิญญาณัญจายตนะ อานิสงสของวิญญาณัญจายตนะมี 3 ประการ ไดแก 1 . ไดขามพนโทษของอากาสานัญจายตนะเพราะอารมณของอากาศเปนธรรมหยาบ 2 . ไดเขาสูวญ ิ ญาณัญจายตนภูมิ 3 . อายตนะทัง้ 6 ยอมถูกทําลายลง

4 . วิธีเจริญวิญญาณัญจายตนะ วิธีเจริญวิญญาณัญจายตนะนัน้ เริ่มตนโดยการละออกจากอากาสานัญจายตนะ แลว พึงเพงวิญญาณในฐานะเปนอารมณอันหาที่สุดไมได เมื่อนักปฏิบัติเจริญกรรมฐานเชนนี้ นัก ปฏิบัติยอมขามพนจากอากาสานัญจายตนะ กาวไปสูวิญญาณอันหาที่สุดไมได เพราะไดรับ ความสะดวกในการรับรูขอบเขตของความไมมีที่สุดแหงวิญญาณ นักปฏิบัตินั้นยอมเขาถึง และ อยูในวิญญาณัญจายตนะ

อากิญจัญญายตนะ อากิญจัญญายตนะ คือ อรูปฌานทีก่ ําหนดซึง่ ภาวะที่ไมมีอะไรเลยเปนอารมณ

1 . บุคคลผูเหมาะกับอากิญจัญญายตนะ บุคคลผูเหมาะกับอากิญจัญญายตนะ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของอากิญจัญญายตนะ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงจะมีไดจากการเจริญอากิญจัญญายตนะ ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดจตุตถฌาน 3 . ไดอากิญจัญญายตนะ

368 3 . อานิสงสของอากิญจัญญายตนะ อานิสงสของอากิญจัญญายตนะมี 3 ประการ ไดแก 1 . ไดขามพนโทษของวิญญาณัญจายตนะเพราะอารมณของวิญญาณเปนธรรมหยาบ 2 . ไดเขาสูอากิญจัญญายตนภูมิ 3 . อายตนะทัง้ 6 ยอมถูกทําลายลง

4 . วิธีเจริญอากิญจัญญายตนะ วิธีเจริญอากิญจัญญายตนะนัน้ เริ่มตนโดยการละออกจากวิญญาณัญจายตนะ แลวพึง เพงภาวะที่ไมมีอะไรเลยเปนอารมณ เมื่อนักปฏิบัติเจริญกรรมฐานเชนนี้ นักปฏิบัติยอมขามพน จากวิญญาณัญจายตนะ กาวไปสูภาวะที่ไมมีอะไรเลย เพราะไดรับความสะดวกในการรับรูภาวะ ที่ไมมีอะไรเลย นักปฏิบัตินั้นยอมเขาถึง และอยูในอากิญจัญญายตนะ

เนวสัญญานาสัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ อรูปฌานทีก่ ําหนดซึง่ ภาวะที่มีสัญญาก็ไมใชไมมี สัญญาก็ไมใชเปนอารมณ

1 . บุคคลผูเหมาะกับเนวสัญญานาสัญญายตนะ บุคคลผูเหมาะกับเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไดแก บุคคลผูมีจริตดังตอไปนี้ 1 . ราคจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางรักสวยรักงาม 2 . โทสจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางใจรอนขีห้ งุดหงิด 3 . โมหจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางเหงาซึมงมงาย 4 . วิตกจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดจับจดฟุง ซาน 5 . ศรัทธาจริต ผูท ี่มพี ื้นเพแหงจิตหนักไปทางนอมใจเชื่อ 6 . พุทธิจริต ผูที่มีพนื้ เพแหงจิตหนักไปทางคิดพิจารณา

2 . ขอบเขตของเนวสัญญานาสัญญายตนะ ขอบเขตหรือขีดขั้นความสําเร็จ อันพึงไดจากการเจริญเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไดแก 1 . ไดอุปจารสมาธิ 2 . ไดจตุตถฌาน 3 . ไดเนวสัญญานาสัญญายตนะ

369 3 . อานิสงสของเนวสัญญานาสัญญายตนะ อานิสงสของเนวสัญญานาสัญญายตนะมี 4 ประการ ไดแก 1 . ไดขามพนโทษของอากิญจัญญายตนะเพราะสัญญาเปนธรรมหยาบ 2 . ไดเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ 3 . อายตนะทัง้ 6 ยอมถูกทําลายลง 4 . ยอมเปนผูส ามารถที่จะเจริญซึ่งอภิญญาได

4 . วิธีเจริญเนวสัญญานาสัญญายตนะ วิธีเจริญเนวสัญญานาสัญญายตนะนัน้ เริ่มตนโดยการละออกจากอากิญจัญญายตนะ แลวพึงเพงภาวะทีม่ ีสัญญาก็ไมใช ไมมีสญ ั ญาก็ไมใชเปนอารมณ เมื่อนักปฏิบัติเจริญกรรมฐาน เชนนี้ นักปฏิบัติยอมขามพนจากอากิญจัญญายตนะ กาวไปสูภาวะที่มีสัญญาก็ไมใช ไมมี สัญญาก็ไมใช เพราะกําจัดเสียซึ่งสัญญาที่หยาบเหลือเพียงสัญญาทีล่ ะเอียดอยู นักปฏิบัตินน้ั ยอมเขาถึง และอยูในเนวสัญญานาสัญญายตนะ อนึ่ง อรูปฌานภูมินี้มีความละเอียดยิ่งนัก ดังนัน้ นักปฏิบัติจึงไมสามารถกําหนดพิจารณาตอสิง่ ใดๆได เพราะเหตุนนั้ นักปฏิบัติจึงไม สามารถเจริญซึ่งวิปสสนากรรมฐาน ในอรูปฌานนี้ได

หมวดที่ 4 ปญญา ปญญา คือ ความรูรอบหรือรูแจง ปรีชาอันหยัง่ รูซึ่งเหตุและผล ความรูความเขาใจ ชัดเจนในสิง่ ทัง้ ปวง ความตัดสินไดถึงความเปนคุณและโทษ ความรูซึ่งรูปนามสังขารทั้งหลาย ตามความเปนจริง อันปญญานี้ สามารถกระทําใหเกิดขึ้นเจริญขึ้น ดวยการเจริญกรรมฐานทีม่ ี ชื่อวา “ วิปสสนากรรมฐาน ” ซึ่งหมายความวา เปนที่ตงั้ แหงการงาน อันเปนไปเพือ่ ความเห็นแจง คือ ที่จะทําใหเห็นแจงซึ่งรูปนาม ที่จะทําใหเห็นแจงซึง่ พระไตรลักษณ ที่จะทําใหเห็นแจงซึ่ง อริยสัจจ และที่จะทําใหเห็นแจงซึง่ มรรคผล โดยมีพระนิพพานเปนที่สุด อนึ่ง ในหมวดทีว่ าดวย ปญญานี้ ประกอบไปดวย 1 . สติปฏฐาน 4 (ธรรมอันเปนที่ตงั้ แหงสติ) 2 . วิปสสนาญาณ 16 (ญาณที่นับเนื่องเขาในวิปส สนา) 3 . นิพพานกถา (อธิบายพระนิพพาน)

370

สติปฏฐาน 4 สติปฏฐาน คือ ธรรมอันเปนที่ตงั้ แหงสติ หรือขอปฏิบัติที่มีสติเปนประธาน หรือหลัก ในการกําหนดพิจารณาสิง่ ทัง้ หลาย ใหรูเห็นตามความเปนจริงของธรรมนั้นๆ ไมถกู ครอบงําดวย ความยินดียนิ ราย ที่ทาํ ใหเห็นผิดไปจากความเปนจริงตามอํานาจของกิเลสตัณหา ทําใหไมยดึ มั่นถือมัน่ หรือกลาวไดวา สติปฏฐาน เปนธรรมที่ตงั้ แหงสติ เพื่อฝกสติ และใชสติเพื่อลดละ กําจัดอุปาทาน ความยึดมัน่ ในความพึงพอใจ หรือสุขของตัวตนทีม่ ีในสันดาน อันกอใหเกิด ความทุกข อนึ่ง ในเรื่องสติปฏฐาน 4 นัน้ ประกอบไปดวยหัวขอดังตอไปนี้ 1 . อุทเทสวารกถา (พุทธพจนทยี่ กขึ้นแสดงเปนเบื้องแรก) 2 . กายานุ ป ส สนาสติปฏฐาน (สติที่กาํ หนดพิจารณาเห็นกายในกาย) 3 . เวทนานุปส สนาสติปฏฐาน (สติที่กาํ หนดพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา) 4 . จิ ต ตานุ ป ส สนาสติปฏฐาน (สติที่กาํ หนดพิจารณาเห็นจิตในจิต) 5 . ธั ม มานุ ป ส สนาสติปฏฐาน (สติที่กาํ หนดพิจารณาเห็นธรรมในธรรม) 6 . อานิสงสแหงสติปฏฐาน 4 (ประโยชนจากการเจริญสติปฏฐาน 4)

อุทเทสวารกถา สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา เสด็จประทับอยูในหมูชนชาวกุรุ นิคมของหมูชนชาวกุรุ ชื่อกัมมาสทัมมะ ในกาลนัน้ แล พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายวา “ ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ” ดังนี้ ภิกษุทงั้ หลายเหลานั้นทูลรับพุทธพจนวา “ พระเจาขา ” ดังนี้ พระผูมีพระภาค เจา จึงตรัสพระพุทธภาษิตนี้วา “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ทางนี้เปนที่ไปอันเอก เพื่อความหมดจดวิเศษของสัตวทงั้ หลาย เพื่อความกาวลวงซึง่ ความโศกและความร่าํ ไร เพื่อความอัสดงคดับไปแหงทุกขและโทมนัส เพือ่ บรรลุญายธรรม เพื่อกระทําพระนิพพานใหแจง ทางนี้คือสติปฏฐาน 4 อยาง สติปฏฐาน 4 อยาง เปนไฉน ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู มี ความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียใหพนิ าศ เธอยอมพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนาเนืองๆอยู มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก เสียใหพินาศ เธอยอมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆอยู มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ นํา

371 อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียใหพนิ าศ เธอยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนืองๆอยู มีความ เพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียใหพนิ าศ ”

กายานุปสสนาสติปฏฐาน กายานุปสสนาสติปฏฐาน ประกอบไปดวยหัวขอดังตอไปนี้ 1 . อานาปานบรรพ (สติที่กาํ หนดรูลมหายใจเขาออก) 2 . อิริยาบถบรรพ (สติที่กาํ หนดรูในอิริยาบถตางๆ) 3 . สัมปชัญญบรรพ (สติที่กาํ หนดรูในสัมปชัญญะตางๆ) 4 . ปฏิกูลมนสิการบรรพ (สติที่กําหนดรูโกฏฐาส 32) 5 . ธาตุมนสิการบรรพ (สติที่กําหนดรูธาตุ 4) 6 . นวสีวถิกาบรรพ (สติที่กาํ หนดรูในซากศพประเภทตางๆ)

อานาปานบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู ดูกอน ภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ไปแลวสูปาก็ดี ไปแลวสูโคนไมก็ดี ไปแลวสูเ รือนวางก็ดี นั่งคูบัลลังก ตั้งกายตรงดํารงสติเฉพาะหนา เธอยอมมีสติหายใจเขา ยอมมีสติหายใจออก ” 1 . เมื่อหายใจเขายาวก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว 2 . เมื่อหายใจออกยาวก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว 3 . เมื่อหายใจเขาสั้นก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น 4 . เมื่อหายใจออกสั้นก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น 5 . ยอมสําเหนียกวาเราจักเปนผูกาํ หนดรูตลอดกองลมหายใจทัง้ ปวง หายใจเขา 6 . ยอมสําเหนียกวาเราจักเปนผูกาํ หนดรูตลอดกองลมหายใจทัง้ ปวง หายใจออก 7 . ยอมสําเหนียกวาเราจักระงับกายสังขาร หายใจเขา 8 . ยอมสําเหนียกวาเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก “ ดังนี้ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! แมฉนั ใด นายชางกลึง หรือลูกมือของนายชางกลึงผู ฉลาด เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รูชัดวา เราชักเชือกกลึงยาว หรือเมือ่ ชักเชือกกลึงสั้น ก็รูชัดวา

372 เราชักเชือกกลึงสั้น ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุก็ฉนั นัน้ นั่นแหละ เมือ่ หายใจเขายาว ก็รูชัดวา เราหายใจเขายาว หรือเมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวา เราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รู ชัดวา เราหายใจเขาสั้น หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชดั วา เราหายใจออกสั้น ยอมสําเหนียกวา เราจักเปนผูกาํ หนดรูตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจเขา ยอมสําเหนียกวา เราจักเปนผู กําหนดรูตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจออก ยอมสําเหนียกวา เราจักระงับกายสังขาร หายใจเขา ยอมสําเหนียกวา เราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็น กายในกายเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น กายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของเธอที่ตั้งมัน่ อยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวา เปนที่รู แตเพียงสักวาเปนทีอ่ าศัยระลึก เธอเปนผูอนั ตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือ มั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

อิริยาบถบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออื่นยังมีอยูอีก ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ” 1 . เมื่อยืนอยูก ็รูชัดวาเรายืน 2 . เมื่อเดินอยูก ็รูชัดวาเราเดิน 3 . เมื่อนัง่ อยูก ็รูชัดวาเรานัง่ 4 . เมื่อนอนอยูก็รูชัดวาเรานอน 5 . เมื่อตั้งกายไวอยางใดก็รชู ัดวาเราตัง้ กายไวอยางนัน้ “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกาย เปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทัง้ ภายในภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น ธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกาย บาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของ เธอที่ตั้งมั่นอยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียงสักวาเปนทีอ่ าศัยระลึก เธอเปนผูอนั ตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูด วย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

373

สัมปชัญญบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมทําสัมปชัญญะใน ” 1 . การกาวไปขางหนาและถอยกลับมาขางหลัง 2 . การแลไปขางหนาและการเหลียวไปขางซายขางขวา 3 . การคูอวัยวะเขาและเหยียดอวัยวะออก 4 . การทรงผาสังฆาฏิ บาตร และจีวร 5 . การกิน ดื่ม เคี้ยว และลิ้ม 6 . การถายอุจจาระและปสสาวะ 7 . การเดิน ยืน นัง่ หลับ ตื่น พูด และความเปนผูนงิ่ อยู “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกาย เปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทัง้ ภายในภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น ธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกาย บาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของ เธอที่ตั้งมั่นอยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียงสักวาเปนทีอ่ าศัยระลึก เธอเปนผูอนั ตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูด วย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

ปฏิกูลมนสิการบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณากายนีน้ ี่แล เบื้องบนแตพื้น เทาขึน้ ไป เบือ้ งต่ําแตปลายผมลงมา มีหนังหุม อยูโดยรอบ เต็มดวยของไมสะอาดมีประการ ตางๆวามีอยูในกายนี้ คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา มันสมอง น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้ํามันขน น้ําตา น้ํามันเหลว น้าํ ลาย น้ํามูก ไขขอ น้ํา มูตร ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ไถมีปาก 2 ขาง เต็มดวยธัญญชาติมีประการตางๆ ดวยขาวสาลี ขาวเปลือก ถั่วเขียว ถัว่ เหลือง งา ขาวสาร บุรุษมีจักษุแกไถนนั้ ออกแลวพึงเห็นไดวา เหลานี้ ขาวสาลี เหลานี้ขาวเปลือก เหลานีถ้ ั่วเขียว เหลานี้ถวั่ เหลือง เหลานีง้ า เหลานีข้ าวสาร ฉัน

374 ใด ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ฉันนัน้ นัน่ แล ภิกษุยอมพิจารณากายนีน้ แี่ ล เบื้องบนแตพื้นเทาขึ้นไป เบื้องต่ําแตปลายผมลงมา มีหนังหุมอยูโดยรอบ เต็มดวยของไมสะอาดมีประการตางๆวามีอยูใน กายนี้ คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ใสใหญ ใสนอย อาหารใหม อาหารเกา มันสมอง น้ําดี เสมหะ น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ น้ํามันขน น้ําตา น้ํามันเหลว น้ําลาย น้าํ มูก ไขขอ น้ํามูตร ” “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกาย เปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทัง้ ภายในภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น ธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกาย บาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของ เธอที่ตั้งมั่นอยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียงสักวาเปนทีอ่ าศัยระลึก เธอเปนผูอนั ตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูด วย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

ธาตุมนสิการบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณากาย อันตั้งอยูตามที่ตงั้ ตามปกตินนี้ ี่แล โดยความเปนธาตุวามีอยูในกายนี้ ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! คนฆาโคหรือลูกมือคนฆาโคผูฉลาด เมื่อฆาแมโคแลว พึงแบงออกเปน สวนๆ แลวนัง่ อยูระหวางหนทางใหญ 4 แพรง แมฉันใด ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุก็ฉันนัน้ นัน่ แล ยอมพิจารณากาย อันตั้งอยูตามที่ตงั้ ตามปกตินนี้ แี่ ล โดยความเปนธาตุวา มีอยูในกายนี้ ไดแก ธาตุดิน ธาตุนา้ํ ธาตุไฟ ธาตุลม ” “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกาย เปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทัง้ ภายในภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น ธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกาย บาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของ เธอที่ตั้งมั่นอยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียงสักวาเปนทีอ่ าศัยระลึก เธอเปนผูอนั ตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูด วย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

375

นวสีวถิกาบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออื่นยังมีอยูอีก ภิกษุเหมือนกะวาจะพึงเห็นซากศพ ที่เขาทิง้ ไว แลวในปาชา ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาซึ่ง ” 1 . ซากศพทีพ่ องขึ้นอืด มีสเี ขียวคล้ําและมีน้ําเหลืองไหลนาเกลียด 2 . ซากศพที่มฝี ูงกาจิกกินอยูบาง ฝูงแรงจิกกินอยูบาง ฝูงสัตวจิกกินอยูบาง 3 . รางกระดูกที่ยงั มีเนื้อและเลือด อันเสนเอ็นรัดรึงอยู 4 . รางกระดูกที่เปอนดวยเลือดแตปราศจากเนื้อแลว ยังมีเสนเอ็นรัดรึงอยู 5 . รางกระดูกที่ปราศจากเนือ้ และเลือดแลว ยังมีเสนเอ็นรัดรึงอยู 6 . ทอนกระดูกที่ปราศจากเสนเอ็นรัดรึงแลว กระจายไปแลวในทิศนอยใหญ 7 . ทอนกระดูกที่มีสีขาวเปรียบดวยสีสงั ข 8 . ทอนกระดูกที่เปนกองเรีย่ รายแลว 9 . ทอนกระดูกที่ผุละเอียดแลว “ ดังนี้ เธอก็นอมเขามาสูกายนีน้ ี่แลวา ถึงรางกายอันนี้เลาก็มีอยางนี้เปนธรรมดา คง เปนอยางนี้ ไมลวงพนความเปนอยางนี้ไปได ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปน ภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทั้ง ภายในภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในกายบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเสือ่ มไปในกายบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทั้ง ความเสื่อมไปในกายบาง ก็หรือสติของเธอที่ตั้งมัน่ อยูว ากายมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียง สักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอเปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดว ย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลก ดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยูอยางนี้ ”

เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนืองๆอยู ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาดังนีว้ า ” 1 . เมื่อเสวยสุขเวทนาก็รูชัดวาเราเสวยสุขเวทนา 2 . เมื่อเสวยทุกขเวทนาก็รูชดั วาเราเสวยทุกขเวทนา

376 3 . เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็รูชัดวาเราเสวยอทุกขมสุขเวทนา 4 . เมื่อเสวยสุขเวทนามีอามิสก็รูชัดวาเราเสวยสุขเวทนามีอามิส 5 . เมื่อเสวยสุขเวทนาไมมีอามิสก็รูชัดวาเราเสวยสุขเวทนาไมมีอามิส 6 . เมื่อเสวยทุกขเวทนามีอามิสก็รูชัดวาเราเสวยทุกขเวทนามีอามิส 7 . เมื่อเสวยทุกขเวทนาไมมอี ามิสก็รูชัดวาเราเสวยทุกขเวทนาไมมีอามิส 8 . เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิสก็รูชดั วาเราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส 9 . เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนาไมมีอามิสก็รูชัดวาเราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไมมีอามิส “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในภายนอกบาง ยอม พิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึน้ ในเวทนาบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความ เสื่อมไปในเวทนาบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทัง้ ความเสือ่ มไปในเวทนา บาง ก็หรือสติของเธอที่ตั้งมั่นอยูว าเวทนามีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัย ระลึก เธอเปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนืองๆอยูอยางนี้ ”

จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆอยู ดูกอ นภิกษุ ทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ยอมพิจารณาดังนีว้ า ” 1 . จิตมีราคะก็รูชัดวาจิตมีราคะ 2 . จิตไมมีราคะก็รูชัดวาจิตไมมีราคะ 3 . จิตมีโทสะก็รูชัดวาจิตมีโทสะ 4 . จิตไมมีโทสะก็รูชัดวาจิตไมมีโทสะ 5 . จิตมีโมหะก็รูชัดวาจิตมีโมหะ 6 . จิตไมมีโมหะก็รูชัดวาจิตไมมีโมหะ 7 . จิตหดหูก็รชู ัดวาจิตหดหู (ถีนมิทธะ) 8 . จิตฟุงซานก็รูชัดวาจิตฟุง ซาน (อุทธัจจะ) 9 . จิตเปนมหรคตก็รูชัดวาจิตเปนมหรคต (รูปาวจรและอรูปาวจร)

377 10 . จิตไมเปนมหรคตก็รูชดั วาจิตไมเปนมหรคต (กามาวจร) 11 . จิตเปนสอุตตระก็รูชัดวาจิตเปนสอุตตระ (มีจิตอื่นยิ่งกวา) 12 . จิตเปนอนุตตระก็รูชัดวาจิตเปนอนุตตระ (ไมมีจิตอื่นยิง่ กวา) 13 . จิตตั้งมัน่ ก็รูชัดวาจิตตั้งมั่น 14 . จิตไมตั้งมั่นก็รูชัดวาจิตไมตั้งมั่น 15 . จิตวิมุตติก็รูชัดวาจิตวิมตุ ติ (หลุดพน) 16 . จิตยังไมวมิ ุตติก็รูชัดวาจิตยังไมวิมุตติ (ไมหลุดพน) “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นจิตในจิตเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นจิตในจิตเปน ภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในจิตบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปในจิตบาง ยอม พิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทัง้ ความเกิดขึ้นทัง้ ความเสือ่ มไปในจิตบาง ก็หรือสติของเธอที่ตงั้ มัน่ อยูวาจิตมีอยู แตเพียงสักวาเปนที่รู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอเปนผูอันตัณหา และทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมั่นอะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุยอม พิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆอยูอยางนี้ ”

ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ประกอบไปดวยหัวขอดังตอไปนี้ 1 . นีวรณบรรพ (สติที่กําหนดรูนิวรณ 5) 2 . ขันธบรรพ (สติที่กําหนดรูข ันธ 5) 3 . อายตนบรรพ (สติที่กําหนดรูอายตนะ 12) 4 . โพชฌงคบรรพ (สติที่กาํ หนดรูโพชฌงค 7) 5 . สัจจบรรพ (สติที่กําหนดรูอ ริยสัจ 4)

นีวรณบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนืองๆอยู ดูกอน ภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ นิวรณ 5 ดูกอนภิกษุ

378 ทั้งหลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ นิวรณ 5 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาดังนี้วา ” 1 . เมื่อกามฉันทมี ณ. ภายในจิต ยอมรูช ัดวา กามฉันทมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือ เมื่อกามฉันทไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา กามฉันทไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่ กามฉันทอนั ยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย อนึง่ ความละกาม ฉันทที่เกิดขึน้ แลว เสียไดดวยประการใด ยอมรูประการนั้นดวย อนึง่ ความทีก่ ามฉันทอนั ตนละ เสียแลว ไมเกิดขึ้นตอไปไดดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย 2 . เมื่อพยาบาทมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา พยาบาทมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือ เมื่อพยาบาทไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา พยาบาทไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่ พยาบาทอันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย อนึง่ ความละ พยาบาทที่เกิดขึ้นแลว เสียไดดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย อนึง่ ความที่พยาบาทอัน ตนละเสียแลว ไมเกิดขึ้นตอไปไดดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย 3 . เมื่อถีนมิทธะมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา ถีนมิทธะมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือ เมื่อถีนมิทธะไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา ถีนมิทธะไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่ ถีนมิทธะอันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย อนึง่ ความละถีน มิทธะที่เกิดขึ้นแลว เสียไดดวยประการใด ยอมรูประการนั้นดวย อนึง่ ความทีถ่ ีนมิทธะอันตน ละเสียแลว ไมเกิดขึ้นตอไปไดดวยประการใด ยอมรูประการนั้นดวย 4 . เมื่ออุทธัจจกุกกุจจะมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา อุทธัจจกุกกุจจะมี ณ. ภายในจิต ของเรา หรือเมื่ออุทธัจจกุกกุจจะไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา อุทธัจจกุกกุจจะไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่อุทธัจจกุกกุจจะอันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึน้ ดวยประการใด ยอมรูประการนั้นดวย อนึ่ง ความละอุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดขึ้นแลว เสียไดดวยประการใด ยอมรู ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความที่อุทธัจจกุกกุจจะอันตนละเสียแลว ไมเกิดขึ้นตอไปไดดวยประการ ใด ยอมรูประการนั้นดวย 5 . เมื่อวิจิกจิ ฉามี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา วิจิกิจฉามี ณ. ภายในจิตของเรา หรือเมื่อ วิจิกิจฉาไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา วิจกิ ิจฉาไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่ วิจิกิจฉาอันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย อนึง่ ความละ วิจิกิจฉาที่เกิดขึ้นแลว เสียไดดวยประการใด ยอมรูประการนั้นดวย อนึง่ ความที่วิจกิ ิจฉาอัน ตนละเสียแลว ไมเกิดขึ้นตอไปไดดวยประการใด ยอมรูประการนัน้ ดวย

379 “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทัง้ ภายนอกบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปใน ธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทั้งความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในธรรมบาง ก็หรือ สติของเธอที่ตงั้ มั่นอยูวา ธรรมมีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอ เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ นิวรณ 5 อยางนี้ ”

ขันธบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อุปาทานขันธ 5 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อุปาทานขันธ 5 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาดังนี้วา ” 1 . อยางนี้รูป อยางนี้ความเกิดขึ้นของรูป อยางนี้ความดับไปของรูป 2 . อยางนี้เวทนา อยางนี้ความเกิดขึ้นของเวทนา อยางนี้ความดับไปของเวทนา 3 . อยางนี้สัญญา อยางนี้ความเกิดขึ้นของสัญญา อยางนี้ความดับไปของสัญญา 4 . อยางนี้สงั ขาร อยางนีค้ วามเกิดขึ้นของสังขาร อยางนี้ความดับไปของสังขาร 5 . อยางนีว้ ิญญาณ อยางนี้ความเกิดขึ้นของวิญญาณ อยางนี้ความดับไปของวิญญาณ “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทัง้ ภายนอกบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปใน ธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทั้งความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในธรรมบาง ก็หรือ สติของเธอที่ตงั้ มั่นอยูวา ธรรมมีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอ เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อุปาทานขันธ 5 อยางนี้ ”

380

อายตนบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อายตนะภายใน 6 และอายตนะภายนอก 6 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอม พิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อายตนะภายใน 6 และอายตนะภายนอก 6 ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ” 1 . ยอมรูจักตาดวย ยอมรูจ ักรูปดวย อนึ่ง สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยตาและรูปทั้ง 2 นั้นอันใด ยอมรูจักอันนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึน้ ดวยประการ ใด ยอมรูจกั ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึน้ แลวเสียได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันตนละเสียแลว ยอมไมเกิดขึน้ ตอไปได ดวย ประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย 2 . ยอมรูจักหูดวย ยอมรูจักเสียงดวย อนึ่ง สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยหูและเสียงทั้ง 2 นั้นอันใด ยอมรูจักอันนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึน้ ดวยประการ ใด ยอมรูจกั ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึน้ แลวเสียได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันตนละเสียแลว ยอมไมเกิดขึน้ ตอไปได ดวย ประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย 3 . ยอมรูจักจมูกดวย ยอมรูจักกลิ่นดวย อนึง่ สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยจมูกและ กลิ่นทั้ง 2 นัน้ อันใด ยอมรูจ ักอันนั้นดวย อนึง่ ความที่สังโยชน อันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึน้ ดวยประการใด ยอมรูจักประการนัน้ ดวย อนึ่ง ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึ้นแลวเสียได ดวย ประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึง่ ความที่สงั โยชน อันตนละเสียแลว ยอมไมเกิดขึ้น ตอไปได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย 4 . ยอมรูจักลิน้ ดวย ยอมรูจ ักรสดวย อนึ่ง สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยลิ้นและรสทั้ง 2 นั้นอันใด ยอมรูจักอันนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึน้ ดวยประการ ใด ยอมรูจกั ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึน้ แลวเสียได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึ่ง ความที่สงั โยชน อันตนละเสียแลว ยอมไมเกิดขึน้ ตอไปได ดวย ประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย 5 . ยอมรูจักกายดวย ยอมรูจักโผฏฐัพพะดวย อนึ่ง สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยกาย และโผฏฐัพพะทั้ง 2 นั้นอันใด ยอมรูจักอันนัน้ ดวย อนึง่ ความที่สงั โยชน อันยังไมเกิดขึ้น ยอม

381 เกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึ่ง ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึ้นแลวเสียได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนัน้ ดวย อนึ่ง ความที่สังโยชน อันตนละเสียแลว ยอมไม เกิดขึ้นตอไปได ดวยประการใด ยอมรูจกั ประการนั้นดวย 6 . ยอมรูจักใจดวย ยอมรูจักธรรมารมณดวย อนึง่ สังโยชนยอมเกิดขึ้น อาศัยใจและ ธรรมารมณทงั้ 2 นัน้ อันใด ยอมรูจักอันนัน้ ดวย อนึง่ ความที่สังโยชน อันยังไมเกิดขึ้น ยอม เกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูจักประการนั้นดวย อนึ่ง ความที่ละสังโยชน ที่เกิดขึ้นแลวเสียได ดวยประการใด ยอมรูจักประการนัน้ ดวย อนึ่ง ความที่สังโยชน อันตนละเสียแลว ยอมไม เกิดขึ้นตอไปได ดวยประการใด ยอมรูจกั ประการนั้นดวย “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทัง้ ภายนอกบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปใน ธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทั้งความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในธรรมบาง ก็หรือ สติของเธอที่ตงั้ มั่นอยูวา ธรรมมีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอ เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อายตนะภายใน 6 และอายตนะภายนอก 6 อยางนี้ ”

โพชฌงคบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ โพชฌงค 7 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอ มพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ โพชฌงค 7 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมพิจารณาดังนีว้ า ” 1 . เมื่อสติสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา สติสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิตของ เรา หรือเมื่อสติสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา สติสมั โพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ของเรา อนึง่ ความที่สติสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัด ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความเจริญบริบูรณของสติสัมโพชฌงคทเี่ กิดขึ้นแลว ยอมเปนดวย ประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย 2 . เมื่อธัมมวิจยสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชดั วา ธัมมวิจยสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือเมื่อธัมมวิจยสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา

382 ธัมมวิจยสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่ธัมมวิจยสัมโพชฌงคอันยังไม เกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย อนึ่ง ความเจริญบริบูรณของ ธัมมวิจยสัมโพชฌงคทเี่ กิดขึ้นแลว ยอมเปนดวยประการใด ยอมรูชดั ประการนัน้ ดวย 3 . เมื่อวิริยสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา วิริยสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ของเรา หรือเมื่อวิริยสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา วิริยสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่วิริยสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย อนึ่ง ความเจริญบริบูรณของวิริยสัมโพชฌงคที่เกิดขึน้ แลว ยอมเปน ดวยประการใด ยอมรูชัดประการนัน้ ดวย 4 . เมื่อปติสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา ปติสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิตของ เรา หรือเมื่อปติสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา ปติสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ของเรา อนึง่ ความที่ปติสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึน้ ยอมเกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัด ประการนัน้ ดวย อนึง่ ความเจริญบริบูรณของปติสัมโพชฌงคทเี่ กิดขึ้นแลว ยอมเปนดวย ประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย 5 . เมื่อปสสัทธิสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา ปสสัทธิสมั โพชฌงคมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือเมื่อปสสัทธิสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา ปสสัทธิ สัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึ่ง ความทีป่ สสัทธิสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึ้น ยอม เกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย อนึ่ง ความเจริญบริบูรณของปสสัทธิ สัมโพชฌงคทเี่ กิดขึ้นแลว ยอมเปนดวยประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย 6 . เมื่อสมาธิสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา สมาธิสัมโพชฌงคมี ณ. ภายใน จิตของเรา หรือเมื่อสมาธิสมั โพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา สมาธิสมั โพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่สมาธิสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึ้น ยอมเกิดขึน้ ดวยประการ ใด ยอมรูชัดประการนัน้ ดวย อนึง่ ความเจริญบริบูรณของสมาธิสมั โพชฌงคที่เกิดขึ้นแลว ยอม เปนดวยประการใด ยอมรูชดั ประการนัน้ ดวย 7 . เมื่ออุเบกขาสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา อุเบกขาสัมโพชฌงคมี ณ. ภายในจิตของเรา หรือเมื่ออุเบกขาสัมโพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิต ยอมรูชัดวา อุเบกขาสัม โพชฌงคไมมี ณ. ภายในจิตของเรา อนึง่ ความที่อุเบกขาสัมโพชฌงคอันยังไมเกิดขึ้น ยอม เกิดขึ้นดวยประการใด ยอมรูชัดประการนั้นดวย อนึ่ง ความเจริญบริบูรณของอุเบกขาสัม โพชฌงคที่เกิดขึ้นแลว ยอมเปนดวยประการใด ยอมรูช ัดประการนัน้ ดวย

383 “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทัง้ ภายนอกบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปใน ธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทั้งความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในธรรมบาง ก็หรือ สติของเธอที่ตงั้ มั่นอยูวา ธรรมมีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอ เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ โพชฌงค 7 อยางนี้ ”

สัจจบรรพ “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ขออืน่ ยังมีอยูอีก ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อริยสัจ 4 ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย! ก็อยางไร ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อริยสัจ 4 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นีท้ ุกข ยอมรูชัดตาม ความเปนจริงวา นีท้ ุกขสมุทัย ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นีท้ ุกขนิโรธ ยอมรูช ัดตามความ เปนจริงวา นีท้ ุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ” 1 . ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความจริงของพระอริยเจา คือ ทุกข เปนอยางไรเลา แมชาติ ก็เปนทุกข แมชราก็เปนทุกข แมมรณะก็เปนทุกข แมโสกะก็เปนทุกข แมปริเทวะก็เปน แม ทุกขก็เปนทุกข แมโทมนัสก็เปนทุกข แมอุปายาสก็เปนทุกข แมความประสบสัตวและสังขาร ซึ่งไมเปนที่รักก็เปนทุกข แมความพลัดพรากจากสัตวและสังขาร ซึง่ เปนที่รกั ก็เปนทุกข แมสัตว ปรารถนาสิง่ ใด ยอมไมไดสิ่งที่ปรารถนานั้นก็เปนทุกข โดยยออุปาทานขันธ 5 เปนทุกข ดูกอน ภิกษุทงั้ หลาย! อันนีก้ ลาววา อริยสัจ คือ ทุกข 2 . ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความจริงของพระอริยเจา คือ ทุกขสมุทยั เปนอยางไรเลา ตัณหานี้ อันใด มีความเกิดขึ้นอีกเปนปกติ ประกอบดวยความกําหนัด ดวยอํานาจแหงความ เพลิดเพลิน มักเพลินยิง่ ในอารมณนนั้ ๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ก็แลตัณหานัน้ นั่นเอง เมื่อจะเกิดขึ้น ยอมเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อจะตั้งอยู ยอมตัง้ อยูท ี่ ไหน ที่ใดเปนที่รักใคร เปนทีพ่ อใจในโลก ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กาย วิญญาณ มโนวิญญาณ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโน

384 สัมผัส เวทนาที่เกิดแตจักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดแตโสตสัมผัส เวทนาที่เกิดแตฆานสัมผัส เวทนา ที่เกิดแตชิวหาสัมผัส เวทนาที่เกิดแตกายสัมผัส เวทนาที่เกิดแตมโนสัมผัส รูปสัญญา สัทท สัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธรรมสัญญา รูปสัญเจตนา สัทท สัญเจตนา คันธสัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพสัญเจตนา ธรรมสัญเจตนา รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธรรมตัณหา รูปวิตก สัททวิตก คันธ วิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธรรมวิตก รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพ วิจาร ธรรมวิจาร เปนที่รักใคร เปนทีพ่ อใจในโลก ตัณหานั้น เมื่อจะเกิดขึ้น ก็ยอมเกิดขึ้นที่ เหลาธรรมที่กลาวมาแลวนีน้ ั้น เมื่อจะตัง้ อยู ก็ยอมตัง้ อยูทเี่ หลาธรรมที่กลาวมาแลวนีน้ ั้น ดูกอน ภิกษุทงั้ หลาย! อันนีก้ ลาววา อริยสัจ คือ ทุกขสมุทยั 3 . ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความจริงของพระอริยเจา คือ ทุกขนิโรธ เปนอยางไรเลา ความสํารอก ความดับโดยไมมีเหลือ ความสละ ความสงคืน ความปลอยวาง ความไมอาลัย ในตัณหานัน้ นัน่ แล อันใด ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ตัณหานั้นนัน่ แล เมื่อบุคคลจะละเสีย ยอม ละเสียไดในทีไ่ หน เมื่อจะดับ ยอมดับในที่ไหน ที่ใดเปนที่รกั ใคร เปนทีพ่ อใจในโลก ตัณหานัน้ เมื่อบุคคลจะละเสีย ก็ยอมละเสียไดในที่นนั้ เมื่อจะดับ ก็ยอมดับในทีน่ ั้น ก็อะไรเลา เปนที่รัก ใคร เปนทีพ่ อใจในโลก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโน วิญญาณ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส เวทนาที่ เกิดแตจักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดแตโสตสัมผัส เวทนาที่เกิดแตฆานสัมผัส เวทนาที่เกิดแตชิวหา สัมผัส เวทนาที่เกิดแตกายสัมผัส เวทนาที่เกิดแตมโนสัมผัส รูปสัญญา สัททสัญญา คันธ สัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธรรมสัญญา รูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธ สัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพสัญเจตนา ธรรมสัญเจตนา รูปตัณหา สัททตัณหา คันธ ตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธรรมตัณหา รูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธรรมวิตก รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธรรมวิจาร เปนที่รกั ใคร เปนทีพ่ อใจในโลก ตัณหานัน้ เมื่อบุคคลจะละเสีย ก็ยอมละเสียไดที่เหลาธรรมที่ กลาวมาแลวนีน้ ั้น เมื่อจะดับ ก็ยอมดับที่เหลาธรรมทีก่ ลาวมาแลวนีน้ ั้น ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! อันนีก้ ลาววา อริยสัจ คือ ทุกขนิโรธ 4 . ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความจริงของพระอริยเจา คือ ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา เปน อยางไรเลา ทางอันประเสริฐ ประกอบดวยองค 8 ทางเดียวนี้แล ทางนี้อยางไร สัมมาทิฏฐิ

385 สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อันนีก้ ลาววา อริยสัจ คือ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา “ ดังนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนภายในบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทัง้ ภายนอกบาง ยอมพิจารณา เห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเสื่อมไปใน ธรรมบาง ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ทั้งความเกิดขึ้นทัง้ ความเสื่อมไปในธรรมบาง ก็หรือ สติของเธอที่ตงั้ มั่นอยูวา ธรรมมีอยู แตเพียงสักวาเปนทีร่ ู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลึก เธอ เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยอยูดวย ยอมไมถือมัน่ อะไรๆในโลกดวย ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อริยสัจ 4 อยางนี้ ”

อานิสงสแหงสติปฏฐาน 4 “ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุผูใดผูหนึง่ พึงเจริญสติปฏ ฐาน 4 นี้ อยางนัน้ ” ตลอด 7 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 6 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 5 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 4 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 3 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 2 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 1 ป ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 7 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 6 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 5 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 4 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 3 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 2 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอด 1 เดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1 ตลอดกึ่งเดือน ผูนนั้ พึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1

386 ตลอด 7 วัน ผูน ั้นพึงหวังผล คือ พระอรหันตในปจจุบันชาติ 1 หรือเปนพระอนาคามี 1

วิปสสนาญาณ 16 วิปสสนาญาณ คือ ญาณที่แสดงลําดับความกาวหนาในการเจริญวิปสสนากรรมฐาน ซึ่งมีอยูดวยกัน 16 ลําดับ เรียกไดอีกชื่อวา “ โสฬสญาณ ” ประกอบไปดวย 1 . นามรูปปริจเฉทญาณ (ญาณที่กาํ หนดแยกแยะรูปนาม) 2 . นามรูปปจจัยปริคคหญาณ (ญาณที่กาํ หนดรูปจจัยแหงรูปนาม) 3 . สัมมสนญาณ (ญาณที่ยกพระไตรลักษณขึ้นพิจารณารูปนาม) 4 . อุทยัพพยญาณ (ญาณหยัง่ รูความเกิดดับของรูปนาม) 5 . ภังคญาณ (ญาณหยัง่ รูเฉพาะความดับของรูปนาม) 6 . ภยญาณ (ญาณหยัง่ รูความเปนภัยของรูปนาม) 7 . อาทีนวญาณ (ญาณหยัง่ รูความเปนโทษของรูปนาม) 8 . นิพพิทาญาณ (ญาณที่เห็นรูปนามเปนสิ่งนาเบื่อหนาย) 9 . มุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ใครจะหนีไปเสียจากรูปนาม) 10 . ปฏิสังขาญาณ (ญาณที่หาทางหลุดพนจากรูปนาม) 11 . สังขารุเปกขาญาณ (ญาณที่วางเฉยในรูปนาม) 12 . อนุโลมญาณ (ญาณที่อนุโลมตามโพธิปกขิยธรรม 37 ประการ) 13 . โคตรภูญาณ (ญาณขามโคตรปุถุชนสูโคตรอริยบุคคล) 14 . มรรคญาณ (ญาณที่กาํ หนดเห็นพระนิพพานเปนอารมณ) 15 . ผลญาณ (ญาณที่เปนผลแหงมรรคญาณ) 16 . ปจจเวกขณญาณ (ญาณที่พิจารณามรรคผลนิพพาน กิเลสที่ตัดไดและที่ยังเหลืออยู)

นามรูปปริจเฉทญาณ นามรูปปริจเฉทญาณ คือ ญาณที่สามารถแยกแยะความแตกตางระหวางรูปและนามได วาสิง่ นี้รูปสิ่งนัน้ นาม รูปเปนอยางนี้นามเปนอยางนั้น โดยสามารถยกตัวอยาง ซึง่ อธิบายความ แตกตางระหวางรูปและนามได ดังตอไปนี้

387 รูปมีลักษณะแปรปรวนไมคงที่ รูปสามารถมองเห็นได รูปถูกตองสัมผัสได รูปเคลื่อนไหวไปไดชา รูปกินเนื้อที่ รูปนึกคิดไมได รูปยืนเดินนัง่ นอนได รูปรูวาตนยืนเดินนัง่ นอนไมได รูปดื่มกินลิ้มรับรสได รูปรูวาตนดื่มกินลิ้มรับรสไมได

นามมีลักษณะนอมไปหาอารมณ นามไมสามารถมองเห็นได นามถูกตองสัมผัสไมได นามเคลื่อนไหวไปไดเร็ว นามไมกินเนื้อที่ นามนึกคิดได นามยืนเดินนั่งนอนไมได นามรูว าตนยืนเดินนั่งนอนได นามดื่มกินลิม้ รับรสไมได นามรูว าตนดืม่ กินลิ้มรับรสได ฯลฯ

1 . เหตุที่ทําใหรูปและนามปรากฏ รูปและนามนัน้ จะปรากฏขึ้นกับนักปฏิบตั ิผูเจริญซึ่ง “ สติปฏฐาน 4 ” ดังที่ไดแสดงไวใน มหาสติปฏฐานสูตร อันประกอบดวย กายานุปสสนาสติปฏฐาน เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน และธัมมานุปส สนาสติปฏฐาน สวนการที่นกั ปฏิบัติจะเลือกสติปฏ ฐานขอใดเพื่อนํามาปฏิบัตินนั้ พึงเลือกโดยอาศัยพุทธพจนตอไปนี้ “ กายานุปสสนาสติปฏ ฐาน มี อารมณหยาบ เหมาะสําหรับบุคคลผูเปนสมถยานิก ผูม ีตัณหาจริตและมีปญญาออน เวทนา นุปสสนาสติปฏ ฐาน มีอารมณละเอียด เหมาะสําหรับบุคคลผูเปนสมถยานิก ผูมตี ัณหาจริต และมีปญญากลา จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน มีอารมณไมแยกออกจากกันมากนัก เหมาะ สําหรับบุคคลผูเปนวิปสสนายานิก ผูมีทฏิ ฐิจริตและมีปญญาออน ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน มี อารมณแยกออกมาก เหมาะสําหรับบุคคลผูเปนวิปสสนายานิก ผูม ีทิฏฐิจริตและมีปญญากลา ”

2 . ยถาภูตญาณทัสสนะ เมื่อเจริญสติปฏฐานจนรูปนามปรากฏแลว นักปฏิบัติยอมเขาถึงซึ่งยถาภูตญาณทัสสนะ คือการรูเห็นตามความเปนจริงวา ทุกสิ่งทุกอยางนัน้ แทที่จริงแลวก็เปนเพียงแครูปกับนามเทานัน้ หาไดมีสิ่งอืน่ ใดอีกไม ที่เราเรียกกันวาสิ่งนั้นสิง่ นี้ เปนเพียงคําเรียกทีเ่ ราบัญญัติขึ้นมาเทานั้น ดัง บทพรรณนาตอไปนี้ เมื่อเพลา ลอ ตัวถัง และงอน ตัง้ อยูรวมกัน คําวา “ รถ ” จึงเกิดขึ้น

388 เมื่อเสา พื้น เพดาน และหลังคา ตั้งอยูรวมกัน คําวา “ บาน ” จึงเกิดขึ้น เมื่อนิ้วมือ ทัง้ 5 นิ้ว ตั้งกอบรวมกัน คําวา “ กําปน ” จึงเกิดขึ้น เมื่อกระโหลก สาย ตัวเครือ่ ง ตั้งอยูรวมกัน คําวา “ พิณ ” จึงเกิดขึ้น เมื่อชาง มา ทหาร ตัง้ อยูร วมกัน คําวา “ กองทัพ ” จึงเกิดขึ้น เมื่อกําแพง บาน ประตู และซุม ตั้งอยูรวมกัน คําวา “ เมือง ” จึงเกิดขึ้น เมื่อกิ่ง กาน ใบ และลําตน ตั้งอยูรวมกัน คําวา “ ตนไม ” จึงเกิดขึ้น เมื่ออุปาทานขันธ 5 มีอยู คําวา “ สัตว ” และ “ บุคคล ” จึงเกิดขึ้น ฯลฯ แตเมื่อใดที่ละทิ้งยถาภูตญาณทัสสนะไป การยอมรับวามีสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ก็ยอมตองเกิดขึ้น และเมื่อยอมรับในความมีสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ก็จาํ ตองยอมรับรูถึง ความพินาศและความฉิบหายของสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา นัน้ ดวย การรับรูถึงความพินาศ คือเห็นวาขาดสูญนั้นรียกวา “ อุจเฉททิฏฐิ ” สวนการรับรูถึงความไมพินาศคือเห็นวายัง่ ยืนนัน้ เรียกวา “ สัสสตทิฏฐิ ” โดยอุจเฉททิฏฐินนั้ เปนความเห็นที่ลา้ํ หนาไป และสัสสตทิฏฐินั้นเปน ความเห็นที่ลา หลังไป ความเห็นทัง้ สองประการนี้เปนมิจฉาทิฏฐิ คือไมเห็นตามความเปนจริง

3 . อุปมาแหงรูปและนาม ในคัมภีรวิสุทธิมรรค ไดแสดงความตางกันระหวางรูปกับนาม ซึ่งปรากฏในขณะทีเ่ จริญ วิปสสนากรรมฐานไววา 1 . สภาพการเห็น ยอมไมเกิดจากตา ยอมไมเกิดจากรูป ยอมไมเกิดระหวางตาและรูป ธรรมชาติกลาวคือการเห็นอันปจจัยปรุงแตงขึ้นนัน้ อาศัยเหตุมีตาและรูป ยอมเกิดขึ้นไดประดุจ ดังเสียงแหงกลอง ยอมไมเกิดจากกลอง ยอมไมเกิดจากไมกลอง ยอมไมเกิดระหวางกลองและ ไมกลอง หากเกิดจากการตีกระทบกันระหวางกลองและไมกลอง 2 . สภาพการไดยิน ยอมไมเกิดจากหู ยอมไมเกิดจากเสียง ยอมไมเกิดระหวางหูและ เสียง ธรรมชาติกลาวคือการไดยินอันปจจัยปรุงแตงขึ้นนั้น อาศัยเหตุมีหูและเสียง ยอมเกิดขึน้ ไดประดุจดังเสียงแหงกลอง ยอมไมเกิดจากกลอง ยอมไมเกิดจากไมกลอง ยอมไมเกิดระหวาง กลองและไมกลอง หากเกิดจากการตีกระทบกันระหวางกลองและไมกลอง 3 . สภาพการไดกลิ่น ยอมไมเกิดจากจมูก ยอมไมเกิดจากกลิน่ ยอมไมเกิดระหวาง จมูกและกลิน่ ธรรมชาติกลาวคือการไดกลิ่นอันปจจัยปรุงแตงขึ้นนัน้ อาศัยเหตุมีจมูกและกลิน่

389 ยอมเกิดขึ้นไดประดุจดังเสียงแหงกลอง ยอมไมเกิดจากกลอง ยอมไมเกิดจากไมกลอง ยอมไม เกิดระหวางกลองและไมกลอง หากเกิดจากการตีกระทบกันระหวางกลองและไมกลอง 4 . สภาพการรับรส ยอมไมเกิดจากลิ้น ยอมไมเกิดจากรส ยอมไมเกิดระหวางลิ้นและ รส ธรรมชาติกลาวคือการรับรสอันปจจัยปรุงแตงขึ้นนัน้ อาศัยเหตุมลี ิ้นและรส ยอมเกิดขึ้นได ประดุจดังเสียงแหงกลอง ยอมไมเกิดจากกลอง ยอมไมเกิดจากไมกลอง ยอมไมเกิดระหวาง กลองและไมกลอง หากเกิดจากการตีกระทบกันระหวางกลองและไมกลอง 5 . สภาพการรับสัมผัส ยอมไมเกิดจากกาย ยอมไมเกิดจากสิ่งกระทบ ยอมไมเกิด ระหวางกายและสิ่งกระทบ ธรรมชาติกลาวคือการรับสัมผัสอันปจจัยปรุงแตงขึ้นนัน้ อาศัยเหตุมี กายและสิง่ กระทบ ยอมเกิดขึ้นไดประดุจดังเสียงแหงกลอง ยอมไมเกิดจากกลอง ยอมไมเกิด จากไมกลอง ยอมไมเกิดระหวางกลองและไมกลอง หากเกิดจากการตีกระทบกันระหวางกลอง และไมกลอง สรุปไดดังนี้วา ผัสสะทัง้ หา คือ สภาพการเห็น สภาพการไดยนิ สภาพการไดกลิ่น สภาพการรับรส และสภาพการรับสัมผัสนั้น เปนสภาวธรรมที่มีปจ จัยปรุงแตง อาศัยเหตุคือการ กระทบกันระหวางทวารและรูปที่มากระทบ (รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส) ผัสสะคือนามจึง เกิดขึ้นตามมา

นามรูปปจจัยปริคคหญาณ นามรูปปจจัยปริคคหญาณ คือ ญาณทีส่ ามารถกําหนดรูเหตุปจจัยของรูปและนาม วา นามนัน้ อาศัยอะไรทําใหเกิดขึ้น และรูปนัน้ อาศัยอะไรทําใหเกิดขึน้ เมื่อรูเหตุปจจัยของรูปและ นามแลว ก็จะทําใหละความสงสัย 16 ประการตอไปนี้ได 1 . กอนจะถึงภพนี้ ตัวขาพเจา เคยเกิดมาแลวในอดีตภพหรือไมหนอ ? 2 . กอนจะถึงภพนี้ ตัวขาพเจา ไมเคยเกิดมาแลวในอดีตภพหรือไมหนอ ? 3 . ในอดีตภพ ตัวขาพเจา เคยเกิดเปนอะไรหนอ ? 4 . ในอดีตภพ ตัวขาพเจา เคยมีรูปรางสัณฐานเชนไรหนอ ? 5 . ในอดีตภพ ตัวขาพเจา เคยเกิดเปนอะไร ? ... และอะไร ? … และอะไร ? 6 . เมื่อขาพเจาตายจากภพนี้แลว จะไดเกิดอีกไหมหนอ ? 7 . เมื่อขาพเจาตายจากภพนี้แลว จะดับสูญไหมหนอ ?

390 8 . ในอนาคตภพ ตัวขาพเจา จะเกิดเปนอะไรหนอ ? 9 . ในอนาคตภพ ตัวขาพเจา จะมีรูปรางสัณฐานเชนไรหนอ ? 10 . ในอนาคตภพ ตัวขาพเจา จะเกิดเปนอะไร ? ... และอะไร ? … และอะไร ? 11 . ในรางกายนีท้ ี่วา มีสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา นัน้ จริงหรือเปลาหนอ ? 12 . ในรางกายนีท้ ี่วา ไมมีสตั ว บุคคล ตัวตน เราเขา นัน้ จริงหรือเปลาหนอ ? 13 . ในปจจุบนั นี้ ตัวขาพเจา เปนอะไรหนอ ? 14 . ในปจจุบนั นี้ ตัวขาพเจา มีรูปรางสัณฐานเชนไรหนอ ? 15 . ตัวขาพเจา จุติมาจากภพหรือสถานที่ใดหนอ ? 16 . ตัวขาพเจา เมื่อตายไปจากภพนี้ จะไปเกิดในภพภูมิไหนหนอ ?

1 . การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุนัยที่ 1 การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุแหงรูปและนามนัยที่ 1 นี้ อาศัยซึ่งการอนุมานไปตามหลัก เหตุผลความเปนจริงดังนีว้ า รูปนั้น อาศัยเหตุปจจัยใหเกิดขึ้น 4 ประการ ไดแก อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และกรรม โดยที่ไดรับการอุปถัมภประคองใหตั้งอยูไดดวยอาหาร อวิชชานัน้ คือความไมรูในอริยสัจ 4 ประการ ไดแก ความไมรวู ารูปและนามนี้คอื ทุกข (ทุกข) ความไมรวู า ความตองการในรูปและนามนี้คือเหตุแหงทุกข (ทุกขสมุทยั ) ความไมรูวาความดับไปแหงรูปและ นามนี้คือความดับทุกข (ทุกขนิโรธ) และความไมรูวา หนทางสูความดับไปแหงรูปและนามนี้คือ หนทางสูความดับทุกข (ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา) ความไมรูทั้ง 4 ประการนี้เรียกวา “ อัปปฏิปตติ อวิชชา ” สวนความรูผิดทีว่ า รูปและนามนี้คือความสุข ความตองการในรูปและนามนี้คือความ ตองการซึง่ ความสุข ความดับไปแหงรูปและนามนี้คือความดับไปแหงความสุข และหนทางสู ความดับไปแหงรูปและนามนี้คือหนทางสูความดับไปแหงความสุข ความรูผิดทั้ง 4 ประการนี้ เรียกวา “ มิจฉาปฏิปตติอวิชชา ” โดยเมื่ออวิชชาเหลานีเ้ กิดขึ้นนัน้ ยอมยังความยินดี อัน เนื่องมาจากความเขาใจผิดที่วา รูปและนามทัง้ หลายเปนสิ่งที่ดี เปนสิ่งที่นา ปรารถนา ซึ่งก็คือ ตัวตัณหาใหเกิดขึ้นตามมา และเมื่อเกิดความยินดี ก็จะทําใหเกิดความกังวลวา จะทําเหตุ ประการไรจึงจะไดมาซึ่งรูปและนามนัน้ ก็คือความยึดมัน่ ถือมัน่ เปนตัวอุปาทาน และเมื่อเกิด ความยึดมัน่ ถือมั่นแลว ก็ยอ มกระทํากิจอันใดอันหนึง่ เพื่อที่จะกอใหเกิดหรือใหไดมาซึ่งรูปและ นาม ซึ่งก็คือกรรมนั่นเอง โดยสามารถเปรียบเทียบไดดังนี้วา อวิชชา ตัณหา และอุปาทาน เปนที่อาศัยของรูป เปรียบเหมือนครรภของมารดาเปนที่อาศัยของทารก กรรมเปนผูใหเกิดรูป เปรียบเหมือนบิดาซึ่งเปนผูกอ ใหเกิดการปฏิสนธิของทารก สวนอาหารเปนผูค้ําจุนใหรูปดํารงอยู

391 เปรียบเหมือนพี่เลี้ยงคอยอุมชูเลี้ยงดูทารก เมื่อกําหนดเหตุปจจัยของรูปแลว ตอไปจึงกําหนดเหตุ ปจจัยของนามดังนีว้ า “ จักขุวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของจักขุปสาทรูปกับรูปารมณ เปนเหตุใหเกิดขึ้น ” “ โสตวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของโสตปสาทรูปกับสัททารมณ เปนเหตุใหเกิดขึ้น ” “ ฆานวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของฆานปสาทรูปกับคันธารมณ เปนเหตุใหเกิดขึ้น ” “ ชิวหาวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของชิวหาปสาทรูปกับรสารมณ เปนเหตุใหเกิดขึ้น ” “ กายวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของกายปสาทรูปกับโผฏฐัพพารมณ เปนเหตุใหเกิดขึน้ ” “ มโนวิญญาณจิต อาศัยการกระทบกันของหทยรูปกับธรรมารมณ เปนเหตุใหเกิดขึ้น ” อนึ่ง คัมภีรวสิ ุทธิมรรคไดกลาวไว เกี่ยวกับการกําหนดเห็นปจจัยของรูปนาม ดังนีว้ า “ นักปฏิบัติ เมื่อกําหนดเห็นความเปนไปของรูปและนามที่เกิดขึน้ เพราะเหตุปจจัยในภพนี้แลว ยอมพิจารณาเห็นวา ในภพนี้รูปและนามยอมเกิดขึ้นโดยประการใด แมในอดีตภพก็เปนไปแลว เพราะเหตุปจจัยโดยประการนั้น และแมในอนาคตก็จะเกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัยโดยประการนี้อีก ”

2 . การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุนัยที่ 2 การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุแหงรูปและนามนัยที่ 2 นี้ อาศัยการใชโยนิโสมนสิการตามหลัก แหงปฏิจจสมุปบาทโดยปฏิโลม คือ การที่สิ่งหนึง่ อาศัยอีกสิ่งหนึง่ เปนเหตุปจจัยใหเกิดขึ้นเปน ลูกโซกนั ไป โดยแสดงในทางยอนกลับ ดังนีว้ า ทุกข เกิดแต ชาติ ชาติ เกิดแต ภพ ภพ เกิดแต อุปาทาน อุปาทาน เกิดแต ตัณหา ตัณหา เกิดแต เวทนา เวทนา เกิดแต ผัสสะ ผัสสะ เกิดแต อายตนะ อายตนะ เกิดแต รูปนาม รูปนาม เกิดแต วิญญาณ วิญญาณ เกิดแต สังขาร สังขาร เกิดแต อวิชชา

392 3 . การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุนัยที่ 3 การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุแหงรูปและนามนัยที่ 3 นี้ อาศัยการใชโยนิโสมนสิการตามหลัก แหงปฏิจจสมุปบาทโดยอนุโลม คือ การที่สิ่งหนึง่ อาศัยอีกสิ่งหนึง่ เปนเหตุปจจัยใหเกิดขึ้นเปน ลูกโซกนั ไป โดยแสดงไปตามลําดับ ดังนีว้ า เพราะอวิชชา เปนปจจัย สังขารจึงมี เพราะสังขาร เปนปจจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณ เปนปจจัย รูปนามจึงมี เพราะรูปนาม เปนปจจัย อายตนะจึงมี เพราะอายตนะ เปนปจจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะ เปนปจจัย เวทนาจึงมี เพราะเวทนา เปนปจจัย ตัณหาจึงมี เพราะตัณหา เปนปจจัย อุปาทานจึงมี เพราะอุปาทาน เปนปจจัย ภพจึงมี เพราะภพ เปนปจจัย ชาติจึงมี เพราะชาติ เปนปจจัย ทุกขจึงมี

4 . การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุนัยที่ 4 การรูเห็นปจจัยอันเปนเหตุแหงรูปและนามนัยที่ 4 นี้ อาศัยการพิจารณา ตามนัยแหง กรรมวัฏ (กรรม) 5 ประการ และวิปากวัฏ (ผลกรรม) 5 ประการ กรรมวัฏ 5 ประการนั้น ไดแก อวิชชา สังขาร ตัณหา อุปาทาน และกรรมภพ สวนวิปากวัฏ 5 ประการนัน้ ไดแก วิญญาณ รูปนาม อายตนะ ผัสสะ และเวทนา โดยพิจารณาดังนีว้ า “ กรรมวัฏจากอดีตภพ อันเปนเหตุปจจัยแกปฏิสนธิจิตในปจจุบันภพ ยอมใหผลเปนวิปากวัฏในปจจุบันภพ และเมื่อ อายตนะในปจจุบันภพแกกลา กรรมวัฏจากปจจุบนั ภพ ก็ยอมเปนเหตุปจจัยแกปฏิสนธิจิตใน อนาคตภพ และยอมใหผลเปนวิปากวัฏในอนาคตภพตอไป เปนเชนนี้เรื่อยไปๆ ”

393 กรรมวัฏในอดีตภพ

วิปากวัฏในปจจุบันภพ

เพราะอวิชชา ในอดีตภพ เพราะสังขาร ในอดีตภพ เพราะตัณหา ในอดีตภพ เพราะอุปาทาน ในอดีตภพ เพราะกรรม ในอดีตภพ กรรมวัฏในปจจุบันภพ

วิญญาณ จึงเกิด ในปจจุบันภพ รูปนาม จึงเกิด ในปจจุบันภพ อายตนะ จึงเกิด ในปจจุบันภพ ผัสสะ จึงเกิด ในปจจุบันภพ เวทนา จึงเกิด ในปจจุบันภพ วิปากวัฏในอนาคตภพ

เพราะอวิชชา เพราะสังขาร เพราะตัณหา เพราะอุปาทาน เพราะกรรม

วิญญาณ รูปนาม อายตนะ ผัสสะ เวทนา

ในปจจุบันภพ ในปจจุบันภพ ในปจจุบันภพ ในปจจุบันภพ ในปจจุบันภพ

จึงเกิด จึงเกิด จึงเกิด จึงเกิด จึงเกิด

ในอนาคตภพ ในอนาคตภพ ในอนาคตภพ ในอนาคตภพ ในอนาคตภพ

สัมมสนญาณ สัมมสนญาณ คือ ญาณที่กําหนดเห็นลักษณะ 3 ประการของรูปและนาม วามีลักษณะ ไมเที่ยง (อนิจจัง) เพราะแปรปรวนเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปนทุกข (ทุกขัง) เพราะถูกความ เกิดและดับเบียดเบียนอยูตลอดเวลา และปราศจากความมีตวั มีตน (อนัตตา) เพราะไมเปนไปดวย อํานาจที่จะมีใครหรือผูใด บังคับบัญชาใหเปนไปอยางนั้นอยางนี้ตามความตองการได ซึง่ ลักษณะทัง้ 3 ประการนี้ นิยมเรียกกันวา " พระไตรลักษณ " อนึ่ง ในพระคัมภีรวสิ ุทธิมรรค ได แสดงถึงวิธีการยกรูปนามขึ้นกําหนดพิจารณา เพื่อใหพระไตรลักษณปรากฏ โดยแบงเปนการ กําหนดรูป เรียกวา “ รูปสัตตกะ ” และการกําหนดนาม เรียกวา “ นามสัตตกะ ” ดังตอไปนี้

1 . รูปสัตตกะ รูปสัตตกะ คือ การกําหนดรูปธรรมเพื่อใหพระไตรลักษณปรากฏ มี 7 นัยดวยกัน ไดแก อาทานนิกเขปนนัย วโยวุฑฒัตถังคมนัย อาหารชรูป อุตุชรูป กรรมชรูป จิตตชรูป และธัมมตารูป

394 1.1 อาทานนิกเขปนนัย อาทานนิกเขปนนัย เปนการกําหนดรูปธรรมโดยการกําหนดปฏิสนธิจติ (อาทานะ) และ จุติจิต (นิกเขปนะ) การกําหนดปฏิสนธินนั้ เรียกอีกอยางวา “ การกําหนดโดยการยึดถือ ” สวน การกําหนดจุตินั้น เรียกอีกอยางวา “ การกําหนดโดยการปลอยวาง ” ดังตอไปนี้

อนิจจัง " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตนิ นั้

ลวนเกิดขึ้นแลวก็ดับไป ลวนแปรผันไปทุกขณะ ลวนตั้งอยูเพียงชัว่ ขณะ ลวนปฏิเสธความเที่ยง

จึงไมเที่ยง " จึงไมเที่ยง " จึงไมเที่ยง " จึงไมเที่ยง "

ทุกขัง " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทั้งหลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทั้งหลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทั้งหลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้

ลวนถูกความเกิดดับเบียดเบียนอยูตลอดเวลา จึงเปนทุกข " ลวนเปนสิง่ ไมทนทาน จึงเปนทุกข " ลวนเปนที่รองรับความทุกขกายทุกขใจ จึงเปนทุกข " ลวนตรงขามกับความสุข จึงเปนทุกข "

อนัตตา " รูปทั้งหลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทัง้ หลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตินนั้ " รูปทั้งหลายตั้งแตปฏิสนธิจนจุตนิ นั้

ลวนเปนของวางเปลา จึงปราศจากความมีตัวมีตน " ลวนไมมีเจาของ จึงปราศจากความมีตวั มีตน " ลวนไมเปนไปในอํานาจ จึงปราศจากความมีตัวมีตน " ลวนปฏิเสธความมีตัวตน จึงปราศจากความมีตัวมีตน "

1.2 วโยวุฑฒัตถังคมนัย วโยวุฑฒัตถังคมนัย เปนการกําหนดรูปธรรม โดยการพิจารณาความแตกดับของรูปที่ เติบโตขึ้นตามวัย (วยะ - วัย วุฑฒะ - ความแกชรา อัตถังคมะ - ความดับลง) ซึง่ มีการกําหนด 11 แบบดวยกัน ดังตอไปนี้

1.2.1 จําแนก 100 ปเปน 3 วัย โดยทัง้ 3 วัยนัน้ ไดแก ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปจฉิมวัย โดยพิจารณาดังนี้วา " รูปในปฐมวัย ไมทันถึงมัชฌิมวัย ก็ดับไปเสียแลวในปฐมวัย " " รูปในมัชฌิมวัย ไมทันถึงปจฉิมวัย ก็ดบั ไปเสียแลวในมัชฌิมวัย "

395 " รูปในปจฉิมวัย ไมสามารถดํารงอยูภายหลังความตายได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.2 จําแนก 100 ปเปน 10 ระยะ โดยทัง้ 10 ระยะนัน้ ไดแก ระยะเด็กออน ระยะเด็กเลน ระยะผิวพรรณ ระยะกําลัง ระยะปญญา ระยะความเสือ่ ม ระยะความโคง ระยะความงด ระยะหลงลืม และระยะการ นอน โดยพิจารณาดังนี้วา " รูปในระยะเด็กออน ไมทนั ถึงระยะเด็กเลน ก็ดับไปเสียแลวในระยะเด็กออน " " รูปในระยะเด็กเลน ไมทนั ถึงระยะผิวพรรณ ก็ดับไปเสียแลวในระยะเด็กเลน " " รูปในระยะผิวพรรณ ไมทนั ถึงระยะกําลัง ก็ดับไปเสียแลวในระยะผิวพรรณ " " รูปในระยะกําลัง ไมทันถึงระยะปญญา ก็ดับไปเสียแลวในระยะกําลัง " " รูปในระยะปญญา ไมทนั ถึงระยะความเสื่อม ก็ดับไปเสียแลวในระยะปญญา " " รูปในระยะความเสื่อม ไมทันถึงระยะความโคง ก็ดับไปเสียแลวในระยะความเสื่อม " " รูปในระยะความโคง ไมทนั ถึงระยะความงด ก็ดับไปเสียแลวในระยะความโคง " " รูปในระยะความงด ไมทนั ถึงระยะหลงลืม ก็ดับไปเสียแลวในระยะความงด " " รูปในระยะหลงลืม ไมทันถึงระยะการนอน ก็ดับไปเสียแลวในระยะหลงลืม " " รูปที่เปนไปในระยะการนอน ไมสามารถดํารงอยูภายหลังความตายได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.3 จําแนก 100 ปเปน 20 ระยะจนถึง 100 ระยะ การจําแนก 100 ปเปน 20 ระยะจนถึง 100 ระยะนั้น โดยการแบง 100 ปออกพิจารณา ตามความตองการ เชน แบงเปน 25 ระยะบาง แบงเปน 50 ระยะบาง โดยมีการแบงเปน 100 ระยะ คือระยะละ 1 ปเปนทีส่ ุด โดยพิจารณาดังนีว้ า “ รูปที่ดับไปซึ่งระยะของตน มิไดมาเปนรูป ในอีกระยะตอมา แสดงใหเห็นวารูปนั้นเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ”

1.2.4 จําแนก 1 ปเปน 3 ฤดู โดยทัง้ 3 ฤดูนนั้ ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว โดยพิจารณาดังนีว้ า " รูปในฤดูรอน ไมทันถึงฤดูฝน ก็ดับไปเสียแลวในฤดูรอ น " " รูปในฤดูฝน ไมทนั ถึงฤดูหนาว ก็ดับไปเสียแลวในฤดูฝน " " รูปในฤดูหนาว ไมสามารถดํารงอยูจนถึงปถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

396 1.2.5 จําแนก 1 ปเปน 6 ฤดู โดยทัง้ 6 ฤดูนนั้ ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูใบไมรวง ฤดูหนาว ฤดูเย็น และฤดูใบไม ผลิ โดยพิจารณาดังนีว้ า " รูปในฤดูรอน ไมทันถึงฤดูฝน ก็ดับไปเสียแลวในฤดูรอ น " " รูปในฤดูฝน ไมทนั ถึงฤดูใบไมรวง ก็ดบั ไปเสียแลวในฤดูฝน " " รูปในฤดูใบไมรวง ไมทันถึงฤดูหนาว ก็ดับไปเสียแลวในฤดูใบไมรว ง " " รูปในฤดูหนาว ไมทันถึงฤดูเย็น ก็ดับไปเสียแลวในฤดูหนาว " " รูปในฤดูเย็น ไมทันถึงฤดูใบไมผลิ ก็ดบั ไปเสียแลวในฤดูเย็น " " รูปในฤดูใบไมผลิ ไมสามารถดํารงอยูจ นถึงปถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.6 จําแนก 1 เดือนเปน 2 ปกษ โดยทัง้ 2 ปกษนนั้ ไดแก ขางขึน้ และขางแรม โดยพิจารณาดังนีว้ า " รูปในขางขึ้น ไมทันถึงขางแรม ก็ดับไปเสียแลวในขางขึ้น " " รูปในขางแรม ไมทนั ถึงขางขึ้น ก็ดับไปเสียแลวในขางแรม " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.7 จําแนก 1 วันเปน 2 ชวงเวลา โดยทัง้ 2 ชวงเวลานั้น ไดแก กลางวันและกลางคืน โดยพิจารณาดังนี้วา " รูปในเวลากลางวัน ไมทนั ถึงเวลากลางคืน ก็ดับไปเสียแลวในเวลากลางวัน " " รูปในเวลากลางคืน ไมทนั ถึงเวลากลางวัน ก็ดับไปเสียแลวในเวลากลางคืน " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.8 จําแนก 1 วันเปน 6 ชวงเวลา โดยทัง้ 6 ชวงเวลานั้น ไดแก ตอนเชา ตอนกลางวัน ตอนเย็น ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปจฉิมยาม โดยพิจารณาดังนีว้ า " รูปในตอนเชา ไมทนั ถึงตอนกลางวัน ก็ดับไปเสียแลวในตอนเชา " " รูปในตอนกลางวัน ไมทนั ถึงตอนเย็น ก็ดับไปเสียแลวในตอนกลางวัน " " รูปในตอนเย็น ไมทนั ถึงปฐมยาม ก็ดับไปเสียแลวในตอนเย็น " " รูปในปฐมยาม ไมทนั ถึงมัชฌิมยาม ก็ดับไปเสียแลวในปฐมยาม "

397 " รูปในมัชฌิมยาม ไมทนั ถึงปจฉิมยาม ก็ดับไปเสียแลวในมัชฌิมยาม " " รูปในปจฉิมยาม ไมสามารถดํารงอยูจ นถึงวันถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.9 จําแนกโดยอาการ 6 อาการ (ปฏิบัติ) โดยทัง้ 6 อาการนั้น ไดแก การเดินหนา การเดินถอยหลัง การแลดู การเหลียวดู การคูเขา และการเหยียดออก โดยพิจารณาดังนีว้ า " รูปในการเดินหนา ไมทนั ถึงการเดินถอยหลัง ก็ดับไปเสียแลวในการเดินหนา " " รูปในการเดินถอยหลัง ไมทันถึงการแลดู ก็ดับไปเสียแลวในการเดินถอยหลัง " " รูปในการแลดู ไมทันถึงการเหลียวดู ก็ดับไปเสียแลวในการแลดู " " รูปในการเหลียวดู ไมทนั ถึงการคูเขา ก็ดับไปเสียแลวในการเหลียวดู " " รูปในการคูเขา ไมทนั ถึงการเหยียดออก ก็ดับไปเสียแลวในการคูเขา " " รูปในการเหยียดออก ไมสามารถดํารงอยูจนถึงอาการถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.2.10 จําแนกโดยการกาวเทา 6 ระยะ (ปฏิบัติ) โดยทัง้ 6 ระยะนัน้ ไดแก ระยะยกสน ระยะยก ระยะยาง ระยะลง ระยะเหยียบ และระยะกด โดยพิจารณาดังนี้วา " รูปในระยะยกสน ไมทันถึงระยะยก ก็ดับไปเสียแลวในระยะยกสน " " รูปในระยะยก ไมทนั ถึงระยะยาง ก็ดบั ไปเสียแลวในระยะยก " " รูปในระยะยาง ไมทันถึงระยะลง ก็ดับไปเสียแลวในระยะยาง " " รูปในระยะลง ไมทนั ถึงระยะเหยียบ ก็ดับไปเสียแลวในระยะลง " " รูปในระยะเหยียบ ไมทนั ถึงระยะกด ก็ดับไปเสียแลวในระยะเหยียบ " " รูปในระยะกด ไมสามารถดํารงอยูจนถึงระยะถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.3 อาหารชรูป การกําหนดรูปธรรมโดยอาหารชรูป หรือรูปที่เกิดจากอาหารนัน้ พิจารณาดังนีว้ า " รูปในเวลาหิว ไมทนั ถึงเวลาอิ่ม ก็ดับไปเสียแลวในเวลาหิว " " รูปในเวลาอิม่ ไมทนั ถึงเวลาหิว ก็ดับไปเสียแลวในเวลาอิ่ม " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

398 1.4 อุตุชรูป การกําหนดรูปธรรมโดยอุตุชรูป หรือรูปที่เกิดจากอุณหภูมินั้น พิจารณาดังนีว้ า " รูปในเวลารอน ไมทนั ถึงเวลาเย็น ก็ดับไปเสียแลวในเวลารอน " " รูปในเวลาเย็น ไมทนั ถึงเวลารอน ก็ดับไปเสียแลวในเวลาเย็น " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.5 กรรมชรูป การกําหนดรูปธรรมโดยกรรมชรูป หรือรูปที่เกิดจากกรรมนั้น พิจารณาดังนีว้ า " รูปในจักขุทวาร ไมทนั ถึงโสตทวาร ก็ดบั ไปเสียแลวในจักขุทวาร " " รูปในโสตทวาร ไมทนั ถึงฆานทวาร ก็ดับไปเสียแลวในโสตทวาร " " รูปในฆานทวาร ไมทันถึงชิวหาทวาร ก็ดับไปเสียแลวในฆานทวาร " " รูปในชิวหาทวาร ไมทันถึงกายทวาร ก็ดับไปเสียแลวในชิวหาทวาร " " รูปในกายทวาร ไมทนั ถึงมโนทวาร ก็ดับไปเสียแลวในกายทวาร " " รูปในมโนทวาร ไมสามารถดํารงอยูจนถึงทวารถัดไปได " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.6 จิตตชรูป การกําหนดรูปธรรมโดยจิตตชรูป หรือรูปที่เกิดจากจิตนัน้ พิจารณาดังนี้วา " รูปในเวลาโทมนัส ไมทันถึงเวลาโสมนัส ก็ดับไปเสียแลวในเวลาโทมนัส " " รูปในเวลาโสมนัส ไมทันถึงเวลาโทมนัส ก็ดับไปเสียแลวในเวลาโสมนัส " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

1.7 ธัมมตารูป การกําหนดรูปธรรมโดยธัมมตารูป หรือรูปธรรมดาทั่วไป ตัวอยางเชน เหล็ก ดีบกุ ตะกั่ว ทอง เงิน นาค มุกดา มณี ไพฑูรย สังข หิน ทับทิม แผนดิน ภูเขา ตนหญา ตนไม เถาวัลย เปนตน โดยยกตัวอยางแสดงการพิจารณาตนไมชื่อวา " อโศก " ดังนีว้ า " รูปอโศกสีแดง ไมทนั ถึงสีแดงเขม ก็ดบั ไปเสียแลวในสีแดง " " รูปอโศกสีแดงเขม ไมทันถึงสีแดงนวล ก็ดับไปเสียแลวในสีแดงเขม " " รูปอโศกสีแดงนวล ไมทนั ถึงสีใบไมออน ก็ดับไปเสียแลวในสีแดงนวล " " รูปอโศกสีใบไมออน ไมทนั ถึงสีใบไมแก ก็ดับไปเสียแลวในสีใบไมออน "

399 " รูปอโศกสีใบไมแก ไมทันถึงสีใบไมเขียว ก็ดับไปเสียแลวในสีใบไมแก " " รูปอโศกสีใบไมเขียว ไมทนั ถึงสีใบไมเขียวแก ก็ดับไปเสียแลวในสีใบไมเขียว " " รูปอโศกสีใบไมเขียวแก ไมทันถึงสีใบไมเหลือง ก็ดับไปเสียแลวในสีใบไมเขียวแก " " รูปอโศกสีใบไมเหลือง ยังไมทันถึงกาลหลุดจากขัว้ ก็ดับไปเสียแลวในสีใบไมเหลือง " " ฉะนั้นรูปเหลานี้จงึ เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

2 . นามสัตตกะ นามสัตตกะ คือ การกําหนดนามธรรมเพื่อใหพระไตรลักษณปรากฏ มี 7 นัยดวยกัน ไดแก โดยกลาปะ โดยยมกะ โดยขณิกะ โดยปฏิปาฏิ โดยทิฏฐิอุคฆาฏนะ โดยมานสมุค ฆาฏนะ และโดยนิกนั ติปริยาทานะ

2.1 โดยกลาปะ การกําหนดนามธรรมโดยกลาปะนัน้ เปนการกําหนดลักษณะรวมๆ ดังตอไปนี้ " กําหนดรูในจิตซึ่งเปนไปอยูว า รูปสัตตกะที่กาํ หนดมาแลวกอนหนานี้ อันมีความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานัน้ ดวยจิตอีกดวงหนึง่ วาแมจิตที่กําลังพิจารณารูปสัตตกะอยูนนั้ ก็มีความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เชนกัน "

2.2 โดยยมกะ การกําหนดนามธรรมโดยยมกะนั้น เปนการกําหนดลักษณะเปนคูๆ ดังตอไปนี้ " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 1) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 2) " " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 3) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 4) " " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 5) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 6) " " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 7) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 8) " " กําหนดทํานองนี้ไปเรื่อยๆ จนนามปรากฏความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

2.3 โดยขณิกะ การกําหนดนามธรรมโดยขณิกะนัน้ เปนการกําหนดลักษณะขณะจิตๆ ดังตอไปนี้ " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 1) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 2) " " จิตดวงที่ 3 กําหนดจิตดวงที่ 2 " " จิตดวงที่ 4 กําหนดจิตดวงที่ 3 " " จิตดวงที่ 5 กําหนดจิตดวงที่ 4 "

400 " แลวหวนมากําหนดรูปอีก จนนามปรากฏความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

2.4 โดยปฏิปาฏิ การกําหนดนามธรรมโดยปฏิปาฏินั้น เปนการกําหนดลักษณะตามลําดับ ดังตอไปนี้ " กําหนดรูป (จิตดวงที่ 1) - กําหนดจิตทีก่ าํ หนดรูป (จิตดวงที่ 2) " " จิตดวงที่ 3 กําหนดจิตดวงที่ 2 " " จิตดวงที่ 4 กําหนดจิตดวงที่ 3 " " จิตดวงที่ 5 กําหนดจิตดวงที่ 4 " " จิตดวงที่ 6 กําหนดจิตดวงที่ 5 " " จิตดวงที่ 7 กําหนดจิตดวงที่ 6 " " จิตดวงที่ 8 กําหนดจิตดวงที่ 7 " " จิตดวงที่ 9 กําหนดจิตดวงที่ 8 " " จิตดวงที่ 10 กําหนดจิตดวงที่ 9 " " จิตดวงที่ 11 กําหนดจิตดวงที่ 10 " " แลวหวนมากําหนดรูปอีก จนนามปรากฏความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา "

2.5 โดยทิฏฐิอุคฆาฏนะ การที่จะกําหนดนามธรรม ใหประสบผลสําเร็จไดนั้น นักปฏิบัติจําเปนที่จะตองละซึ่ง ธรรมที่มีชื่อเรียกวา " ทิฏฐิ " (ความเห็น) ในขณะทีก่ ําลังปฏิบัติใหไดเสียกอน โดยทิฎฐิที่มีอยูในใจ ของนักปฏิบัตนิ ั้น อาจมีลกั ษณะปรารภวา " ขาพเจากําลังกําหนดอยู การกําหนดนี้เปนหนาที่ของ ขาพเจา " นัน่ เอง และเมื่อยามใดที่ใจของนักปฏิบตั ิ มีลักษณะปรารภวา " ขาพเจาผูที่กําลัง กําหนดอยูน ี้ มิใชบุคคล ตัวตน เราเขา สักเปนแตเพียงสังขารธรรมเทานัน้ " ลักษณะนี้แลว การกําหนดของนักปฏิบัติผูนั้น ยอมไดชอื่ วา " ทิฏฐิอุคฆาฏนะ " เพราะเหตุวาสามารถละทิฎฐิออก จากใจเสียได และยังเปนเหตุใหอนัตตานุปสสนาปรากฏขึ้น หรือยิง่ แกกลาขึ้นไปอีกดวย

2.6 โดยมานสมุคฆาฏนะ การที่จะกําหนดนามธรรม ใหประสบผลสําเร็จไดนั้น นักปฏิบัติจําเปนที่จะตองละซึ่ง ธรรมที่มีชื่อเรียกวา " มานะ " (ความถือตัว) ในขณะทีก่ ําลังปฏิบัติใหไดเสียกอน โดยมานะทีม่ ีอยู ในใจของนักปฏิบัตินั้น อาจมีลักษณะปรารภวา " ขาพเจาเปนผูก ําหนด การกําหนดนี้เปนของ ขาพเจา " นัน่ เอง และเมื่อยามใดที่ใจของนักปฏิบัติ มีลักษณะปรารภวา " ขาพเจาผูที่กําลัง กําหนดอยูน ี้ มีความเปลี่ยนแปลงปรวนแปร ปราศจากความเที่ยง และสิ่งที่ขาพเจากําลัง

401 กําหนดอยูน ี้ ก็มีความเปลี่ยนแปลงปรวนแปร ปราศจากความเที่ยงเชนกัน " ลักษณะนี้แลว การ กําหนดของนักปฏิบัติผูนั้น ยอมไดชื่อวา " มานสมุคฆาฏนะ " เพราะเหตุวาสามารถละมานะออก จากใจเสียได และยังเปนเหตุใหอนิจจานุปสสนาปรากฏขึ้น หรือยิง่ แกกลาขึ้นไปอีกดวย

2.7 โดยนิกันติปริยาทานะ การที่จะกําหนดนามธรรม ใหประสบผลสําเร็จไดนั้น นักปฏิบัติจําเปนที่จะตองทําให ธรรมที่มีชื่อเรียกวา " นิกนั ติ " (ความใคร) สิ้นไปในขณะที่กําลังปฏิบัตใิ หไดเสียกอน โดยนิกนั ติทมี่ ี อยูในใจของนักปฏิบัตินั้น อาจมีลักษณะปรารภวา " ขาพเจากําหนดไดดี อารมณก็ปรากฏชัดดี " นั่นเอง และเมื่อยามใดที่ใจของนักปฏิบัติ มีลักษณะปรารภวา " ขาพเจาผูทกี่ ําลังกําหนดอยูนี้ ถูกความเกิดและความดับเบียดเบียนอยูตลอดเวลา และสิ่งที่ขา พเจากําลังกําหนดอยูนี้ ก็ถูก ความเกิดและความดับเบียดเบียนอยูตลอดเวลาเชนกัน " ลักษณะนีแ้ ลว การกําหนดของนัก ปฏิบัติผูนั้น ยอมไดชื่อวา " นิกนั ติปริยาทานะ " เพราะเหตุวาสามารถทําใหนกิ ันติสนิ้ ไปจากใจเสีย ได และยังเปนเหตุใหทกุ ขานุปสสนาปรากฏขึ้น หรือยิง่ แกกลาขึน้ ไปอีกดวย

3 . เหตุที่ทําใหอินทรียแกกลา เหตุทที่ ําใหอินทรียแกกลามี 9 ประการ ไดแก 1 . กําหนดเห็นแตความสิน้ ไปของรูปและนามซึง่ เกิดขึ้นในทุกๆขณะ 2 . ยังวิปสสนาญาณใหถึงพรอมโดยการทําอยางเอื้อเฟอ ในการกําหนดนั้น 3 . เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการทําอยางตอเนื่อง 4 . เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการทําแตสิ่งที่เปนสัปปายะตอการกําหนดเทานั้น 5 . เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการกําหนดเหตุของวิปสสนาสมาธิ 6 . เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการเจริญโพชฌงคใหถกู ตอง 7 . กลาสละทัง้ กายและชีวิตของตน 8 . ไมยอทอตอความยากลําบากในการปฏิบัติ 9 . ไมเลิกเจริญวิปสสนาเสียกลางคัน

อุทยัพพยญาณ อุทยัพพยญาณ คือ ญาณที่หยัง่ รูถงึ สภาพความเกิด (อุทยะ) และความดับไป (วยะ) ของรูปและนามโดยปจจุบนั ธรรมได ซึ่งอุทยัพพยญาณนี้แบงออกเปน 2 ระยะ ไดแก

402 1 . ตรุณอุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยญาณระยะทีม่ ีกําลังออน) 2 . พลวอุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยญาณระยะที่มีกาํ ลังกลา) โดยตรุณอุทยัพพยญาณนัน้ เปนญาณทีแ่ ทงตลอด ซึง่ ลักษณะความเกิดและลักษณะ ความดับของเบญจขันธ 50 ประการ โดยแบงเปนลักษณะความเกิด 25 ประการ และลักษณะ ความดับอีก 25 ประการ และเปนชวงหรือระยะทีย่ ังมีหรือยังไมสามารถผานพน ซึง่ ธรรมที่ เรียกวา " วิปสสนูปกิเลส " อันเปนอุปสรรคตอความเจริญกาวหนาในวิปสสนาได และในขณะที่ วิปสสนูปกิเลสกําลังปรากฏในใจของนักปฏิบัติอยูนั้น นักปฏิบัติจะตองวินิจฉัยและตัดสินลงไปให ไดวา วิปสสนูปกิเลสนี้มิใชทางทีถ่ ูกตอง ควรละไปเสีย! ควรละไปเสีย! โดยเมื่อนักปฏิบัติ สามารถผานพนหรือกาวขามวิปสสนูปกิเลสนี้ไดแลว บัดนั้น นักปฎิบัติก็ไดชื่อวาสามารถกาว ขามเขาสูพลวอุทยัพพยญาณได โดยสภาพความเกิดและสภาพความดับของรูปและนามนัน้ ก็ จักปรากฏแกนักปฏิบัติอยางชัดเจนขึน้ ไปเรื่อยๆตามลําดับ แตกระนัน้ ก็ดี วิปสสนูปกิเลสจะไม ปรากฏแกบุคคล ซึง่ มีดวยกัน 4 จําพวกตอไปนี้ 1 . พระอริยสาวกผูไดบรรลุมรรคผลแลว (พระโสดาบันขึน้ ไป) 2 . ผูปฏิบัติผดิ ทาง (ไมใชวิปสสนาที่แทจริง) 3 . บุคคลผูทอดทิ้งกรรมฐาน 4 . บุคคลผูเกียจครานยอหยอนในการปฏิบัติ

1 . ลักษณะความเกิดและดับ 50 ประการ ลักษณะความเกิดและดับในอุทยัพพยญาณมีอยู 50 ประการ ไดแก ลักษณะความเกิด 25 ประการ ลักษณะความดับ 25 ประการ 1 . รูปเกิดเพราะอวิชชาเกิด

26 . รูปดับเพราะอวิชชาดับ

2 . รูปเกิดเพราะตัณหาเกิด

27 . รูปดับเพราะตัณหาดับ

3 . รูปเกิดเพราะกรรมเกิด

28 . รูปดับเพราะกรรมดับ

4 . รูปเกิดเพราะอาหารเกิด

29 . รูปดับเพราะอาหารดับ

5 . รูปเกิดเพราะเห็นลักษณะความเกิด

30 . รูปดับเพราะเห็นลักษณะความดับ

6 . เวทนาเกิดเพราะอวิชชาเกิด

31 . เวทนาดับเพราะอวิชชาดับ

7 . เวทนาเกิดเพราะตัณหาเกิด

32 . เวทนาดับเพราะตัณหาดับ

403 8 . เวทนาเกิดเพราะกรรมเกิด

33 . เวทนาดับเพราะกรรมดับ

9 . เวทนาเกิดเพราะอาหารเกิด

34 . เวทนาดับเพราะอาหารดับ

10 . เวทนาเกิดเพราะเห็นลักษณะความเกิด

35 . เวทนาดับเพราะเห็นลักษณะความดับ

11 . สัญญาเกิดเพราะอวิชชาเกิด

36 . สัญญาดับเพราะอวิชชาดับ

12 . สัญญาเกิดเพราะตัณหาเกิด

37 . สัญญาดับเพราะตัณหาดับ

13 . สัญญาเกิดเพราะกรรมเกิด

38 . สัญญาดับเพราะกรรมดับ

14 . สัญญาเกิดเพราะอาหารเกิด

39 . สัญญาดับเพราะอาหารดับ

15 . สัญญาเกิดเพราะเห็นลักษณะความเกิด

40 . สัญญาดับเพราะเห็นลักษณะความดับ

16 . สังขารเกิดเพราะอวิชชาเกิด

41 . สังขารดับเพราะอวิชชาดับ

17 . สังขารเกิดเพราะตัณหาเกิด

42 . สังขารดับเพราะตัณหาดับ

18 . สังขารเกิดเพราะกรรมเกิด

43 . สังขารดับเพราะกรรมดับ

19 . สังขารเกิดเพราะอาหารเกิด

44 . สังขารดับเพราะอาหารดับ

20 . สังขารเกิดเพราะเห็นลักษณะความเกิด

45 . สังขารดับเพราะเห็นลักษณะความดับ

21 . วิญญาณเกิดเพราะอวิชชาเกิด

46 . วิญญาณดับเพราะอวิชชาดับ

22 . วิญญาณเกิดเพราะตัณหาเกิด

47 . วิญญาณดับเพราะตัณหาดับ

23 . วิญญาณเกิดเพราะกรรมเกิด

48 . วิญญาณดับเพราะกรรมดับ

24 . วิญญาณเกิดเพราะอาหารเกิด

49 . วิญญาณดับเพราะอาหารดับ

25 . วิญญาณเกิดเพราะเห็นลักษณะความเกิด 50 . วิญญาณดับเพราะเห็นลักษณะความดับ

2 . วิปสสนูปกิเลส 10 2.1 โอภาส โอภาส คือ แสงสวาง ในที่นี้เปนแสงสวางที่เกิดจากการเจริญวิปสสนากรรมฐาน โดย เมื่อแสงสวางนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินั้น อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริงนัน้ หาไดเปนเชนนัน้ ไม การคิดเชนนี้กลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําให

404 วิปสสนาไมกาวหนา จนกวานักปฏิบัตินั้นจะสามารถเพิกละความยินดียินรายแหงแสงสวางที่ เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรมตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวา โอภาสนี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มีชอื่ วาโอภาสนี้ไดสําเร็จแลว บัดนั้น นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูว ิปสสนาญาณ ใน ลําดับตอๆไปได

2.2 ญาณ ญาณ คือ ความรอบรู ในทีน่ ี้เปนความรอบรูที่เกิดจากการเจริญวิปสสนากรรมฐาน โดยเมื่อความรอบรูนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตนิ ั้น อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลว กระมัง แตความจริงนัน้ หาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําใหวิปสสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินั้นจะสามารถเพิกละความยินดียนิ รายแหงความ รอบรูที่เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรมตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มชี ื่อ วาญาณนี้เสีย (อันทีจ่ ริงแลวญาณหรือความรอบรูนั้น มิใชตัววิปสสนูปกิเลสที่แทจริง ตัว วิปสสนูปกิเลสที่แทจริงนัน้ หมายถึง ตัณหา มานะ และทิฏฐิ ทีม่ ีตอญาณหรือความรอบรู ตางหาก) และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาญาณนี้ไดสําเร็จแลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวิปสสนาญาณ ในลําดับ ตอๆไปได

2.3 ปติ ปติ คือ ความอิ่มเอิบซาบซาน ในที่นี้เปนความอิ่มเอิบซาบซานทีเ่ กิดจากการเจริญ วิปสสนากรรมฐาน โดยเมื่อความอิ่มเอิบซาบซานนีเ้ กิดขึ้นกับนักปฏิบตั ินั้น อาจทําใหตนคิดไปวา ตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริงนั้นหาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทํา ใหการปฏิบัตนิ ั้นหลงทางไป และทําใหวปิ สสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบตั ินนั้ จะสามารถเพิก ละความยินดียินรายแหงความอิ่มเอิบซาบซานที่เกิดขึน้ แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบนั ธรรม ตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มีชอื่ วาปตินเี้ สีย และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายใน วิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาปตนิ ี้ไดสําเร็จแลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพ ลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูว ิปสสนาญาณ ในลําดับตอๆไปได อนึง่ ปติมี 5 ประเภท ไดแก 1 . ขุททกาปติ ความอิม่ เอิบซาบซานเล็กนอย 2 . ขณิกาปติ ความอิ่มเอิบซาบซานที่เพิม่ พูนทุกขณะ 3 . โอกกันติกาปติ ความอิม่ เอิบซาบซานดุจคลื่นที่ซัดเขาหาตัว

405 4 . อุเพงคาปติ ความอิ่มเอิบซาบซานดุจวาตนลอยไปในอากาศได 5 . ผรณาปติ ความอิม่ เอิบซาบซานไปทัว่ สรรพางคกาย

2.4 ปสสัทธิ ปสสัทธิ คือ ความสงบ ในทีน่ ี้เปนความสงบทีเ่ กิดจากการเจริญวิปส สนากรรมฐาน โดยเมื่อความสงบนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินนั้ อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลว กระมัง แตความจริงนัน้ หาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําใหวิปสสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินั้นจะสามารถเพิกละความยินดียนิ รายแหงความ สงบที่เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบนั ธรรมตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มชี ื่อ วาปสสัทธินี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียินรายในวิปส สนูปกิเลสทีม่ ีชื่อวาปสสัทธินี้ไดสําเร็จ แลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพ ลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวปิ สสนา ญาณ ในลําดับตอๆไปได

2.5 สุข สุข คือ ความสุขใจ ในทีน่ ี้เปนความสุขใจที่เกิดจากการเจริญวิปสสนากรรมฐาน โดย เมื่อความสุขใจนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินนั้ อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลว กระมัง แตความจริงนัน้ หาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําใหวิปสสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินั้นจะสามารถเพิกละความยินดียนิ รายแหง ความสุขใจทีเ่ กิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรมตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาสุขนี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มชี ื่อวาสุขนี้ไดสําเร็จ แลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพ ลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวิปสสนา ญาณ ในลําดับตอๆไปได

2.6 อธิโมกข อธิโมกข คือ ความศรัทธา ในทีน่ ี้เปนความศรัทธาที่เกิดจากการเจริญวิปสสนา กรรมฐาน โดยเมื่อความศรัทธานี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินนั้ อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุ มรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริงนั้นหาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัติ นั้นหลงทางไป และทําใหวปิ สสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินนั้ จะสามารถเพิกละความยินดี ยินรายแหงความศรัทธาที่เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบนั ธรรมตอไป เพื่อกาวขาม วิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาอธิโมกขนี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มชี ื่อวา

406 อธิโมกขนี้ไดสาํ เร็จแลว บัดนั้น นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพลวอุทยัพพยญาณ และสามารถ พัฒนาไปสูวิปส สนาญาณ ในลําดับตอๆไปได

2.7 ปคคาหะ ปคคาหะ คือ ความเพียร ในที่นี้เปนความเพียรที่เกิดจากการเจริญวิปสสนากรรมฐาน โดยเมื่อความเพียรนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินนั้ อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลว กระมัง แตความจริงนัน้ หาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําใหวิปสสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินั้นจะสามารถเพิกละความยินดียนิ รายแหงความ เพียรทีเ่ กิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรมตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มชี ื่อ วาปคคาหะนี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียินรายในวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาปคคาหะนี้ไดสําเร็จ แลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพ ลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวิปสสนา ญาณ ในลําดับตอๆไปได

2.8 อุปฏฐาน อุปฏฐาน คือ สติ ในทีน่ ี้เปนสติที่เกิดจากการเจริญวิปสสนากรรมฐาน โดยเมื่อสตินี้ เกิดขึ้นกับนักปฏิบัตินั้น อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริง นั้นหาไดเปนเชนนัน้ ไม การคิดเชนนี้กลับทําใหการปฏิบัตินั้นหลงทางไป และทําใหวิปสสนาไม กาวหนา จนกวานักปฏิบัตนิ ั้นจะสามารถเพิกละความยินดียินรายแหงสติที่เกิดขึน้ แลวหันมา กําหนดแนวแนในปจจุบนั ธรรมตอไป เพือ่ กาวขามวิปส สนูปกิเลสทีม่ ีชื่อวาอุปฏฐานนี้เสีย และ เมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาอุปฏฐานนี้ไดสําเร็จแลว บัดนั้น นักปฏิบัติ ยอมกาวขามสูพลวอุทยัพพยญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวิปสสนาญาณ ในลําดับตอๆไปได

2.9 อุเบกขา อุเบกขา คือ ความวางใจเปนกลาง ในที่นี้เปนความวางใจเปนกลางที่เกิดจากการเจริญ วิปสสนากรรมฐาน โดยเมื่อความวางใจเปนกลางนี้เกิดขึ้นกับนักปฏิบตั ินั้น อาจทําใหตนคิดไปวา ตนคงไดบรรลุมรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริงนั้นหาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทํา ใหการปฏิบัตนิ ั้นหลงทางไป และทําใหวปิ สสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินนั้ จะสามารถเพิก ละความยินดียินรายแหงความวางใจเปนกลางที่เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรม ตอไป เพื่อกาวขามวิปสสนูปกิเลสที่มีชอื่ วาอุเบกขานีเ้ สีย และเมื่อเพิกละความยินดียินรายใน วิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวาอุเบกขานี้ไดสําเร็จแลว บัดนัน้ นักปฏิบัติยอ มกาวขามสูพ ลวอุทยัพพย ญาณ และสามารถพัฒนาไปสูวิปสสนาญาณ ในลําดับตอๆไปได

407 2.10 นิกันติ นิกนั ติ คือ ความยินดีพอใจ ในทีน่ ี้เปนความยินดีพอใจที่เกิดจากการเจริญวิปสสนา กรรมฐาน โดยเมื่อความยินดีพอใจนี้เกิดขึน้ กับนักปฏิบตั ินั้น อาจทําใหตนคิดไปวาตนคงไดบรรลุ มรรคผลเสียแลวกระมัง แตความจริงนั้นหาไดเปนเชนนั้นไม การคิดเชนนีก้ ลับทําใหการปฏิบัติ นั้นหลงทางไป และทําใหวปิ สสนาไมกา วหนา จนกวานักปฏิบัตินนั้ จะสามารถเพิกละความยินดี ยินรายแหงความยินดีพอใจที่เกิดขึ้น แลวหันมากําหนดแนวแนในปจจุบันธรรมตอไป เพื่อกาว ขามวิปสสนูปกิเลสที่มีชื่อวานิกนั ตินี้เสีย และเมื่อเพิกละความยินดียนิ รายในวิปสสนูปกิเลสที่มีชอื่ วานิกนั ตินี้ไดสําเร็จแลว บัดนั้น นักปฏิบัติยอมกาวขามสูพลวอุทยัพพยญาณ และสามารถ พัฒนาไปสูวิปส สนาญาณ ในลําดับตอๆไปได

ภังคญาณ ภังคญาณ คือ ญาณทีห่ ยัง่ รูเฉพาะระยะความดับไป (ภังคขณะ) ของรูปและนามโดย ปจจุบันธรรมได ซึง่ ภังคญาณนี้ เปนญาณที่ความเกิดดับของรูปนามนั้นรวดเร็วมาก รวดเร็วเสีย จนนักปฏิบัตินนั้ ไมสามารถกําหนดไดทนั ซึ่งระยะความเกิดขึ้น (อุปปาทขณะ) และระยะความ ตั้งอยู (ฐีติขณะ) โดยนักปฏิบัติจะสามารถตามกําหนดไดเพียงระยะความดับไป (ภังคขณะ) เทานั้น เพราะเปนขณะที่มีความชัดเจนตออารมณที่สุด และบัดนั้น สติของนักปฏิบัติยอมตั้งอยูในความ เสื่อมสิ้นและแตกสลายไปแหงรูปนามสังขารตลอดเวลา

1 . อุปมาของภังคญาณ ภังคขณะหรือระยะที่ความดับแหงรูปนามสังขารทัง้ หลาย ปรากฏอยูภ ายในใจของนัก ปฏิบัตินั้น มีอุปมา 6 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น การแตกของภาชนะที่บอบบาง 2 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น ฝุน ทีฟ่ ุงกระจายเพราะขวางกอนหินไปยังกองดิน 3 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น การแตกของเมล็ดงาที่กาํ ลังถูกคัว่ 4 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น ตอมน้ําบนผิวน้ําทีแ่ ตกหายไปขณะฝนตก 5 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น เม็ดฝนที่ตกลงพื้นดินแลวหายไปชัว่ พริบตา 6 . อุปมาเหมือนบุคคลที่กาํ ลังเห็น พยับแดดที่หายวับไปเมื่อเดินเขาไปใกลๆ

408 2 . อานิสงสของภังคญาณ อานิสงสของภังคญาณนัน้ มี 8 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . สามารถละความเห็นวาเที่ยงได 2 . สามารถสละความรักใครในชีวิตได 3 . มีความเพียรแนวแนมั่นคงในการปฏิบัติ 4 . ประกอบอาชีพอันสุจริต 5 . ละความทะเยอทะยานในทางโลก 6 . ปราศจากความกลัวในภัยพิบัติตางๆ 7 . มีความสุภาพออนโยน 8 . มีความอดทนอดกลัน้ ตอสิ่งยั่วยวนตางๆ

ภยญาณ ภยญาณ คือ ญาณทีห่ ยัง่ รูในความเปนภัยของรูปและนาม ซึ่งญาณนี้มีชื่อเรียกอีกชื่อ หนึง่ ตามคัมภีรวิสุทธิมรรควา " ภยตุปฏฐานญาณ "

1 . อุปมาของภยญาณ อันภยญาณนี้ มีอุปมา 2 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . สตรีผูหนึ่งมีบุตรชาย 3 คน เปนผูมีความผิดตอพระราชา พระองคตรัสสั่งใหลงโทษ ตัดศีรษะของบุตรชายทัง้ 3 นั้น สตรีผูนั้นไดไปยังตะแลงแกงพรอมกับบุตรชายทัง้ 3 ดวย ทันใด นั้นเขาก็ตัดศีรษะของบุตรชายคนโตของเธอ แลวเตรียมการเพื่อตัดศีรษะของบุตรชายคนกลาง สตรีนั้นเห็นศีรษะของบุตรชายคนโตถูกตัดไปแลว และเห็นศีรษะบุตรชายคนกลางกําลังถูกตัดอยู ก็ทอดอาลัยในบุตรชายคนเล็กเสียไดวา " แมพอคนเล็กนี้ก็จักเปนเชนเดียวกับบุตรชายทัง้ 2 นัน้ นัน่ แล " ในอุปมานี้นนั้ การทีน่ กั ปฏิบัติเห็นความดับของรูปนามทัง้ หลายในอดีต ก็เปรียบเหมือนการ ที่สตรีผูนั้นเห็นศีรษะของบุตรชายคนโตทีถ่ ูกตัดไปแลว การที่นกั ปฏิบัติเห็นความดับของรูปนาม ทั้งหลายในปจจุบัน ก็เปรียบเหมือนการที่สตรีผูนั้นเห็นศีรษะของบุตรชายคนกลางกําลังถูกตัดอยู และการทีน่ ักปฏิบัติเห็นความดับของรูปนามทัง้ หลายในอนาคต ก็เปรียบเหมือนการที่สตรีผูนนั้ ทอดอาลัยวา " แมพอคนเล็กนี้ก็จกั เปนเชนเดียวกับบุตรชายทั้ง 2 นัน้ นั่นแล " และเมื่อนักปฏิบัติเห็น อยูอยางนี้ ณ. ที่ตรงนี้เองทีภ่ ยญาณหรือภยตุปฏฐานญาณ ยอมบังเกิดขึ้น

409 2 . สตรีผูมีปรกติเปนคนมีลกู เนา (คลอดลูกแลวลูกตาย) คลอดลูกมาแลวสิบคน ในสิบคน นั้นตายไปแลวเสียเกาคน คนหนึ่งกําลังจะตายอยูในออมแขน อีกคนหนึ่ง (คนที่สบิ เอ็ด) ยังอยูใน ทอง สตรีนั้นเห็นลูกเกาคนตายไปแลวและคนที่สิบก็กาํ ลังจะตาย จึงทอดอาลัยในลูกคนที่อยูใน ทองวา " ถึงแมเจาคนที่อยูในทองนี้ ก็จักเปนเหมือนกับลูกทัง้ หลายเหลานัน้ " ในอุปมานีน้ นั้ การ ที่นกั ปฏิบัติเห็นความดับของรูปนามทัง้ หลายในอดีต ก็เปรียบเหมือนการที่สตรีผูนั้นรําลึกถึงความ ตายของลูกทั้งเกาคน การทีน่ ักปฏิบัติเห็นความดับของรูปนามทัง้ หลายในปจจุบนั ก็เปรียบ เหมือนการที่สตรีผูนั้นเห็นลูกคนที่อยูในออมแขนกําลังจะตายไป และการทีน่ ักปฏิบัติเห็นความดับ ของรูปนามทัง้ หลายในอนาคต ก็เปรียบเหมือนการที่สตรีผูนั้นทอดอาลัยวา " ถึงแมเจาคนที่อยูใน ทองนี้ ก็จกั เปนเหมือนกับลูกทัง้ หลายเหลานัน้ " และเมื่อนักปฏิบัติเห็นอยูอยางนี้ ณ. ที่ตรงนี้เอง ที่ภยญาณหรือภยตุปฏฐานญาณ ยอมบังเกิดขึ้น

อาทีนวญาณ อาทีนวญาณ คือ ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษของรูปและนาม

1 . อุปมาของอาทีนวญาณ อันอาทีนวญาณนี้ มีอุปมาเปรียบเทียบ 7 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูเดินทางมาถึงยังถ้ําทีม่ ีเสือโครง ก็จกั เกิดความหวาดกลัว 2 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูเดินทางมาถึงยังแมน้ําที่มีรากษสสิงอยู ก็จกั เกิดความหวาดกลัว 3 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูเดินทางในทางทีม่ ีโจรซุมอยู ก็จักเกิดความหวาดกลัว 4 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูเดินทางมาถึงยังเรือนที่มีไฟไหม ก็จักเกิดความหวาดกลัว 5 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูเดินทางมาถึงยังสนามรบ ก็จกั เกิดความหวาดกลัว 6 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูพ บขาศึกที่กาํ ลังเงื้อดาบจะฟาดฟน ก็จกั เกิดความหวาดกลัว 7 . อุปมาเหมือนบุรุษ ผูไดดื่มซึ่งน้าํ ที่ผสมยาพิษลงไป ก็จกั เกิดความหวาดกลัว

2 . อาทีนวญาณ 15 ญาณทีห่ ยั่งรูซงึ่ ความเปนโทษของรูปและนามมี 15 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปปาทอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากการเกิดของรูปนาม) 2 . ปวัตติอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากการเปนไปของรูปนาม) 3 . นิมิตอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากนิมิตของรูปนาม)

410 4 . อายูหนอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากการสั่งสมกรรมของรูปนาม) 5 . ปฏิสนธิอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากการปฏิสนธิของรูปนาม) 6 . คติอาทีนวญาณ (ญาณที่หยั่งรูซงึ่ ความเปนโทษจากคติทั้ง 5) 7 . นิพพัตติอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยั่งรูซงึ่ ความเปนโทษจากการเกิดขึ้นของขันธ 5) 8 . อุปปตติอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากวิบาก) 9 . ชาติอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความเกิด) 10 . ชราอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความแก) 11 . พยาธิอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความเจ็บปวย) 12 . มรณอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความตาย) 13 . โสกอาทีนวญาณ (ญาณที่หยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความเศราโศกเสียใจ) 14 . ปริเทวอาทีนวญาณ (ญาณทีห่ ยัง่ รูซึ่งความเปนโทษจากความร่ําไรรําพัน) 15 . อุปายาสอาทีนวญาณ (ญาณที่หยั่งรูซ ึ่งความเปนโทษจากความคับแคนใจ)

นิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณ คือ ญาณที่หยั่งรูซงึ่ ความนาเบื่อหนายของรูปและนาม

1 . อุปมาของนิพพิทาญาณ อันนิพพิทาญาณนี้ มีอุปมาเปรียบเทียบ 4 เรื่องดวยกัน 1 . นกที่เขาจับมาขังไวในกรงเงินกรงทอง กรงแกวมณีเพชรนิลจินดา ซึง่ ลวนแลวแตมีคา มาก แตนกนัน้ ก็ไมมีความพอใจปรารถนาจะอยูในกรงนั้นเลย มุง หนาแตจะพยายามหาหนทาง หนีออกไป เพื่อจะใหพน เสียซึ่งกรงขังอันแสนจะนาเบื่อหนายนั้น ขอนี้ฉันใด นักปฏิบัติครั้นเมื่อ มาถึงนิพพิทาญาณ ยอมมีความเบื่อหนายในรูปนาม กําเนิด 4 คติ 5 วิญญาณฐิติ 7 และ สัตตวาส 9 ก็ฉันนัน้ 2 . พระยาหงสทอง มีความอภิรมณยินดีอยูแตในสระใหญทงั้ 7 แหงเชิงเขาจิตรกูฏ ไมมี ความยินดีในหลุมโสโครกใกลบานคนจัณฑาล ซึง่ ไมสะอาด ขอนีฉ้ ันใด นักปฏิบัติครั้นเมื่อมาถึง ซึ่งนิพพิทาญาณ ยอมไมยนิ ดีในรูปนามซึ่งมีความแตกสลาย ไมจรี ังยั่งยืน มีแตทุกขโทษ ซึง่ ตน ไดพิจารณาเห็นแนชัดแลว ยอมยินดีแตในอนุปสสนา 7 ก็ฉันนัน้

411 3 . พระยาสีหมฤคราช แมถูกบุคคลจับขังไวในกรงทองก็ไมมีความยินดี ยอมยินดีเฉพาะ แตในปาหิมพานตอันกวาง 3000 โยชน ขอนี้ฉันใด นักปฏิบัติครั้นเมื่อมาถึงซึ่งนิพพิทาญาณ ก็ ไมมีความยินดีในสุคติภพทัง้ 3 ก็ฉนั นั้น 4 . พระยาชางฉัททันตสีเผือกปลอด ยอมไมมีความยินดีในกลางเมือง ยอมมีความยินดี เฉพาะแตในปาชัฏใกลสระน้าํ ขอนี้ฉนั ใด นักปฏิบัติครั้นเมื่อมาถึงซึ่งนิพพิทาญาณ ยอมไมมี ความยินดีในรูปนาม ยอมมีความยินดีเฉพาะแตในสันติบท ซึ่งตนไดเห็นแลววา ถาไมกลับมา เกิดอีกตอไปเปนความปลอดภัยแนแท เปนพระนิพพาน ก็ฉนั นั้น

2 . ความตางกันเพียงพยัญชนะ อนึ่ง ญาณทัง้ 3 ประการนี้ คือ ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ โดย ความหมายแลวมีนยั เดียวกัน จะตางกันก็เพียงพยัญชนะเทานั้น กลาวคือเห็นความที่รูปนาม เปนไปในแงลบเชนเดียวกัน แตภยญาณนั้นเปนญาณอยางออน อาทีนวญาณเปนญาณอยาง กลาง และนิพพิทาญาณเปนญาณอยางกลา โดยในบางครั้งในการปฏิบัติ การปรากฏของญาณ ทั้ง 3 คือเห็นวาเปนภัย เห็นวาเปนโทษ และเห็นวานาเบื่อหนายนัน้ อาจไมปรากฏกับนัก ปฏิบัติครบทั้ง 3 ญาณ ก็อาจจะเลยขามไปยังมุญจิตุกมั ยตาญาณเสียก็เปนไปได (มุญจิตุกัมยตา ญาณคือญาณที่จะแสดงในลําดับตอไป)

มุญจิตุกัมยตาญาณ มุญจิตุกัมยตาญาณ คือ ญาณที่มีความปรารถนาใครจะพนไปเสียจากรูปและนาม

1 . อุปมาของมุญจิตุกัมยตาญาณ อันมุญจิตุกัมยตาญาณนี้ มีอุปมาเปรียบเทียบ 8 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปมาเหมือนปลาที่ติดแหติดอวน ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากแหจากอวนนัน้ 2 . อุปมาเหมือนกบที่ถูกงูคาบไว ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากปากงูนั้น 3 . อุปมาเหมือนไกปาที่ติดบวงดักสัตว ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากบวงดักสัตวนนั้ 4 . อุปมาเหมือนเนื้อที่ติดบวงดักสัตว ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากบวงดักสัตวนั้น 5 . อุปมาเหมือนงูที่อยูในมือของหมองู ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากมือของหมองูนนั้ 6 . อุปมาเหมือนชางที่ติดหลม ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากหลมนัน้ 7 . อุปมาเหมือนพญานาคที่อยูในปากครุฑ ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากปากครุฑนัน้

412 8 . อุปมาเหมือนบุรุษผูถูกขาศึกลอม ยอมปรารถนาจะพนไปเสียจากวงลอมของขาศึกนั้น

2 . มุญจิตุกัมยตาญาณ 15 ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากรูปและนามมี 15 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปปาทมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากการเกิดของรูปนาม) 2 . ปวัตติมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากการเปนไปของรูปนาม) 3 . นิมิตมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากนิมิตของรูปนาม) 4 . อายูหนมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากการสั่งสมกรรมของรูปนาม) 5 . ปฏิสนธิมญ ุ จิตุกมั ยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากการปฏิสนธิของรูปนาม) 6 . คติมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากคติทั้ง 5) 7 . นิพพัตติมญ ุ จิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากการเกิดขึน้ ของขันธ 5) 8 . อุปปตติมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากวิบาก) 9 . ชาติมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความเกิด) 10 . ชรามุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความแก) 11 . พยาธิมญ ุ จิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความเจ็บปวย) 12 . มรณมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความตาย) 13 . โสกมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความเศราโศกเสียใจ) 14 . ปริเทวมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความร่ําไรรําพัน) 15 . อุปายาสมุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณที่ปรารถนาใครจะพนไปเสียจากความคับแคนใจ)

ปฏิสังขาญาณ ปฏิสังขาญาณ คือ ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากรูปและนาม โดยการยกรูปและ นามขึน้ พิจารณาโดยพระไตรลักษณอีกครั้งหนึ่ง (ครั้งแรกคือสัมมสนญาณ) ดวยความขะมักเขมน

1 . พระไตรลักษณ 40 พระไตรลักษณ 40 ประการ ไดแก อนิจจลักษณะ 10 ประการ ทุกขลักษณะ 25 ประการ และอนัตตลักษณะ 5 ประการ

1.1 อนิจจลักษณะ 10 พิจารณาเห็นรูปและนามโดยความไมเที่ยง 10 ประการ

413 1 . อนิจจะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมเที่ยง 2 . ปโลกะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีม่ ีแตความเสื่อมไป 3 . จละ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งทีห่ วัน่ ไหวงาย 4 . ปภังคะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีผ่ ุพังงาย 5 . อัทธุวะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมมั่นคงยั่งยืน 6 . วิปริณามะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีม่ ีแตความปรวนแปร 7 . อสารกะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมมีแกนสาร 8 . วิภวะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่มีแตความวิบัติฉบิ หาย 9 . สังขตะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีถ่ กู ปรุงแตงดวยกรรมจิตอุตุและอาหาร 10 . มรณะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีต่ องตายในที่สดุ

1.2 ทุกขลักษณะ 25 พิจารณาเห็นรูปและนามโดยความเปนทุกข 25 ประการ 1 . ทุกขะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่เปนทุกข 2 . โรคะ เห็นวารูปและนามเปนดุจโรคราย 3 . คัณฑะ เห็นวารูปและนามเปนดุจหัวฝกลัดหนอง 4 . สัลละ เห็นวารูปและนามเปนดุจลูกศรทิ่มแทง 5 . อฆะ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งที่เปนความชัว่ ราย 6 . อฆมูละ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีเ่ ปนรากเหงาแหงความชัว่ ราย 7 . อาพาธะ เห็นวารูปและนามเปนดุจโรคภัยไขเจ็บ 8 . อีติ เห็นวารูปและนามเปนดุจภัยพิบตั ิ 9 . อุปทวะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีเ่ ปนอันตราย 10 . ภยะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่เปนภัย 11 . อุปสัคคะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีเ่ ปนอุปสรรค 12 . อตาณะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมสามารถตานทานได 13 . อเลณะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมสามารถเปนที่หลบภัยได 14 . อสรณะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมสามารถเปนที่พงึ่ ได 15 . อาทีนวะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีใ่ หโทษ 16 . วธกะ เห็นวารูปและนามเปนดุจเพชฌฆาต

414 17 . สาสวะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีเ่ ปนบอเกิดแหงอาสวะ 18 . มารามิสะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่เปนเหยื่อลอใหหลงติดบวง 19 . ชาติธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่มีความเกิดเปนธรรมดา 20 . ชราธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่มีความแกเปนธรรมดา 21 . พยาธิธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งที่มีความเจ็บเปนธรรมดา 22 . โสกธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่มีความเศราโศกเสียใจเปนธรรมดา 23 . ปริเทวธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งที่มีความร่ําไรรําพันเปนธรรมดา 24 . อุปายาสธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งที่มีความคับแคนใจเปนธรรมดา 25 . สังกิเลสิกธัมมะ เห็นวารูปและนามเปนสิ่งที่มีความเศราหมองเพราะกิเลสเปนธรรมดา

1.3 อนัตตลักษณะ 5 พิจารณาเห็นรูปและนามโดยความเปนอนัตตา 5 ประการ 1 . อนัตตะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ทีป่ ราศจากความมีตัวมีตน 2 . ประ เห็นวารูปและนามเปนเหมือนคนแปลกหนา 3 . ริตตะ เห็นวารูปและนามเปนของเล็กนอยนิดหนอย 4 . ตุจฉะ เห็นวารูปและนามเปนสิง่ ที่ไมมแี กนสารอะไร 5 . สุญญะ เห็นวารูปและนามเปนของสูญ

2 . ปฏิสังขาญาณ 15 ญาณที่พจิ ารณาหาทางหลุดพนจากรูปและนามมี 15 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1 . อุปปาทปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากการเกิดของรูปนาม) 2 . ปวัตติปฏิสังขาญาณ (ญาณทีพ่ ิจารณาหาทางหลุดพนจากการเปนไปของรูปนาม) 3 . นิมิตปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากนิมิตของรูปนาม) 4 . อายูหนปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พจิ ารณาหาทางหลุดพนจากการสั่งสมกรรมของรูปนาม) 5 . ปฏิสนธิปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากการปฏิสนธิของรูปนาม) 6 . คติปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากคติทั้ง 5) 7 . นิพพัตติปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากการเกิดขึ้นของขันธ 5) 8 . อุปปตติปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากวิบาก) 9 . ชาติปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากความเกิด) 10 . ชราปฏิสังขาญาณ (ญาณทีพ่ ิจารณาหาทางหลุดพนจากความแก)

415 11 . พยาธิปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พจิ ารณาหาทางหลุดพนจากความเจ็บปวย) 12 . มรณปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พจิ ารณาหาทางหลุดพนจากความตาย) 13 . โสกปฏิสังขาญาณ (ญาณทีพ่ ิจารณาหาทางหลุดพนจากความเศราโศกเสียใจ) 14 . ปริเทวปฏิสังขาญาณ (ญาณที่พิจารณาหาทางหลุดพนจากความร่ําไรรําพัน) 15 . อุปายาสปฏิสังขาญาณ (ญาณทีพ่ จิ ารณาหาทางหลุดพนจากความคับแคนใจ)

สังขารุเปกขาญาณ สังขารุเปกขาญาณ คือ ญาณที่พจิ ารณาเห็นรูปและนาม โดยอาการวางเฉยเสียได

1 . เงื่อนแหงสังขารุเปกขาญาณ เมื่อนักปฏิบัตผิ ูปรารถนาความหลุดพนไปเสียจากรูปนามสังขารทัง้ ปวง กําหนดสังขาร ทั้งหลายอยูดว ยปฏิสังขาญาณ ไมเห็นสิง่ ทีพ่ ึงยึดมั่นวาตัวเราหรือของเรา จนปฏิสังขาญาณนัน้ เขมแข็งแกกลาเต็มกําลังแลว นักปฏิบัติยอมกาวลวงสูค วามวางเฉยไมยินดียนิ รายเสียไดในรูป นามสังขารทัง้ หลายทัง้ ปวง โดยเงื่อนแหงสังขารุเปกขาญาณ ดังตอไปนี้

1.1 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 2 เงื่อนที่ 1 : กําหนดความวางเปลาจากตัวตนกลาวคือ " ไมมีเราผูเปนเจาของในสิง่ ใดๆ " เงื่อนที่ 2 : กําหนดความวางเปลาจากสิ่งของกลาวคือ " ไมมีสิ่งใดที่จะใหเราเปนเจาของได "

1.2 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 4 เงื่อนที่ 1 : กําหนดความวางเปลาในสถานที่กลาวคือ " ไมมีเราในที่ไหนๆ " เงื่อนที่ 2 : กําหนดความวางเปลาในเวลากลาวคือ " ไมมีเราในกาลใดๆ " เงื่อนที่ 3 : กําหนดความวางเปลาในธรรมกลาวคือ " ไมมีเราในธรรมใดๆ " เงื่อนที่ 4 : กําหนดความวางเปลาในบุคคลกลาวคือ " ไมมีผูใดเกี่ยวของกับเรา "

1.3 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 6 เงื่อนที่ 1 : กําหนด เงื่อนที่ 2 : กําหนด เงื่อนที่ 3 : กําหนด เงื่อนที่ 4 : กําหนด เงื่อนที่ 5 : กําหนด

จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ จักขุสัมผัส เปนของสูญ โสตธาตุ สัททธาตุ โสตวิญญาณธาตุ โสตสัมผัส เปนของสูญ ฆานธาตุ คันธธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ฆานสัมผัส เปนของสูญ ชิวหาธาตุ รสธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ ชิวหาสัมผัส เปนของสูญ กายธาตุ โผฏฐัพพธาตุ กายวิญญาณธาตุ กายสัมผัส เปนของสูญ

416 เงื่อนที่ 6 : กําหนด มโนธาตุ ธรรมธาตุ มโนวิญญาณธาตุ มโนสัมผัส เปนของสูญ

1.4 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 8 เงื่อนที่ 1 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 2 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 3 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 4 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 5 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 6 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 7 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 8 : กําหนดรูปและนามเปนสิ่งที่

ปราศจากความมีแกนสาร ปราศจากความมีสาระ ปราศจากความสุข ปราศจากความมีตัวตน ปราศจากความเที่ยง ปราศจากความยั่งยืน ปราศจากความถาวร ปราศจากความไมแปรปรวนเปลี่ยนแปลง

1.5 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 10 เงื่อนที่ 1 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมเปนสาระ เงื่อนที่ 2 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ วางเปลา เงื่อนที่ 3 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เปนของสูญ เงื่อนที่ 4 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ปราศจากความมีตวั ตน เงื่อนที่ 5 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมมีอิสระ เงื่อนที่ 6 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมเปนไปตามความตองการ เงื่อนที่ 7 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมเปนไปตามความปรารถนา เงื่อนที่ 8 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมเปนไปตามอํานาจ เงื่อนที่ 9 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ แปลกหนาและไมสามารถจัดการได เงื่อนที่ 10 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ปราศจากสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา

1.6 สังขารุเปกขาญาณโดยเงื่อน 12 เงื่อนที่ 1 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 2 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 3 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 4 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 5 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ เงื่อนที่ 6 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่

ไมเปนสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ไมมีชวี ิต ไมใชมนุษย ไมใชชายหนุม ไมใชสตรี ไมใชบุรุษ

417 เงื่อนที่ 7 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชตน เงื่อนที่ 8 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชสิ่งทีน่ ับวาตน เงื่อนที่ 9 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชเรา เงื่อนที่ 10 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชของๆเรา เงื่อนที่ 11 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชของๆคนอื่น เงื่อนที่ 12 : กําหนดรูปเปนสิ่งที่ ไมใชของๆใครทั้งสิ้น

2 . อานิสงสแหงสังขารุเปกขาญาณ อานิสงสแหงสังขารุเปกขาญาณมี 9 ประการ ดังตอไปนี้ 1 . ละความกลัวและความยินดีเสียได แลวมีใจอันวางเฉยตอรูปและนาม 2 . ไมยึดมั่นถือมั่น วารูปและนามนัน้ เปนตนหรือเปนของตน 3 . จิตไมวกเวียนอยูในภพ 3 กําเนิด 4 คติ 5 วิญญาณฐิติ 7 และสัตตวาส 9 4 . มีสติอันมัน่ คงและเจริญยิ่งๆขึ้นไปเรื่อยๆ 5 . ไมมีความกําหนัดตอ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และธรรมารมณ ที่เขามากระทบ 6 . ไมรับบัญญัติไวเปนอารมณ ปราศจากความเห็นอันไมถูกตอง 7 . ไมสั่งสมทุกขหรือจมอยูก ับความทุกข มีแตจะพยายามหาทางพนไปเสียจากทุกข 8 . มีความปรารถนาในพระนิพพาน 9 . มีใจอันสุขมุ ประณีต ตัง้ มั่นอยูดวยอํานาจอนุปสสนา 3 และเปนทางไปสูวโิ มกข 3

3 . วิโมกข 3 วิโมกข คือ ความหลุดพนจากกิเลส ซึ่งหมายถึงพระนิพพาน มีอยู 3 ประการดวยกัน ไดแก อนิมิตตวิโมกข อัปปณิหิตวิโมกข และสุญญตวิโมกข

3.1 อนิมิตตวิโมกข อนิมิตตวิโมกข คือ ความหลุดพนจากกิเลสดวยไมมนี มิ ิตเครื่องหมาย เกิดจากการ เจริญซึ่งอนิจจานุปสสนา การพิจารณารูเห็นอยูเนืองๆโดยความไมเทีย่ ง เปนเหตุทาํ ใหละนิมิต แหงวิปลลาสธรรมเสียได โดยมักเกิดกับบุคคลผูประกอบไปดวยศรัทธาอันยิง่ ใหญ ทําใหมี อนิมิตตวิโมกขเปนอธิบดี สวนวิโมกขทั้ง 2 ที่เหลือนั้นจัดเปนสหชาตปจจัย อัญญมัญญปจจัย นิสสยปจจัย และสัมปยุตตปจจัย ทั้งนี้ทงั้ นัน้ วิโมกขทงั้ 3 ยอมมีรสเปนอันเดียวกัน เพราะแทง ตลอดซึ่งอริยสัจ 4 ประการเหมือนกัน โดยเมื่อใดนักปฏิบัติพิจารณาเห็นอนิจจัง ทําใหจิตออก จากนิมิตมีธวุ นิมิตเปนตน รูปและนามมีอาการสุขุมละเอียดเปนอยางยิ่ง แลวคอยๆนอยลงๆ

418 จนในที่สุดก็ดบั ไป แลวแลนไปสูอนิมิตคือพระนิพพานนั้น กลาวไดวานักปฏิบัติไดหลุดพนดวย อนิมิตตวิโมกข โดยวิโมกขอีก 2 ประการที่เหลือนัน้ ยอมเกิดพรอมตามในขณะเดียวกันดวย อาการ 7 อาการดังตอไปนี้ 1 . มีการประชุมพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 2 . มีการบรรลุพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 3 . มีการไดมาพรอมกันทั้ง 3 วิโมกข 4 . มีการแทงตลอดพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 5 . มีการทําใหแจงพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 6 . มีการถูกตองพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 7 . มีการตรัสรูพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข

3.2 อัปปณิหิตวิโมกข อัปปณิหิตวิโมกข คือ ความหลุดพนจากกิเลสดวยไมเปนที่ตงั้ แหงตัณหา เกิดจากการ เจริญซึ่งทุกขานุปสสนา การพิจารณารูเห็นอยูเนืองๆโดยความเปนทุกข เปนเหตุทําใหละตัณหา ปณิธิเสียได โดยมักเกิดกับบุคคลผูประกอบไปดวยปสสัทธิอันยิ่งใหญ ทําใหมีอปั ปณิหิตวิโมกข เปนอธิบดี สวนวิโมกขทั้ง 2 ที่เหลือนัน้ จัดเปนสหชาตปจจัย อัญญมัญญปจจัย นิสสยปจจัย และสัมปยุตตปจจัย ทั้งนี้ทงั้ นัน้ วิโมกขทงั้ 3 ยอมมีรสเปนอันเดียวกัน เพราะแทงตลอดซึ่งอริยสัจ 4 ประการเหมือนกัน โดยเมื่อใดนักปฏิบตั ิพิจารณาเห็นทุกขัง ทําใหจิตออกจากปวัตตะคือรูปและ นามที่กาํ ลังเกิดดับอยู รูปและนามมีอาการสุขุมละเอียดเปนอยางยิง่ แลวคอยๆนอยลงๆ จนใน ที่สุดก็ดับไป แลวแลนไปสูอัปปวัตตะคือพระนิพพานนัน้ กลาวไดวา นักปฏิบัติไดหลุดพนดวย อัปปณิหิตวิโมกข โดยวิโมกขอีก 2 ประการที่เหลือนั้น ยอมเกิดพรอมตามในขณะเดียวกันดวย อาการ 7 อาการดังตอไปนี้ 1 . มีการประชุมพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 2 . มีการบรรลุพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 3 . มีการไดมาพรอมกันทั้ง 3 วิโมกข 4 . มีการแทงตลอดพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 5 . มีการทําใหแจงพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 6 . มีการถูกตองพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 7 . มีการตรัสรูพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข

419 3.3 สุญญตวิโมกข สุญญตวิโมกข คือ ความหลุดพนจากกิเลสดวยความเปนของสูญ เกิดจากการเจริญซึ่ง อนัตตานุปสสนา การพิจารณารูเห็นอยูเนืองๆโดยความเปนอนัตตา เปนเหตุทําใหละความยึดมั่น ถือมั่นในความเปนอัตตาเสียได โดยมักเกิดกับบุคคลผูประกอบไปดวยปญญาอันยิง่ ใหญ ทําใหมี สุญญตวิโมกขเปนอธิบดี สวนวิโมกขทั้ง 2 ที่เหลือนัน้ จัดเปนสหชาตปจจัย อัญญมัญญปจจัย นิสสยปจจัย และสัมปยุตตปจจัย ทั้งนี้ทงั้ นัน้ วิโมกขทงั้ 3 ยอมมีรสเปนอันเดียวกัน เพราะแทง ตลอดซึ่งอริยสัจ 4 ประการเหมือนกัน โดยเมื่อใดนักปฏิบัติพิจารณาเห็นอนัตตา ทําใหจิตออก จากนิมิตและปวัตตะ รูปและนามมีอาการสุขุมละเอียดเปนอยางยิง่ แลวคอยๆนอยลงๆ จนใน ที่สุดก็ดับไป แลวแลนไปสูอนิมิตและอัปปวัตตะคือพระนิพพานนั้น กลาวไดวานักปฏิบัติไดหลุด พนดวยสุญญตวิโมกข โดยวิโมกขอีก 2 ประการที่เหลือนั้น ยอมเกิดพรอมตามในขณะเดียวกัน ดวยอาการ 7 อาการดังตอไปนี้ 1 . มีการประชุมพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 2 . มีการบรรลุพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 3 . มีการไดมาพรอมกันทั้ง 3 วิโมกข 4 . มีการแทงตลอดพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 5 . มีการทําใหแจงพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 6 . มีการถูกตองพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข 7 . มีการตรัสรูพรอมกันทัง้ 3 วิโมกข

4 . ความตางกันเพียงพยัญชนะ อนึ่ง ญาณทัง้ 3 ประการนี้ คือ มุญจิตกุ ัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปก ขาญาณ โดยความหมายแลวมีนัยเดียวกัน จะตางกันก็เพียงพยัญชนะเทานัน้ กลาวคือลวนแต มีความปรารถนาใครจะพนไปเสียจากรูปและนามเชนเดียวกัน แตมญ ุ จิตุกัมยตาญาณนัน้ เปน ญาณอยางออน ปฏิสังขาญาณเปนญาณอยางกลาง และสังขารุเปกขาญาณเปนญาณอยาง กลา โดยในบางครั้งในการปฏิบัติ การปรากฏของญาณทัง้ 3 คือปรารถนาใครจะพนไปเสีย หาทางหลุดพน และวางเฉยเสียไดนนั้ อาจไมปรากฏกับนักปฏิบัตคิ รบทั้ง 3 ญาณ ก็อาจจะเลย มาถึงยังสังขารุเปกขาญาณทีเดียว ก็เปนไปได

5 . องค 6 ประการของสังขารุเปกขาญาณ องค 6 ประการของสังขารุเปกขาญาณนัน้ มีดังตอไปนี้

420 1 . ไมมีความกลัวหรือยินดียินราย กําหนดไดสม่ําเสมอ และปราศจากอุปสรรคความขัดของ 2 . ไมมีความดีใจหรือเสียใจ มีแตสติสัมปชัญญะในการกําหนดเฉยอยู 3 . วางเฉยไดในสังขารทั้งปวง ไมยึดติดวาเปนเราหรือเปนของๆเรา ดุจบุรุษผูหยาขาดจากภรรยา 4 . สมาธิตั้งอยูและกําหนดอยูไดนาน มีความสงบเปนอยางยิ่งจนไมอยากจะลุกขึน้ ไปไหน 5 . มีความเปนกลางในการตรวจสอบรูปนามสังขารทัง้ ปวง โดยตั้งอยูในอนุปสสนา 3 6 . จิตใจไมมีความของแวะไปในภพ 3 กําเนิด 4 คติ 5 วิญญาณฐิติ 7 และสัตตวาส 9

6 . อุปมาของสังขารุเปกขาญาณ อันสังขารุเปกขาญาณนี้ มีอุปมาเหมือนดังนกทะเลของชายชาวประมงที่ปลอยใหนกนั้น บินไปเพื่อหาฝง ตราบใดทีน่ กนั้นยังไมสามารถหาฝง ไดเจอ นกนัน้ ก็จะบินกลับมายังเรือของชาย ชาวประมง แตเมื่อใดก็ตามที่นกสามารถหาฝง ไดเจอแลว นกก็จะไมบินหวนกลับมายังเรืออีก ตอไป ขอนี้ฉนั ใด อันนักปฏิบัติเมื่อวางเฉยเสียไดในรูปนามสังขารทัง้ ปวง ครั้นสังขารุเปกขา ญาณนี้มีความละเอียดประณีตขึ้นๆเปนอยางยิ่ง ประกอบดวยอินทรียอันแกกลาและมีการเจริญ โพชฌงคอนั เหมาะสม อันเปนเหตุแหงอริยมรรคดวยดีแลว จิตของนักปฏิบัติยอมสามารถละทิง้ อารมณ กลาวคือรูปนามสังขารอันเปนไปโดยไมขาดสายทัง้ หมดทั้งปวง เพื่อแลนเขาหาจุดหมาย คือพระนิพพานโดยสวนเดียว ก็ฉนั นัน้

อนุโลมญาณ อนุโลมญาณ คือ ญาณทีอ่ นุโลมไปตามลําดับเพื่อสําเร็จกิจแหงวิปสสนาญาณ 8 ใน เบื้องตน ไดแก อุทยัพพยญาณ ภังคญาณ ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิ ตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณ โดยมีรูปและนามเปนอารมณ หรือ อนุโลมไปตามโพธิปก ขิยธรรม 37 ประการ ไดแก สติปฏ ฐาน 4 สัมมัปปทาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 และอริยมรรคมีองค 8 อนึ่ง อนุโลมญาณนี้มชี อื่ เรียกอีกชื่อหนึ่ง วา " สัจจานุโลมิกญาณ " ซึ่งก็มีความหมายไปในทางเดียวกัน วาเปนญาณที่อนุโลมไปตามสัจจะ คือตามหลักแหงความจริงนัน่ เอง

1 . อุปมาของอนุโลมญาณ อันอนุโลมญาณ มีอุปมาดังตอไปนี้

421 พระเจาแผนดินผูทรงธรรม ประทับนัง่ ในที่วนิ ิจฉัย ทรงสดับการวินิจฉัยของมหาอํามาตย ผูพิพากษา 8 นายในศาล พระองคไมมีความลําเอียงเลยทรงตัง้ พระทัยเปนกลาง ทรงอนุโมทนา วา " จงตัดสินอยางนี้แหละ " ทรงอนุโลมตอการวินิจฉัยของมหาอํามาตยเหลานัน้ เพราะตัดสิน ถูกตองตามทํานองคลองธรรมดีแลว และทรงอนุโลมตอราชธรรมดั้งเดิมของพระองค ไดแก ทศพิธราชธรรมทั้ง 10 ประการ ไมมีโกรธไมเบียดเบียนและมีขันติเปนตน ขอนี้ฉนั ใด อนุโลม ญาณก็ฉันนั้น วาญาณทั้ง 8 นั้นเปรียบเสมือนมหาอํามาตยทงั้ 8 คน สวนโพธิปกขิยธรรม 37 ประการก็เปรียบเสมือนทศพิธราชธรรมทัง้ 10 ประการ โดยโพธิปก ขิยธรรมนัน้ เปนฝายพุทธจักร สวนทศพิธราชธรรมเปนฝายอาณาจักร และการทีพ่ ระราชาทรงดํารัสวา " จงตัดสินอยางนี้แหละ " ซึ่งเปนการอนุโลมไปตามคําตัดสินของมหาอํามาตยทงั้ 8 คนนัน้ ก็เปรียบเสมือนกับการที่อนุโลม ญาณนัน้ ไดอนุโลมไปตามลําดับ เพื่อสําเร็จกิจแหงวิปสสนาญาณทัง้ 8 ประการในเบื้องตนกอน หนานัน่ เอง

2 . กิจของอนุโลมญาณ นอกจากอนุโลมญาณจะทําหนาที่อนุโลมไปตามลําดับ เพื่อสําเร็จกิจแหงวิปสสนาญาณ ทั้ง 8 ประการในเบื้องตน และตามโพธิปก ขิยธรรมทัง้ 37 ทั้งประการ ดังที่ไดกลาวมาในขางตน แลวนั้น อนุโลมญาณยังมีกิจอีก 2 ประการ ไดแก 1 . ลักขณัตตยสัมมสนกิจ (กิจหรือหนาที่ในการพิจารณาพระไตรลักษณ) 2 . สัมโมสาทิปฏิปกขวิธมนกิจ (กิจหรือหนาที่ในการกําจัดขาศึกคือกิเลสทั้งหลาย)

โคตรภูญาณ โคตรภูญาณ คือ ญาณทีท่ ําลายโคตรของปุถุชนแลวกาวขามสูโคตรของพระอริยเจา เปนญาณที่อยูระหวางโลกียะและโลกุตตระ ปราศจากการยึดติดหรือของแวะเอารูปนามมาเปน อารมณใดๆทั้งสิ้นเชนเดียวกันกับอนุโลมญาณ อีกทัง้ ยังยึดเหนีย่ วพระนิพพานมาเปนอารมณ เพื่อกาวขามโคตรสูภูมิแหงพระอริยะโดยไถเดียว เพื่อใหสําเร็จในความเปนปจจัยแหงมรรค

1 . โคตรภูญาณ 10 โคตรภูที่เกิดจากอํานาจแหงวิปสสนามี 10 ประการดวยกัน คือ 1 . โคตรภูแหงโสดาปตติมรรค เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ

422 ปริเทวะ และอุปายาส และครอบงําสังขารนิมิตคือรูปนามภายนอก เพื่อใหไดเฉพาะซึง่ โสดา ปตติมรรค และบรรลุความเปนพระโสดาบัน 2 . โคตรภูแหงโสดาปตติผล เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพือ่ ใหพระโสดาบัน สามารถเขาสูโสดาปตติผลสมาบัติ 3 . โคตรภูแหงสกทาคามิมรรค เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส และครอบงําสังขารนิมิตคือรูปนามภายนอก เพื่อใหไดเฉพาะซึง่ สกทาคามิมรรค และบรรลุความเปนพระสกทาคามี 4 . โคตรภูแหงสกทาคามิผล เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพือ่ ใหพระสกทาคามี สามารถเขาสูสกทาคามิผลสมาบัติ 5 . โคตรภูแหงอนาคามิมรรค เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส และครอบงําสังขารนิมิตคือรูปนามภายนอก เพื่อใหไดเฉพาะซึง่ อนาคามิมรรค และบรรลุความเปนพระอนาคามี 6 . โคตรภูแหงอนาคามิผล เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัต ติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพือ่ ใหพระอนาคามี สามารถเขาสูอนาคามิผลสมาบัติ 7 . โคตรภูแหงอรหัตตมรรค เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส และครอบงําสังขารนิมิตคือรูปนามภายนอก เพื่อใหไดเฉพาะซึง่ อรหัตตมรรค และบรรลุความเปนพระอรหันต 8 . โคตรภูแหงอรหัตตผล เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพื่อใหพระอรหันต สามารถเขาสูอรหัตตผลสมาบัติ

423 9 . โคตรภูแหงอนิมิตตวิหาร เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพือ่ ใหพระอรหันต สามารถเขาสูอนิมิตตวิหารสมาบัติ 10 . โคตรภูแหงสุญญตวิหาร เพราะครอบงําภาวะแหงรูปและนาม ไดแก อุปปาทะ ปวัตติ นิมิต อายูหนะ ปฏิสนธิ คติ นิพพัตติ อุปปตติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ และอุปายาส เพือ่ ใหพระอรหันต สามารถเขาสูสุญญตวิหารสมาบัติ

มรรคญาณ มรรคญาณ คือ ญาณอันใหถึงความเปนอริยบุคคล และเปนญาณที่ทาํ ใหละสังโยชน ไดขาด โดยแบงเปน 4 ขั้นหรือ 4 ระดับ ไดแก โสดาปตติมรรคญาณ สกทาคามิมรรคญาณ อนาคามิมรรคญาณ และอรหัตตมรรคญาณ โดยมรรคญาณนั้น มีนิพพานเปนอารมณ เชนเดียวกันกับโคตรภูญาณ แตจิตนัน้ เปนโลกุตตรจิตเพราะออกจากกิเลสหรือพนจากกิเลสแลว ดวยเหตุนี้มรรคญาณจึงไดชื่อวา " อุภโตวุฏฐาน " แปลวาออกทัง้ 2 ขาง คือออกจากอารมณที่เปน โลกียะและออกจากกิเลสดวย เปนผูถึงพรอมดวยปริวัฏฏ 3 หมุนรอบทั้ง 12 ประการในอริยสัจ 4 ไดแก รูวา นีค่ ือทุกข รูวานี่คือสมุทยั รูว านี่คือนิโรธ รูวานี่คือมรรค รูว าทุกขควรกําหนดรู รูวา สมุทัยควรละ รูวา นิโรธควรทําใหแจง รูวา มรรคควรทําใหเจริญ รูวาทุกขนี้ไดกาํ หนดรูแลว รูวา สมุทัยนี้ไดละแลว รูวานิโรธนี้ไดทําใหแจงแลว และรูวา มรรคนี้ไดเจริญแลว

1 . โสดาปตติมรรคญาณ ถัดจากโคตรภูจิตที่ไดเกิดขึ้นเปนครั้งแรกกับนักปฏิบัติ จะมีมรรคจิตซึ่งกําหนดนิพพาน เปนอารมณเกิดขึ้น 1 ครั้ง ซึ่งนี้เองที่เรียกวา " มรรคญาณ " โดยมรรคญาณนี้มี 4 รอบ กลาวคือ 1 . มรรคญาณรอบที่ 1 เรียกวา " โสดาปตติมรรคญาณ " เปนเหตุใหบรรลุเปนพระโสดาบัน 2 . มรรคญาณรอบที่ 2 เรียกวา " สกทาคามิมรรคญาณ " เปนเหตุใหบรรลุเปนพระสกทาคามี 3 . มรรคญาณรอบที่ 3 เรียกวา " อนาคามิมรรคญาณ " เปนเหตุใหบรรลุเปนพระอนาคามี 4 . มรรคญาณรอบที่ 4 เรียกวา " อรหัตตมรรคญาณ " เปนเหตุใหบรรลุเปนพระอรหันต โดยโสดาปตติมรรคญาณนี้ จะทําการตัดซึ่งสังโยชนเบือ้ งต่ํา 3 ประการ ไดแก สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส (ดูในหัวขอสังโยชน 10)

424 2 . สกทาคามิมรรคญาณ เมื่อนักปฏิบัตไิ ดผานซึ่งวิปสสนาญาณครบทั้ง 16 ญาณรอบที่ 1 แลว บรรลุซึ่งภูมิแหงพระ อริยะเปนพระโสดาบัน หากละสังขารไปในเพลานี้ ก็จักกลับมาเกิดในโลกและบรรลุซึ่งอรหัตตผล ภายใน 7 ชาติ โดยขณะนีท้ พี่ ระโสดาบันกําลังกระทําความเพียร เจริญซึ่งวิปสสนากรรมฐานอยู เมื่อพระโสดาบันไดสํารวจทบทวนดู มรรค ผล นิพพาน และกิเลสดวยปจจเวกขณญาณแลว ก็อาจจะนั่งอยู ณ. อาสนะเดิม หรือในโอกาสตอมา แลวมุงกระทําความเพียรในวิปสสนาใหยงิ่ ขึ้น เพื่อบรรลุซึ่งสกทาคามิมรรคญาณ เพื่อทํากามราคะใหเบาบางและละพยาบาทอยางหยาบ ทาน จึงรวบรวมอินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 ทําใหสม่ําเสมอกัน แลวพิจารณาสังขารธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ดวยปญญาที่กําหนดโดยพระไตรลักษณวา " ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา " ทบทวนกลับไปกลับมาจนสังขารุเปกขาญาณแกกลาเต็มที่ และแลว อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ และสกทาคามิมรรคญาณ ก็จะบังเกิดขึ้นแกพระโสดาบัน เปน ลําดับตอไป

3 . อนาคามิมรรคญาณ เมื่อนักปฏิบัตไิ ดผานซึ่งวิปสสนาญาณครบทั้ง 16 ญาณรอบที่ 2 แลว บรรลุซึ่งภูมิแหงพระ อริยะเปนพระสกทาคามี หากละสังขารไปในเพลานี้ ก็จักกลับมาเกิดในโลกและบรรลุซึ่ง อรหัตตผลภายใน 1 ชาติ โดยขณะนี้ทพี่ ระสกทาคามีกาํ ลังกระทําความเพียร เจริญซึ่งวิปสสนา กรรมฐานอยู เมื่อพระสกทาคามีไดสํารวจทบทวนดู มรรค ผล นิพพาน และกิเลสดวยปจจ เวกขณญาณแลว ก็อาจจะนั่งอยู ณ. อาสนะเดิม หรือในโอกาสตอมา แลวมุงกระทําความเพียร ในวิปสสนาใหยิ่งขึ้นเพื่อบรรลุซึ่งอนาคามิมรรคญาณ เพื่อละสังโยชน็เบื้องต่ําอีก 2 ประการ ไดแก กามราคะและปฏิฆะ ทานจึงรวบรวมอินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 ทําใหสม่ําเสมอกัน แลวพิจารณาสังขารธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ดวยปญญาที่ กําหนดโดยพระไตรลักษณวา " ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา " ทบทวนกลับไปกลับมาจนสังขารุ เปกขาญาณแกกลาเต็มที่ และแลวอนุโลมญาณ โคตรภูญาณ และอนาคามิมรรคญาณ ก็จะ บังเกิดขึ้นแกพระสกทาคามี เปนลําดับตอไป

4 . อรหัตตมรรคญาณ เมื่อนักปฏิบัตไิ ดผานซึ่งวิปสสนาญาณครบทั้ง 16 ญาณรอบที่ 3 แลว บรรลุซึ่งภูมิแหงพระ อริยะเปนพระอนาคามี หากละสังขารไปในเพลานี้ จักไมกลับมาเกิดในโลกอีกและจะไปอุบัติเกิด ในสุทธาวาสพรหมโลกภูมิใดภูมิหนึง่ ในหาภูมิ โดยขณะนี้ทพี่ ระอนาคามีกาํ ลังกระทําความเพียร

425 เจริญซึ่งวิปสสนากรรมฐานอยู เมื่อพระอนาคามีไดสํารวจทบทวนดู มรรค ผล นิพพาน และ กิเลสดวยปจจเวกขณญาณแลว ก็อาจจะนั่งอยู ณ. อาสนะเดิม หรือในโอกาสตอมา แลวมุง กระทําความเพียรในวิปสสนาใหยิ่งขึน้ เพือ่ บรรลุซึ่งอรหัตตมรรคญาณ เพื่อละสังโยชน็เบื้องสูงที่ เหลืออีก 5 ประการ ไดแก รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ทานจึงรวบรวม อินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 ทําใหสม่ําเสมอกัน แลวพิจารณาสังขารธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ดวยปญญาที่กาํ หนดโดยพระไตรลักษณวา " ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา " ทบทวนกลับไปกลับมาจนสังขารุเปกขาญาณแกกลาเต็มที่ และแลวอนุโลมญาณ โคตรภูญาณ และอรหัตตมรรคญาณ ก็จะบังเกิดขึ้นแกพระอนาคามี เปนลําดับตอไป

ผลญาณ ผลญาณ คือ ญาณอันเปนผลแหงมรรคญาณ โดยแบงเปน 4 ขั้นหรือ 4 ระดับ ไดแก 1 . โสดาปตติผลญาณ เปนญาณอันเปนผลแหง โสดาปตติมรรคญาณ 2 . สกทาคามิผลญาณ เปนญาณอันเปนผลแหง สกทาคามิมรรคญาณ 3 . อนาคามิผลญาณ เปนญาณอันเปนผลแหง อนาคามิมรรคญาณ 4 . อรหัตตผลญาณ เปนญาณอันเปนผลแหง อรหัตตมรรคญาณ โดยเมื่อมรรคญาณ ซึ่งมีพระนิพพานเปนอารมณนั้นเกิดขึ้นขณะจิตหนึง่ ทําการประหาร กิเลสใหสนิ้ ไปตามควรแกอํานาจแหงมรรคนั้นแลว ก็จะดับลงและเปนปจจัยใหเกิดผลญาณ ซึ่ง ไดแกผลจิต อันเกิดติดตามขึ้นมาในทันทีโดยไมมีระหวางคั่น ผลญาณนี้เปนวิบากจิตและเสวย วิมุตติสุขตามที่มรรคจิตไดทําไวใหแลว ถาเปนผูท ี่รูชาเรียกวา " มันทบุคคล " กลาวคือผลจิตจะเกิด เพียง 2 ขณะ แตถาเปนผูรูเร็วเรียกวา " ติกขบุคคล " ผลจิตจะเกิดถึง 3 ขณะ (ดูเรื่องวิถีจิต)

ปจจเวกขณญาณ ปจจเวกขณญาณ คือ ญาณที่พิจารณา มรรค ผล นิพพาน กิเลสที่ตนตัดไดแลว และกิเลสทีย่ ังเหลืออยู โดยพระอริยเจา (สาวกของพระตถาคต) ยอมพิจารณาซึง่ มรรค ผล และนิพพาน โดยแนนอน แตพระอริยบุคคล (สมมุติสงฆ) บางก็พิจารณา บางก็ไมพิจารณา ซึ่งกิเลสทั้งหลายอันตนละไดแลว และทีย่ ังคงเหลืออยู โดยเมื่อมรรควิถีสิ้นสุดลงและมีภวังคตาม

426 สมควรแลว (ดูเรื่องวิถีจิต) ตองมีปจจเวกขณวิถีติดตอกันไป เพื่อทําหนาทีพ่ ิจารณา มรรค ผล นิพพาน กิเลสที่ละแลว และกิเลสทีย่ ังคงเหลืออยู รวมพิจารณา 5 ประการดวยกัน ดังนี้ 1 . ใหแจงในมรรคจิตที่ตนไดประสบมาเมื่อครูนี้อยางหนึ่ง 2 . ใหแจงในผลจิตอยางหนึง่ 3 . ใหแจงในพระนิพพานอยางหนึ่ง 4 . ใหแจงในกิเลสที่ละไดแลวอยางหนึง่ 5 . ใหแจงในกิเลสที่ยงั คงเหลืออยูอยางหนึ่ง โดยการพิจารณา มรรค ผล นิพพาน รวม 3 ประการนี้ จะตองมีแนนอน สวนลําดับ แหงการพิจารณานัน้ ไมมกี ําหนดกฏเกณฑวา จะตองพิจารณามรรคกอน หรือผลกอน หรือ นิพพานกอน จะพิจารณาอะไรกอนก็ได แตขอสําคัญนั้นตองพิจารณาครบทั้ง 3 ประการ สําหรับการพิจารณากิเลสทีล่ ะไดแลว และกิเลสทีย่ ังคงเหลืออยูรวม 2 ประการนี้ จะพิจารณาได เฉพาะพระอริยบุคคลผูที่ไดเคยศึกษาพระปริยัติธรรมมากอน แตถา ไมเคยศึกษาพระปริยัติธรรม มากอน ก็อาจจะไมมีความรูพอที่จะพิจารณาได ดังนัน้ การพิจารณา 2 ประการหลังนี้ จึงกลาว วาไมแนนอน บางก็พจิ ารณาบางก็ไมพจิ ารณา อนึง่ การพิจารณากิเลสที่ยงั คงเหลือนัน้ จะไม มีในผูที่บรรลุมรรคจิตรอบที่ 4 แลว เพราะไดบรรลุอรหัตตผลสําเร็จเปนพระอรหันต ซึง่ ไมมีกิเลส หลงเหลือใหพจิ ารณาแตอยางใด

อุปมาในวิปสสนาญาณ 16 วิปสสนาญาณ 16 มีอุปมาดังตอไปนี้

1 . อุปมาวาดวยคางคาว คางคาวตัวหนึง่ ตั้งใจวาจะกัดกินผลบนกิ่งของตนมะซางที่มีดวยกัน 5 กิ่ง เมื่อโผไปจับที่กงิ่ ที่ 1-2-3-4-5 ก็ปรากฏวาไมมีผลมะซางอยูเลยสักผลในทุกๆกิง่ ที่โผไปเกาะ เมื่อเปนเชนนี้คางคาว จึงไดทอดอาลัยในตนไมนั้นวา " ตนมะซางตนนี้ชางไมมปี ระโยชนเอาเสียเลย " ครั้นแลวก็บินขึน้ ไป เกาะที่กงิ่ ตรงยอด โผลศีรษะชะโงกตรงระหวางคาคบแหงนดูขางบน แลวบินไปในอากาศไปโผ เกาะยังตนมะซางที่มีผลตนอื่นๆ เปรียบเทียบไดดังนีว้ า อันนักปฏิบตั ินั้นเปรียบเสมือนคางคาว ขันธทงั้ 5 กองเปรียบเสมือนกิ่งทั้ง 5 ของตนมะซาง อุปาทานขันธ 5 เปรียบเสมือนการโผไปเกาะ ยังกิง่ ทัง้ 5 ของตนมะซาง การทีน่ ักปฏิบตั ิกําหนดพิจารณาขันธที่ 1 แลวไมเห็นวามีอะไรที่ควรจะ

427 ยึดมั่น เปรียบเสมือนการทีค่ างคาวโผไปเกาะยังกิง่ ที่ 1 แลวก็ไมพบผลแหงตนมะซางจึงไมคิดที่จะ เกาะซึง่ กิง่ ที่ 1 นี้อีกตอไป (เปนเชนนี้จนครบทั้ง 5 กิง่ ) การที่นกั ปฏิบัติเบื่อหนายในขันธทั้ง 5 กอง เพราะเห็นวาเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลวเกิดญาณทั้ง 3 ไดแก มุญจิตกุ ัมยตาญาณ ปฏิสงั ขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณ เปรียบเสมือนคางคาวที่ไดทอดอาลัยตอตนมะซางนั้นวา " ตนมะซางตนนี้ชา งไมมีประโยชนเอาเสียเลย " อนุโลมญาณของนักปฏิบัติ เปรียบเสมือนการบิน ขึ้นไปเกาะยังกิ่งตรงยอดของคางคาว โคตรภูญาณของนักปฏิบัติ เปรียบเสมือนการโผลศีรษะ ชะโงกตรงระหวางคาคบแหงนดูขางบนของคางคาว มรรคญาณของนักปฏิบัติ เปรียบเสมือนการ บินไปในอากาศของคางคาว ผลญาณของนักปฏิบัติ เปรียบเสมือนการโผเกาะยังตนมะซางที่มี ผลตนอื่นๆของคางคาว และปจจเวกขณญาณของนักปฏิบัติ เปรียบเสมือนการแลดูทางมาของ คางคาว

2 . อุปมาวาดวยงูเหา มีบุรุษคนหนึง่ อยากจะไดปลามาเปนอาหาร จึงเอาสุม ๆลงไปในน้าํ แลวใชมืองมตามลงไป เผอิญมือไปถูกงูเหาเขาจึงจับคองูภายในน้ําไว และไดนึกกระหยิม่ ยิม้ ยองอยูภายในใจวา " เราจับ ปลาตัวใหญได " ครั้นยกขึ้นมาดูจริงๆ จึงรูวาเปนงูเหาเพราะเห็นดอกจัน เขาหวาดกลัวมากและ เกิดเห็นโทษในการจับ เพราะวาเกรงจะถูกงูกัดตาย ตองการปลอยงูนั้นใหพน ไปจากตัวเสีย โดยเร็ว จึงหาอุบายปลอยคือจับหางงูคลายขนดจากแขนตน แลวยกงูขนึ้ แกวงไปวนมาอยู 2-3 ครั้ง ทําใหงูอดิ โรยออนกําลังกอนแลวจึงโยนไป เสร็จแลวตัวเองก็รีบขึ้นมาสูขอบบึงแลวหัน กลับมายืนดู โดยรําพึงอยูภายในใจวา " เราพนจากปากงูเหาไดแลว " เปรียบเทียบไดดังนี้วา เวลานักปฏิบตั ิไดอัตภาพมาเปนคนตั้งแตตนก็รูสึกวามีความยินดี เปรียบเสมือนกับตอนที่บุรุษนั้น จับงูเหาไดเขาใจวาเปนปลาแลวดีใจมาก เวลาทีน่ ักปฏิบัติแยกแยะรูปนามได เห็นเหตุปจจัยของ รูปนาม เห็นซึ่งอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ อนัตตลักษณะ เห็นความเกิดดับของรูปนาม เห็นเฉพาะความดับไปของรูปนาม และเห็นรูปนามปรากฏเปนของนากลัว ตอนนีจ้ ัดเปน นาม รูปปริจเฉทญาณ ปจจัยปริคคหญาณ สัมมสนญาณ อุทยัพพยญาณ ภังคญาณ และภย ญาณ เปรียบเสมือนกับบุรุษนั้นดึงงูออกมาจากสุม แลวแลเห็นพอรูวาเปนงูกเ็ กิดความกลัวขึ้น เวลาที่นกั ปฏิบัติไดตามพิจารณาเห็นโทษของรูปนาม ไดแก อาทีนวญาณ เปรียบเสมือนบุรุษคน นั้นตามเห็นโทษของงูวา ถาถูกงูตัวนั้นกัดก็จะตองมีอนั ตรายถึงแกชวี ิต เวลานักปฏิบัติพิจารณา เห็นรูปนามเปนทุกขโทษแลวเบื่อหนาย ไดแก นิพพิทาญาณ เปรียบเสมือนกับบุรุษนั้นเห็นทุกข โทษ อันจะเกิดขึ้นเพราะถูกงูกัดแลวเบื่อหนาย ไมอยากใหงูอยูในมือของตนอีก เวลานักปฏิบตั ิ

428 อยากพนไปจากรูปนามสังขารทั้งปวง ไดแก มุญจิตุกมั ยตาญาณ เปรียบเสมือนกับบุรุษนัน้ อยากจะปลอยงูใหหลุดพนไปจากตัว เวลานักปฏิบัติยกรูปนามขึ้นสูพ ระไตรลักษณโดยอุบาย 40 ประการ ไดแก ปฏิสังขาญาณ เปรียบเหมือนบุรุษนั้นทําอุบายเพื่อปลอยงู เวลานักปฏิบัติ พิจารณารูปนามยกขึน้ สูพระไตรลักษณบอยๆ วนไปเวียนมาอยูกับ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ทําใหกิเลสออนกําลังลงจนถอนนิจจสัญญาความสําคัญผิดคิดวาเทีย่ ง สุขสัญญาความสําคัญผิด คิดวาเปนสุข และอัตตสัญญาความสําคัญผิดคิดวาเปนตัวเปนตนเสียได มีใจวางเฉยอยูกับรูป นาม ไดแก สังขารุเปกขาญาณ เปรียบเสมือนกับบุรุษนั้น จับงูแกวงทําใหหมดกําลังลง จนไม สามารถจะเอีย้ วมากัดเขาไดและใจก็วางเฉยอยู เวลานักปฏิบัติเห็นพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ชัดเจนแจมแจงและเห็นอริยสัจ 4 ไดแก อนุโลมญาณ เปรียบเสมือนกับบุรุษ นั้นกําลังจะปลอยงู และแนใจมั่นใจวาตนตองพนอันตรายโดยอุบายอยางนี้ โคตรภูญาณ เปรียบเสมือนการปลอยงูใหพนจากมือของบุรุษนัน้ แลวรีบไปยืนอยูขอบบึง มรรคญาณ เปรียบเสมือนการยืนอยูบนขอบบึงของบุรุษนัน้ ผลญาณเปรียบเสมือนการไปยืนอยูใ นที่ไมมภี ัย อันตรายแลว และปจจเวกขณญาณเปรียบเสมือนการแลดูทางมาของบุรุษ

3 . อุปมาวาดวยเรือนไฟไหม เมื่อเจาของเรือนรับประทานอาหารอิ่มหนําสําราญแลว ก็พากันขึน้ สูที่นอนแลวนอนหลับ ไปอยางสบาย แตระหวางกลางดึกนั้นปรากฏวาเรือนไดเกิดไฟไหมขึ้น พอเจาของบานตืน่ ขึ้นมา และไดเห็นไฟแลว ก็เกิดความหวาดกลัวจึงคิดหาทางออกวา " เราจะตองรีบออกไปเสียจากเรือนนี้ โดยดวน " จึงพิจารณาตรวจตราดู เมื่อเห็นหนทางแลวก็ออกไปยืนอยูในที่ปลอดภัยโดยเร็วพลัน เปรียบเทียบไดดังนี้วา การยึดถือขันธ 5 ของนักปฏิบัตวิ าเปนเราหรือเปนของๆเรานัน้ เปรียบเสมือนการรับประทานอาหารแลวขึน้ สูทนี่ อนแลวก็นอนหลับไป การเจริญวิปส สนาของนัก ปฏิบัติจนพระไตรลักษณปรากฏ และเห็นรูปนามปรากฏเปนของนากลัว เปนของมีโทษ และ เปนของนาเบือ่ หนาย ไดแก ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ เปรียบเสมือนเจาของ เรือนที่ตื่นขึน้ เห็นไฟแลวเกิดความกลัว มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขา ญาณ เปรียบเสมือนการอยากพนจากไฟแลวรีบหาหนทางออกไปจนเห็นลูท างวางใจได วา จะตองปลอดภัยโดยอุบายนี้แน จึงเบาใจไมรอนใจเหมือนกอน อนุโลมญาณเปรียบเสมือนการ แลเห็นทางและแนใจแลววา ทางนี้ปลอดภัยแนนอน โคตรภูญาณเปรียบเสมือนการออกจาก เรือน มรรคญาณเปรียบเสมือนการวิ่งไปโดยเร็ว ผลญาณเปรียบเสมือนการยืนอยูในที่ปลอดภัย และปจจเวกขณญาณเปรียบเหมือนการแลดูทางมาของตน

429 4 . อุปมาวาดวยโค โคของชาวนาคนหนึ่ง เมื่อเจาของนอนหลับไปในเวลากลางคืน ก็ไดทําลายคอกแลว หลบหนีออกไป พอตอนใกลสวางเจาของโคไปยังที่คอกและพบวาโคไดหนีไปแลว จึงออกติดตาม รอยเทาโคและไดพบซึ่งโคของหลวงเขา ก็เกิดความเขาใจผิดคิดวานีเ่ ปนโคของตัวจึงจับจูงกลับมา พอเวลาสวางเห็นโคตัวที่ตนจูงมาไดชัดเจน จําไดวาโคนี้มิใชของตัวแตเปนโคของหลวงตางหาก จึงเกิดความคิดวาถาพวกราชบุรุษยังไมไดจับเราวาเปนโจร ยังไมใหเราถึงความฉิบหายเพียงใด เราจักหนีไปเพียงนัน้ จึงทิง้ โคแลวหนีไปโดยเร็วไปหยุดอยูในที่ซงึ่ พนภัย เปรียบเทียบไดดังนีว้ า การยึดมัน่ ขันธ 5 วาเปนเราหรือเปนของๆเรา เปรียบเสมือนกับการจับโคของหลวงโดยเขาใจผิดคิด วาเปนโคของตนเอง การรูข ันธ 5 วามีแตรูปนามที่เกิดเพราะเหตุปจจัย เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มีแตความเกิดดับและมีแตความดับไปฝายเดียว ไดแก นามรูปปริจเฉทญาณ ปจจัย ปริคคหญาณ สัมมสนญาณ อุทยัพพยญาณ และภังคญาณ เปรียบเสมือนกับการจําไดวา เปนโคของหลวง ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ เปรียบเสมือนเวลากลัวเห็นโทษ และเกิดความเบื่อของชายคนนัน้ มุญจิตกุ ัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณ เปรียบเสมือนความอยากหนีของชายนัน้ หาทางหนีแลวเดินจากไป เหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น อนุโลมญาณเปรียบเสมือนการเตรียมเดินตรงไปตามทางของชายนั้น เพราะรูแนแลววาตองไปทาง นี้ โคตรภูญาณเปรียบเสมือนการสละโค มรรคญาณเปรียบเสมือนการหนีไป ผลญาณ เปรียบเสมือนการหนีไปยืนอยูในทีป่ ลอดภัย และปจจเวกขณญาณเปรียบเสมือนการแลดูทางมา ของตน

5 . อุปมาวาดวยยักษิณี บุรุษคนหนึ่งไดอยูรวมกันกับนางยักษิณี นางยักษิณนี นั้ ครั้นเวลากลางคืน พอรูวา ผัวของ ตนหลับแลว ก็ไปสูปาชาผีดิบเพื่อหาเนื้อมนุษยมากิน เมื่อชายผูเปนผัวตื่นขึ้นมาในกลางดึกและ ไมเห็นนาง จึงไดออกตามหา เมื่อพบนางและไดเห็นนางกําลังกินเนือ้ มนุษยอยู ก็รูวานางนัน้ เปนอมนุษยจงึ เกิดความกลัวแลวรีบหนีไปโดยเร็ว ไปหยุดยืนอยูในทีป่ ลอดภัย เปรียบเทียบได ดังนี้วา การยึดมั่นขันธ 5 วาเปนเราหรือเปนของๆเรา เปรียบเสมือนบุรุษนัน้ ไดอยูรวมกันกับนาง ยักษิณี การเห็นรูปนามขันธ 5 โดยเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไดแก นามรูปปริจเฉทญาณ ปจจัยปริคคหญาณ สัมมสนญาณ อุทยัพพยญาณ และภังคญาณ เปรียบเสมือนการเห็นนาง ยักษิณี ที่กาํ ลังเคี้ยวกินเนือ้ มนุษยอยูในปาชา จึงรูวา เปนนางยักษิณี ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ เปรียบเสมือนเวลากลัวนางยักษิณีเกิดเห็นโทษและเบื่อนางยักษิณี มุญจิ

430 ตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณ เปรียบเสมือนเวลาตองการหนีจากนาง ยักษิณี จึงหาทางหนีแลวทําใจเฉยอยู อนุโลมญาณและโคตรภูญาณ เปรียบเสมือนการละไป จากนางยักษิณี มรรคญาณเปรียบเสมือนการหนีไปโดยเร็ว ผลญาณเปรียบเสมือนการหยุดยืน ในทีพ่ นภัย และปจจเวกขณญาณเปรียบเสมือนการยืนแลดูทางมาของตน

6 . อุปมาวาดวยเด็ก หญิงนางหนึ่งเปนผูรักลูกมาก ระหวางทีน่ างนัง่ อยูบนปราสาทอันเปนที่อาศัยของตนอยู นั้น ก็เกิดไดยินเสียงรองของเด็กที่อยูทา มกลางคนที่สญ ั จรไปมาบนถนน จึงเกิดระแวงวาใคร กระมังที่กาํ ลังเบียดเบียนลูกของเราอยู จึงรีบลงมาโดยเร็วและอุมเอาเด็กที่อยูบนถนนนัน้ ซึง่ เปน ลูกของคนอืน่ ไป โดยเขาใจผิดคิดวาเปนลูกของตน พอนางไดเห็นหนาของเด็กก็รวู า นี้มใิ ชลกู ของ ตน จึงเกิดความกลัวในความผิดที่ตนกระทําลงไปเปนอยางมาก นางจึงเหลียวซายแลขวาดูขาง โนนทีขางนีท้ ีและคิดอยูภายในใจวา " อยาทันใหใครๆกลาวไดวาเราขโมยเด็กเลย " แลวนางก็รีบนํา เด็กกลับไปวางในที่ๆนางนํามานัน้ ตามเดิม เปรียบเทียบไดดังนี้วา การถือขันธ 5 วาเปนเราหรือ เปนของๆเรา เปรียบเสมือนการที่หญิงนัน้ ยึดถือบุตรคนอื่นวาเปนบุตรของตน การเห็นรูปนาม ขันธ 5 โดยเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไดแก นามรูปปริจเฉทญาณ นามรูปปจจัยปริคคห ญาณ สัมมสนญาณ อุทยัพพยญาณ และภังคญาณ เปรียบเสมือนการรูวา นี้เปนบุตรของคน อื่น ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ เปรียบเสมือนความเกรงกลัวตอความผิดทีน่ าง ไดกระทําลงไป มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณ เปรียบเสมือน การแลดูทางโนนทีทางนีท้ ี อนุโลมญาณเปรียบเสมือนการเริ่มวางทารกไวในทีน่ นั้ โคตรภูญาณ เปรียบเสมือนเวลาวางเด็กแลวกําลังอยูระหวางถนน มรรคญาณเปรียบเสมือนการขึ้นสูปราสาท ผลญาณเปรียบเสมือนการขึ้นไปนั่งบนปราสาทแลว และปจจเวกขณญาณเปรียบเสมือนการแลดู ทางมาของตน

นิพพานกถา นิพพาน คือ จุดมุง หมายสูงสุดทางพระพุทธศาสนา ความดับจากรูปนามสังขารทัง้ ปวง ความดับจากกองทุกขทงั้ ปวง เปนผลจากการรูแจงในสิ่งทัง้ ปวงตามความเปนจริง จนสามารถ ถอดถอนรากเหงาของกิเลส ซึง่ เปนสาเหตุของทุกขออกเสียได

431

1 . สภาพของนิพพาน 1.1 สามัญญลักษณะ เมื่อกลาวโดยสามัญญลักษณะ สภาพของนิพพานมีเพียง 1 ประการคือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเปนสิ่งที่วา งเปลา ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไมได ไมมกี ารเกิดแกเจ็บตาย ใดๆทั้งสิ้น แตนิพพานไมมอี นิจจลักษณะ เพราะนิพพานเปนสิ่งที่เทีย่ ง มัน่ คง ยัง่ ยืน ไมแปร ผัน และนิพพานไมมีทกุ ขลักษณะ เพราะนิพพานเปนสิ่งที่ทนอยูได ดวยวาไมมีการเกิดไมมกี าร ดับ และดวยเหตุทนี่ ิพพานเปนสิ่งที่วา งเปลา จึงมีสภาพทีท่ นอยู หรือดํารงคงอยูในสภาพที่วา ง เปลานัน้ ตลอดไป ไมมีอะไรที่จะมาปรุงแตงใหกลายเปนไมวา งได

1.2 วิเสสลักษณะ เมื่อกลาวโดยวิเสสลักษณะ สภาพของนิพพานมีเพียง 3 ประการ ไดแก 1 . มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข เปนลักษณะ 2 . มีความไมแตกดับ เปนกิจ 3 . มีความออกไปจากภพ เปนผล อนึ่ง พระอนุรุทธาจารยไดพรรณนาสภาพของนิพพาน เพื่อแสดงใหรูวานิพพานคืออะไร ไว 5 ประการ โดยประพันธเปนคาถาสังคหะไววา " สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูแสวงคุณอัน ยิ่งใหญ พนแลวจากตัณหาเครื่องรอยรัด ตรัสรูธรรมสวนหนึง่ ธรรมที่ไมตาย ธรรมที่เที่ยง ธรรมที่ปจจัยอะไรๆปรุงแตงไมได ธรรมที่ไมมีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกวา ธรรมนัน้ คือนิพพาน " แปล ความในสภาพของนิพพานออกเปนขอๆได 5 ประการ ดังนี้ 1 . นิพพานเปนธรรมที่ มีอยูโดยเฉพาะและไมคลุกคลีดวยโลกียธรรม 2 . นิพพานเปนธรรมที่ ไมมีความตาย ไมมีความเกิด 3 . นิพพานเปนธรรมที่ เทีย่ ง เพราะกาวลวงขันธ 5 ทัง้ ที่เปน อดีต อนาคต และปจจุบัน 4 . นิพพานเปนธรรมที่ ไมถูกปรุงแตงดวยปจจัยคือไมใช จิต เจตสิก และรูป 5 . นิพพานเปนธรรมที่ ประเสริฐอยางยิง่ ไมมธี รรมใดจะเทียมเทาได

2 . ประเภทของนิพพาน นิพพาน แบงโดยนัยตางๆออกไดมากมายหลายประการ ดังตอไปนี้

2.1 นิพพานที่แบงโดยสภาพ

432 นิพพานที่แบงโดยสภาพมีประการเดียว ไดแก สันติสขุ สงบจากกิเลสและขันธ 5

2.2 นิพพานที่แบงโดยปริยายแหงเหตุ นิพพานที่แบงโดยปริยายแหงเหตุมี 2 ประการ ไดแก 1 . สอุปาทิเสสนิพพาน คือ นิพพานทีก่ ิเลสดับสิ้นอยางเดียว สวนขันธ 5 ยังคงเหลืออยู 2 . อนุปาทิเสสนิพพาน คือ นิพพานทีก่ ิเลสดับสิ้นและขันธ 5 ก็ดับสิ้นแลว

2.3 นิพพานที่แบงโดยอาการที่เขาถึง นิพพานที่แบงโดยอาการที่เขาถึงมี 3 ประการ ไดแก 1 . อนิมิตนิพพาน คือ นิพพานที่เปนอนิมิตตวิโมกข 2 . อัปปณิหิตนิพพาน คือ นิพพานทีเ่ ปนอัปปณิหิตวิโมกข 3 . สุญญตนิพพาน คือ นิพพานทีเ่ ปนสุญญตวิโมกข

2.4 นิพพานที่แบงโดยมรรค นิพพานที่แบงโดยมรรคมี 4 ประการ ไดแก 1 . นิพพานแหงโสดาปตติมรรค 2 . นิพพานแหงสกทาคามิมรรค 3 . นิพพานแหงอนาคามิมรรค 4 . นิพพานแหงอรหัตตมรรค

2.5 นิพพานที่แบงโดยการดับกามคุณ นิพพานที่แบงโดยการดับกามคุณมี 5 ประการ ไดแก 1 . ดับความยินดีในรูป 2 . ดับความยินดีในเสียง 3 . ดับความยินดีในกลิน่ 4 . ดับความยินดีในรส 5 . ดับความยินดีในสัมผัส

2.6 นิพพานที่แบงโดยการดับตัณหา นิพพานที่แบงโดยการดับตัณหาประการมี 6 ประการ ไดแก 1 . การดับตัณหาในรูป 2 . การดับตัณหาในเสียง

433 3 . การดับตัณหาในกลิ่น 4 . การดับตัณหาในรส 5 . การดับตัณหาในสัมผัส 6 . การดับตัณหาในธรรมารมณ

2.7 นิพพานที่แบงโดยชื่อ นิพพานที่แบงโดยชื่อมี 30 ชือ่ ไดแก 1 . อเสสวิราคนิโรโธ เปนธรรมที่ดับทุกขโดยพนจากราคะไมมีเศษเหลือ 2 . อเสสภวนิโรโธ เปนธรรมที่ดับภพไมมเี ศษเหลือ 3 . จาโค เปนธรรมที่สละจากตัณหาทัง้ ปวง 4 . ปฏินิสสัคโค เปนธรรมที่พน จากภพตางๆ 5 . มุตติ เปนธรรมที่พน จากกิเลส 6 . อนาลโย เปนธรรมที่ไมมีความอาลัย 7 . ราคักขโย เปนธรรมที่สน้ิ ราคะ 8 . โทสักขโย เปนธรรมที่สนิ้ โทสะ 9 . โมหักขโย เปนธรรมที่สนิ้ โมหะ 10 . ตัณหักขโย เปนธรรมที่สิ้นตัณหา 11 . อนุปปาโท เปนธรรมที่ดับขันธ 5 12 . อปวัตตัง เปนธรรมที่ดบั รูปนาม 13 . อนิมิตตัง เปนธรรมที่ไมมีสังขารนิมติ 14 . อัปปณิหติ ตัง เปนธรรมที่ปราศจากความตองการ ู สิ้นจากทุกขอยางแทจริง 15 . สุญญตัง เปนธรรมที่สญ 16 . อัปปฏิสนธิ เปนธรรมทีไ่ มปฏิสนธิอีก 17 . อนุปปตติ เปนธรรมที่ไมอุบัติตอไป 18 . อนายูหนัง เปนธรรมทีไ่ มมีความพยายามอีกแลว 19 . อชาตัง เปนธรรมที่ไมมีความเกิด 20 . อชรัง เปนธรรมที่ไมมคี วามแก 21 . อพยาธิ เปนธรรมที่ไมมีความเจ็บปวย 22 . อคติ เปนธรรมที่ไมมที ไี่ ป

434 23 . อมตัง เปนธรรมที่ไมมคี วามตาย 24 . อโสกัง เปนธรรมที่ไมมคี วามโศกเศรา 25 . อปริเทวะ เปนธรรมที่ไมมีการรองร่ําไรรําพัน 26 . อนุปายาส เปนธรรมที่ไมมีการคับแคนเหือดแหง 27 . อสังกิลีฏัฐ เปนธรรมทีไ่ มมีความเศราหมอง 28 . อสังขตัง เปนธรรมที่ไมมีปจจัยปรุงแตง 29 . นิวานัง เปนธรรมทีพ่ น จากเครื่องรอยรัด 30 . สันติ เปนธรรมที่สงบสุขจากทุกขทงั้ ปวง

™™™™

435

DGDGDGDGD

ภาคผนวก DGDGDGDGD

436

ภาคผนวก กายวิภาคของมนุษย มันสมอง

ปอด

หัวใจ มาม กระเพาะ ไสใหญ

ตับ ถุงน้ําดี ไสนอย ไต

ตับออน

437

โครงกระดูก

438

บรรณานุกรม 1 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 1 จิตตสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 2 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 2 เจตสิกสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 3 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 3 ปกิณณกสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 4 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 4 วิถสี ังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 5 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 5 วิถมี ุตตสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 6 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 6 รูปสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 7 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 7 สมุจจยสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 8 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 8 ปจจยสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 9 . พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ 9 กรรมฐานสังคหวิภาค : พระสัทธัมมโชติกะ : มหาจุฬาฯ 10 . พระไตรปฏก ภาษาไทย เลมที่ 35 วิภงั คปกรณ : มหามกุฏฯ 11 . พุทธธรรม ฉบับขยายความ : พระธรรมปฏก ป.อ.ปยุตโต : มหาจุฬาฯ 12 . พระคัมภีรวิมุติมรรค : พระอุปติสสเถระ : ศยาม 13 . สมถกรรมฐาน : สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส : มหามกุฏฯ 14 . วิปสสนากรรมฐาน : สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส : มหามกุฏฯ 15 . วิปสสนาชุนี : พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ) : กองทุนธรรมจักร 16 . ตามรอยพระอรหันต : พุทธทาส อินทปญโญ : ธรรมสภา 17 . ภูมิวิลาสินี : พระศรีวิสทุ ธิโสภณ : วัดปทุมคงคาฯ 18 . วิปสสนากรรมฐานทีปนี : พระศรีคัมภีรญาณ (ถวัลย ญาณจารี) : วัดระฆังโฆสิตารามฯ 19 . วิปสสนาภาวนา : พระศรีวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวัณโณ) : วัดโสมนัสวิหารฯ 20 . มหาสติปฏ ฐานสูตร - คิริมานนทสูตร : สมเด็จพุทธโฆษาจารย (ญาณวรเถร) : มหามกุฏฯ 21 . พระไตรปฏกสําหรับประชาชน : สุชีพ ปุญญานุภาพ : มหามกุฏฯ 22 . พระไตรปฏก ภาษาไทย เลมที่ 11 ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค : มหามกุฏฯ 23 . พระไตรปฏก ภาษาไทย เลมที่ 23 อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต : มหามกุฏฯ 24 . พระไตรปฏก ภาษาไทย เลมที่ 14 มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก : มหามกุฏฯ 25 . โสฬสปญหา : สมเด็จพระสังฆราช ( สา ปุสสเทวะ ) : ธรรมสภาแหงวัดราชประดิษฐฯ

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF