2012-04-10 LA 331 final สรุปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน

October 8, 2017 | Author: Nami Vanajak | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

สรุปกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน...

Description

As of 10 Apr 2012

1

สรุ ปสาระสาคัญเฉพาะบางมาตรา – LA 331 กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน (อ.เสาวนีย์ / อ.สหธน / อ.กมลวรรณ) สอบวันจันทร์ ท่ ี 30 เมษายน 2555 เวลา 17.30 – 20.30 น.  



อ.เสาวนีย์ ออกภาพรวม ม.900 ม.901 ม.902 และดูไปถึง ม.915 / ผูท้ รง และลายมื อปลอม มักออก ม.905 ด้วย แต่ปีนีน้ ่าจะเป็ นของ อ.กมลวรรณ ซึ่งโยงไปเรื ่องการใช้เงิ นตามเช็ค อ.สหธน (ดูข้อสอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่ตอ้ งเขี ยนเยอะ ตรงประเด็น อย่าอ้อม ฟั นธงแล้วให้เหตุผลทีหลังได้ เขี ยนประเด็นหลักๆ / keyword และขี ดเส้นใต้) – รายการตามตัว๋ โยงไปถึงเรื ่องดอกเบีย้ (ดอกเบีย้ หน้าตัว๋ ต่างกับดอกเบีย้ ผิ ดนัดอย่างไร) / วันถึงกาหนดใช้เงิ น 4 ประเภท ม.913 ม.941 ม.960 ม.973 แยกระหว่างตัว๋ ทวงถามและตัว๋ เมื ่อได้เห็น / ม.915 แยกแยะให้ออก / ม.916 หลักตราสาร เปลีย่ นมื อ / ม.917 ว.2 ตัว๋ ห้ามเปลีย่ นมื อ / การสลักหลังแบบมี เงือ่ นไข ห้ามโอนต่อ / แยกระหว่างผูร้ บั รองมี ความรับผิ ดแตกต่างจากลูกหนีอ้ ืน่ อย่างไร ม.937 / ตัว๋ รับรองแตกต่างจากตัว๋ อาวัลอย่างไร / ลักษณะพิ เศษของตัว๋ สัญญาใช้เงิ นเป็ นอย่างไร / อายุความ ม.1001 ม.1002 / แม้ไม่ได้ทาตามวิ ธีการตามตัว๋ ก็ยงั ไม่สิ้นสิ ทธิ ไล่เบีย้ ม.1005 / การอาวัล – ไม่ออก สอดเข้าแก้หน้า ตัว๋ เป็ นสารับ อ.กมลวรรณ – ออกบทบัญญัติทวั่ ไป จนถึง ม.908 แต่หลัง ม.908 ไม่ออก / อายุความไม่ออก / ม.1006 – 1009 ออกแน่นอน  เช็ค 1 ข้อ แบบเช็ค เช็คเฉพาะบทบัญญัติเช็คเท่านัน ้ ไม่เอาเรื ่องตัว๋ แลกเงิ นมาปน  ตัว ๋ เงิ นหาย-ปลอม-แก้ไขเปลีย่ นแปลง

บทบัญญัตทิ ่ วั ไป ลักษณะทัว่ ไปของตัว๋ เงิน

มาตรา

ข้ อความทีม่ ีผลต่อตัว๋ ความรับผิดของผู้ลง ลายมือชื่อ ลงลายมือชื่อโดยไม่ เขียนว่าทําแทนผู้อนื่

899 900 901

สาระสาคัญ ผล (1) ตัว๋ เงินเป็ นสัญญาชนิดหนึง่ (หากไม่มีบทบัญญัติระบุไว้ ก็เป็ นไปตาม กม.สัญญาทัว่ ไป) (2) มีวตั ถุแห่งหนี ้เป็ นเงินตรา (เป็ นจานวนเงิ นแน่นอน จ่ายเป็ นรายเดือน / เป็ นงวดได้ ขอให้แน่นอน / หากไม่ระบุอตั ราแลกเปลีย่ น ใช้ตามเวลา/สถานทีใ่ ช้เงิ น) (3) มีลกั ษณะเป็ นตราสาร (ไม่ใช่เรื ่องแบบ) (ตราสาร = ลายลักษณ์อกั ษร / ลงลายมื อชื ่อ / มี เนือ้ ความตาม กม.กาหนด / ประกอบด้วยสิ ทธิ ทางทรัพย์และสิ ทธิ ทางหนี)้ (4) มีลกั ษณะเป็ นตราสารเปลีย่ นมือ (ส่งมอบโดยการสลักหลัง / ไม่ตอ้ งมี หนังสือแจ้งลูกหนี ้ / หลักคุม้ ครองผูร้ บั โอนโดยสุจริ ต) (5) การออกหรื อการโอนตัว๋ เงินมิใช่การแปลงหนี ้ใหม่ (มูลหนีเ้ ดิ มไม่ระงับจนกว่าจะได้มีการใช้เงิ นตามตัว๋ ) แต่เป็ นการชําระหนี ้โดยมีเงื่อนไข (ตามทีร่ ะบุไว้ในตัว๋ ) (6) ไม่จํากัดคูส่ ญ ั ญาตามตัว๋ (7) ข้ อความในตัว๋ เงินมีผลก็เฉพาะแต่ข้อความทีก่ ฎหมายบัญญัติรับรองไว้ (ถ้า กม.ไม่ได้ให้เขี ยน เขี ยนไปก็ไม่มีผล) บทเบ็ดเสร็จทั่วไป ข้ อความที่ไม่ได้ บญ ั ญัติไว้ ใน ป.พ.พ. ถ้ าเขียนในตัว๋ เงิน ไม่มีผลแก่ตวั๋ เงิน  บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตัว ๋ เงิน  ต้ องรับผิดในเนื ้อความตามตัว ๋  ถ้ าเพียงแค่ลงเครื่ องหมาย เช่น แกงได ลายพิมพ์นิ ้วมือ แม้ วา ่ มีพยานรับรอง  ไม่มีผลเป็ นการลงลายมือชื่อ บุคคลใดลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน แต่ไม่ได้ เขียนว่ากระทําการแทนบุคคลใด บุคคลนันต้ ้ องรับผิดตามความในตัว๋ เงิน

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ลงชื่อหลายคนทังที ้ ไ่ ม่ สามารถเป็ นคูส่ ญ ั ญา/ เป็ นได้ ไม่เต็มผล หลักเกณฑ์การเป็ นผู้ ทรงที่ชอบด้ วย กม.

902

 

ถ้ าตัว๋ เงินลงลายมือชื่อบุคคลหลายคน โดยมีทงคนที ั ้ ่ไม่อาจเป็ นคูส่ ญ ั ญาในตัว๋ เงินได้ / เป็ นได้ แต่ไม่เต็มผล

904 + 194

กรณีตวั๋ ระบุชื่อ หากบุคคลใด (1) มีตวั๋ ไว้ ในครอบครอง (2) เป็ นผู้ครอบครองในฐานะผู้รับเงิน/ผู้สลักหลังโดยชอบด้ วย กม. (3) ครอบครองตัว๋ ไว้ โดยมูลหนี ้เดิมทีส่ มบูรณ์ อันจะอ้ างตาม กม.ได้ 905 ว.1 ภายใต้ บงั คับ ม.1008 ว่าด้ วยตัว๋ เงินมีลายมือชื่อปลอม กรณีถือว่าเป็ นผู้ทรง โดยชอบด้ วย กม.  บุคคลที่มีตว ั๋ ในครอบครอง ได้ รับตัว๋ มาโดยการสลักหลังไม่ขาดสาย แม้ เป็ นการสลักหลังลอย  หากการสลักหลังลอยมีการสลักหลังรายอื่นตามหลังไปอีก (หากไม่มีลายมื อชื ่อปลอม ผูท้ รงโดยสุจริ ตย่อมได้รบั ความคุม้ ครองตาม ม.905)  คําสลักหลังที่มก ี ารขีดฆ่าแล้ ว ว.2 ผู้ทรงโดยชอบด้ วย กม. ไม่จําเป็ นต้ องสละตัว๋ เงินให้ กบั ผู้ซงึ่ ปราศจากตัว๋ ไปจากครอบครอง เว้ นแต่  ได้ ตว ั๋ มาโดยทุจริต  ได้ มาโดยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง  ตัว ๋ มีลายมือชื่อปลอม อายุความ 1001 กรณีผ้ ทู รงฟ้ อง ผู้รับรองตัว๋ แลกเงิน / ผู้ออกตัว๋ สัญญาใช้ เงิน (ลูกหนีช้ นั้ ต้น) อายุความฟ้ องร้ อง (ขึ้นอยู่กบั ใครฟ้ องใคร) 1002 กรณีผ้ ทู รงฟ้ อง ผู้สลักหลัง / ผู้สงั่ จ่าย (ลูกหนีล้ าดับรอง)

อายุความสะดุดหยุดลง สิทธิตามตัว๋ เงินสูญสิ ้น ไปไม่กระทบมูลหนี ้เดิม

1003

กรณีผ้ สู ลักหลังฟ้ อง ไล่เบี ้ยกันเอง / ไล่เบี ้ยกับผู้สงั่ จ่าย

ทั่วไป 1004 1005

กรณีผ้ รู ับอาวัลเมือ่ ใช้ เงินให้ กบั ผู้ทรงแล้ วรับช่วงสิทธิมาไล่เบี ้ยผู้สงั่ จ่าย กรณีอายุความสะดุดหยุดลงเพราะการอันหนึง่ อันใดซึง่ กระทําแก่คสู่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่  ตัว ๋ เงินได้ ทําขึ ้น / ได้ โอน / สลักหลังไปแล้ วในมูลหนี ้อันหนึง่ อันใด และ  สิทธิตามตัว ๋ เงิน สูญสิ ้นไปเพราะอายุความ / ละเว้ นไม่ดาํ เนินการให้ ต้องตามวิธีทตี่ ้ องกระทํา

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

2

ไม่กระทบถึงความรับผิดของบุคคลอื่นที่ต้องรับผิดตามตัว๋ เงิน

เป็ นผู้ทรงโดยชอบด้ วย กม. (ไม่ขาดสาย – ทาโดยต่อเนือ่ งและโดยผูม้ ี สิทธิ )

 



เป็ นผู้ทรงโดยชอบด้ วย กม. ถือว่าบุคคลที่ลงลายมือชื่อในการสลักหลังรายที่สดุ นันเป็ ้ นผู้ได้ ตวั๋ ไป โดยการสลักหลังลอย ให้ ถือเสมือนว่าไม่มีการสลักหลังเลย

อายุความ 3 ปี นับแต่ตวั๋ ถึงกําหนดใช้ เงิน อายุความ 1 ปี นับแต่วนั ที่ได้ ทาํ คําคัดค้ าน (กรณีตวั๋ ต้ องทําคําคัดค้ าน) อายุความ 1 ปี นับแต่ตวั๋ เงินถึงกําหนด (กรณีตวั๋ ไม่ต้องทําคําคัดค้ าน) อายุความ 6 เดือน นับแต่วนั ที่ผ้ สู ลักหลังเข้ าถือเอาตัว๋ เงินและใช้ เงิน / นับ แต่วนั ที่ผ้ สู ลักหลังนันเองถู ้ กฟ้ อง กม. ไม่ได้ กําหนดไว้ เฉพาะ ใช้ อายุความทัว่ ไป 10 ปี มีผลสะดุดหยุดลงเฉพาะคูส่ ญ ั ญานันๆ ้ มูลหนี ้เดิมนันก็ ้ ยงั คงมีอยูต่ ามหลัก กม.ทัว่ ไป เท่าที่ลกู หนี ้ไม่เสียหายแต่ การนัน้ เว้ นแต่จะได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ตัว๋ มีลายมือชื่อปลอม (เป็ นคาถามแรกที่ ต้ องถาม)

1006

กรณีลายมือชื่อในตัว๋ เงินเป็ นลายมือชื่อ ปลอม / ปราศจาก อํานาจ

1008

ตัว๋ มีการแก้ ไขข้ อความ สําคัญ (ถึงขนาดทาให้ สิ ทธิ /หน้าทีค่ ู่สญ ั ญา เปลีย่ นไป)

1007

กรณีค้ มุ ครองการ จ่ายเงินของธนาคาร

1009

3

ตั๋วเงินปลอม / ถูกลัก / หาย การที่ลายมือชื่ออันหนึง่ ในตัว๋ เงินเป็ นลายมือปลอม  มี ลายมื อชื ่อปลอม เข้า ม.1008 – ต้อง (แยกระหว่างตัว ๋ เดิ มกับตัว๋ ทีม่ ี ลายมื อปลอมเป็ น 2 สาย)  ผลคือ ไม่มีผลกระทบถึงความสมบูรณ์แห่งลายมือชื่ออื่น ๆ ในตัว ๋  ไม่มีลายมื อชื ่อปลอม เข้า ม.905 – สุจริ ตทัง้ คู่ ระหว่างผูท้ รงและผูท้ ีต่ วั๋ ถูกขโมย กม.คุม้ ครองผูท้ รง  ปลอมลายมื อชื อ ่ ผูค้ ้าประกันไม่เป็ นการปลอมลายมื อชื ่อ ตาม ม.1008 เงินนัน้  ปลอมลายมื อชื อ ่ ในตัว๋ ผูถ้ ือ กลายเป็ นการอาวัลผูส้ งั่ จ่าย ไม่ใช่เจ้าของสิ ทธิ ปลอม จึ งไม่ใช้ ม.1008  กรณีลายมือชื่อในตัว๋ เงินเป็ นลายมือชื่อปลอม / ปราศจากอํานาจ ผลคือ ลายมือชื่อนันใช้ ้ ไม่ได้ (ผูไ้ ด้ตวั๋ มา = ผูไ้ ด้ตวั๋ มาจากการสลักหลังปลอม) ดังนัน้ (หากมี ม.อืน่ กาหนดไว้เฉพาะ ผลก็ตอ้ งเป็ นไปตามนัน้ ) (1) ใครจะอ้ างอิงอาศัยแสวงสิทธิ เพือ่ ยึดหน่วงตัว๋ เงินนันไว้ ้ ไม่ได้ เว้ นแต่ (2) ใครจะอ้ างอิงอาศัยแสดงสิทธิ เพือ่ ทําให้ ตวั หลุดพ้ นไม่ได้  หากเจ้ าของชื่อทีถ ่ กู ปลอมได้ แสดงออกอย่างใดอย่างหนึง่ ให้ (3) ใครจะอ้ างอิงอาศัยแสดงสิทธิ เพือ่ บังคับการใช้ เงินเอาแก่คสู่ ญ ั ญาแห่งตัว๋ เงินคนใดคนหนึง่ ไม่ได้ บุคคลภายนอกหลงเชื่อว่าเป็ นลายมือชื่อที่แท้ จริ งของตน หรื อ  บุคคลนันอยู ้ ใ่ นฐานะถูกตัดบทไม่ให้ ยกเรื่ องลายมือชื่อปลอม / ลายมือชื่อปราศจากอํานาจนันขึ ้ ้น  ตนได้ ใช้ ตว ั๋ ต่อหลังลายมือชื่อปลอม เป็ นข้ อต่อสู้ กรณีตวั๋ เงินมีการแก้ ไขประจักษ์ (ไม่เนียน) ผลคือ ตัว๋ นันยั ้ งใช้ ได้ กบั กรณีตวั๋ เงินมีการแก้ ไขไม่ ประจักษ์ (แนบเนียนเหมื อนไม่มีการแก้ไข) หากตัว๋ เงินตกไปอยูใ่ นมือผู้ทรง (1) คูส่ ญ ั ญาซึง่ เป็ นผู้ทําการแก้ ไข โดยชอบด้ วย กม. ผลคือ ตัว๋ นันยั ้ งใช้ ได้ กบั (2) ผู้ซงึ่ ยินยอมด้ วยกับการแก้ ไข (1) คูส่ ญ ั ญาซึง่ เป็ นผู้ทําการแก้ ไข (3) ผู้ซงึ่ สลักหลัง หลังจากมีการแก้ ไข (2) ผู้ซงึ่ ยินยอมด้ วยกับการแก้ ไข (เนือ่ งจากรู้แล้ว ยังยิ นยอมให้มีการแก้ไขเช็ค) (3) ผู้ซงึ่ สลักหลัง หลังจากมีการแก้ ไข (เนือ่ งจากรู้แล้ว ยังยอมรับเช็ค) (ข้อความสาคัญ – วันทีล่ งในตัว๋ / จานวนเงิ นทีต่ อ้ งใช้ / เวลาใช้เงิ น / ทัง้ นี ้ สามารถเอาประโยชน์จากตัว๋ เงินได้ เสมือนมิได้ มีการแก้ ไข + บังคับการใช้ เงินตามเนื ้อความเดิม สถานทีใ่ ช้เงิ นโดยผูจ้ ่ายเงิ นไม่ยินยอม / การขี ดคร่ อมของเช็ค) จากตัว๋ ได้ กรณีธนาคารเป็ นผู้จ่ายเงินให้ ตวั๋ เงินชนิดให้ เขาสั่งเมื่อทวงถาม (ON DEMAND) (เช็คทัว่ ไป / ตัว๋ เงิ นที ่ ธ.จ่าย) ผลคือ (1) ทางการค้ าปกติ (อ.จูน – จ่ายเวลาปกติ ธรรมดา เกิ น 6 เดือนก็ถือว่าทางการค้าปกติ / แต่ อ.สหธน – ต้องจ่าย  หนี ้ตามตัว๋ และหนี ้มูลเดิมระงับ ใน 6 เดือนนับแต่วนั ออกเช็ค)  ธ.หลุดพ้ นความรับผิด + ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้ าของ (2) โดยสุจริ ต (ไม่รู้ว่าไม่ใช่ผทู้ รง) ที่แท้ จริ ง + มีสทิ ธิหกั เงินจากบัญชีของผู้สงั่ จ่าย (3) ปราศจากความประมาทเลินเล่อ(ธรรมดา) (ตรวจแล้วไม่มีลกั ษณะการแก้ไขอย่างชัดแจ้ง คือ ไม่มีการปลอม (ผูส้ งั่ จ่ายก็ตอ้ งไปว่ากล่าวกันตามมูลละเมิ ดกับผู้ เช็ค ไม่มีการปลอมลายมือชือ่ ผู้สั่งจ่ าย + สลักหลังไม่ ขาดสาย โดยไม่ ต้องดูลายมือชื่อผู้สลักหลัง) ไม่มีสิทธิ ทีม่ ายืน่ เบิ กเงิ นจากธนาคาร หากไม่ใช้ผู้ แม้ วา่ จะเป็ นการจ่ายเงินให้ คนที่ไม่ใช่ผ้ ทู รง / ผู้ไม่มีสทิ ธิแท้ จริ ง ก็ถือว่าเป็ นการจ่ายเงินทีถ่ กู ระเบียบ ทรงทีแ่ ท้จริ ง)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

4

กรณีเช็คขีดคร่ อม – เป็ นไปตาม ม.998 (เช็คขี ดคร่ อม) หากธนาคารใช้ เงินให้ กบั เช็คขีดคร่ อม โดยสุจริ ต + ไม่ประมาท เลินเล่อ ผลคือ  ผลต่อธนาคาร – เสมือนว่าเช็คนันได้ ้ มีการใช้ เงินให้ แก่เจ้ าของที่ แท้ จริ งแล้ ว ดังนัน้ ธ.ผู้จ่ายจึงหักบัญชีผ้ สู งั่ จ่ายได้  ผลต่อผู้สงั่ จ่าย – หากเช็คนันผู ้ ้ จา่ ยได้ มอบให้ แก่ผ้ รู ับเงินและถึงมือ ผู้รับเงินแล้ ว ให้ ถือเสมือนว่าเช็คนันได้ ้ ใช้ เงินให้ แก่เจ้ าของที่แท้ จริง  เมื่อผู้ทรงทราบว่าตัว ๋ หาย/ถูกลักไป

กรณีอ่ ืนๆ – เป็ นไปตาม ม.949 (ตัว๋ เงิ น / ตัว๋ สัญญาใช้เงิ น กรณี ธ. ไม่ใช่ผจู้ ่าย) ตัว๋ แลกเงินซึง่ “ไม่ ใช่ ชนิดถึงกาหนดใช้ เงินตามที่เขาสั่งเมือ่ ทวงถามอันมีธนาคารเป็ นผู้จ่าย” (คือ เช็คซึ่ งต้องไปดู ม.998 หรื อ ม.1009) หรื อตัว๋ สัญญาใช้ เงิน (1) ใช้ เงินเมื่อตัว๋ ถึงกําหนด (2) เป็ นการใช้ เงินโดยสุจริต + ปราศจากการฉ้ อฉล / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง หากพิสจู น์ได้ วา่ มีการสลักหลังติดต่อกันไม่ขาดสาย + แต่ไม่ต้องพิสจู น์ลายมือชื่อผู้สลักหลัง (ว่าจริ ง/ ปลอม) ถือว่าเป็ นการใช้ เงินโดยชอบ ผลคือ ผู้จ่ายหลุดพ้ นจากความรับผิด + หักบัญชีผ้ สู งั่ จ่ายได้ 1010 หน้ าที่ของผู้ทรงหากตัว๋  ผู้ทรงต้ องบอกกล่าวเป็ นหนังสือทันที ไปยังผู้ออกตัว ๋ เงิน / ผู้จ่าย / ผู้สมอ้ างยามประสงค์ / ผู้รับรอง หาย เพื่อแก้ หน้ า / ผู้รับอาวัล เพื่อบอกปั ดไม่ให้ ใช้ เงินตามตัว๋ นัน้  หากผู้ทรงไม่บอกกล่าวและมีการจ่ายเงินตามตัว ๋ ไป  จะถือว่าผู้ใช้ เงินประมาทเลินเล่อไม่ได้ เว้ นแต่ จะได้ พิสจ ู น์ได้ วา่ ผู้ทรงทราบแล้ วทางอื่น 1011  ถ้ าตัว๋ เงินหายก่อนถึงกําหนด สิทธิของผู้ทรงหากตัว๋  ผู้ทรงมีสท ิ ธิขอให้ ผ้ สู งั่ จ่ายออกตัว๋ เงินให้ ใหม่เป็ นเนื ้อความเดียวกับตัว๋ ที่หาย (สาระสาคัญบังคับได้เหมื อนกัน) แก่ หายก่อนถึงกําหนด ตนก็ได้ โดยผู้สงั่ จ่ายอาจมีสทิ ธิขอให้ ผ้ ทู รงวางประกันเพื่อเป็ นประกันในการที่ตนต้ องเสียหายก็ได้ ประเด็น ตั๋วสัญญาใช้ เงิน ตั๋วแลกเงิน เช็ค ลักษณะของตัว๋ 982 ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน คือ หนังสือตราสารซึง่ บุคคล 908 ตัว๋ แลกเงินนัน้ คือ หนังสือตราสารซึง่ บุคคลคนหนึง่ 987 เช็ค คือ หนังสือตราสาร ซึง่ บุคคลคนหนึง่ เรี ยกว่า ผู้สั่งจ่ าย สัง่ ประเภทต่างๆ (เป็ น คนหนึง่ เรี ยกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้ คํามัน่ สัญญาว่าจะใช้ เรี ยกว่า ผู้สั่งจ่ าย สัง่ บุคคลอีกคนหนึง่ เรี ยกว่า ผู้จ่าย ให้ ธนาคาร ให้ ใช้ เงินจํานวนหนึง่ เมือ่ ทวงถามให้ แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ เครื ่องมื อทีต่ ่างกัน / เงินจํานวนหนึง่ ให้ แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ หรื อใช้ ให้ ใช้ เงินจํานวนหนึง่ แก่บคุ คลคนหนึง่ หรื อให้ ใช้ ตามคําสัง่ หรื อให้ ใช้ ตามคําสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่ อันเรี ยกว่า ผู้รับเงิน สิ ทธิ คู่สญ ั ญาต่างกัน) ตามคําสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่ เรี ยกว่า ผู้รับเงิน ของบุคคลคนหนึง่ ซึง่ เรี ยกว่า ผู้รับเงิน ข้ อพิจารณาอื่นๆ  คูส ่ญ ั ญา 2 ฝ่ าย  คูส ่ญ ั ญา 3 ฝ่ าย  คูส ่ญ ั ญา 3 ฝ่ าย (ผู้สงั่ จ่าย – ผู้รับเงิน – ผู้จ่าย คือ ธนาคาร  ผู้ออกตัว ๋ -ลูกหนี ้ชันต้ ้ น  ผู้สงั่ จ่าย-ลูกหนี ้ชันสอง ้ / ผู้รับรอง(ถ้ ามี)-ลูกหนี ้ชันต้ ้ น (เท่านัน้ ))  รับผิดตามสัญญา – ลูกหนี ้หลุดพ้ นได้ ยาก  รับผิดแบบมีเงื่อนไข – ลูกหนี ้หลุดพ้ นง่าย (เพราะจะ  แคชเชียร์ เช็ค – ธ.เป็ นผู้ออก สัง่ ธ. ให้ จ่ายเงินตามเช็ค ให้ ผ้ รู ับเงิน (เพราะเป็ นการให้คามัน่ สัญญาว่าจะใช้เงิ น) รับผิ ดเมื ่อผูท้ รง/เจ้าหนีท้ าตามเงือนไข)  มีทงตั ั ้ ว๋ ระบุชื่อ / ตัว๋ ผู้ถือ (สลักหลัง+ส่งมอบ / ส่งมอบ)  มีเฉพาะตัว ๋ ผู้ถือ (สลักหลัง+ส่งมอบเท่านัน้ )  มีทงตั ั ้ ว๋ ระบุชื่อ / ตัว๋ ผู้ถือ (สลักหลัง+ส่งมอบ / ส่งมอบ)  เป็ นเช็คหรื อไม่ดทู ี่รายการ ไม่ได้ ดฟู อร์ ม  ผู้ทรงไม่เรี ยกเก็บเงินตามกําหนด ไม่สิ ้นสิทธิไล่  ผู้ทรงต้ องเรี ยกเก็บเงินตามกําหนด มิฉะนัน้ จะสิ ้นสิทธิ  เอากระดาษเขียนขึ ้นเอง รายการครบ = เป็ นเช็ค เบี ้ย แต่ต้องเก็บเงินในอายุความ ไล่เบี ้ย เว้ นแต่กบั ผู้รับรอง (ถ้ ามี)  ใช้ ฟอร์ มธนาคารแต่เอาของคนอืน ่ มาใช้ = เป็ นเช็ค (โดย  เขียนข้ อความยกเว้ น/จํากัด ค.รับผิดไม่ได้  สามารถเขียนข้ อความยกเว้ น/จํากัด ค.รับผิดได้ บุคคลทีเ่ อาไปใช้รบั ผิ ดตาม กม.ตัว๋ เงิ น)  ไม่มีเรื่ องการทําคําคัดค้ าน/คําบอกกล่าว  ต้ องทําคําคัดค้ านในกําหนด มิฉะนัน้ สิ ้นสิทธิไล่เบี ้ย หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

รายการตามตั๋ว รายการตามตัว๋ 983 ตัว๋ สัญญาใช้ เงินนัน้ ต้ องมีรายการ ดังต่อไปนี ้ 909 ตัว๋ แลกเงิน ต้ องมีรายการ ดังต่อไปนี ้ (1) คําบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้ เงิน (1) คําบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ แลกเงิน (เนือ้ ความขัน้ ต่าสุดที ่ (2) คํามัน่ สัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้ เงิน (2) คําสัง่ อันปราศจากเงื่อนไขให้ จ่ายเงินเป็ นจํานวน กม.ต้องการให้เขี ยน เป็ นจํานวนแน่นอน แน่นอน เพือ่ ให้มีความชัดเจน (ไม่มีชื่อ/ยีห่ อ้ ผูจ้ ่ายเพราะไม่ได้สงั่ ใครจ่ายเงิ น) (3) ชื่อ หรื อยี่ห้อผู้จ่าย เพือ่ จะได้ไม่ตอ้ ง (3) วันถึงกาหนดใช้ เงิน (4) วันถึงกาหนดใช้ เงิน ่ (4) สถานทีใช้ เงิน (5) สถานที่ใช้ เงิน ถกเถียง / นาพยาน (5) ชื่อ / ยี่ห้อของผู้รับเงิน (ไม่มีตวั๋ ผูถ้ ือ) (6) ชื่อ / ยี่ห้อของผู้รับเงิน / “คําจดแจ้ งว่าให้ ใช้ เงินแก่ มาสืบกัน) (6) วันและสถานทีอ่ อกตั๋วสัญญาใช้ เงิน ผู้ถอื (7) วันและสถานทีอ่ อกตั๋วเงิน (7) ลายมือชื่อผู้ออกตัว๋ (ตรายาง 2 ความเห็น (8) ลายมือชื่อผู้สงั่ จ่าย  ลายเซ็ นเอาไปทาตรายางใช้ได้ อ.สหธน ** สิ่งที่ กม.กาหนด เพราะเห็นก็รู้ว่าใครเซ็น ไม่ใช่ตราประทับ ทางแก้ ใน ม.910 แม้ ไม่ มีต๋ัวยังมีผลเป็ นตั๋ว  ต้องเซ็ นเองเท่านัน ้ เงินอยู่ แต่ ใช้แกงได/ตราประทับไม่ได้เลย)

5

988 เช็ค ต้ องมีรายการ ดังต่อไปนี ้ (1) คําบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค (2) คําสัง่ อันปราศจากเงื่อนไขให้ ใช้ เงินเป็ นจํานวนแน่นอน (หาก มี เงือ่ นไขถือว่าไม่มีข้อนี ้ ผลคือ ไม่สมบูรณ์เป็ นเช็ค) (3) ชื่อ หรื อยี่ห้อและสํานักงานของธนาคาร (ฎ.ธนาคารจ่ายเงิ นให้ ตัวเองก็ได้ / เขียนคาว่า “จ่ายเงิ นสด” และขี ดคาว่า “หรื อผู้ ถือ” ถือว่าไม่มีชื่อผูถ้ ือ ไม่เป็ นเช็ค) (4) ชื่อ / ยี่ห้อของผู้รับเงิน / “คําจดแจ้ งว่าให้ ใช้ เงินแก่ผ้ ถู อื ” (ชื ่อ จริ ง/ชื ่อเล่น/ยีห่ อ้ ก็ได้ / ผูร้ บั เงิ นหลายคนก็ได้แต่ตอ้ งชัดเจน) (5) สถานที่ใช้ เงิน (6) วันและสถานทีอ่ อกเช็ค (วันทีอ่ อกจริ ง / วันล่วงหน้า/ ย้อนหลังก็ได้ – เช็คออกในประเทศ ไม่ตอ้ งทาคาคัดค้าน / ตปท. ถ้าถึงกาหนด ไม่ทาคาคัดค้าน สิ้ นสิ ทธิ ไล่เบีย้ ) (7) ลายมือชื่อผู้สงั่ จ่าย

หากรายการตามตัว๋ ไม่ 910 หากรายการตามตัว๋ ไม่ครบ ไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน เว้ นแต่ 984 หากไม่ระบุ ครบ ไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋  เวลาใช้ เงิน – ใช้ เงินเมื่อได้ เห็น ใช้ เงิน เว้ นแต่ กรณีที่  สถานทีใ่ ช้ เงิน – ถือเอาภูมิลา ํ เนาผู้จ่ายเป็ นสถานที่ใช้ เงิน (กรณีระบุไม่ชดั / อนุมานไม่ได้จากข้อเท็จจริ งอืน่ – ถือว่าขาดรายการนีไ้ ป) (เช็ค – ธนาคาร – สานักงานใหญ่) กม.ระบุทางแก้ ไว้  สถานทีอ ่ อกตัว๋ – ถือว่าออกทีภ่ มู ลิ าํ เนาผู้สงั่ จ่าย  วันออกตัว ๋ – ผู้ทรงโดยชอบด้ วย กม. ทําการโดยสุจริ ตมีสทิ ธิจดวันตามที่ถกู ต้ องแท้ จริง (วันออกตัว๋ อาจเขี ยนไว้ก่อน / หลังออกจริ งก็ได้ – ถ้าออกตัว๋ ล่วงหน้าก็มีผลสมบูรณ์เป็ นตัว๋ ในวันทีผ่ สู้ งั่ จ่ายเขี ยนตัว๋ และส่งมอบให้ผรู้ บั เงิ น) สิ่งที่เขียนได้ / ห้ ามเขียน ้ 911 สิ่งที่เขียนได้  ดอกเบีย  ข้ อกาหนดลบล้ าง/จากัดความรั บผิดของตัวเองต่ อผู้ทรง /  ลดละหน้ าที่ของผู้ทรง 915  ข้ อความห้ ามโอนตั๋วต่ อไป 917  ข้ อความห้ ามโอนตั๋วต่ อไป 917  กาหนดผู้ใช้ เงินยามประสงค์ 950 สิ่งที่ห้ามเขียน / สิ่งที่  ข้ อกาหนดลบล้ าง/จากัดความรั บผิดของตัวเองต่ อผู้ทรง   ดอกเบี้ย (เนือ่ งจากถึงกาหนดเมือ่ ทวงถาม โดยสภาพ จึ งขึ้นเงิ นได้ ไม่ มี / ลดละหน้ าทีข่ องผู้ทรง (เพราะสัญญาแล้วว่าจะใช้เงิ น) ตัง้ แต่วนั ทีล่ งในเช็ค ทาให้ไม่สามารถกาหนดดอกเบีย้ ได้ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ประเด็น การนําเอาบทบัญญัติ มาใช้ อนุโลม ดอกเบี ้ย สัง่ ตัวเองจ่ายเงิน

วันถึงกําหนด

ความรับผิดของผู้ลง ลายมือชื่อในตัว๋ o มีเงื่อนไข

เรื่องที่ไม่ มี (เฉพาะที่สาคัญ)  การผ่ อนเวลา 948 (เขี ยนไว้ลูกหนีก้ ็ไม่หลุดพ้นความรับผิ ด)  การไล่ เบี้ยกรณีมก ี ารรั บรองบางส่ วน ตั๋วสัญญาใช้ เงิน ตั๋วแลกเงิน 985 ให้ เอาบทบัญญัติตา่ งๆ ในเรื่องตัว๋ แลกเงิน มาใช้ โดยแยกระหว่างตัว๋ ออกในประเทศ / ตัว๋ ออก ตปท. 911 จํานวนเงินทีใ่ ห้ ใช้ ในตัว๋ ผู้สงั่ จ่ายจะเขียนดอกเบี ้ยลงไปด้ วยก็ได้ แต่ถ้าไม่ได้ กําหนดไว้ เป็ นอย่า งอื่น ดอกเบี ้ยจะคิดตังแต่ ้ วนั ที่ลงในตัว๋ เงิน 912 ตัว๋ แลกเงินจะ ไม่ นามาใช้  สัง่ ให้ ใช้ เงินตามคําสัง่ ของผู้สงั่ จ่าย (อ – ร คนเดียวกัน) เพราะมีคู่สญ ั ญาสองฝ่ าย ในสัญญาจะสัง่  สัง่ จ่ายเอาจากตัวผู้สงั่ จ่ายเอง (อ – จ คนเดียวกัน) จ่ายเงิ นให้ตนเองไม่ได้  จ่ายเพื่อบุคคลภายนอกก็ได้ (มี อ – จ – ร ครบ) 913 วันถึงกําหนดของตัว๋ แลกเงินนัน้ ได้ แก่ (1) ในวันใดวันหนึง่ ที่กําหนดไว้ (FIXED DATE) (2) เมื่อสิ ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ นบั แต่วนั ที่ลงในตัว๋ นัน้ (FIXED DATE) (3) เมื่อทวงถาม (ON DEMAND) / เมื่อได้ เห็น (AT SIGHT)  ในทางตารา -- เห็นว่าเป็ นตัว ๋ ประเภทเดียวกัน  แนว ฎ. – เห็นว่าต่างกัน = ตัว ๋ ชนิ ดทวงถามเก็บไว้นานเท่าใดก็ได้ / ตัว๋ ชนิ ดเมื ่อได้เห็นต้องยืน่ ให้ใช้ เงิ นภายใน 6 เดือนนับแต่ออกตัว๋ มิ ฉะนัน้ สิ้ นสิ ทธิ ไล่เบีย้ ผูส้ ลักหลัง / ผูส้ งั่ จ่าย) (4) เมื่อสิ ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ นบั แต่ได้ เห็น (AFTER SIGHT) (“ถึงกาหนด 10 วันหลังจากได้เห็น”) ไม่ นามาใช้ ตัว๋ สัญญาใช้เงิ นไม่ใช่การรับผิ ด แบบมี เงือ่ นไข แต่เป็ นการรับผิ ดตามสัญญา เท่านัน้ ดังนัน้ ไม่ว่าผูท้ รงจะผิ ดนัดไม่ไปขึ้นเงิ น ตามกาหนด / ไม่ทาตามวิ ธีการตามตัว๋ ผลคือ ผูอ้ อกตัว๋ / ผูส้ ลักหลัง ก็ไม่หลุดพ้นความรับผิ ด

6

เรื่องที่ไม่ มี (เฉพาะ)ที่สาคัญ)  การผ่ อนเวลา 948 (เขี ยนไว้ลูกหนีก้ ็ไม่หลุดพ้นความรับผิ ด)  การไล่ เบี้ยกรณีมก ี ารรั บรองบางส่ วน เช็ค 989 ให้ เอาบทบัญญัติตา่ งๆ ในเรื่องตัว๋ แลกเงินมาใช้ โดยแยกระหว่างเช็คที่ออกในประเทศ / ตัว๋ ออก ตปท. ไม่ นามาใช้ ห้ ามมีดอกเบี้ย – ถ้าเขียน กม.ถือเสมื อนว่าไม่ได้เขียน (ทางปฏิ บตั ิ ถ้าอยากคิ ดดอกเบีย้ – ต้องเขี ยนรวมเป็ นต้นเงิ นไป) ไม่ นามาใช้ เพราะเป็ นกรณีทีธ่ นาคารเท่านัน้ จ่ายเงิ น ใช้ เฉพาะ 913 (3) ถึงกําหนดเมื่อทวงถามเท่านัน้ (ทวงถามได้ตงั้ แต่ วันทีอ่ อกเช็ค)

914  ผู้สงั่ จ่าย / ผู้สลักหลัง เป็ นผู้สญ ั ญาว่า เมื่อตัว๋ ได้ นาํ ยื่นโดยชอบแล้ ว จะมีผ้ รู ับรองและใช้ เงินตามเนื ้อความแห่งตัว๋  กรณีผ้ จ ู ่ายไม่รับรอง/ไม่จ่ายเงินตามตัว๋ หากผู้ทรงทําถูกต้ องตามวิธีการเกี่ยวกับการไม่รับรอง/ไม่จ่ายเงินนันแล้ ้ ว  ผลคือ ผู้ออกตั๋ว / ผู้สลักหลัง ต้ องรับผิดใช้ เงินแก่ ผู้ทรง (รับผิ ดแบบมี เงื อ ่ นไข)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012 o

ตามสัญญา

ข้ อกาหนดลบล้ าง/ จากัดความรับผิด ผู้ส่ งั จ่ าย/ผู้สลักหลัง ข้ อกาหนดลดละ หน้ าที่ผ้ ทู รง

986 ว.1 ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้ เงิน รับผิดอย่าง ผู้รับรองตั๋วแลกเงิน (แม้ไม่มีเรื ่องการรับรอง) ไม่ นามาใช้ ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิ น / ผูส้ ลักหลัง ไม่มีสิทธิ จดข้อกาหนดลบล้าง / จากัดความรับ ผิ ดของตนได้ จดลงไป ไม่ มีผล ไม่ นามาใช้ ไม่มีสิทธิ จดข้อกาหนดลดละหน้าที ่ ของผูท้ รง จดลงไป ไม่ มีผล

7

ผู้รับรองตั๋วแลกเงิน มีความรับผิดตามสัญญา

ไม่มีการรับรอง มีแต่การจดรับรู้ (เหมือนการรับรอง) โดยธนาคารทีจ่ ดรั บรู้ มีความรับผิดตามสัญญา 915 (1) ผู้สงั่ จ่าย / ผู้สลักหลัง มีสทิ ธิจดข้ อกําหนดลบล้ าง/จํากัดความรับผิดของตนต่อผู้ทรง (ห้ ามไล่ เบี้ย / ไล่ เบี้ยได้ บางส่ วน / WITHOUT RECOURSE) – เป็ นเรื ่องเฉพาะตัว สามารถทาได้ (ออกสอบทุกครั้ ง แต่ ไม่ ได้ เป็ นประเด็นใหญ่ )

915 (2) ผู้สงั่ จ่าย / ผู้สลักหลัง มีสทิ ธิจดข้ อกําหนดลดละหน้ าทีซ่ งึ่ ผู้ทรงมีแก่ตน (ไม่ ต้องมีคาคัดค้ าน / WITHOUT PROTEST)  ถ้ าผู้สงั่ จ่ายเขียน– มีผลกับทุกคน  ถ้ าผู้สลักหลังเขียน – มีผลเฉพาะตัวกับผู้เขียน การยกข้ อต่ อสู้ :หลัก  916 หลัก บุคคลที่ถกู ฟ้ องในมูลตัว๋ แลกเงิน – ไม่อาจยกข้ อต่ อสู้ท่เี ป็ นเรื่องเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับผู้สงั่ จ่ายหรื อผู้ทรงคนก่อนได้ (หนี้เป็ นโมฆะ / โมฆียะ) ตราสารเปลี่ยนมือ  เว้ นแต่การโอนจะมีขึ ้นด้ วยการคบคิดกันฉ้ อฉล (ไม่สจ ุ ริ ต คือ รู้ถึงข้อต่อสูข้ องลูกหนีท้ ีม่ ีต่อผูโ้ อน โดยต้องรู้ก่อน/ขณะทีจ่ ะโอนมาให้ตน) การโอนตั๋ว การโอนตั๋วระบุช่ อื 917 ว.1 การโอนตัว๋ ระบุชื่อทําได้ โดยการสลักหลัง + ส่งมอบ (กรณีผทู้ รงตาย ผูส้ ืบสิ ทธิ ก็สามารถโอนได้) วิธีการสลักหลัง 919 ว.1 คําสลักหลังนันต้ ้ องเขียนลงในตัว๋ แลกเงิน / ใบประจําต่อ + ลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง 919 ว.2 การสลักหลังที่ไม่ได้ ระบุชื่อผู้รับประโยชน์ แค่ลงลายมือชื่อ ก็สมบูรณ์ เรี ยกว่า “สลักหลังลอย” 920 ว.1 การสลักหลัง โอนไปซึง่ บรรดาสิทธิตามตัว๋ แลกเงิน สิทธิของผู้รับโอนโดย 920 ว.2 ถ้ าสลักหลังลอย ผู้ทรงมีสทิ ธิ 3 ประการ คือ การสลักหลังลอย (1) เขียนชื่อของตนเองหรื อชื่อผู้อื่น ให้ เป็ นผู้รับสลักหลัง (2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปเป็ นสลักหลังลอย หรื อ สลักหลังให้ แก่บคุ คลอื่นผู้ใดผู้หนึง่ (3) โอนตัว๋ เงินต่อไปให้ ผ้ อู ื่น โดยไม่กรอกความลงในที่วา่ ง และไม่สลักหลัง การห้ ามโอน – ผู้ส่ งั 917 ว.2 – เมื่อผู้สั่งจ่ ายเขียนด้ านหน้ าตัว๋ ว่า “เปลีย่ นมือไม่ได้ ” หรื อเขียนคําอื่นทํานองเดียวกัน (เช็ค – A/C Payee Only / Payee Only) จ่ ายห้ ามเปลี่ยนมือ  ผลคือ ตัว ๋ เงินนันไม่ ้ สามารถโอนแบบตัว๋ เงินได้ (กรณีนีม้ ี 2 ความเห็น คือ ใช้ได้กบั ตัว๋ ทุกชนิ ด / เฉพาะตัว๋ ระบุชื่อเท่านัน้ ) (อยู่ในข่ ายออกสอบ)  แต่สามารถโอนกันได้ อย่างการโอนหนี ้สามัญ (การโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องธรรมดา คือ ทาเป็ นหนังสือ + บอกกล่าวเป็ นหนังสือแก่ลูกหนี ้ / หลัก “ผูร้ บั โอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน”) ผู้สลักหลังห้ ามสลัก  923 ผู้สลักหลังสามารถเขียนข้ อความห้ ามสลักหลังลงในตัว ๋ ได้ หลังโอนตัว๋ ต่อไป (เพราะต้องการยกข้อต่อสูย้ นั ผูร้ บั สลักหลัง – ถ้าผูส้ ลักหลังเขี ยน A/C Payee Only เหมื อนเรื ่องการไม่รบั ผิ ดหากมี การโอนต่อไป)  หากมีผ้ รู ับสลักหลังโอนตัว ๋ ต่อไป ผลคือ ผู้สลักหลังที่เขียนระบุข้อความห้ ามสลักหลังไม่ต้องรับผิดต่อผู้ซงึ่ รับโอนต่อไปจากผู้รับสลักหลัง (รับผิ ดต่อผูท้ ีต่ นโอนให้เท่านัน้ + สามารถยกข้อต่อสูก้ บั ผูท้ ีต่ วั๋ โอนต่อไปได้) หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

8

ไม่ มีตั๋วผู้ถอื เป็ นผลจากรายการตามตัว๋ ม.983 918 การโอนตัว๋ ผู้ถือ – ทําได้ โดยการส่งมอบ (5) หากเขียนว่า “หรื อผูถ้ ือ” ข้อความนัน้ ไม่มีผล การสลักหลังตัว๋ ผู้ถือ ไม่ นามาใช้ เพราะตัว๋ สัญญาใช้เงิ นไม่มีตวั๋ ผูถ้ ือ 921 การสลักหลังตัว๋ เงินชนิดตัว๋ ผู้ถือ – เป็ นการอาวัลแก่ผ้ สู งั่ จ่าย เป็ นการอาวัลผู้สงั่ จ่าย จึ งไม่เป็ นไม่ได้โดยสภาพ การสลักหลังมีเงื่อนไข /  922 การสลักหลังต้ องเป็ นข้ อความทีไ่ ม่มีเงื่อนไข ถ้ ามีเงื่อนไขบังคับไว้ ถือว่าเงื่อนไขนันไม่ ้ ได้ เขียนไว้ โอนบางส่วน – ไม่มีผล  การสลักหลังโอนเพียงบางส่วน เป็ นโมฆะ (เหมื อนไม่มีการโอน ตัว๋ ยังอยู่กบั ผูท้ รงคนเดิ ม) การโอนตั๋วผู้ถอื

การโอนหลังสิ ้นเวลาทํา คําคัดค้ าน/เมื่อตัว๋ ขาด ความเชื่อถือ (ม.924 – 926 อ.สหธน ไม่ ออกสอบ – แต่ อ.จูนไม่ ร้ ู)

ไม่ นามาใช้ ตัว๋ สัญญาใช้เงิ นไม่ตอ้ งมีการทาคาคัดค้าน เพือ่ ใช้สิทธิ ไล่เบีย้

ไม่ นามาใช้ ตัว๋ สัญญาใช้เงิ นไม่ตอ้ งมีการทาคาคัดค้าน เพือ่ ใช้สิทธิ ไล่เบีย้ การโอนในฐานะอื่น (ไม่โอนกรรมสิทธิ์)

924 ว.1 ถ้ าตัว๋ เงินมีการสลักหลังต่อไปเมื่อสิ ้นเวลาเพื่อทํา การคัดค้ านการไม่จา่ ยเงิน/การรับรอง  ผลคือ ทําให้ ตว ั๋ ขาดความเชื่อถือ หากไม่ ได้ ทาคําคัดค้ านไว้ – ผู้รับสลักหลังมีสทิ ธิเพียง  สิทธิที่เกิดจากการรับรอง (ถ้ ามี) ต่อผู้รับรอง  สิทธิไล่เบี ้ยเอาจากผู้ซง ึ่ สลักหลังตัว๋ แลกเงินภายหลังสิ ้น เวลานัน้ 924 ว.2 แต่หากได้ ทาคําคัดค้ านการไม่รับรอง/การไม่ จ่ายเงินแล้ ว – ผู้สลักหลังได้ ไปเพียงสิทธิของผู้ซงึ่ สลักหลัง ให้ แก่ตนอันมีตอ่ ผู้รับรอง ผู้สงั่ จ่าย และบรรดาผู้สลักหลัง นันมาก่ ้ อน ย้ อนขึ ้นไปจนถึงเวลาคัดค้ าน

ใช้ เฉพาะกับเช็คออกใน ตปท. หากไม่ทาคาคัดค้านในกาหนด – ทุกคนก่อนหน้าผูท้ รงหลุดพ้น เว้นแต่ผรู้ บั รอง และผูโ้ อนตัว๋ ต่อกันไปหลังหมดเวลาทาคาคัดค้าน

ใช้ เฉพาะกับเช็คออกใน ตปท. หากทาคาคัดค้านในกาหนด แล้วโอนตัว๋ ต่อไป – ผูร้ บั โอนต่อไป มี สิทธิ เท่าทีผ่ ไู้ ปทาคาคัดค้านมีเท่านัน้ (ถือเสมื อนว่าตัว๋ หยุดการโอนแบบตัว๋ เป็ นเหมื อนการโอนความไป)

925 ผู้ทรงสามารถสลักหลังตัว๋ เงินเพื่อให้ ตวั แทนเรี ยกเก็บเงินได้ แต่ต้องมีข้อความ “ในฐานะจัดการแทน” / “ราคาอยูท่ เี่ รี ยกเก็บ” ระบุชดั เจนบนตัว๋ 926 ผู้ทรงสามารถสลักหลังตัว๋ เงินเพื่อจํานําได้ แต่ต้องมีข้อความ “ราคาเป็ นประกัน” / “ราคาเป็ นจํานํา” ระบุชดั เจนบนตัว๋

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ตั๋วสัญญาใช้ เงิน – การจดรั บรู้ ม.986 ว.2 ไม่ นาการรั บรองมาใช้ – ผูอ้ อกตัว๋ ได้ให้คามัน่ สัญญาแล้วว่าจะใช้เงิ นตามตัว๋ ดังนัน้ จึงไม่ตอ้ ง มี การรับรองอีก กรณีตวั๋ สัญญาใช้ เงินซึง่ ให้ ใช้ เงินในเวลาใด เวลาหนึง่ ภายหลังได้ เห็น (AFTER SIGHT) (ซึ่ งต้องยืน่ 2 ครัง้ ครัง้ แรก ให้ผอู้ อกตัว๋ รับรู้ ว่าต้องจ่ายเงิ น / ครัง้ ทีส่ อง เพือ่ ให้จ่ายเงิ น)  ผู้ทรงต้ องนําตัว ๋ ยื่นให้ ผ้ อู อกตัว๋ จดรับรู้ (ว่า ทราบแล้ว) ภายในเวลาทีก่ ําหนด ม.928 คือ 6 เดือน เพือ่ ให้วนั จดรับรู้เป็ นวันเริ่ มต้น นับเวลาในการใช้สิทธิ ไล่เบีย้ (ถ้าไม่ไปยืน่ ให้จดรับรู้ ผูส้ ลักหลัง / ผูอ้ อกตัว๋ ไม่หลุดพ้น ความรับผิ ด แต่ผทู้ รงผิ ดนัดทาให้ไม่ สามารถคิ ดดอกเบีย้ ผิ ดนัดได้)  ถ้ าผู้ออกตัว ๋ บอกปั ดไม่ยอมจดรับรู้ ผู้ทรง ต้ องทําให้ เป็ นหลักฐานขึ ้นด้ วยคําคัดค้ าน (ไม่ใช่คดั ค้านแบบตัว๋ แลกเงิ น แต่เพือ่ ให้ เป็ นหลักฐาน) เพือ่ ให้วนั ทาคาคัดค้านเป็ น วันเริ่ มต้นนับกาหนดเวลาแต่ได้เห็นในการ ใช้สิทธิ ไล่เบีย้

การรับรอง / การจดรับรู้ ตั๋วแลกเงิน การรั บรอง ม.927 - 937 927 กรณี กม. กาหนด “ให้ ” ผู้ทรงต้ องยื่นตั๋วให้ ผ้ จู ่ ายรับรอง ได้ แก่ (1) กรณีทผี่ ้ สู งั่ จ่ายกําหนดให้ มกี ารยืน่ ตัว๋ เพื่อให้ รับรอง โดยอาจกําหนดเวลายื่นหรื อไม่ก็ได้ (2) กรณีผ้ สู ลักหลังกําหนดให้ มีการยืน่ ตัว๋ เพื่อให้ รับรอง โดยอาจกําหนดเวลายื่นหรื อไม่ก็ได้  เว้ นแต่ ตัว ๋ แลกเงินที่ผ้ สู งั่ จ่ายกําหนดห้ ามการนําตัว๋ ไปให้ ผ้ จู ่ายรับรองไว้ ก่อนแล้ ว (ซึ่งโดยสภาพ ผูส้ ลักหลังจะกาหนดให้มีการยืน่ ตัว๋ เพือ่ รับรองไม่ได้) (3) กรณีตวั๋ แลกเงินชนิดสัง่ ให้ ใช้ เงินเมื่อถึงระยะเวลากําหนดอย่างใดอย่างหนึง่ นับแต่ได้ เห็น (AFTER SIGHT) (ซึ่ งผูท้ รงต้องนาไปยืน่ ให้ผจู้ ่ายรับรองภายใน 6 เดือนนับแต่ออกตัว๋ ) กรณีท่ ี กม. “ห้ าม” ผู้ทรงยื่นตั๋วให้ ผ้ จู ่ ายรับรอง ได้ แก่ (1) กรณีผ้ สู งั่ จ่ายห้ ามนําตัว๋ ไปยื่นให้ ผ้ จู ่ายรับรอง (หากผูท้ รงไม่เชื ่อ หากไปยืน่ แล้วผูจ้ ่ายไม่รบั รอง ก็ยงั ใช้สิทธิ ไล่เบีย้ ไม่ได้ จนกว่าตัว๋ จะถึงกาหนด) เว้ นแต่ 2 กรณี ได้ แก่  ตัว ๋ แลกเงินได้ ออกให้ ผ้ จู า่ ยใช้ เงิน ณ สถานที่อื่นที่ไม่ใช่ภมู ิลาํ เนาของผู้จ่าย  ตัว ๋ ได้ ออกสัง่ ให้ ใช้ เงินในเวลาใดเวลาหนึง่ นับแต่ได้ เห็น (AFTER SIGHT) (โดยสภาพต้องรับรอง) (2) กรณีผ้ สู งั่ จ่ายห้ ามนําตัว๋ ไปยื่นให้ รับรองก่อนกําหนดวันใดวันหนึง่ (ผูส้ งั่ จ่ายอาจกาหนดว่าเมื ่อครบ 1 เดือนนับแต่ออกตัว๋ จึ งสามารถไปยืน่ ให้รบั รองได้) (3) กรณีตวั๋ ถึงกําหนดเมื่อได้ เห็น (AT SIGHT) (เมื ่อเห็นต้องใช้เงิ น โดยสภาพจังไม่ตอ้ งมี การรับรอง) ผู้มีสิทธิย่ นื ให้ รับรอง – ผู้ทรง / ผู้ที่มีตวั๋ นันในครอบครอง ้ มีสทิ ธิยื่นตัว๋ แลกเงินให้ แก่ผ้ จู า่ ยรับรอง สถานที่ย่นื ตั๋วให้ รับรอง – ที่อยูข่ องผู้จ่าย (อาจแตกต่างจากสถานทีใ่ ช้เงิ น / ภูมิลาเนาของผูจ้ ่ายก็ได้) กาหนดเวลายื่นตั๋ว  กรณีผ้ ส ู งั่ จ่ายไม่ได้ กําหนดเวลาไว้ – ยื่นให้ รับรองเมื่อใดก็ได้ ก่อนตัว๋ ถึงกําหนดเวลาใช้ เงิน  กรณีผ้ ส ู งั่ จ่ายกําหนดเวลาเอาไว้ – เป็ นไปตามที่ผ้ สู งั่ จ่ายกําหนด  928 กรณีตว ั๋ ให้ ใช้ เงินเมื่อสิ ้นระยะเวลาอย่างใดอย่างหนึง่ นับแต่ได้ เห็น (AFTER SIGHT) – ยื่น ภายใน 6 เดือนนับแต่วนั ออกตัว๋ หรื อช้ า/เร็ วกว่านันแล้ ้ วแต่ผ้ สู งั่ จ่ายกําหนด 929 ผู้ทรงมีสทิ ธิยื่นตัว๋ เงินในทันทีทนั ใดให้ ผ้ จู า่ ยรับรอง หากยื่นแล้ วภายใน 24 ชม. ผู้จ่ายไม่รับรอง ผู้ทรง มีสทิ ธิทําคําคัดค้ าน (ดูวิธีทาคาคัดค้าน ม.960) (และใช้สิทธิ ไล่เบีย้ ผูต้ อ้ งรับผิ ดได้)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

9

เช็ค – การจดรั บรู้ ม.993 ไม่ นาการรั บรองมาใช้ – แม้เรี ยกว่ารับรองแต่ เป็ นเรื ่องของการจดรับรู้ของธนาคาร ซึ่ งแม้จะเกิ ด เหตุตาม ม.991 / 992 ธนาคารก็ตอ้ งจ่ายเงิ นอยู่ดี วิธีจดรับรู้ (รับรอง) – ลงลายมือชื่อ + เขียน ข้ อความว่า “ใช้ ได้ ” หรื อ “ใช้ เงินได้ ” ผลต่ อธนาคาร – ธ. ต้ องผูกพันเป็ นลูกหนี ้ ชันต้ ้ นในเช็ค และต้ องรับผิดต่อผู้ทรงโดยตรง ผลต่ อผู้ขอให้ ธนาคารจดรับรู้ (รับรอง)  ผู้ทรงขอให้ ธ. จดรับรู้ – ผู้สลักหลัก / สัง่ จ่าย หลุดพ้ นความรับผิด (เนือ่ งจากผูท้ รง ไม่เชื ่อว่า 2 คนนีจ้ ะรับผิ ดได้ กม. จึ งให้ เหลือแต่ธนาคารต้องรับผิ ด / เพราะผูท้ รงมี นิ ติสมั พันธ์ ในฐานะเจ้าหนี ้ มี เช็คอยู่ในมื อ)  ผู้สงั่ จ่ายขอให้ ธ. จดรับรู้ – คูส ่ญ ั ญาในตัว๋ เงิน(ลูกหนี)้ ทุกคนยังต้ องรับผิดอยู่ ไม่มีใคร หลุดพ้ น (เพือ่ ความมัน่ คงของเช็ค)  ผู้สลักหลัง – ขอไม่ได้ (เป็ นไปไม่ได้โดย พฤติ การณ์ กม. จึงไม่ได้บญ ั ญัติไว้ เพราะ ไม่มีนิติสมั พันธ์ ใดกับ ธ.)

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

935 ประเภทของการรับรอง มี 2 ประเภท คือ (1) การรับรองตลอดไป – เป็ นการรับรอง โดยไม่แก้ ไข/โต้ แย้ งคําสัง่ ของผู้สงั่ จ่าย (2) การรับรองเบีย่ งบ่าย – เป็ นการรับรอง โดยเปลีย่ นแปลงไปจากคําสัง่ ที่ผ้ จู ่าย เขียนไว้ ซึง่ อาจเป็ นการรับรองแบบมี เงื่อนไข / รับรองเพียงบางส่วน 936 ผลของการรับรองเบี่ยงบ่าย  ผู้ทรงจะบอกปั ดไม่รับคํารับรองแบบ เบี่ยงบ่ายก็ได้ = โดยถือว่าตัว๋ เงินขาด ความเชื่อถือ แล้ วทําคําคัดค้ าน และใช้ สิทธิไล่เบี ้ยต่อไป  กรณีผ้ ท ู รงยอมรับคํารับรองแบบเบี่ยง บ่าย แต่ ถ้าผู้สงั่ จ่าย / ผู้สลักหลัง ไม่ ยินยอมด้ วย = ผู้สงั่ จ่าย / ผู้สลักหลัง หลุดพ้ นความรับผิดตามตัว๋ เงิน เว้ นแต่ เป็ นการรับรองเบี่ยงบ่ายชนิดรับรองแต่ เพียงบางส่วนซึง่ ผู้ทรงได้ บอกกล่าวโดย ชอบไปยังผู้สงั่ จ่ายและผู้สลักหลังแล้ ว

ข้ อสังเกต : หากไม่ มกี ารรับรอง  สิทธิในการทําคําคัดค้ าน = เป็ นเรื่ อง ม.929 โดยมีสท ิ ธิทําคําคัดค้ าน 24 ชม. หลังผู้จ่ายไม่รับรอง จนถึงหนึง่ วันสุดท้ ายก่อนทีต่ วั๋ ถึงกําหนดใช้ เงิน  หน้ าที่ในการทําคําคัดค้ าน = เป็ นเรื่ อง ม.960 มีหน้ าที่ทา ํ คําคัดค้ านตังแต่ ้ วนั ทีถ่ ึงกําหนดใช้ เงิน จนถึงนับไปอีก 3 วันจากนัน้ 930 การรับรองทําได้ โดย (เฉพาะผู่จ่ายเท่ านั้นทีส่ ามารถเป็ นผูร้ บั รองได้) (1) เขียนว่า “รับรองแล้ ว” / ACCEPTED / CERTIFIED / MARKED  931 ถ้ าไม่ได้ เขียนข้ อความว่ารับรองแล้ ว เพียงแต่ “ผู้จา ่ ย” ลงลายมือชื่อไว้ ด้านหน้ าตัว๋ ก็ถือ เป็ นการรับรองแล้ ว (2) เขียนไว้ ด้านหน้ าตัว๋ แลกเงิน (3) ลงลายมือชื่อผู้จ่ายไว้ ด้านหน้ าตัว๋ แลกเงิน (4) ลงวันที่ที่รับรอง  933 ถ้ าการรับรองไม่ได้ ลงวันที่รับรอง = ถือเอาวันสุดท้ ายแห่งระยะเวลาอันกําหนดไว้ เพื่อ รับรองเป็ นวันรับรอง (วันก่อนถึงกาหนดใช้เงิ น 1 วัน / วันทีต่ ามทีผ่ สู้ งั่ จ่ายกาหนด)  932 ถ้ าการรับรองไม่ได้ ลงวันที่รับรอง และตัว ๋ นันเป็ ้ นตัว๋ ชนิดสัง่ ให้ ใช้ เงินภายในเวลากําหนดที่ ได้ เห็น (AFTER SIGHT) ผลคือ  ผู้ทรงจะลงวันที่รับรองทีแ ่ ท้ จริ งไปก็ได้ = วันถึงกําหนดก็เริ่ มนับตังแต่ ้ วนั รับรองที่แท้ จริ งนัน้  ถ้ าผู้ทรงจดวันรับรองคลาดเคลือ ่ นไปโดนสําคัญผิด / ลงวันผิดทุกสถาน (เช่น ไม่สจุ ริ ต) – หากตัว๋ ดังกล่าวโอนไปยังผูท้ รงอืน่ โดยชอบ = ให้ ถือว่าตัว๋ นันใช้ ้ ได้ โดยวันที่จด คลาดเคลือ่ นโดยสําคัญผิด / วันที่ลงผิดทุกสถาน เป็ นวันรับรองทีถ่ กู ต้ อง (แต่ระหว่างผูท้ รง ทีจ่ ดวันทีร่ บั รองกับลูกหนีอ้ ืน่ จะต้องบังคับด้วยวันทีแ่ ท้จริ ง)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

10

934 การยกเลิกคํารับรองทําได้ โดย (กรณีผู้ จ่ายเปลีย่ นใจยกเลิ กคารับรองหลังจากรับรอง แล้ว) (1) ให้ ผ้ จู ่ายขีดฆ่าคํารับรองทิ ้ง (2) การขีดฆ่าต้ องกระทําก่ อนตัว๋ หลุดมือไป จากผู้จา่ ย (3) จะต้ องไม่เคยแจ้ งเป็ นหนังสือไปยังผู้ทรง / คูส่ ญ ั ญาที่ได้ ลงนามในตัว๋ เงิน ว่า ตนเอง(ผูจ้ ่าย)ได้ รับรองตัว๋ นี ้แล้ ว 937 เมื่อผู้จา่ ยได้ ทาํ การรับรองตัว๋ แลกเงินแล้ ว  ผลคือ ผู้จ่ายผูกพันที่จะจ่ายเงินในจํานวน ที่รับรองตามเนื ้อความแห่งการรับรองของ ตน

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

การคํ ้าประกันการใช้ เงินตามตัว๋ วิธีการอาวัล (แบบ)

ความผูกพันของผู้รับ อาวัล

การใช้ เงิน การใช้ เงินตามตัว๋ การบังคับให้ ผ้ ทู รงรับ การใช้ เงินก่อนกําหนด วันถึงกําหนดใช้ เงิน (กรณีต่างๆ)

11

การอาวัล (ใช้ กับทุกเรื่อง) 938  ตัว๋ แลกเงินจะมีผ้ คู ํ ้าประกัน รับประกันการใช้ เงินเต็มจํานวน/บางส่วนก็ได้ เรี ยกว่า “อาวัล  ”บุคคลภายนอก / คูส ่ญ ั ญาแห่งตัว๋ เงินฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ จะเป็ นผู้รับอาวัลก็ได้ 939 การรับอาวัลต้ องเขียนลงในตัว๋ เงิน / ใบประจําต่อ โดยต้ องระบุวา่ รับประกันผู้ใด ถ้ าไม่ได้ ระบุ ผลคือ ถือว่าเป็ นการอาวัล  ตัว ๋ ระบุชื่อ ผู้สงั่ จ่าย  เขียนว่า “ใช้ ได้ เป็ นอาวัล” / คําทีม ่ ีความหมายคล้ ายคลึงกัน + ลงลายมือชื่อผู้รับอาวัล (ด้านหน้า/หลังก็ได้)  ลงลายมือชื่อหน้ าตัว ๋ อย่างเดียว (โดยไม่มีคาว่า “ใช้ได้เป็ นอาวัล”) – มีผลเป็ นอาวัล เว้ นแต่ถ้าเป็ นลายมือผู้จ่าย/ผู้สงั่ จ่าย – ไม่ เป็ นอาวัล (แต่เป็ นการรับรอง / แต่ถา้ ลงด้านหลังไม่เป็ น)  ตัว ๋ ผู้ถือ – สลักหลัง – มีผลเป็ นอาวัล (เป็ นอาวัลโดนผลของ กม. ซึ่งมักเกิ ดมากในเช็ค) 940  ผู้รับอาวัลย่อมต้ องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคลซึง่ ตนประกัน  แม้ ความรับผิดใช้ เงินทีผ ่ ้ รู ับอาวัลได้ ประกันอยูน่ นจะตกเป็ ั้ นใช้ ไม่ได้ ด้วยเหตุใดๆ  สัญญารับอาวัลนันก็ ้ ยงั คงสมบูรณ์ เว้ นแต่เพราะทําผิดแบบระเบียบ  เมื่อผู้รับอาวัลได้ ใช้ เงินไปตามตัว ๋ แลกเงินแล้ ว  มีสท ิ ธิไล่เบี ้ยเอาแก่บคุ คลซึง่ ตนได้ ประกันไว้ / บุคคลทังหลายผู ้ ้ รับผิดแทนตัวผู้นนั ้ การใช้ เงิน มาตรา กรณี ตั๋วสัญญาใช้ เงิน – ตั๋วแลกเงิน (ตาม ม.941 – 949) ผล หมายเหตุ 941  ตัว๋ แลกเงินพึงใช้ เงินเมื่อถึงกําหนด เมื่อถึงกําหนดวันใด ผู้ทรงมีหน้ าที่เอาตัว๋ ไปยื่นเพื่อให้ ใช้ เงินวันนัน้ 942  การบังคับให้ ผ้ ทู รงตัว๋ รับเงินก่อนถึงกําหนด  ทําไม่ได้  ถ้ าผู้จา ่ ยได้ ใช้ เงินไปก่อนเวลาตัว๋ ถึงกําหนด  ผู้จ่ายต้ องยอมรับความเสีย ่ งเคราะห์เอง 943 วันถึงกําหนดใช้ เงินของตัว๋ แลกเงิน แบ่งตามประเภท ดังนี ้ ผลของการไม่ ย่นื ตั๋วตาม วันที่ผ้ ทู รงต้ องยื่นตั๋ว – ผู้ทรงต้ องไปยื่นตัว๋ 944 (1) ในวันใดวันหนึง่ ที่กําหนดไว้ (FIXED DATE) กาหนด  ในวันถึงกําหนดวันนัน ้  973 (2) + ว.2 ผู้ทรงสิ ้นสิทธิ (2) เมื่อสิ ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ นบั แต่วนั ที่ลงในตัว๋ นัน้ (FIXED DATE)  ในวันถึงกําหนดวันนัน ้ ไล่เบี ้ยต่อผู้สลักหลัง / ผู้จ่าย / (3) เมื่อทวงถาม (ON DEMAND) / เมื่อได้ เห็น (AT SIGHT) มี 2 ความเห็น คูส่ ญ ั ญาอื่นๆ เว้ นแต่ ผู้รับรอง  แนวตารา - ตัว ๋ ทัง้ 2 เป็ นประเภทเดียวกัน  ภายใน 6 เดือน นับแต่ได้ เห็น / ทวงถาม (ถ้ ามี)  แนว ฎ./ แนวปฏิ บต ั ิ – ตัว๋ ทัง้ 2 เป็ นตัว๋ คนละประเภท  เมื ่อได้เห็น – ภายใน 6 เดือน นับแต่วน ั ออกตัว๋ 

(4) เมื่อสิ ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ นบั แต่ได้ เห็น (AFTER SIGHT) หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก



เมื ่อทวงถาม – ยื่นเมื่อใดก็ได้ ไม่มีกําหนด ภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ออกตัว๋ สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ผู้รับรองปลดเปลื ้อง การผ่อนเวลา (ใช้ เฉพาะตั๋วแลกเงิน) การใช้ เงินตามตัว๋ ที่มี ลายมือชื่อผู้สลักหลัง ปลอม / สิทธิของผู้รับ เงินบกพร่อง (กรณีไม่ ใช้ธนาคารเป็ นผูจ้ ่าย) การใช้ เงิน กําหนดเวลายื่นเช็คให้ จ่ายเงิน

947 948 949

990

(เป็ นเรื่องระหว่ าง ผู้ทรง – ลูกหนี้)

ข้ อยกเว้ นธนาคารไม่ ต้ องจ่ายเงินตามเช็ค

991

(ดุลพินิจของธนาคาร จ่ ายหรือไม่ จ่ายก็ได้ ) ข้ อยกเว้ นของการยื่น เช็คให้ ใช้ เงิน (MUST NOT PAY ห้ ามจ่ ายเด็ดขาด)

992

12

ถ้ าไม่มกี ารยื่นให้ ใช้ เงินในวันที่ตวั๋ ถึงกําหนด ผู้รับรองจะปลดเปลื ้องความรับผิดของตน โดยวางเงินที่ค้างชําระตามตัว๋ นันไว้ ้ ก็ได้ ถ้ าผู้ทรงตัว๋ แลกเงินผ่อนเวลาให้ แก่ผ้ จู ่าย (ไม่ นามาใช้ กับตั๋วสัญญาใช้ เงิน เพราะ ผู้ทรงสิ ้นสิทธิไล่เบี ้ยเอากับผู้เป็ นคูส่ ญ ั ญาคน ผ่ อนเวลา = Extension of Time เป็ นการรับผิ ดตามสัญญา แม้มีการผ่อนเวลา ผูส้ ลักหลังก็ไม่หลุดพ้นความรับผิ ด) ก่อนๆ ที่ไม่ได้ ตกลงด้ วยกับการผ่อนเวลา ภายใต้ ม.1009 กรณีตวั๋ แลกเงินซึง่ “ไม่ ใช่ ชนิดถึงกาหนดใช้ เงินตามที่เขาสั่งเมื่อทวงถามอันมีธนาคารเป็ นผู้จ่าย” ถือว่าเป็ นการใช้ เงินโดยชอบ (คือ Cheque ซึ่ งต้องไปดู ม.998 หรื อ ม.1009) / ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน – ผู้จ่ายได้ รับการคุ้มครองโดยหลุดพ้ นความรับผิดเมื่อ ผลคือ ผู้จ่ายหลุดพ้ นจากความรับผิด + (1) ใช้ เงินเมื่อตัว๋ ถึงกําหนด หักบัญชีผ้ สู งั่ จ่ายได้ (2) เป็ นการใช้ เงินโดยสุจริต + ปราศจากการฉ้ อฉล / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง (3) พิสจู น์ได้ วา่ มีการสลักหลังติดต่อกันไม่ขาดสาย + แต่ไม่ต้องพิสจู น์ลายมือชื่อผู้สลักหลัง (ว่าจริ ง/ปลอม) เช็ค (ตาม ม.990 – 1000) ผล หมายเหตุ กําหนดเวลายื่นเช็คให้ ธนาคารใช้ เงิน หากผู้ทรงยื่นเช็คให้ จา่ ยเงินไม่ทนั ภายในกําหนด ผู้ทรง  ออก-สัง่ จ่ายในเมืองเดียวกัน – ต้ องเรี ยกเก็บเงินภายใน 1 เดือน นับแต่วน ั ที่ออก  สิ ้นสิทธิไล่เบี ้ยเอาจากผู้สลักหลังทังหลาย ้ และ เช็ค (วันเดียวกับวันทีอ่ อก ไม่สนใจว่า 1 เดือน มี กี่วนั / ออก 31 ม.ค. สิ้ นเดือนก็  เสียสิทธิตอ่ ผู้สงั่ จ่ายเท่าที่จะเกิดความเสียหายอย่างหนึง่ อย่างใดแก่ผ้ สู งั่ จ่ายเพราะ ต้องยืน่ สิ้ นเดือน ก.พ. คือ 28 หรื อ 29 ก.พ.) การไม่ยื่นเช็คนัน้ (คือ ผูส้ งั่ จ่ายเสียเงิ นในธนาคาร – กรณีธนาคารล้มละลายเท่านัน้ )  ออก-สัง่ จ่ายต่างเมือง – ต้ องเรี ยกเก็บเงินภายใน 3 เดือน นับแต่วน ั ที่ออกเช็ค (สถานทีผ่ สู้ งั่ จ่ายออกเช็ค v.s. ธนาคารทีจ่ ่ายเงิ น อาทิ บัญชี ออก ธ.ที ่ กทม. แต่ ข้ อสังเกต ม.990 ไม่ใช่เรื ่องอายุความ แต่เป็ นเรื ่องเงือ่ นเวลา สัง่ ให้ ธ.ทีเ่ ชี ยงใหม่จ่าย / ออกท่าพระจันทร์ แต่ให้จ่ายรังสิ ต คนละจังหวัด) โดยหลักธนาคารต้ องจ่ายเงินตามเช็ค เว้ นแต่เป็ นสิทธิของธนาคารที่จะปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี ้ (1) เงินในบัญชีของผู้เคยค้ าคนนันเป็ ้ นเจ้ าหนี ้ไม่พอจะจ่ายตามเช็คนัน้ (แม้เงิ นไม่พอก็จ่ายได้ อาทิ credit หรื อ สัญญาเบิ กเงิ นเกิ นบัญชี ) (2) เช็คนันยื ้ ่นเพื่อให้ ใช้ เงินเมื่อพ้ นเวลา 6 เดือนนับแต่วนั ออกเช็ค (ไม่ใช่ ม.990 1 / 3 เดือนทีเ่ ป็ นเรื ่องของผูท้ รง – ลูกหนี ้ แต่ ม.นีเ้ ป็ นเรื ่องของธนาคาร – ผูท้ รง และ ไม่มีผลทาให้ผสู้ งั่ จ่ายหลุดพ้นความรับผิ ดแต่อย่างใด) (3) ได้ มีคําบอกกล่าวว่าเช็คนันหายหรื ้ อถูกลักไป (มี ทงั้ ความเห็นว่าจ่าย/ไม่จ่ายก็ได้ แต่เมื ่อดู ม.1010 เห็นว่าเป็ นหน้าทีข่ องผูท้ รงต้องบอกกล่าวไปยังผูม้ ี หน้าทีจ่ ่ายเงิ นว่าห้าม จ่าย หากมี การบอกกล่าวไปแล้ว โดยหลักไม่ควรจ่าย แต่เมื ่อพิจารณา ม.1010 ประกอบกับ 1009 ก็น่าจะเป็ นเรื ่องของการสัง่ จ่ายไม่ถูกระเบียบ ตัดบัญชี ผสู้ งั่ จ่ายไม่ได้) ธนาคารมีหน้ าที่และอานาจปฏิเสธการใช้ เงินตามเช็คเมื่อ (ข้อสังเกต – กรณีทงั้ 1 – 3 เกิ ดกับผู้สั่งจ่ าย) (1) มีคําบอกห้ ามการใช้ เงินจากผู้สั่งจ่ าย (เนือ่ งจากผูส้ งั่ จ่ายมี นิติสมั พันธ์ โดยตรงกับ ธ. ไม่ใช่กรณีผ้ ทู รงบอกห้ามสัง่ จ่าย คือ ม.991 (3)) (2) ผู้สงั่ จ่ายตาย (ฎ. – ผูท้ รงไม่ตอ้ งไปเรี ยกเก็บเงิ นจากธนาคาร แต่ไล่เบีย้ ได้เลย) (3) ผู้สงั่ จ่ายล้ มละลาย / ศาลมีคาํ สัง่ รักษาทรัพย์ชวั่ คราวของผู้สงั่ จ่าย / มีประกาศโฆษณาคําสัง่ เช่นนัน้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ประเภทของการขีด คร่อมเช็ค + หลักเกณฑ์การจ่ายเงิน (ขี ดคร่ อมทัว่ ไป / ขีด คร่ อมเฉพาะ) การขีดคร่อมเช็ค ลักษณะต่างๆ

994

ห้ ามลบการขีดคร่อม

996

เช็คขีดคร่อมเฉพาะ ให้ กบั หลายธนาคาร

997

ผลที่ธนาคารใช้ เงินตาม เช็คที่ขดี คร่อมโดย สุจริ ตและไม่ประมาท

998

995

13

(การขีดคร่ อม A/C Payee Only ไม่ ใช่ ม.นี้ แต่ เป็ นการห้ ามเปลี่ยนมือ ม.917) ถ้ าเช็คมีเส้ นคูข่ นานขีดไว้ ด้านหน้ าเช็ค (ขี ดคร่ อมด้านหลังไม่มีผล) และเขียนคําว่า ขี ดคร่ อม – หาก ธ.จ่ายเงิ นสด ไม่จ่ายผ่าน ธ. ผลคือ ธ.ต้องรับผิดต่อผูท้ รง เพราะเป็ น “บริ ษัท” / “& co.” หรื อคําย่อระหว่างเส้ นทังสอง ้ (หรื อไม่เขี ยนอะไรเลยก็ได้) การจ่ายผิ ดหน้าที ่ (อาทิ หากตัว๋ ไปตกอยู่แก่ผอู้ ืน่ ทีไ่ ม่ใช่ผทู้ รง)  เป็ นเช็คขีดคร่ อมทัว ่ ไป – ให้ ใช้ เงินแต่เฉพาะให้ แก่ ธ.เท่านัน้ (ห้ามจ่ายเงิ นสด) ถ้ าระหว่างเส้ นคูข่ นานมีชื่อ ธ.ใดลงไว้ โดยเฉพาะ  เป็ นเช็คขีดคร่ อมเฉพาะ – ให้ ใช้ เงินแก่ ธ.ที่ระบุไว้ ระหว่างเส้ นขีดคร่ อมเท่านัน ้ บุคคลที่มีอํานาจขีดคร่อมเช็ค มีแค่ 3 คน  ผู้สงั่ จ่าย – ขีดคร่ อมทัว ่ ไป / เฉพาะก็ได้  ผู้ทรง – ขีดคร่ อมทัว ่ ไป / เฉพาะก็ได้  อาจเติมชื่อ ธ. ทําให้ เปลีย ่ นเป็ นขีดคร่อมเฉพาะก็ได้  มีสท ิ ธิเขียน “ห้ ามเปลีย่ นมือ” แม้ เช็คเป็ นเช็คขีดคร่อมทัว่ ไป/เฉพาะ ผลคือ ผู้ได้ รับโอนเช็คมีสทิ ธิเท่าผู้โอน (หลักผูร้ บั โอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน)  ธนาคาร – ขีดคร่ อมได้ เฉพาะให้ ธ.อื่นไปเรี ยกเก็บเงินแทนตนเอง / เฉพาะให้ ตว ั เอง (ป้ องกันเผือ่ เช็คหายไป การจ่ายผ่านต้องจ่ายผ่าน ธ.ตนเองเท่านัน้ ) การขีดคร่อมเช็คเป็ น “ข้ อสาคัญ” ของเช็ค จะลบไม่ได้ ถ้ าทําไป ไม่ชอบด้ วย กม. โดยผลเป็ นไปตาม ม.1007 คือ หากการแก้ ไข  ปรากฏชัด (ไม่แนบเนียน) + ธ.จ่ายเงินไป = ธ. ต้ องรับผิดชอบต่อเจ้ าของเช็คที่แท้ จริ งนัน ้  ไม่ปรากฏ (แนบเนียน) + ธ.จ่ายเงินไป “โดยสุจริ ต + ไม่ ประมาท” = ธ.ไม่ต้องรับผิดต่อ เจ้ าของเช็คที่แท้ จริ ง + หักบัญชีผ้ สู งั่ จ่ายได้  เมื่อมีการนําเช็คขีดคร่ อมเฉพาะที่มีชื่อ ธ. มากกว่าหนึง ่ ธ. มาขึ ้นเงิน  ธ. ผู้ใช้ เงินมีหน้ าที่บอกปั ดไม่ใช้ เงิน เว้ นแต่เป็ นการขีดคร่อมเฉพาะให้ ธ. อื่นเป็ นตัวแทนเรี ยกเก็บเงิน  หากมีการใช้ เงินไป (รวมถึงกรณีทีเ่ ช็คมี การแก้ไขการขี ดคร่ อมอย่างชัดเจน)  ธ. ที่ใช้ เงินไปต้ องรับผิดต่อผู้เป็ นเจ้ าของเช็คที่แท้ จริ งนันในการที ้ ่ต้อง เสียหายเพราะการใช้ เงินตามเช็คนัน้  แต่ หากเช็คดังกล่าวไม่ปรากฏว่ามีการขีดคร่ อม / ไม่ปรากฏว่ามีการลบ/แก้ ไขการขีดคร่ อม  หาก ธ.ใช้ เงินไปโดยสุจริ ต + ไม่ประมาทเลินเล่อ ธ. ก็ไม่ต้องรับผิด (ถือว่าเช็คได้รบั การจ่ายเงิ นแล้ว ธ.ผูจ้ ่ายได้รบั ความคุม้ ครอง + ผูส้ งั่ จ่าย ก็หลุดพ้นความรับผิ ดด้วย มูลหนีเ้ ดิ มและมูลหนีต้ ามเช็คระงับ) หากธนาคารใช้ เงินให้ กบั เช็คขีดคร่ อม โดยสุจริ ต + ไม่ประมาทเลินเล่อ ผลคือ  ผลต่อธนาคาร – เสมือนว่าเช็คนันได้ ้ มีการใช้ เงินให้ แก่เจ้ าของที่แท้ จริ งแล้ ว ดังนัน้ ธ.ผู้จ่ายจึงหักบัญชีผ้ สู งั่ จ่ายได้  ผลต่อผู้สงั่ จ่าย – หากเช็คนันผู ้ ้ จา่ ยได้ มอบให้ แก่ผ้ รู ับเงินและถึงมือผู้รับเงินแล้ ว ให้ ถือเสมือนว่าเช็คนันได้ ้ ใช้ เงินให้ แก่เจ้ าของที่แท้ จริ งแล้ ว

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ข้ อจํากัดสิทธิกรณีเช็ค ขีดคร่อมที่มคี ําว่า “ห้ ามเปลีย่ นมือ”

999

การคุ้มครอง ธ.ผู้เรี ยก เก็บเงินตามเช็ค

1000

การเวนคืนเอกสาร การใช้ เงินบางส่วน

945 946

บุคคลใดได้ รับเช็คขีดคร่อมทีม่ ีคาํ ว่า “ห้ ามเปลีย่ นมือ”  ผลคือ บุคคลนันไม่ ้ มีสทิ ธิในตัว๋ ดังกล่าวดีกว่าผู้โอน (เป็ นการปกป้ องผูท้ รงไม่ให้ ถูกปิ ดปาก จึ งไม่นาหลักตราสารเปลีย่ นมื อตาม ม.916 มาใช้)

14

ข้ อสังเกต : เช็คขีดคร่ อมห้ ามเปลี่ยนมือ มี 2 ความเห็น (1) ไม่วา่ ใครเขียน – ผลคือ ม.999 โอนอย่างตัว๋ เงินได้ (2) ต้ องดูวา่ ใครเป็ นคนเขียน “ห้ ามเปลีย่ นมือ”  ผู้สงั่ จ่ายเขียน – ผล ม.917 คือ โอนอย่างตัว ๋ เงินไม่ได้ ต้ องโอนอย่างหนี ้สามัญ  ผู้ทรงเขียน – ผล ม.999 (อ.เสาวนีย์ / อ.จิ ตติ ) คือ โอนอย่างตัว ๋ เงินได้ ธ.ผู้เรี ยกเก็บไม่ต้องรับผิดต่อเจ้ าของที่แท้ จริ ง ของเช็คนัน้

ธ. ที่เรี ยกเก็บเงินตามเช็ค  หากได้ รับเงินไว้ จากธนาคารผู้จ่ายแทนลูกค้ าของ ธ.  รับเงินไว้ โดยสุจริ ต ของตนโดยสุจริ ต + ปราศจากประมาทเลินเล่อ  หากปรากฏว่าผู้เคยค้ าของตนนันไม่ ้ มีสทิ ธิ / มีสทิ ธิบกพร่องในเช็คนัน้ การใช้ เงิน (มาตราที่ใช้ ได้ กับทั้งตั๋วแลกเงิน / ตั๋วสัญญาใช้ เงิน / เช็ค) ผู้ทรงต้ องเวนคืนตัว๋ เงินให้ แก่ผ้ ใู ช้ เงินให้ (ผู้จ่าย) / โดยผู้จา่ ยอาจจะขอให้ ผ้ ทู รง (ผู้รับเงิน) ลงลายมือชื่อรับรองในตัว๋ ก็ได้  ผู้ทรงมีสท ิ ธิปฏิเสธบอกปั ดการใช้ เงินบางส่วนได้  ผูท ้ รงยังต้องเก็บตัว๋ ไว้เพือ่ ใช้ในการไล่เบีย้ เงิ นส่วนทีเ่ หลือต่อไป  หากยอมรับเงินบางส่วน ผู้ทรงต้ องบันทึกข้ อความนันลงในตั ้ ว๋ เงิน + ส่งมอบใบรับ  ผูท้ รงต้องทาคาคัดค้านในส่วนทีไ่ ม่มีการจ่ายเงิ นด้วย มิ ฉะนัน้ จะสิ้ นสิ ทธิ ไล่เบีย้ ใน ส่วนทีย่ งั ไม่มีการใช้เงิ น (ใบเสร็จ) ให้ ผ้ ใู ช้ เงิน

ตั๋วสัญญาใช้ เงิน การไล่เบี ้ยเมื่อตัว๋ เงิน 959 ก) และ ข (3) อนุโลม ผู้ทรงมีสทิ ธิ ถูกปฏิเสธไม่รับรอง/ไม่ ไล่เบี ้ยเอาแก่บรรดาผู้สลักหลัง / ผู้ออกตัว๋ ใช้ เงิน ทําให้ ตวั๋ เงินขาด สัญญาใช้ เงิน / บุคคลอื่น ๆ ซึง่ ต้ องรับผิด ความเชื่อถือ ตามตัว๋ สัญญาใช้ เงิน  กรณีตว ั๋ ถึงกําหนด – หากผู้ออกตัว๋ ไม่ ใช้ เงิน  กรณีตว ั๋ ไม่ถึงกําหนด – หากผู้ออกตัว๋ ตกเป็ นผู้ล้มละลาย

การทาคาคัดค้ าน – การใช้ สิทธิไล่ เบีย้ เพราะไม่ รับรอง/ไม่ จ่ายเงิน ตั๋วแลกเงิน เช็ค 959 ผู้ทรงมีสทิ ธิไล่เบี ้ยผู้สลักหลัง / ผู้สงั่ จ่าย / บุคคลอื่น ๆ ซึง่ ต้ องรับผิดตามตัว๋ เงินได้ หาก ก) กรณีต๋ วั แลกเงินถึงกาหนด หากผู้จ่าย/ผู้รับรองปฏิเสธการใช้ เงิน ข) กรณีต๋ วั แลกเงินยังไม่ ถงึ กาหนด หาก (1) ผู้จ่ายบอกปั ดไม่รับรองตัว๋ เงิน เมือ่ ผู้ทรงนําตัว๋ เงินไปยื่นให้ รับรอง (2) ผู้จ่ายจะรับรองหรื อไม่ก็ตาม อยูใ่ นฐานะที่ไม่อาจใช้ เงินได้ คือ  ผู้จ่ายตกเป็ นคนล้ มละลาย  ได้ งดเว้ นการใช้ หนี ้ แม้ การงดเว้ นใช้ หนี ้นันจะมิ ้ ได้ มีคาํ พิพากษาเป็ นหลักฐาน  ถูกยึดทรัพย์และการยึดทรัพย์นนไร้ ั ้ ผล (คือ ไม่มีเงิ นพอใช้หนี ้ – ทาให้ผทู้ รงไม่มีความมัน่ คงในสิ ทธิ ตามตัว๋ ) (3) ผู้ส่ งั จ่ ายตั๋วเงินชนิดไม่ จาเป็ นต้ องมีการรับรองนัน้ ตกเป็ นคนล้ มละลาย

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

การทาคาคัดค้ าน (ข้อสังเกต – เวลาทา คาคัดค้านการไม่ รับรอง เหลือ่ มกับคา คัดค้าน การไม่ใช้เงิ น อยู่ 1 วัน) ทําคําคัดค้ านต่อ จนท. ข้ อความในคําคัดค้ าน

ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท. ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

กรณีที่ กม.กําหนดว่า ไม่ต้องมีคําคัดค้ าน ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

กรณีไม่ต้องทําคํา คัดค้ าน หน้ าที่ของผู้ทรงในการ ทําคําบอกกล่าวกรณี ไม่รับรอง/ไม่ใช้ เงิน (โดยทาตามแบบของ คาบอกกล่าว ม.966)

ไม่ นามาใช้

ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

960 เมื่อตัว๋ แลกเงินไม่ได้ รับการรับรอง/ใช้ เงิน ผู้ทรงต้ องทําคําคัดค้ านเป็ น หนังสือเพื่อเป็ นหลักฐาน (1) คําคัดค้ านการไม่รับรอง – ต้ องทําภายในเวลาที่กําหนดไว้ เพือ่ ยื่นตัว๋ เงิน ให้ รับรอง (ก่อนตัว๋ ถึงกาหนด) หรื อภายใน 3 วันต่อแต่นนั ้ (2) คําคัดค้ านการไม่ใช้ เงิน – ต้ องทําภายในวันใดวันหนึง่ ที่พงึ ใช้ เงินตามตัว๋ (เมื ่อตัว๋ ถึงกาหนด) หรื อ ถ้ าไม่ได้ กําหนดไว้ ก็ภายใน 3 วันต่อแต่นนั ้ (ถ้าไม่ทาภายในกาหนด สิ้ นสิ ทธิ ไล่เบีย้ ตาม ม.937 ว.2) 961 คําคัดค้ านต้ องทําต่อ นอภ. / ผู้ทําการแทน นอภ. 962 ชื่อ/ยี่ห้อของบุคคลผู้คดั ค้ านและผู้ถกู คัดค้ าน / เหตุที่ต้องทําคําคัดค้ าน / สถานที่และวันทําคําคัดค้ าน (เป็ นต้น) 964 กรณีไม่ต้องทําคําคัดค้ าน  เมื่อมีการทําคําคัดค้ านไม่รับรอง ไม่ ต้องทาคําคัดค้ านการไม่ใช้ เงินอีก  ผู้สงั่ จ่ายตัว ๋ ประเภทที่ไม่จําเป็ นต้ องให้ ผ้ ใู ดรับรอง ตกเป็ นคนล้ มละลาย เพียงแต่นําคําพิพากษาซึง่ สัง่ ให้ ผ้ สู งั่ จ่ายเป็ นคนล้ มละลายแสดงต่อศาล  ผู้สงั่ จ่ายตัว ๋ ระบุลงไปในตัว๋ ว่าไม่ต้องทําคําคัดค้ าน ข้ อกําหนดนี ้มีผลไป ถึงคูส่ ญ ั ญาทุกคนตามตัว๋ เงิน (ออกสอบบ่ อย) 965 ตัว๋ เงินภายในประเทศ ถ้ าผู้จา่ ยลงข้ อความในตัว๋ ว่า “ไม่รับรอง” / “ไม่ใช้ เงิน” + ลงวันที่บอกปั ด + ลงลายมือชื่อ  ผลคือ ผู้ทรงไม่ต้องทําคําคัดค้ าน 963 เมื่อทําคําคัดค้ านแล้ ว  ผู้ทรง – มีหน้ าทีต้องคําบอกกล่าวไปยัง บุคคลที่ตนจะไล่เบี ้ย (ผูส ้ ลักหลัง ทีถ่ ดั ตนขึ้นไป ผูส้ งั่ จ่าย) ภายใน 4 วันต่อจากวันทีท่ ําการคัดค้ าน หรื อ จากวันทีย่ ื่นตัว๋ ซึง่ ไม่ต้องมีการคัดค้ าน  ผู้สลักหลัง – มีหน้ าทีต ่ ้ องให้ คาํ บอกกล่าวแก่คนซึง่ ถัดตนขึ ้นไปเรื่ อยๆ จนถึงผู้สงั่ จ่าย

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

15

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท. ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

ไม่ นามาใช้

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ความรับผิดการไล่เบี ้ย – รับผิดอย่าลูกหนี ้ร่วม จานวนที่ผ้ ทู รงเรียก ให้ รับผิดได้

สิทธิของคูส่ ญ ั ญาซึง่ เข้ าถือเอาและใช้ เงิน ตามตัว๋ (การไล่เบีย้ ต่อไป) สิทธิของคูส่ ญ ั ญาซึง่ ต้ องรับผิดและถูกไล่ เบี ้ย ข้ อจํากัดการใช้ สทิ ธิไล่ เบี ้ยของ การใช้ สทิ ธิไล่เบี ้ยหลัง การรับรองแต่เพียง บางส่วน

 

16

967 ในเรื่ องตัว๋ แลกเงิน ผู้สงั่ จ่าย / ผู้รับรอง / ผู้สลักหลัง / ผู้อาวัล ย่อมต้ องร่วมรับผิดต่อผู้ทรง (รับผิ ดอย่างลูกหนีร้ ่ วม) ผู้ทรงย่อมมีสทิ ธิเรียกให้ บคุ คลเหล่านันรั ้ บผิดเรี ยงตัว / รวมกันก็ได้ โดยไม่ต้องดําเนินการตามลําดับ

968 ในการใช้ สทิ ธิไล่เบี ้ย ผู้ทรงมีสทิ ธิเรี ยกร้ อง (1) จํานวนเงินในตัว๋ ซึง่ เขาไม่รับรอง/ไม่ใช้ + ดอกเบี ้ย หากว่ามีข้อกําหนดให้ คิดดอกเบี ้ย ไม่ นามาใช้ ดังนัน้ จึงเรี ยกให้ รับผิดได้ เฉพาะต้ นเงินที่อยูบ่ น (2) ดอกเบี ้ย ร้ อยละ 5 ต่อปี นับแต่วนั ถึงกําหนด เช็ค + ดอกเบี ้ยผิดนัดตามหลักหนี ้ทัว่ ไป คือ ร้ อยละ 7.5 ต่อปี (3) ค่าใช้ จา่ ยในการคัดค้ าน / การส่งคําบอกกล่าว / ค่าใช้ จา่ ยอื่น ๆ (หรื อมากกว่านัน้ ถ้ามี สิ ทธิ ) (4) ค่าชักส่วนลด – โดยหากไม่มีข้อตกลงไว้ ให้ คิด ร้ อยละ 1/6 ในต้ นเงินอันจะพึงใช้ หากใช้ สทิ ธิไล่เบี ้ยก่อนถึงกําหนด ผลคือ ให้ หกั ลดจํานวนเงินในตัว๋ เงินลง ร้ อยละ 5 969 เมื่อคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายซึง่ เข้ าถือเอาและใช้ เงินตามตัว๋ มีสทิ ธิเรี ยกเอาเงินใช้ จากคูส่ ญ ั ญาทังหลายซึ ้ ง่ ต้ องรับผิดต่อตนได้ คือ (1) เงินเต็มจํานวนซึง่ ตนได้ ใช้ ไป (2) ดอกเบี ้ยในจํานวนเงินนัน้ คิดอัตราร้ อยละ 5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ได้ ใช้ เงินไป ไม่ นามาใช้ (3) ค่าใช้ จา่ ยต่าง ๆ ทีต่ นต้ องออกไป (4) ค่าชักส่วนลด – โดยหากไม่มีข้อตกลงไว้ ให้ คิด ร้ อยละ 1/6 ในต้ นเงินอันจะพึงใช้ 970 คูส่ ญ ั ญาทุกฝ่ ายซึง่ ต้ องรับผิดและถูกไล่เบี ้ย / อยูใ่ นฐานะจะถูกไล่เบี ้ยได้ นนั ้ เมื่อใช้ เงินแล้ ว  มีสท ิ ธิเรี ยกให้ เขาสละตัว๋ เงินให้ แก่ตนได้ + คําคัดค้ าน + บัญชีรับเงินด้ วย ไม่ นามาใช้ ผู้สลักหลังทุกคนซึง่ เข้ าถือเอาและใช้ เงินตามตัว๋ แลกเงินแล้ ว  มีสท ิ ธิขีดฆ่าคําสลักหลังของตน และของเหล่าผู้สลักหลังภายหลังตน 971 ผู้สงั่ จ่าย / ผู้รับรอง / ผู้สลักหลังคนก่อน นัน้ หากมีการโอนตัว๋ ต่อไป แล้ วตนกลับมาเป็ นผู้ทรงอีกครัง้ นัน้  ไม่มีสท ิ ธิไล่เบี ้ยเอาแก่คสู่ ญ ั ญาทีต่ นต้ องรับผิดต่อเขาอยูก่ ่อนตามตัว๋ เงิน 972 กรณีใช้ สทิ ธิไล่เบี ้ยภายหลังการรับรองแต่บางส่วน คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายซึง่ ใช้ เงินอันเป็ นจํานวนเขาไม่รับรองนัน้ อาจจะเรียกให้ จด ระบุความที่ใช้ เงินนี ้ลงไว้ ในตัว๋ เงินและเรี ยกให้ ทําใบรับให้ แก่ตนได้ อนึง่ ผู้ ไม่ นามาใช้ ไม่ นามาใช้ ทรงตัว๋ เงินต้ องให้ สาํ เนาตัว๋ เงินอันรับรองว่าถูกต้ องแก่คสู่ ญ ั ญาฝ่ ายนัน้ พร้ อมทังคํ ้ าคัดค้ านด้ วย เพื่อให้ เขาสามารถใช้ สทิ ธิไล่เบี ้ยในภายหลังได้ สืบไป

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

As of 10 Apr 2012

ผลของการไม่ทําคํา คัดค้ าน – ผู้ทรงสิ ้นสิทธิ ไล่เบี ้ยเอาแก่ผ้ สู งั่ จ่าย ผู้สลักหลัง และ คูส่ ญ ั ญาคนอืน่ ๆ

ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

การยืดระยะเวลากรณี มีเหตุจําเป็ น

ใช้ เฉพาะกับตั๋วสัญญาใช้ เงิน ออกใน ตปท.

973 ถ้ าผู้ทรงไม่ทาํ คําคัดค้ านภายใน (1) กําหนดเวลาสําหรับตัว๋ แลกเงินชนิด “ให้ ใช้ เงินเมื่อได้ เห็น” (AT SIGHT) / “ภายในระยะเวลาอย่างใดอย่างหนึง่ ภายหลังทีไ่ ด้ เห็น” (AFTER SIGHT) (2) กําหนดเวลาสําหรับทําคําคัดค้ านการไม่รับรอง/ไม่จา่ ยเงิน (3) กําหนดเวลาสําหรับให้ ยื่นตัว๋ เพือ่ ให้ ใช้ เงิน ในกรณีทมี่ ีข้อกําหนดว่า “ไม่ต้องทําคําคัดค้ าน” ผลคือ ผู้ทรงสิ ้นสิทธิไล่เบี ้ยลูกหนี ้ทุกคน ยกเว้ นผู้รับรอง (ถ้ ามี) 974 กรณีการยื่นตัว๋ แลกเงิน/ทําคําคัดค้ าน ถ้ ามีเหตุจําเป็ นอันมิอาจก้ าว ล่วงได้ = กม. ก็ให้ ยดื เวลาออกไปอีกได้

17

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

ใช้ เฉพาะกับเช็ค ออกใน ตปท.

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรือข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะตั๋วเงิน โดย Cookingpond TULAW 53

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF