คัมภีร์ฉันทศาสตร์

January 6, 2017 | Author: Jatuporn Panusnothai | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download คัมภีร์ฉันทศาสตร...

Description

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ โดย

อาจารย์จตุพร พนัสโณทัย

คัมภีร์ฉันทศาสตร์  พระยาวิชยาธิบดี (กล่ อม) เจ้ าเมืองจันทบูรณ์ ผู้เรียบเรียง  กล่ าวถึง บทไหว้ ครู จรรยาแพทย์ ธาตุสมุฏฐาน

กาลสมุฏฐาน ลักษณะชีพจร ลักษณะนา้ นมดีและชั่ว ซาง ไข้ ทับ ป่ วง สั นนิบาตสองคลอง มรณญาณสู ตร

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ 

เป็ นคัมภีร์ที่กล่าวถึงโอกาสของแพทย์ 3 ประการ ทับ 8 ประการ ลักษณะของไข้พิษและไข้กาฬ รสยา 9 รส ประเภทคุณลักษณะ ลักษณะน้ านมดีและน้ านมชัว่ ลักษณะไข้ วัน เวลา ที่ไข้กาเริ บ กาลัง ของธาตุ ลักษณะของไข้เอกโทษ ทุวนั โทษ ตรี โทษ ลักษณะของ ไข้สันนิบาตและไข้สัมประชวร ป่ วง 8 ประการ อาการของธาตุท้ งั 4 แตก อติสาร 5 ประการ

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ 

ตาราแพทย์โดยรวม ผูท้ ี่เป็ นแพทย์น้ นั พึงรักษาศีลและมีจรรยาบรรณในอาชีพของตน เป็ นผูท้ ี่มอบความรักและเป็ นผูท้ ี่เสี ยสละแก่เพื่อนมนุษย์ โดยไม่เลือก ชั้นวรรณะโดยไม่หวังสิ่ งตอบแทน แพทย์ที่ทาได้เช่นนี้เมื่อสิ้ นอายุขยั ในโลกมนุษย์แล้วก็จะได้ไปจุติบนสรวงสวรรค์ ส่ วนแพทย์ที่ขาด จรรยาบรรณตายไปแล้วก็จะไปเสวยทุกข์ทรมานอยูใ่ นนรก

ประเภทของไข้ ต่างๆ 

ลักษณะของไข้ ซึ่งเมื่อเวลาจับ และกาลังวัน จะบอกว่า ไข้น้ นั เป็ นไข้ ประเภทใด มี 3 สถาน คือ 1. ไข้ เอกโทษ เริ่ มจับเวลายา่ รุ่ ง ถึง บ่าย 2 โมง แล้วไข้น้ นั จะค่อย ๆ คลาย 2. ไข้ ทุวนั โทษ เริ่ มจับเวลายา่ รุ่ ง ถึง 2 ทุ่ม แล้วไข้น้ นั จะค่อยๆ คลายลง 3. ไข้ ตรีโทษ เริ่ มจับเวลายา่ รุ่ งถึงตี 2 แล้วต่อถึงรุ่ งเช้า แล้วไข้น้ นั จะค่อย ๆ สร่ างคลายลง

ประเภทของไข้ ต่างๆ 

ลักษณะของวันเวลา ที่ไข้กาเริ บ มี 4 สถาน คือ 1. กาเดา กาเริ บ 4 วัน 2. เสมหะ กาเริ บ 9 วัน 3. โลหิต กาเริ บ 7 วัน 4. ลม กาเริ บ 13 วัน

ประเภทของไข้ ต่างๆ กาลังของธาตุกาเริบ มี 4 สถานคือ 1. ตติยะชวร คือนับจากวันที่ไข้ ไปจนถึง 4 วัน 2. ดรุณชวร คือนับจากวันที่ 5 ไปถึงวันที่ 7 รวม 3วัน 3. มัธยมชวร คือนับจากวันที่ 8 ไปถังวันที่ 15 รวม วัน 4. โบราณชวร คือนับจากวันที่ 16 ไปถึงวันที่ 17 รวม 2 วัน  ต่อไปจากนี้ ธาตุต่างๆ ได้พิการไปแล้วโดยไม่มีกาหนด วันเวลาว่า นานเท่าไร ระยะนี้เราเรี ยกว่า จัตตุนันทชวร 

ไข้เอกโทษ 1  กาเดาสมุฎฐาน  มีอาการจิตให้ฟงซ่ ุ้ าน ปวดหัว คลุม้ คลัง่ จิตหวัน่ ไหว ตัวร้อน

จัด นัยน์ตา เหลือง แต่ปัสสาวะแดง อาเจียนมีสีเหลือง กระหายน้ า ปากขม น้ าลายแห้ง ผิวหนังแตกระแหง ผิวหน้า แดง ตัวเหลือง กลางคืนนอนไม่หลับ เวลาจับ จิตใจมักเคลิ้ม หลงใหล น้ าตาไหล

ไข้เอกโทษ 2  เสมหะสมุฎฐาน  มีอาการหนาวมาก ขนลูกชันทัว่ ตัว จุกในอก แสยงขน กิน

อาหารมิได้ ปาก หวาน ปัสสาวะเหลือง ผิวตัวแดง ฟันแห้ง ลิ้นคางแข็ง ปากแห้ง น้ าลายเหนียว

ไข้เอกโทษ 3  โลหิตสมุฎฐาน ( ไข้ เพือ่ โลหิต)  มีอาการตัวร้อนจัด ปวดหัว กระหายน้ า เจ็บตามเนื้ อตามตัว

ปัสสาวะเหลือง ผิวตัวแดง ฟันแห้ง ลิ้นคางแข็ง ปากแห้ง น้ าลายเหนียว

ไข้ ทุวนั โทษ 1  ทุวน ั โทษ ลม และกาเดา  มีอาการจับหนาวสะท้าน ตัวร้อนจัด กระหายน้ า เหงื่อตก

จิตใจระส่ าระสาย วิงเวียน ปวดหัวมาก

ไข้ ทุวนั โทษ 2  ทุวน ั โทษ กาเดา และเสมหะ  มีอาการหนาวสะท้าน แสยงขน จุกแน่นในอก หายใจขัดไม่

สะดวก เหงื่อตก ปวดหัว ตัวร้อน

ไข้ ทุวนั โทษ 3  ทุวน ั โทษ ลม และเสมหะ  มีอาการหนาว ต่อมาจะรู ้สึกร้อน( ร้อนๆ หนาวๆ ) วิงเวียน

เหงื่อไหล ปวดหัว นัยน์ตามัว ไม่ยอมกินอาหาร

ไข้ ทุวนั โทษ 4  ทุวน ั โทษ กาเดา และโลหิต  มีอาการนอนไม่หลับ ตอนกลางคืน แต่พอหลับตา มักจะเพ้อ

ปวดหัวมาก จิตใจกระวนกระวาย ร้อนในกระหายน้ า เบื่อ อาหารไม่ยอมกิน

ไข้ ตรีโทษ 1  ตรีโทษ เสมหะ กาเดา และลม  มีอาการ เจ็บตามข้อทัว่ ทั้งลาตัว

ร้อนใน กระหายน้ า จิตใจ ระส่ าระสาย เหงื่อไหลโทรมทัว่ ตัว ง่วงนอน

ไข้ ตรีโทษ 2  ตรีโทษ กาเดา โลหิต และลม  มีอาการ ปวดเมื่อยทั้งตัว ปวดหัวมากที่สุด เกิดวิงเวียน หนัก

หัว หนาวสะท้าน ไม่ใคร่ รู้สึกตัว เหม็นเบื่ออาหาร เซื่อมซึม ง่วงนอน

ไข้ ตรีโทษ 3  ตรีโทษ โลหิต เสมหะ และกาเดา  มีอาการเร่ าร้อน กระหายน้ า กลางคืนหลับไม่สนิ ท จิตใจ

ระส่ าระสาย เหงื่อตก หน้าเหลือง อาเจียนเป็ นสี เหลือง มี โลหิ ต นัยน์ตาแดงจัด

ไข้ ตรีทูต ถ้าหากกาเดา เสมหะ โลหิ ต และลม 4 ประการนี้ รวมกันให้โทษ 4 อย่าง คือ  ตัวแข็ง หายใจขัด ชักคางแข็ง ลิ้นแข็ง ท่านเรี ยกโทษนี้ วา่ มรณชวร หรื อ ตรีทูต 

ไข้ สันนิบาต 1 

ไข้ได ให้มีอาการตัวร้อน กระหายน้ า หมดแรง ปากแตกระแหง นัยน์ตาแดง เจ็บไปทัว่ ตัว ชอบ อยูใ่ นที่เย็นๆ

ไข้ สันนิบาต 2  ไข้ ใดให้ มีอาการตัวเย็น ชอบนอน เบื่ออาหาร เจ็บในคอ และ

ลูกตา นัยน์ ตาแดงจัด เจ็บหูท้งั ซ้ ายขวา

ไข้ สันนิบาต 3  ไข้ใดให้มีอาการสะบัดร้อนสะบัดหนาว ปวดฟัน เจ็บในคอ

ขัดหน้าอก กระหายน้ ามาก ไม่มีแรง อ่อนเพลีย ปัสสาวะ และ อุจจาระไม่ใคร่ ออก

ไข้ สันนิบาต 4  ไข้สน ั นิบาตโลหิ ต คือ

ไข้ใดให้มีอาการเจ็บที่สะดือ แล้วลาม ขึ้นไปข้างบน วิงเวียน หน้ามืด เจ็บที่ทา้ ยทอย (กาดัน) ขึ้นไป ถึงกระหม่อม สะบัดร้อน สะบัดหนาว ท้องอืดแน่น อาการ เช่นนี้ ท่านเรี ยกว่าเป็ น สันนิบาตโลหิ ต

ไข้ สันนิบาตปะกัง  ไข้ใดให้เห็นฝี เม็ดสี แดงผุดทัว่ ตัว มีอาการปวดหัว เมื่อตอน

พระอาทิตย์ข้ ึน ไข้น้ ีเรี ยกว่า ไข้สนั นิบาตปะกัง

ไข้ ตรีโทษ  ไข้ใดเมื่อพิศดูรูปร่ างแล้ว มีลายตามตัว มีอาการเพ้อละเมอไป

ผูอ้ ื่นพูดว้ ยไม่ได้ยนิ เสี ยง (หูอ้ือ) เรี ยกว่า ไข้ตรี โทษ

ไข้ ที่เกิดจากลมและเสมหะระคนกัน  ไข้ใดมีอาการหนาวสะท้าน เกียจคร้าน วิงเวียน ปวดหัว แสยง

ขน กระหายน้ า เจ็บบริ เวณเอว และ ท้องน้อย ในปากคอ และ น้ าลายแห้ง นอนหลับมักลืมตา ทั้งนี้เพราะลมและเสมหะ ระคนกัน

ไข้ ที่เกิดจากเสมหะและดีระคนกัน  ไข้ใดให้มีอาการหน้าแดง ผิวหน้าแห้ง กระหายน้ า นอนไม่

หลับ อาเจียน และ ปัสสาวะออกมามีสี เหลือง มักหมดสติไป ไข้น้ ีท่านว่า เสมหะระคนกับดี

ไข้ ที่เกิดจากลมและกาเดา  ไข้ใดให้มีอาการท้องขึ้น วิงเวียน สะอึก และอาเจียน ไข้น้ ี เป็ น

โทษลมและเสมหะกระทา

ไข้ ที่เกิดจากเลือดลมและนา้ เหลือง  ไข้ใดที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนแต่น้ าลาย ไข้น้ ี ท่านว่าเลือดลม

และน้ าเหลืองเข้ามาระคนกัน

ไข้ เพือ่ ดี  ไข้ใดให้มีอาการขมในปาก เจ็บหัว นอนมาก และเจ็บตามตัว

โทษนี้เกิดจากเป็ นไข้เพื่อดี

ไข้ เพือ่ กาเดา  ไข้ใดให้มีอาการปวดหัว อาเจียน นอนไม่หลับ กระหายน้ า

เจ็บในปากและในคอ หรื อไข้ใดให้มี อาการเจ็บนัยน์ตา หัว ร้อนดังกระไอควันไฟ ท่านว่า กาเดาให้โทษ

ไข้ เพือ่ โลหิต 

ไข้ใดให้มีอาการเจ็บแต่ฝ่าเท้า และร้อนขั้นไปทัว่ ตัว ให้เร่ งรักษาแต่ ภายในกลางคืนนั้น อย่าให้ทนั ถึงรุ่ งเช้า จะมีอนั ตราย มีอาการเจ็บมาก ที่หน้าผาก จิตใจกระวนกระวาย ท่านว่า เป็ นไข้เพื่อโลหิ ต

ไข้ เพือ่ เสมหะ  ไข้ใดให้มีอาการ นอนฝัน เพ้อ น้ าลายมากในปาก มือและเท้า

เย็น อยากกินอาหารคาวหวาน มือและเท้ายกไม่ข้ ึน สะบัดร้อน สะบัดหนาว โทษนี้เสมหะกระทา

ไข้ เพือ่ ลม 1  ไข้ใดให้มีอาการ ขมในปาก อยากกินแต่ของแสลง เนื้ อสัน ่

ระริ ก และเสี ยวไปทั้งตัว เจ็บไป ทั้งตัว จุกเสี ยด หรื อ

ไข้ เพือ่ ลม 2  ไข้ใดให้มีอาการหนาวสะท้าน บิดขี้เกียจ ยอกเสี ยดในอก ท่าน

ว่า เป็ นไข้เพื่อวาตะ ลม) หรื อ

ไข้ เพือ่ ลม 3  ไข้ใดให้มีอาการหนาวสะท้าน อาเจียน แสยงขน ปากหวาน

เจ็บไปทัว่ ตัว อยากนอนตลอด เวลา เบื่ออาหาร หรื อ

ไข้ เพือ่ ลม 4  ไข้ใดให้มีอาการสะอึก อาเจียน และร้อนรุ่ มกลุม้ ใจ ท่านว่า

เป็ นไข้เพื่อลม

ไข้ เพือ่ ลม 5  ไข้ใดให้หมอดูร่างกาย เศร้าดา ไม่มีราศี ไอ กระหายน้ า ฝาด

ปาก เจ็บอก หายใจขัด เพราะในท้องมีกอ้ นๆ ทั้งนี้เป็ นไข้เพื่อ ลม

ไข้ เพือ่ กาเดา  ไข้ใดให้มีอาการเจ็บตามผิวหนัง ปั สสาวะเหลือง ร้อนใน

กระวนกระวาย ชอบอยูใ่ นที่เย็น นัยน์ตาแดง ลงท้อง กระหาย น้ า ทั้งนี้เป็ นไข้เพื่อกาเดา

ไข้ ลาประชวร  ผูใ้ ดมีอาการเป็ นไข้เรื้ อรัง มาเป็ นเวลานานๆ รักษาไม่หาย ทา

ให้ร่างกายซูบผอม ไม่มีแรง เบื่อ อาหาร ไข้น้ ีจะเนื่องมาจาก ไข้เพื่อเสมหะ โลหิ ต ดี กาเดา หรื อลม เป็ นเหตุกต็ าม ให้ แพทย์สงั เกตดูที่นยั น์ตาของ คนไข้ จะรู้ได้วา่ คนไข้น้ นั เป็ นไข้ เพื่ออะไร ซึ่งมี 5 ประกอบด้วยกัน คือ

ไข้ เพือ่ กาเดา  มีอาการ ปวดหัวตัวร้อน สะท้านร้อนสะท้านหนาว ไม่มีน้ าตา

ปากคอ แห้ง กระหายน้ า นัยน์ตาแดงดังโลหิ ต

ไข้ เพือ่ โลหิต  มีอาการปวดหัวตัวร้อน หน้าแดง นัยน์ตาแดง มีน้ าตาคลอ

นัยน์ตาแดง ดังโลหิ ต

ไข้ เพือ่ เสมหะ  มีอาการหนาว แสยงขน ขนลุกทัว่ ตัว หรื อไม่ร้อนมาก นัยน์ตา

เหลือง ดังขมิ้น

ไข้ เพือ่ ดี  มีอาการตัวร้อน เพ้อคลัง่ ปวดหัว กระหายน้ า ขอบนัยน์ตาสี

เขียว เป็ นแว่น

ไข้ เพือ่ ลม  มีอาการวิงเวียน หน้ามืด ตัวไม่ร้อน นัยน์ตาขุ่นคล้ า และมัว

อีกพวกหนึ่ง นัยน์ตาไม่สู้แดงนัก ( แดงเรื่ อๆ) ถ้าเป็ นกับชาย เกิดจากเส้นอัมพฤกษ์ ถ้าเป็ นกับหญิง เกิดจากเส้นปั ตคาด

ไข้ เพือ่ ลมและเสมหะ  ไข้ใดให้มีอาการปวดหัวมาก ไอ หาวนอน บิดตัวเกียจคร้าน

เหงื่อไหล ทั้งนี้ เป็ นเพราะถูกลม เสมหะ มาระคน

ไข้ เพือ่ เสมหะและกาเดา  ไข้ใดให้มีอาการซึ มมัว กระหายน้ า ขมปาก ท้องร้อง เจ็บตาม

ตัว เหงื่อไหล ไอ ตัวไม่ร้อน เป็ น ปกติ ทั้งนี้เป็ นเพราะเสมหะ และกาเดา

ไข้ ตรีโทษ  มีโทษ 3 ประการ คือ เจ็บไปทั้งตัว นอนไม่หลับ และเบื่อ

อาหาร อาการ 3 ประการนี้ จะเกิดขึ้น ในขณะอยูใ่ นทุวนั โทษ ซึ่งแพทย์พอรักษาได้

ไข้ สันนิบาต  ไข้ใดให้มีอาการไอแห้ง หอบ มีเสมหะในคอ เล็บมือและเล็บ

เท้าเขียว นัยน์ตาสี เขียว มีกลิ่นตัว สาบ ดังกลิ่นสุ นขั แพะ แร้ง หรื อนกกา โกรธง่าย เรี ยกว่า ไข้สนั นิบาต มักถึงที่ตาย

ลักษณะไข้ แห่ งปถวีธาตุ ลักษณะไข้ แห่ งปถวีธาตุ คือไข้ใดเมื่อล้มไข้ลงได้ 1-2 วัน ให้มีอาการ เชื่อมมัว หมดสติ ไม่ถ่ายอุจจาระ ถ่ายยาก็ไม่ออก ไม่กิน อาหาร แต่ อาเจียนออกมา ถ้าอาการเหล่านี้ยนื นานไปถึง 10-11 วัน ท่านว่า ตาย เพราะเป็ นลักษณะแห่งปถวีธาตุ  28. ลักษณะไข้ แห่ งวาโยธาตุ คือ ไข้ใดเมื่อล้มไข้ลงได้ 3-4 วัน ให้ มีอาการนอนสะดุง้ หมดสติ เพ้อ เรอ อาเจียนแต่น้ าลาย มือและ เท้า เย็น โรคนี้ตาย 2 ส่ วน ไม่ตาย 1 ส่ วน ทั้งนี้เป็ นโทษแห่งวาโยธาตุ ถ้า แก้มือเท้าเย็นให้ร้อนไม่ได้ อาการจะทรง เรื้ อรังไปถึง 9 วัน 10 วัน จะตายอย่างแน่แท้ 

ลักษณะไข้ แห่ งปถวีธาตุ  ไข้ใดเมื่อล้มไข้ลงได้ 1-2 วัน ให้มีอาการเชื่อมมัว หมดสติ ไม่

ถ่ายอุจจาระ ถ่ายยาก็ไม่ออก ไม่กิน อาหาร แต่อาเจียนออกมา ถ้าอาการเหล่านี้ยนื นานไปถึง 10-11 วัน ท่านว่าตาย เพราะ เป็ นลักษณะแห่งปถวีธาตุ

ลักษณะไข้ แห่ งเตโชธาตุ  ไข้ใดเมื่อล้มไข้ลงได้ 3-4 วัน มีอาการร้อนไปทั้งตัว ทั้ง

ภายนอก ภายใน ทุรนทุราย หัวใจสับสน ต้องใช้น้ าเช็ดตัวไว้ เสมอ ลิ้นแห้ง คอแห้ง แห้งในอก กระหายน้ า คลัง่ ไคล้ หมด สติไป ให้เจ็บโน่น เจ็บนี่ทวั่ ร่ างกาย คล้ายคนมีมารยา อยากกิน ของแสลง ดุจผีปอป(ฉะมปอป) อยูภ่ ายใน โทษนี้ คือโทษ แห่งเตโชธาตุ ถ้าแก้ความร้อน ไม่ตก และอาการยืนอยูต่ ่อไป 7-8 วัน ต้องตายแน่

ประเภทของไข้ ทับสลับกัน  ต่อไปนี้ ขอให้แพทย์ให้จาไว้ให้แม่นยาว่า ไข้เอกโทษ ทุวน ั

โทษ และไข้ตรี โทษนั้น ถ้ามีการทับสลับกัน ทา ให้มีอาการ ผิดแปลกไปดังต่อไปนี้

ลมเป็ นเอกโทษ ลมเป็ นเอกโทษ มักจะเกิดกับบุคคลอายุ 50 ปี ขึ้นไป ในฤดูวสั สานฤดู เริ่ มแต่หวั ค่า ให้สะท้านร้อน สะท้าน สะท้านหนาว ปากคอ เพดาน แห้ง เจ็บไปทุกเส้นเอ็น ทัว่ ตัว (ปวดเมื่อย) เป็ นพรรดึก นอนไม่หลับ จับแต่หวั ค่า และ จะค่อยๆ คลายลงภายใน 4 นาที  ถ้าไข้น้ น ั ไม่คลายไป จนถึงเที่ยงคืน ก็จะเข้าเป็ น ทุวนั โทษ เกิดเป็ น เสมหะกับลม และถ้าไข้น้ นั ยังไม่คลาย จับต่อ ไป ถึงยา่ รุ่ งตลอดไปถึง เที่ยงวัน เรี ยกว่า ตรี โทษ ประชุมกันเป็ นสันนิบาต  ถ้าลมเป็ นเอกโทษ พ้น 7 วัน จึงวางยา ถ้าไม่ถึง 7 วัน ไข้น้ น ั กาเริ บ คือไข้ยงั จับต่อไปอีก ให้แพทย์รีบ วางยา 

ดีเป็ นเอกโทษ มักเกิดกับบุคคลอายุ 30-40 ปี ไข้จะเกิดในคิมหันตฤดู เริ่ มแต่เที่ยง วัน มีอาการตัวร้อน คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ า กระวนกระวายใจ มึนซึม ในคอมีเสมหะ อุจจาระ ปัสสาวะมี สี เหลืองปนแดง เหงื่อไหล เรี ยกว่าเอกโทษดี จับแต่เที่ยงไป 5 นาที ก็จะคลาย  ถ้าดีเป็ นเอกโทษ จับไข้ยงั ไม่คลาย จับไปจนถึงค่าก็เข้าเป็ นทุวน ั โทษ เกิดเป็ นลมระคนดี  ถ้าไข้น้ น ั ยังไม่คลาย ลงจนถึงเที่ยงคืน และจับต่อไปจนรุ่ งเช้า ท่านว่า เป็ นสันนิบาตตรี โทษ ให้รีบวางยา  ท่านว่า ถ้าจับเอกโทษดี เริ่ มจับแต่เที่ยงวันเป็ นต้นไป 4-5 นาที ก็จะ สร่ างคลาย กาหนด 9 วัน จึงวางยา 

เสมหะเป็ นเอกโทษ ใน เหมันตฤดู เริ่ มจับแต่เช้าตรู่ ตอนไก่ขนั มีอาการร้อนข้างนอกกาย แต่ภายในหนาว แสยง ขน ไอ คอตีบตื้น กินอาหารไม่ลง เชื่อมมัว ปากหวาน นัยน์ตา ขาว อุจจาระ ปัสสาวะ ขาว ไข้จบั แต่เช้าตรู่ ไป 5 นาที เรี ยกว่า เสมหะเอกโทษ  ถ้าไข้ยงั ไม่สร่ างคลายไปจนถึงเที่ยงวันจนถึงบ่าย 5 นาที ดีจะ มาระคนกับเสมหะ และถ้าไข้ยงั จับต่อไปอีก จนถึง เย็นค่า และต่อไปเป็ นสันนิบาตโทษ  มักเกิดกับบุคคลอายุ 15 ปี

ทุวนั โทษเสมหะและดี  เกิดกับบุคคลอายุอยูใ่ นปฐมวัย คือ ภายใน 16 ปี

เป็ นไข้ใน คิมหันตฤดู มีเสมหะ เป็ นตันไข้ และดีเข้ามาระคนเป็ น 2 สถาน ทาให้มีอาการสะท้านร้อนสะท้านหนาว ในปากและคอ เป็ นเมือก กระหายน้ า หอบ ไอ เชื่อมมัว ตัวหนัก ไข้เริ่ มจับแต่ เช้าตรู่ จะสร่ างคลาย ตอนบ่าย 3 นาฑี

ทุวนั โทษดีและลม  เกิดกับบุคคลอายุ 30-40 ปี

วสันตฤดู มีดีเป็ นต้นไข้ เริ่ มจับ ตั้งแต่ เที่ยงวันไปจนถึง เย็น ค่า จึงจะสร่ างคลาย มีอาการเซื่อม มัว ปวดเมื่อยตามข้อ หาว อาเจียน ปากและคอแห้ง ขนลุกขน พอง มักสะดุง้ ตัวร้อน ทั้งนี้เป็ นเพราะลมเข้าระคนกันเป็ นทุ วันโทษ

ทุวนั โทษลมและเสมหะ  เกิดกับบุคคลอายุ 40-50 ปี

(เหมันตฤดู) มีอาการหนักตัว ไอ ปวดหัว เมื่อยตามมือและเท้า มีลมเป็ นต้นไข้ เริ่ มจับแต่ ตอนค่า ไปจนถึงรุ่ งเช้า จะสร่ างคลายลง มีอาการร้อนรน ภายใน เหงื่อไม่มี ข้างนอกเย็น ทั้งนี้เป็ นเพราะลม และเสมหะ คนกันเป็ น ทุวนั โทษ

โทษสันนิบาต  จะเกิดระหว่างฤดู 3 หรื อฤดู 6 ก็ตาม ให้กาหนดในตอนเช้า

เป็ นต้น ไข้กาเริ บเรื่ อยไปจนถึงเย็นและ เที่ยงคืน ท่านว่าไข้ นั้นตกถึงสันนิบาต เหงื่อออกมาก นัยน์ตาเหลือง บางทีแดง นัยน์ตาถลน มองดูสิ่งใดไม่ชดั ดูดุจคนบ้า หูปวดและตึง คัน เพดาน หอบและหายใจสะอื้น ลิ้นปากเป็ นเม็ดเน่าเหม็น ลิ้น บวมดา เจ็บในอก หัวสัน่ เวลาหลับตาแต่ใจไม่หลับ ลุกนัง่ ไม่ ไหว พูดพึมพา อุจจาระบางทีเขียว บางทีดา กะปริ ดกะปรอย รอบๆ ข้อมือมีเส้น มีลายสี เขียว สี แดง ถ้าเส้นสี เขียวมีตามตัว ท้องขึ้น ผะอืดผะอม มีลมในท้อง ท่านว่าธาตุไฟทั้ง 4 นั้นดับ สิ้ น จากกาย

ประเภทของไข้ ต่างๆ  

 

ถ้าผูใ้ ดป่ วยเข้าขั้นสันนิบาต มีอาการบวมที่ตน้ หู จะตายใน 7 วัน ถ้าบวมที่นยั น์ตา จะตาย ภายใน 7 วัน ถ้าบวม ที่ปากจะตาย ภายใน 7 วัน จงจาไว้วา่ ถ้าทุวนั โทษลมและเสมหะ อันใดอันหนึ่ง จะกล้าหรื อจะหย่อน เราจะรู ้ได้จาก อาการ คือ ถ้าลมกล้า จะมีอาการท้องผูก ปวดเมื่อยตามข้อ ปวดหัว หมดแรง ถ้าเสมหะกล้า จะมีอาการ เป็ นหวัด ไอ ลุกนัง่ ไม่สะดวก หนักตัว ถ้าดีกล้า จะจับแต่เที่ยงไปถึงบ่าย และไข้ จะค่อยคลายหายไป ถ้ามีอาการเชื่อมมัว อาเจียน คลื่นไส้ แสดงว่า ดีมีกาลังกล้า ถ้ามีไข้แต่เช้ามืด ถึง 3 โมง เชื่อมมัว ตึงตามตัว ตัวหนัก จะนอนไม่ใคร่ หลับสนิท ไอ คือ เสมหะ ให้โทษกล้า กว่าดี

ประเภทของไข้ ต่างๆ 

 



ทุวนั โทษดีและลม ถ้าลมกล้า จะมีอาการจับไข้แต่บ่าย 3 โม. มีอาการเชื่อมมัว หาวเป็ น คราวๆ นอนไม่หลับ จนถึงเวลาพลบค่า จึงสร่ างคลาย คนไข้จะหลับสนิท ถ้าดีมีกาลังกล้า จะเริ่ มจับไข้แต่เที่ยงไป จะมีอาการซวนเซ เมื่อลุกนัง่ หรื อยืน ตัวร้อน อาการนี้ จะมีไปถึงบ่าย 5 นาที จะสร่ างคลาย สันนิบาต มี 3 สถาน คือ ดีเสมหะ และลม ทุวนั โทษดีและเสมหะ มีลมมาแทรก ทาให้แรงขึ้น คือ ตั้งแต่บ่าย 5 นาที ถึงสมยาม มีอาการ เชื่อมมัว มันตึงตาม ตัว หลับหรื อตื่นไม่รู้สึกตัว มักนอนสะดุง้ หูตึง ทั้งนี้เพราะลมมีกาลังกล้า มันจะพัดไปตามหู ตาและคอ ถ้าเสมหะกล้า จะเริ่ มจับแต่บ่าย 5 นาที ไปจนถึงพลบค่า ต่อไปจนถึงสว่าง 3 นาที เช้า อาการจะสร่ างคลาย ลง อาการนั้นมีดงั นี้คือ ลุกนัง่ ไม่สะดวก หอบบ่อยๆ คลื่นไส้ ถ่ม น้ าลาย หนักตัว ตึงผิวหนัง ปากลิ้นเป็ นเมือก

ประเภทของไข้ ต่างๆ 

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เป็ นตาราแพทย์ที่เรี ยบเรี ยงขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาล ที่ 5 แต่เป็ นร้อยกรองทั้งเล่ม เนื้อหากล่าวถึงการไหว้ครู จรรยาแพทย์ รวมถึงประมวลการเกิด และการรักษาโรคต่างๆ โดยนาเนื้อหามาจาก คัมภีร์เล่มอื่นๆ กล่าวได้วา่ คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์เป็ นตาราที่ให้เห็น ความสาคัญของผูป้ ระกอบอาชีพเป็ นแพทย์เป็ นอย่างมากในปัจจุบนั

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF