2011-10-01 LA 201 สรุปมาตรา กม.หุ้นส่วน-บริษัท

September 25, 2017 | Author: Nami Vanajak | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

สรุปมาตรา กม. หุ้นส่วน...

Description

As of 1 Oct 2011

1

สรุปสาระสาคัญเฉพาะมาตรา – LA 330 กฎหมายลักษณะหุ้นส่ วน – บริษัท – พ.ร.บ.บริษัทมหาชนฯ (อ.นนทวัชร์ / อ.อรรณพ) สอบวันอังคารที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. (รวบรวม/ดัดแปลงจากเอกสาร อ.นนทวัชร์ / อ.อรรณพ / อ.สุดา ) ประเด็น (ออกสอบ ๑ ข้ อ) ๑) การจดทะเบียนความเป็ นนิตบิ คุ คล

๒) ๓)

๔)

๕)

ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ

ความสัมพันธ์ ระหว่ างหุ้นส่ วนด้ วยกัน ๑๐๖๔ มีการจดทะเบียน

๑๐๗๘ มีการจดทะเบียน  ต้ องมีการแถลงความว่าเป็ นห้ างหุ้นส่วนจากัด และ ชื่อและข้ อมูลของหุ้นส่วน จากัดความรับผิด + จานวนเงินที่เขาได้ ลงทุน และ ข้ อจากัดอานาจหุ้นส่วน การเปลี่ยนแปลงข้ อสัญญาเดิมของ ๑๐๓๒ ห้ ามมิ ให้ มีการเปลี่ยนแปลงข้ อสัญญาเดิมของห้ างหุ้นส่วน รวมถึงประเภทของกิจการ (เปลีย่ นแปลงอัตราส่วนกาไรขาดทุน / ตกลงให้หนุ้ ส่วนคนหนึ่งออกไป / ห้ างหุ้นส่วน/ประเภทของกิจการ นอกจากหุ้นส่วนทุกคนจะยินยอม เว้ นแต่ มีข้อตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น ทุน – ผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคนต้ องมีสงิ่ ใด  เงิน / ทรัพย์สนิ / แรงงาน  เงิน / ทรัพย์สน ิ / แรงงาน  เงิน / ทรัพย์สน ิ / แรงงาน  เงิน / ทรัพย์สน ิ สิง่ หนึ่งมาลงทุน (๑๐๒๖ – ๑๐๓๑)  แรงงาน (แต่ไม่ได้ตีค่าแรง) – คิดอัตราเฉลี่ยส่วนลงหุ้นของผู้เป็ นหุ้นส่วนคนอื่นที่ลงด้ วยเงิน/ทรัพย์สนิ ทังหมด  แต่ จะลงเป็ นแรงงานไม่ได้ ้  ทรัพย์สน ิ (ในเรื ่องความเกี ่ยวพันเรื ่องส่งมอบ / ซ่อมแซม / ชารุดบกพร่อง / รอนสิทธิ์ / ข้อยกเว้นความรับผิด)  ให้ ใช้ เป็ นการลงทุน = ว่าด้ วยเช่าทรัพย์  ให้ เป็ นกรรมสิทธิ์ = ว่าด้ วยสัญญาซื ้อขาย หุ้นส่วนผู้จดั การ  ๑๐๓๓ ถ้ าไม่ได้ ตกลงกันไว้ – ผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคนมีสท ิ ธิจดั การงานของห้ าง (เป็ น หส.ผจก. ทุกคน) ๑๐๘๗ เฉพาะ หส.ไม่จากัดความรับ แต่ จะเข้ าทาสัญญาที่ห้ นุ ส่วนคนหนึ่งคัดค้ านไม่ได้ (ทักท้วงได้เฉพาะการเข้าทาสัญญา) ผิดเท่านันที ้ ่เป็ น หส.ผจก.ได้  ๑๐๓๕ ถ้ าตกลงตัง้ หส.ผจก.หลายคน – ผู้เป็ น หส.ผจก.ทุกคนมีสท ิ ธิจดั การงานของห้ างได้  แต่ หส.ผจก.อีกคนจะจัดการงานของห้ างที่ หส.ผจก.อีกคนทักท้ วงไม่ได้ (ทักท้วงในการใดๆ ก็ได้ ไม่จากัด เฉพาะทาสัญญา) X ลักษณะของการจัดการโดยหุ้นส่วน  ๑๐๓๙ ผู้เป็ นหุ้นส่วนต้ องจัดการงานของห้ างฯ ด้ วยความระมัดระวังเสมือนจัดการงานของตนเอง (กรณี สอดเข้ามาในการจัดการงาน ผู้จดั การ  ๑๐๔๒ ความเกี่ยวพันระหว่าง หส.ผจก. กับผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหลาย ้ ให้ บงั คับตามบทบัญญัตติ วั การตัวแทน ของห้าง กม.ให้รบั ผิดเสมือนหุน้ ส่วน  ๑๐๔๓ ผู้เป็ นหุ้นส่วนผู้จด ั การทานอกขอบอานาจ หรื อผู้เป็ นหุ้นส่วนอื่นเข้ ามาสอดในการจัดการงานของห้ าง ให้ บงั คับตาม ไม่จากัดความรับผิด) บทบัญญัตวิ า่ ด้ วยการจัดการงานนอกสัง่

๖) การออกจากตาแหน่ งของหุ้นส่วน ผู้จดั การ (ไม่ใช่เรื ่องของการออกจาก การเป็ นหุน้ ส่วน)

ไม่ต้องจดทะเบียน ไม่มีสภาพบุคคล

ห้ างหุ้นส่ วนจากัด (ม.๑๐๗๗ / ม.๑๐๘๐) หุ้นส่ วนไม่ จากัดความรับผิด หุ้นส่ วนจากัดความรับผิด

ห้ างหุ้นส่ วนสามัญจดทะเบียน

 

๘๒๖ + ๑๐๔๒ ลาออก ๑๐๓๖ ผู้เป็ น หส. ทังหลายยิ ้ นยอม พร้ อมใจให้ ปลดออกจากตาแหน่ง

 

๑๐๖๔/๑ + /๒ ลาออก ๑๐๓๖ ผู้เป็ น หส. ทังหลายยิ ้ นยอม พร้ อมใจให้ ปลดออกจากตาแหน่ง เว้ น

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

 

๑๐๗๘/๑ + /๒ ลาออก ๑๐๘๗ ผู้เป็ น หส.ไม่จากัดความรับผิด ยินยอมพร้ อมใจให้ ปลดออกจาก

X

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011



เว้ นแต่จะตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น พ้ นจากการเป็ นหุ้นส่วน



แต่จะตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น พ้ นจากการเป็ นหุ้นส่วน



2

ตาแหน่ง เว้ นแต่จะตกลงกันไว้ เป็ น อย่างอื่น (อาจยินยอมให้ หส.ไม่จากัด ความรับผิดมี เสียงลงคะแนนแต่งตัง้ หส.ผจก.) พ้ นจากการเป็ นหุ้นส่วน

๗) การดูแลการครอบงาการจัดการ

๑๐๓๗ ผู้เป็ นหุ้นส่วนอื่นนอกจาก หส.ผจก. มีสทิ ธิ มีสทิ ธิตาม ม.๑๐๓๗ เช่นกัน แต่  ไต่ถามถึงการงานของห้ างหุ้นส่วนที่จด ั อยู่นนได้ ั ้ ทกุ เมื่อ เนื่องจากไม่ได้ ห้ามค้ าแข่งกับห้ าง  ตรวจและคัดสาเนาสมุดบัญชี และเอกสารใดๆ ของหุ้นส่วนได้ จึงต้ องใช้ สทิ ธิโดยสุจริตเท่าที่จาเป็ น ๘) การแบ่งกาไรขาดทุน  ๑๐๔๔ หากมิได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น – ส่วนกาไร / ขาดทุน ของผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคน ย่อมเป็ นไปตามส่วนลงหุ้น  ๑๐๔๕ หากกาหนดเพียงแค่สว ่ นกาไรหรือส่วนขาดทุนเป็ นเท่าใด – สันนิษฐานว่าหุ้นส่วนผู้นนมี ั ้ สว่ นกาไรและส่วนขาดทุนเป็ นอย่างเดียวกัน ๙) บุคคลภายนอกเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วน  ๑๐๔๐ ห้ ามชักนาเอาบุคคลอื่นเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วนโดยไม่ได้ รับความยินยอมกับหุ้นส่วนอื่น ๑๐๙๑ หส.จากัดความรับผิดจะโอน (คุณสมบัติของ หส. เป็ นสาระสาคัญ เว้ นแต่ จะมีข้อตกลงเป็ นอย่างอื่น หุ้นของตนโดยไม่ต้องได้ รับความ ดังนัน้ หส.ทุกคนต้องยินยอม)  ๑๐๔๑ ถ้ าหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งโอนกาไร/ขาดทุนของห้ างฯ ในส่วนของตนให้ บค ุ คลภายนอกโดยไม่ได้ รับความยินยอมจาก ยินยอมจากหุ้นส่วนคนอื่นๆ ก็ได้ (เนือ่ งจากไม่ได้กระทบต่อส่วนแบ่ง หุ้นส่วนอื่น – ไม่ได้ ทาให้ บคุ คลภายนอกเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วน กาไร/ขาดทุน/ทรัพย์ สินของห้าง ดังนัน้ (เนือ่ งจากเป็ นเรื ่องทีก่ ระทบต่อการเปลีย่ นแปลงของส่วนแบ่งกาไร / ขาดทุน / ทรัพย์ สินของห้าง – ดังนัน้ หส.ทุกคนต้องให้ แม้ว่าจะตาย ล้มละลาย ตกเป็ นคนไร้ ความยินยอม) ความสามารถก็ไม่ทาให้หา้ งเลิก – กรณี ตาย ทายาทก็มีสิทธิ ได้รับหุน้ ต่อ) ๑๐๖๖ และ ๑๐๖๗ ประกอบ ๑๐๘๐ ๑๐๙๐ ผู้เป็ นหุ้นส่วนจากัดความรับ ๑๐) การค้ าแข่งกับห้ าง หลักเกณฑ์ ๑๐๓๑ ว.๑ หลักเกณฑ์ ๑๐๖๖ (๑) ผู้เป็ นหุ้นส่วนประกอบกิจการ (เข้า (๑) ผู้เป็ นหุ้นส่วนประกอบกิจการ (เข้าไป ใช้ หลักเกณฑ์เดียวกับผู้เป็ นหุ้นส่วนใน ผิดค้ าขายแข่งกับห้ างได้ ไปมีอานาจจัดการ) อย่างใดอย่าง มีอานาจจัดการ) อย่างใดอย่างหนึ่ง ห้ างหุ้นส่วนจดทะเบียนสามัญ หนึง่ ซึ่งมีสภาพดุจเดียว กันและ เป็ นการแข่ งขันกับกิจการของ ห้ าง (๒) ไม่วา ่ ทาประโยชน์เพื่อตนเองหรื อ ประโยชน์ของผู้อื่น

อันมีสภาพเป็ นอย่ างเดียวกันและ เป็ นการแข่ งขันกับกิจการของห้ าง หุ้นส่วนนัน้ ไม่ว่าจะทาเพื่อประโยชน์ ตนเองหรื อผู้อื่น (๒) เข้ าไปเป็ นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับ

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

ผิดในห้ างหุ้นส่วนอื่น ซึ่งประกอบ กิจการอันมีสภาพเป็ นอย่ าง เดียวกัน และแข่ งขันกับกิจการ ของห้ างหุ้นส่วนจดทะเบียนนัน้ (ห้ามโดยฐานะ ไม่ว่าจะมีอานาจ จัดการงานของห้างหรื อไม่ก็ตาม)  ข้ อยกเว้ น ข้ อยกเว้ น เว้ นแต่จะได้ รับความยินยอม ข้ อยกเว้ น ของผู้เป็ นหุ้นส่วนอื่น  ได้ รับความยินยอมของผู้เป็ นหุ้นส่วน อื่นทังหมด ้  ผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหลายได้ ้ ร้ ูอยู่แล้ วใน เวลาลงทะเบียนห้ างหุ้นส่วนนันว่ ้ า ผู้ เป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนอื่นและใน สัญญาเข้ าหุ้นส่วนที่ทาต่อกันไว้ ก็ไม่ได้ บังคับให้ ถอนตัว  ผลของการฝ่ าฝื น ผู้เป็ นหุ้นส่วนคนอื่นมีสทิ ธิ ๑๐๓๘ ว.๒ ห้ างหุ้นส่วนซึ่งจดทะเบียนมีสทิ ธิ ๑๐๖๗  เรี ยกเอากาไรซึ่งผู้นนหาได้ ั้ ทงหมด ั้  เรี ยกเอากาไรซึ่งผู้นนหาได้ ั้ ทงหมด ั้ หรือ หรือ  ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ ห้าง  เรี ยกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ หุ้นส่วนได้ รับความเสียหายเพราะ ห้ างหุ้นส่วนได้ รับความเสียหายเพราะ เหตุนนั ้ เหตุนนั ้  แต่ ห้ามมิให้ ฟ้องเรี ยกเมื่อพ้ นเวลา  แต่ ห้ามมิให้ ฟ้องเรี ยกเมื่อพ้ นเวลา ๑ ปี นับแต่วนั ที่ฝ่าฝื น ๑ ปี นับแต่วนั ที่ฝ่าฝื น  เรี ยกให้ เลิกห้ างหรื อกาจัดหุ้นส่วนได้  ผู้เป็ นหุ้นส่ วนทัง้ หลายนอกนั น ้ เรี ยก ตาม ม.๑๐๕๗ และ ม.๑๐๕๘ ให้ เลิกห้ างหุ้นส่วน ๑๑) การขอให้ งดใช้ ชื่อเมื่อออกจากการ ๑๐๔๗ หุ้นส่วนที่ออกไปแล้ วมีสทิ ธิให้ ห้างฯ งดใช้ ชื่อของตนได้ (โดยหากปล่อยปละละเลยไม่ใช้ สทิ ธิดงั กล่าว โดยยอมให้ ห้างใช้ เป็ นหุ้นส่วน ชื่อตนต่อไป และมีผลให้ บคุ คลภายนอกหลงเชื่อ ผลคือ บุคคลนันก็ ้ มีความผิดด้ วย) หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

3

๑๐๘๒ ห้ ามมิให้ เอาชื่อหุ้นส่วนจากัด ความรับผิดมาระคนเป็ นชื่อห้ าง

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

4

มิฉะนันจะมี ้ ความรับผิดเสมือนเป็ น หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด ๑๒) สิทธิเรี ยกเอาส่วนของตนจาก หุ้นส่วนอื่น

๑๓)

๑๔)

๑๕)

๑๖)

๑๗)

๑๐๔๘ หุ้นส่วนคนหนึ่งมีสิทธิเรียกเอา X ส่วนของตนจากหุ้นส่วนคนอื่นๆ แม้ ใน (ไม่มีกรณี การไปทากิ จการไม่ปรากฏชื ่อเพราะมีการจดทะเบียนแล้ว) กิจการที่ไม่ปรากฏชื่อตนได้ ความสัมพันธ์ ระหว่ างหุ้นส่ วน/ห้ าง กับบุคคลภายนอก X ผู้เป็ นหุ้นส่วนถือสิทธิเอาจาก ๑๐๔๙ ผู้เป็ นหุ้นส่วนจะถือเอาสิทธิ (ไม่มีกรณี การไปทากิ จการไม่ปรากฏชื ่อเพราะมีการจดทะเบียนแล้ว) บุคคลภายนอกในกิจการค้ าขายที่ ใดๆ แก่บคุ คลภายนอกในกิจการ ไม่ปรากฏชื่อของตน ค้ าขายซึ่งไม่ปรากฏชื่อของตนไม่ได้ การจัดการภายในขอบ ๑๐๕๐ การใดๆ ที่ห้ ุนส่ วน (ไม่ตอ้ ง  หากหุ้นส่ วนผู้จัดการทาไปนอกขอบ  หากหุ้นส่ วนผู้จัดการทานอกขอบ วัตถุประสงค์ เป็ นหุน้ ส่วน ผจก. ก็ได้) จัดการไป วัตถุประสงค์ – การนันไม่ ้ ผกู พันนิติ วัตถุประสงค์ – การนันไม่ ้ ผกู พันนิติ ในทางธรรมดาค้ าขายของห้ าง ผู้เป็ น บุคคล บุคคล แม้ ผ้ แู ทนจะกระทาเกินขอบ  กรณี ทีก ่ ระทาภายในขอบวัตถุประสงค์  กรณี ทีก่ ระทาภายในขอบวัตถุประสงค์ หุ้นส่วนทุกคนต้ องผูกพันในการนัน้ อานาจ (ซึ่งทาให้ ไม่ผกู พันตัว ก็ตอ้ งไปดูว่าทาไปในขอบอานาจหรื อ ก็ตอ้ งไปดูว่าทาไปในขอบอานาจหรื อ ห้ าง) แต่ห้างก็อาจให้ สตั ยาบัน ไม่ – ถ้าไม่ ผลคือ ไม่ผูกพันนิติบคุ คล ไม่ – ถ้าไม่ ผลคือ ไม่ผูกพันนิติบคุ คล ได้ เพื่อรับเอาผลของสัญญา ขอบอานาจ ๑๐๕๓ ข้ อจากัดอานาจของหุ้นส่วน ข้ อจากัดอานาจมีผลตาม ม.๑๐๒๒ ข้ อจากัดอานาจมีผลตาม ม.๑๐๒๒ นัน้ หรื อ เป็ นกรณีที่เข้ า ในการผูกพันผู้เป็ นหุ้นส่วนคนอื่น ไม่ (เมือ่ ประกาศในราชกิ จจา) ดังนัน้ ต้ อง (เมือ่ ประกาศในราชกิ จจา) ดังนัน้ ต้ อง หลักเกณฑ์ใน ม.๘๒๑ / ๘๒๒ มีผลถึงบุคคลภายนอก ดาเนินการภายในขอบอานาจ ดาเนินการภายในขอบอานาจ ประกอบ ม.๗๗ ผลคือ ผูกพัน เมื่อจัดการแล้ ว ผลจะผูกพันใคร ๑๐๕๐ ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่ วนจัดการไป หุ้นส่ วนผู้จัดการจัดการไปในขอบ หุ้นส่ วนผู้จัดการจัดการไปในขอบ ตัวห้ าง ในทางธรรมดาค้ าขายของห้ าง ผู้เป็ น วัตถุประสงค์(ของห้ าง) และขอบอานาจ วัตถุประสงค์(ของห้ าง) และขอบอานาจ หุ้นส่ วนต้ องรับผิดร่วมกัน (ไม่มีหา้ ง) (ของผู้แทน)ย่อมผูกพัน หหส.จดทะเบียน (ของผู้แทน) ย่อมผูกพัน หจก. ผู้เป็ นหุ้นส่ วนรับผิดต่อหนี ้สินของ ๑๐๕๐ รับผิดเมื่อหนี ้ถึงกาหนดชาระ ผู้เป็ นหุ้นส่วนรับผิดเมื่อห้ างผิดนัดก่อน หุ้นส่ วนไม่ จากัดความรับผิดจะรับผิด หุ้นส่วนจากัดความรับผิดจะรับผิดเมื่อ ห้ างหุ้นส่วนเมื่อใด (๑๐๗๐) โดยผู้เป็ นหุ้นส่วนมีสทิ ธิคล้ าย เมื่อห้ างผิดนัดเสียก่อน (๑๐๗๐) โดยผู้ ห้ างเลิก ๑๐๙๕ ว.๑ สิทธิเกี่ยง (๑๐๗๐) กล่าวคือ ถ้ าผู้เป็ น เป็ นหุ้นส่วนมีสทิ ธิคล้ ายสิทธิเกี่ยง เว้ นแต่ หุ้นส่วนจากัดความรับ (๑๐๗๐) หุ้นส่วนพิสจู น์ได้ วา่ ผิดต้ องรับผิดเสมือนหุ้นส่วน ไม่จากัดความรับผิดเฉพาะใน

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011 (๑)

ทรัพย์สนิ ของห้ างหุ้นส่วนทังหมดยั ้ ง พอชาระหนี ้ได้ ทงหมด/บางส่ ั้ วน และ (๒) การจะบังคับแก่ห้างหุ้นส่วนนันไม่ ้ เป็ นการยาก ผลคือ ศาลจะบังคับให้ เอากับทรัพย์สนิ ของห้ างหุ้นส่วนนันก่ ้ อนก็ได้ แล้ วแต่ศาล จะเห็นควร

๑๘) ผู้เป็ นหุ้นส่ วนรับผิดในหนี ้สินของ ห้ างหุ้นส่วนเพียงใด (รับผิดจานวนเท่ าใด)

รับผิดโดยไม่จากัดจานวนอย่างลูกหนี ้ ร่วมกับหุ้นส่วนคนอื่น

๑๐๒๕ รับผิดโดยไม่ จากัดจานวนอย่าง ลูกหนี ้ร่วมกับหุ้นส่วนคนอื่นในหนีข้ อง ห้ าง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

ไหลข้ ามต่ อมาเลย

๑๐๗๗ (๒) รับผิดโดยไม่ จากัดจานวน อย่างลูกหนี ้ร่วมกับหุ้นส่วนคนอื่นใน บรรดาหนี ้สินของห้ าง

5

กิจการที่เข้ าไปเกี่ยวข้ องเท่านัน้ ใน ๒ กรณี ได้ แก่ (๑) ยอมให้ ใช้ ชื่อตนระคนเป็ น ชื่อห้ าง ๑๐๘๑ + ๑๐๘๒ (๒) สอดเข้ าไปจัดการงานของ ห้ าง ๑๐๘๘ (แต่ถ้ามี ข้อบังคับในสัญญาให้ สามารถเข้ามาจัดการเรื ่อง ใด ถือว่าไม่ได้เข้ามาสอด) ๑๐๗๗(๑) + ๑๐๙๕ ว.๒ รับผิดจากัด ไม่เกินจานวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้น เว้ นแต่  ๑๐๘๕ (โอ้ อวด)แสดงว่าตนได้ ลงหุ้น มากกว่าจานวนซึ่งได้ จดทะเบียน (ลงหุน้ ๑ บ. แต่บอกกับคนนอกว่า จะรับผิด ๒ บ. ก็ตอ้ งรับผิด ๒ บ.)  ๑๐๘๖ มีการเปลี่ยนแปลงประเภท ทรัพย์สนิ / ลดส่วนลงหุ้นโดยยัง ไม่ได้ จดทะเบียน (การลดส่วนลงหุน้ จะมีผลเมือ่ จดทะเบียน และเฉพาะ กับหนีท้ ีถ่ ูกก่อขึ้นภายหลังการจด ทะเบียนเท่านัน้ ดังนัน้ ในสายตา เจ้าหนีก้ ็ยงั ต้องรับผิดเท่าทีส่ ่วนลง หุน้ เดิมก่อนจดทะเบียน)

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

๑๙)

๒๐)

๒๑)

๒๒)

๒๓)

6

กรณีมีการเข้ าออกของหุ้นส่ วน – ต้ องรับผิดกันอย่างไร ผู้เป็ นหุ้นส่วนต้ องรับผิดในหนี ้สิน ๑๐๕๑ ผู้เป็ นหุ้นส่วนซึ่งออกจาก ๑๐๖๘ ความรับผิดอันเกี่ยวแก่หนี ้ซึ่งห้ างฯ ได้ ก่อขึ ้น (หนีข้ องห้าง) – ผู้เป็ นหุ้นส่วนมี  อันเกี่ยวกับห้ างหุ้นส่วนซึ่งก่อให้ หุ้นส่วนไปแล้ ว ยังคงต้ องรับผิดในหนี ้ ความรับผิดจากัดเพียง ๒ ปี นับแต่วนั ที่ตนออกจากห้ าง เกิดขึ ้นก่อนที่ตนจะออกจากห้ าง ซึ่งห้ างหุ้นส่วนได้ ก่อขึ ้นก่อนที่ตนได้ หุ้นส่วน ออกจากหุ้นส่วนไป บุคคลที่เข้ าเป็ นหุ้นส่วนใหม่ต้องรับ ๑๐๕๒ ผู้เข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนใหม่ต้องรับผิดในหนี ้ใด ๆ ซึ่งห้ างหุ้นส่วนได้ ก่อให้ เกิดขึ ้นก่อนที่ตนเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วนด้ วย ผิดในหนี ้สินซึ่งห้ างหุ้นส่วนก่อขึ ้น (ต้องเป็ นหนีใ้ นทางการค้าขายจัดการงานของห้างเท่านัน้ ) ก่อนตนเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วน ๑๐๗๒ ๑๐๗๒ (ใช้กบั เฉพาะหนี ้ส่วนตัวของผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนเท่านัน้ ) หนี ้สินส่วนตัวของผู้เป็ นหุ้นส่วน ทรัพย์สนิ ของหุ้นส่วนในห้ างเป็ น กรรมสิทธิ์ร่วม – เจ้ าหนี ้ส่วนตัวมีสทิ ธิ  ถ้ าห้ างหุ้นส่วนจดทะเบียนยังไม่เลิกกัน – เจ้ าหนี ้ส่วนตัวของผู้เป็ นหุ้นส่วนมีสทิ ธิยึด ได้ เฉพาะผลกาไร / เงินซึ่งห้ างหุ้นส่วนค้ างชาระแก่ห้ นุ ส่วนคนนันเท่ ้ านัน้ (เนือ่ งจาก ๑๐๙๔ ถ้ าหุ้นส่วนผู้จากัดความรับผิด ยึดได้ ล้ มละลาย – ต้ องเอาหุ้นของหุ้นส่วน กาไรและเงินทีห่ ้างค้างต่อ หส. เป็ นสิ ทธิ เรี ยกร้องส่วนตัวของ หส. ลูกหนี ้ – แต่ คนนันออกขาย ้ เป็ นสินทรัพย์ในกอง เนือ่ งจากห้างยังมีอยู่ จึงไม่สามารถไปยึดหุน้ ที ่เป็ นกรรมสิทธิ์ ของห้างได้)  ถ้ าห้ างหุ้นจดทะเบียนนันนั ้ นเลิ ้ กกันแล้ ว – เจ้ าหนี ้ส่วนตัวฯ มีสทิ ธิยึดหุ้นของผู้เป็ น ล้ มละลาย หุ้นส่วนคนนันที ้ ่เป็ นสินทรัพย์ ของห้ างหุ้นส่วนได้ (เลิกห้างแล้วก็ตอ้ งมีการคืน ทรัพย์สิน/เงินทีเ่ หลือ ดังนัน้ เจ้าหนีส้ ่วนตัวจึงยึดหุน้ /ทรัพย์สินของห้างทีเ่ ป็ นส่วน ของลูกหนีห้ นุ้ ส่วนได้ เพราะห้างไม่มีแล้ว) บุคคลภายนอกต้ องรับผิดเสมือน ๑๐๕๔ บุคคลใด X  แสดงตนว่าเป็ นหุ้นส่วน (ด้ วยวาจา/ลายลักษณ์ อก ั ษร/กิริยา) เป็ นหุ้นส่วน  ยินยอมให้ เขาใช้ ชื่อตนเป็ นชื่อห้ างหุ้นส่วน หรื อ  รู้แล้ วไม่คด ั ค้ าน ปล่อยให้ เขาแสดงว่าตนเป็ นหุ้นส่วน ผลคือ บุคคลนันต้ ้ องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในบรรดาหนี ้ของห้ างหุ้นส่วนเสมือนเป็ นหุ้นส่วน การเลิกห้ างโดยข้ อสัญญา (ม. ๑๐๕๕ ห้ างหุ้นส่วนสามัญย่อมเลิกกันด้ วยเหตุ ดังนี ้ (ต้องตีความโดยยืดหยุ่น เมือ่ มีเหตุดงั กล่าวเกิ ดขึ้นไม่ได้หมายความว่าห้างต้องเลิกเสมอไป เเป็ นเรื ่องของสัญญา) ๑๐๕๕ (๑) – (๓) และการตกลง (๑) ถ้ าในสัญญาทาไว้ มีกาหนดกรณี อน ั ใดเป็ นเหตุที่จะเลิกกัน เมื่อมีกรณีนนั ้ เลิกห้ าง) (เป็ นเรื ่องของสัญญา) (๒) ถ้ าสัญญาทาไว้ เฉพาะกาหนดกาลใด เมื่อสิ ้นกาหนดกาลนัน้ (๓) ถ้ าสัญญาทาไว้ เฉพาะเพื่อทากิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแต่อย่างเดียว เมื่อเสร็ จการนัน้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

๒๔) การเลิกห้ างโดยบทบัญญัติ กม.  ม.๑๐๕๕ (๔) + ม.๑๐๕๖ – ผู้เป็ นหุ้นส่วนให้ คาบอกกล่าว เลิกห้ าง ตาม ม.๑๐๕๖  ม.๑๐๕๕ (๕) – ตาย / ล้ มละลาย / ตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ  ทางแก้ – ม.๑๐๖๐

๑๐๕๕ (๔) + ๑๐๕๖ ห้ างหุ้นส่วนได้ ตงขึ ั ้ ้นไม่มีกาหนดกาลอย่างหนึ่งอย่างใดเป็ นยุติ กม.กาหนดให้ เลิกได้ ตอ่ เมื่อ  หุ้นส่ วนคนใดคนหนึ่งบอกเลิกเมื่อสิ ้นรอบปี ในทางบัญชีเงินของห้ างหุ้นส่วนนัน ้ และ  หุ้นส่วนนันต้ ้ องบอกกล่าวความจานงจะเลิกล่วงหน้ า ไม่น้อยกว่า ๖ เดือน

๒๕) การเลิกห้ างโดยร้ องขอต่อศาล / กรณีร้องขอกาจัดผู้เป็ นหุ้นส่วน (ม.๑๐๕๗ และ ม.๑๐๕๘)

ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่ วนคนใดร้ องขอเมื่อ... ศาลอาจสัง่ ให้ ห้างหุ้นส่วนสามัญเลิกกันก็ได้ (๑) เมื่อผู้เป็ นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งนอกจากผู้ร้องฟ้องนัน้ ล่วงละเมิดบทบังคับ ใด ๆ อันเป็ นข้ อสาระสาคัญซึ่งสัญญาหุ้นส่วนกาหนดไว้ แก่ตน โดยจงใจหรื อเลินเล่ออย่างร้ ายแรง (๒) เมื่อกิจการของห้ างหุ้นส่วนนันจะท ้ าไปก็มีแต่ขาดทุนอย่างเดียวและไม่มีหวังจะกลับฟื น้ ตัวได้ อีก

๑๐๕๕ (๕) – ผู้เป็ นหุ้นส่วน ตาย / ล้ มละลาย / ตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ ผลคือ สัญญาจัดตังห้ ้ างหุ้นส่วนเลิก (ห้างเลิกกัน)

๑๐๖๐ ถ้ าหุ้นส่ วนที่ยังเหลือรับซื ้อหุ้นของหุ้นส่วนที่ออกไปแล้ ว ผลคือ สัญญาจัดตังห้ ้ างหุ้นส่วนนันยั ้ งคงใช้ ได้ ตอ่ ไประหว่าง หุ้นส่วนที่ยงั เหลืออยู่ด้วยกัน

7

หุ้นส่วนจากัดความรับผิดไม่มีสทิ ธิ บอกเลิกห้ าง





หส. ตาย ไม่ทาให้ ห้างเลิก / ทายาท มีสทิ ธิเข้ าไปรับเป็ นหุ้นส่วนต่อ เว้ น แต่ ข้ อสัญญากาหนดเป็ นอย่างอื่น หส. ล้มละลาย นาหุ้นของ หส. คน นันออกขายเป็ ้ นสินทรัพย์ในกอง ล้ มละลาย ๑๐๙๒ – ๑๐๙๔

๓ เมื่อมีเหตุอื่นใด ๆ ทาให้ ห้างหุ้นส่วนนันเหลื ้ อวิสยั ที่จะดารงคงอยู่ตอ่ ไปได้

( )

๒๖) การเลิกห้ างกรณี หส.ล้ มละลาย ๒๗) การชาระบัญชี

X ๑๐๖๑ – ๑๐๖๓ หลัก ต้ องชาระบัญชี โดย (๑) ชาระหนี ้ให้ บค ุ คลภายนอก (๒) ใช้ เงินทดรองและค่าใช้ จา ่ ยที่ หส. ออกไปเพื่อจัดการค้ าของห้ าง (๓) คืนทุนทรัพย์ที่ หส. แต่ละคนได้ ลง เป็ นหุ้น ถ้ ามีกาไรเหลือ ก็ให้ แบ่ง กาไรกัน เว้ นแต่ มีข้อตกลงให้ มีการดาเนินการ อย่างอื่น ก็ไม่ต้องชาระบัญชีกนั

๑๐๖๙ ห้ างเลิกกันเมื่อห้ างนันล้ ้ มละลาย (ห้างจดทะเบี ยนมีสภาพบุคคลในทาง กม. ย่อมล้มละลายได้) ๑๒๔๗ – ๑๒๗๓ ต้ องมีการชาระบัญชีเท่านัน้ ห้ างจะดาเนินการโดยตกลงยกเว้ นเป็ นอย่างอื่นเหมือนห้ างไม่จดทะเบียนไม่ได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

ประเด็น (ออกสอบ ๔ ข้ อ) การก่ อตัง้ บริษัท การก่อตังบริ ้ ษัท

การประชุมจัดตังบริ ้ ษัท

เรื่ องที่มีการหารื อ/ประชุมในการ ประชุมจัดตังบริ ้ ษัท

มาตรา บริษัทจากัด มาตรา (ม. ๑๐๙๖ – ม.๑๑๑๖ จากระบวนการเคร่ าๆ ของการตัง้ บริ ษทั ไม่ค่อยออกสอบ) ๑๐๙๗  ผู้เริ่มก่อการตังแต่ ้ ๓ คนขึ ้นไป ต้ องจัดทาหนังสือบริคณห์สนธิและ ๑๐๙๘ นาไปจดทะเบียน โดยรายการในหนังสือบริคณห์สนธิ ประกอบด้ วย (๑) ชื่อบริ ษัท (๒) ที่ตงั ้ (๓) วัตถุประสงค์ ของบริษัท (๔) ถ้ อยคาแสดงว่าความรับผิดของผู้ถือหุ้นมีจากัด (๕) จานวนทุนเรื อนหุ้นซึ่งบริษัทคิดกาหนดจะจดทะเบียน แบ่ งออกเป็ นหุ้น มูลค่ าหุ้นละเท่ าใด (๖) ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ ของผู้ก่อการและจานวนหุ้นที่ซื ้อไว้ ๑๑๐๗ –  แล้ วจึงนัดประชุมผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้นเพื่อ “ประชุมจัดตัง้ บริษัท” ๒๗ ๑๑๐๙  ผู้ดาเนินการเรี ยกประชุม – ผู้เริ่ มก่อการ  ผู้มีสิทธิเข้ าประชุม – ผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้น + ผู้ก่อการ (เที ยบ ม.๑๑๗๖)  ผู้มีสท ิ ธิออกเสียง – ผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้น เว้ นแต่ จะมีสว่ นได้ เสียเป็ น พิเศษ (อนุโลม) ๓๗ ว.๑  การลงคะแนน – ชูมือ (หลัก) / ลับ (ยกเว้ น) (อนุโลม)  มติที่ประชุม – ใช้ มติเสียงข้ างมากปกติของผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้น ทังหมดที ้ ่เข้ าร่ วมประชุมและมีสทิ ธิลงคะแนนในวาระนัน้ ๆ (เกิน ๑ / ๒) (อนุโลม)  การฟ้องเพิกถอนมติที่ประชุม – (อนุโลม ม.๑๑๙๕) ๑๑๐๘  กิจการที่จะมีการทาในที่ “ประชุมจัดตัง้ บริษัท” ได้ แก่  การตังข้ ้ อบังคับของบริษัท ๑๑๑๓  การให้ สต ั ยาบันในเรื่ องที่ผ้ กู ่อการได้ ทาไว้  ถ้ าไม่อนุมต ั ิ – ผู้ก่อการต้ องรับผิดเอง  ถ้ าอนุมต ั ิ – ผู้ก่อการยังต้ องรับผิดอยู่จนกว่าจะมีการจด

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

8

บริษัทมหาชนจากัด 





ผู้เริ่มจัดตังบริ ้ ษัทต้ องเรี ยก “ประชุมจัดตัง้ บริษัท” เมื่อ  มีการจองหุ้นครบตามจานวนที่กาหนดไว้ ในหนังสือชี ้ชวน หรื อ เอกสารเกี่ยวกับการขายหุ้นต่อประชาชน ซึ่งต้ องไม่น้อยกว่า ๕๐ % ของจานวนหุ้นที่กาหนดไว้ ในหนังสือบริคณห์สนธิ ผู้เริ่มจัดตังบริ ้ ษัทต้ องมอบกิจการและเอกสารทังปวงให้ ้ แก่ คกก. ของ บริษัทภายใน ๗ วัน นับแต่วนั ที่เสร็จสิ ้นการประชุมจัดตังบริ ้ ษัท



สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

ผู้เริ่มก่อการตังบริ ้ ษัท การระดมทุนบริ ษัท

๑๑๑๐ ๑๑๐๒

การจดทะเบียนตังบริ ้ ษัท

๑๑๑๒

ผลของการจดทะเบียน

 





๑๑๑๓ ๑๑๑๔

 

หลักความรับผิดของบริษัทจากัด



เจ้ าหนี ้ส่วนตัวของผู้ถือหุ้น

 

เจ้ าหนี ้ของบริษัท สินทรัพย์ ของบริษัท หุ้น สภาพหุ้น



 

มูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน

๑๑๑๗

 

ทะเบียนตังบริ ้ ษัท  การกาหนดจานวนหุ้นบุริมสิทธิและสภาพของบุริมสิทธินน ั้  การกาหนดให้ ชาระค่าหุ้นเป็ นอย่างอื่นนอกจากตัวเงิน (การโอน อสังหาริ มทรัพย์เป็ นส่วนลงหุน้ )  ตังผู ้ ้ สอบบัญชี และกรรมการชุดแรก ผู้เริ่มก่อการทุกคนต้ องซื ้อหุ้นอย่างน้ อย ๑ หุ้น ห้ ามชี ้ชวนให้ ประชาชนซื ้อหุ้น (ขายเฉพาะวงใกล้ชิด / การระดมทุน เป็ นไปอย่างจากัด) กรรมการต้ องไปจดทะเบียนจัดตังบริ ้ ษัทภายใน ๓ เดือน นับแต่มี การประชุมจัดตังบริ ้ ษัท – มิฉะนัน้ บริษัทถือว่าไม่เกิดขึน้ บริษัทเป็ นนิตบิ ุคคลแยกออกจากกรรมการและผู้ถือหุ้น ผลเกี่ยวกับหนีแ้ ละค่าใช้ จ่ายของผู้ก่อการ ผลเกี่ยวกับการเพิกถอนการเข้ าชื่อซื ้อหุ้น หลักความเป็ นนิตบิ ุคคลของ บจก. (Limited Liability) – อาจทาให้ เกิดการตังบริ ้ ษัทเพื่อการหลอกลวง/ฉ้ อฉลบุคคลภายนอกได้ ดังนัน้ จึงมีหลักการเจาะม่านความเป็ นนิติบคุ คล เพื่อให้ สามารถเอาผิด กับผู้ถือหุ้นได้ ไม่สามารถบังคับชาระหนี ้เอากับค่าหุ้นที่ผ้ ถู ือหุ้นลูกหนีช้ าระไปแล้ ว แต่ สามารถไปบังคับกับตัวหุ้น ซึ่งเป็ นทรัพย์สนิ ของผู้ถือหุ้นลูกหนี ้ บังคับชาระหนี ้ของบริษัทเอากับผู้ถือหุ้นที่ชาระค่าหุ้นครบแล้ วไม่ได้ ส่ วนของผู้ถือหุ้น (สินทรัพย์สทุ ธิ ) = สินทรัพย์ – หนี ้สิน แบ่งตามสิทธิ – หุ้นธรรมดา/หุ้นบุริมสิทธิ แบ่งตามประเภทใบหุน้ – ใบหุ้นชนิดระบุชื่อ / ชนิดออกให้ ผ้ ถู ือ หุ้นแต่ละหุ้นของบริษัทต้ องมีมลู ค่าเท่ากัน กาหนดมูลค่าหุ้นขันต ้ ่าไว้ ไม่ต่ากว่าหุ้นละ ๕ บาท

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

9

 









๕๕, ๕๖

 

๕๐

 

แบ่งตามสิทธิ – หุ้นธรรมดา/หุ้นบุริมสิทธิ แบ่งตามประเภทใบหุน้ – ใบหุ้นชนิดระบุชื่อ หุ้นของบริษัทแต่ละหุ้นต้ องมีมลู ค่าเท่ากัน แต่มไิ ด้ กาหนดมูลค่าหุ้นขึ ้นต่าไว้

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การขายหุ้นต่ากว่ามูลค่าที่จด ทะเบียน การใช้ เงินค่าหุ้น (และหากมีสว่ น ล ้ามูลค่าหุ้น) การขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าที่ จดทะเบียน การเก็บค่าหุ้นครัง้ แรก

การเก็บเงินค่าหุ้นคราวต่อๆ ไป

๑๑๐๕ ว.๑



ว.๓



ว.๒



๑๑๑๐ ว.๒ ๑๑๐๕ ๑๑๒๐



 

การชาระค่ าหุ้น  ด้วยเงิ น (หลัก)  ด้วยสิ่ งอื ่นนอกจากเงิ น (ข้อยกเว้น) 

ด้วยการหักหนีก้ บั บริ ษทั

วิธีการเรียกเงินค่ าหุ้น

ทาไม่ได้

๕๒

ไม่จาเป็ นต้ องชาระครัง้ เดียว แต่การส่งใช้ เงินค่าหุ้นคราวแรกต้ องไม่ น้ อยกว่า ๒๕ % ของมูลค่าหุ้นตามที่ได้ จดทะเบียนไว้ แต่ สามารถขายหุ้นที่สงู กว่าราคาที่จดทะเบียนได้ ถ้าหนังสือ บริคณห์สนธิให้ อานาจไว้ โดยส่วนล ้ามูลค่าหุ้นต้ องส่งพร้ อมกับการ ชาระค่าหุ้นครัง้ แรกทังหมด ้ เมื่อมีการประชุมตังบริ ้ ษัทแล้ ว ให้ กรรมการเรี ยกผู้เข้ าชื่อซื อ้ หุ้นให้ ใช้ เงินค่าหุ้นไม่น้อยกว่า ๒๕ % และมีการเก็บส่วนล ้ามูลค่าหุ้นพร้ อม กับการใช้ เงินค่าหุ้นคราวแรก (ส่วนล้ามูลค่าหุน้ เข้าบัญชี ทนุ สารอง) กรรมการจะเรี ยกให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งใช้ เมื่อใดก็ได้ เว้ นแต่ ที่ประชุมใหญ่มีมติเป็ นอย่างอื่น



10

ทาได้ ถ้ าปรากฏว่าบริษัทดาเนินการมาแล้ วไม่น้อยกว่า ๑ ปี และมีผล การดาเนินงานขาดทุน แต่ต้องได้ รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น











๑๑๑๙ ว.๑

 

๑๑๑๙ ว.๒



๑๑๒๑



หลัก การชาระหุ้นต้ องชาระด้ วยเงินเต็มจานวน เว้ นแต่ หุ้นที่ออกตาม ม.๑๑๐๘ (๕) (หุ้นทีก่ าหนดให้ชาระค่าหุน้ เป็ นอย่างอื ่น/หุน้ ทีเ่ สมือนใช้ค่าหุน้ เต็มค่าหรื อบางส่วน) หรื อ ม. ๑๒๒๑ (การออกหุน้ เพิ่มทุนใหม่ที่เสมือนใช้ค่าหุน้ เต็มค่า/บางส่วน) ทาไม่ได้

๕๔ ๓๕(๕)

ส่งจดหมายไปแจ้ งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน (ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า ๒๑ วัน) บอกให้ สง่ เงินค่าหุ้นไปยังผู้ใด สถานใด และภายในวันใด

๓๗ ว.๒

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๕๔/๑

หลัก หุ้นทุกหุ้นต้ องใช้ ราคาหุ้นเป็ นเงินครัง้ เดียวเต็มมูลค่า  เว้ นแต่ หุ้นบุริมสิทธิ์ที่เสมือนว่าได้ รับชาระเงินค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ ว (เพราะบุคคลนัน้ เป็ นผู้ให้ทรัพย์สินอื ่นนอกจากตัวเงิน หรื อให้หรื อให้ใช้ ลิขสิทธิ์ ฯ)  มีข้อยกเว้ นให้ ทาได้ – กรณี การปรับโครงสร้ างหนี ้โดยการออกหุ้นใหม่ เพื่อชาระหนี ้ให้ แก่เจ้ าหนี ้ (การออกหุน้ เพือ่ ชาระหนีแ้ ละโครงการแปลง หนีเ้ ป็ นทุน) กรณีชาระด้ วยเงิน  ให้ คกก. มีหนังสือแจ้ งให้ ผ้ จ ู องหุ้น ชาระค่าหุ้นเต็มจานวน (ดู ม.๕๔) กรณีชาระค่าหุ้นด้ วยทรัพย์สนิ อื่นที่ไม่ใช่เงิน  ให้ คกก. มีหนังสือแจ้ งให้ ผ้ จ ู องหุ้น โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สนิ นั ้นๆ หรื อ ทาเอกสารการใช้ สทิ ธิตา่ งๆ ให้ กบั บริ ษัทตามวิธีการที่กาหนด 

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นที่ละเลยไม่ ชาระค่าหุ้นดาเนินการ ผลของการค้ างชาระค่ าหุ้น (การจะค้างส่งได้ตอ้ งมีมติ กรรมการ/คกก. และมีการเรี ยก เก็บแล้ว) 

ชนิดของใบหุ้น  ใบหุ้นชนิดระบุชื่อ 



ความรับผิดของผู้ถือหุ้นที่ โอนหุ้นไปแล้ ว (๓ กรณี )

ใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือ

การแปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็ นหุ้น สามัญ

๑๑๒๓ – ๔

กรรมการส่งคาบอกกล่าวแจ้ งให้ ใช้ คา่ หุ้น (พร้ อมดอกเบี ้ยก็ได้ ) + กาหนดเวลาให้ พอสมควร + แจ้ งด้ วยว่าหากไม่ชาระ จะถูกริบหุ้น ๑๑๒๒  ต้ องเสียดอกเบี ้ยนับแต่วนั ที่กาหนดให้ สง่ ใช้ จนกว่าจะเสร็จ ๑๑๒๓ – ๔  อาจถูกริบหุ้นขายทอดตลาด (เพือ่ นาเงินหักค่าหุน้ +ดอกเบีย้ ค้าง ชาระ) โดย ๑๑๒๕  หากมีเงินเหลือ – ส่งคืนผู้ถือหุ้น  ถ้ าเงินที่ได้ ไม่พอ – เรี ยกเอาเพิม ่ จากผู้ถือหุ้นที่ถกู ริบหุ้น ๑๑๓๐  บริษัทจะไม่ยอมรับจดทะเบียนโอนหุ้นก็ได้ (เป็ นสิทธิ ของบริ ษทั ) ๑๑๘๔  ผู้ถือหุ้นคนนันไม่ ้ มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ ๑๑๒๘  มีใบหุ้น ๒ ชนิด ได้ แก่ ชนิดระบุช่ อื และชนิดออกให้ แก่ ผ้ ูถือ ๑๑๓๗  ถ้ าข้ อบังคับกาหนดว่ากรรมการต้ องถือหุ้นจานวนหนึ่ง หุ้นนันต้ ้ อง เป็ นหุ้นชนิดระบุชื่อ (กาหนดข้อจากัดการโอนในข้อบังคับได้) ๑๑๓๓  หนี ้ที่เกิดขึ ้นก่อนการโอน หรือ  หุ้นที่โอนยังส่งใช้ เงินไม่เต็มมูลค่า หรื อ  ผู้ที่ยง ั ถือหุ้นของบริษัทไม่สามารถออกส่วนในหนี ้อันเขาพึงออกใช้ ผลคือ ผู้โอนรับผิดในจานวนเงินที่ตนยังส่งใช้ ไม่ครบ (แต่ไม่เกิน จานวนหนี ้ของเจ้ าหนี ้) และไม่ให้ ฟ้องผู้โอนเมื่อพ้ น ๒ ปี นับแต่จด แจ้ งการโอนลงในทะเบียนผู้ถือหุ้น 

๑๑๓๔



๑๑๓๕



๑๑๔๒



๓๘

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

คกก. มีหนังสือเตือนให้ ดาเนินการชาระค่าหุ้น (ภายใน ๑๔ วัน) พร้ อม แจ้ งว่าถ้ าไม่ดาเนินการตามที่แจ้ ง คกก. จะเอาหุ้นนาออกขายทอดตลาด



๓๘ ว.๓



อาจถูกริบหุ้นขายทอดตลาด  หากได้ เงินไม่ครบมูลค่าหุ้น – คกก. เรี ยกเก็บเงินค่าหุ้นที่ขาดอยู่จาก ผู้จองหุ้นโดยไม่ชกั ช้ า

 

๕๖



มีแต่ใบหุ้นชนิดระบุช่ อื เท่านัน้ จะออกใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือไม่ได้





ต้ องมีข้อบังคับบริษัทให้ ออกได้ + ออกให้ กบั หุ้นที่ใช้ เงินเต็มค่าหุ้น แล้ วเท่านัน้ โอนหุ้นกันได้ โดยการส่งมอบ (ไม่มีขอ้ จากัดการโอน) ไม่มี กม. ให้ ทาได้ หากทาอาจถือว่าเป็ นการเปลี่ยนแปลงบุริมสิทธิ แห่งหุ้น (ออกแล้วห้ามแก้ไขเลย)



11



๖๕ ว.๒

 

ไม่มีใบหุ้นชนิดนี ้

โดยหลัก การแปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็ นหุ้นสามัญทาไมได้ เว้ นแต่ ถ้ าบริษัทมีข้อบังคับกาหนดไว้ (ม.๓๐(๖))

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การกาหนดข้ อจากัดการโอนหุ้น

๑๑๒๙

วิธีการโอนหุ้น (โดยนิติกรรมสัญญา)

๑๑๒๙ ว.๒

(โดยผลของ กม.)

๑๑๓๒

การอ้ างสิทธิในความเป็ นผู้ถือหุ้น

๑๑๒๙ ว.ท้ าย

ระยะเวลาที่บริษัทต้ อง ลงทะเบียนการโอนหุ้น

๑๑๒๙ ๑๑๓๒

การปิ ดสมุดทะเบียนไม่รับจดฯ

๑๑๓๑



ข้ อบังคับของบริษัทอาจกาหนดข้ อจากัดการโอนหุ้นชนิดระบุชื่อได้

ใบหุ้นชนิดระบุช่ อื ใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ ผ้ ูถือ  ทาเป็ นหนังสือ ลงลายมือชื่อทังผู ้ ้  โอนโดยการส่งมอบใบหุ้น โอนและผู้รับโอน และ ให้ แก่ผ้ รู ับโอน (ม.๑๑๓๕)  มีพยานลงลายมือชื่ออย่างน้ อย ๑ คน (เป็ นแบบ – โมฆะ)  (ฎ. กรณี กรรมการไปเป็ นพยานก็ ควรไปดาเนินการแก้ไขสมุด ทะเบียน แม้ไม่ได้จดแจ้ง ก็ใช้ยนั บริ ษทั /บุคคลภายนอกได้)  แถลงหมายเลขหุ้นที่โอนกัน (ท้าย)  ผู้ถือหุ้นตาย / ล้ มละลาย / อื่นๆ – ทาให้ ผ้ อ ู ื่นเป็ นผู้มีสทิ ธิจะได้ ห้ นุ นัน้  ถ้ าบุคคลนันน ้ าหลักฐานอันสมควรมาแสดงแก่บริษัทแล้ ว บริษัท จะต้ องลงทะเบียนรับบุคคลนันเป็ ้ นผู้ถือหุ้นต่อไป การอ้ างสิทธิกบั บริษัท / บุคคลภายนอก  เมื่อบริ ษัทได้ จดแจ้ งการโอนทังชื ้ ่อและสานักของผู้รับโอนนันลงใน ้ ทะเบียนผู้ถือหุ้นแล้ ว  ไม่ได้ กาหนดระยะเวลาเอาไว้



๕๗ ว.๑

ว.๒ ๕๘

โดยหลัก จะกาหนดข้ อจากัดการโอนหุ้นไม่ได้ เว้ นแต่ เป็ นไปเพื่อ (๑) การรักษาสิทธิและผลประโยชน์ที่บริ ษัทจะพึงได้ ตาม กม. หรื อ (๒) รักษาอัตราส่วนการถือหุ้นของคนไทยกับคนต่างด้ าว (๓) ข้ อจากัดสาหรับผู้เริ่ มจัดตังบริ ้ ษัท มีเฉพาะใบหุ้นชนิดระบุช่ อื การโอนหุ้นทาโดย  สลักหลังใบหุ้นโดยระบุชื่อผู้รับโอน และ  ลงลายมือชื่อผู้โอนและผู้รับโอน และ  ส่งมอบใบหุ้นให้ แก่ผ้ รู ั บโอน

๕๙







๕๘

๕๘ ๕๙

12

ผู้ถือหุ้นตาย / ล้ มละลาย / อื่นๆ – ทาให้ ผ้ อู ื่นเป็ นผู้มีสทิ ธิจะได้ ห้ นุ นัน้ ถ้ าบุคคลนันน ้ าหลักฐานอันสมควรมาแสดงแก่บริษัทแล้ ว บริษัทจะต้ อง ลงทะเบียนและออกใบหุ้นใหม่ให้ กบั ผู้นนั ้ (ภายใน ๑ เดือน)

การอ้ างสิทธิกบั บริษัท  เมื่อบริ ษัทได้ รับคาร้ องให้ ลงทะเบียนการโอนหุ้น กรณีการโอนหุ้นปกติ  ภายใน ๑๔ วัน นับแต่ได้ รับคา ร้ องขอให้ ลงทะเบียน

การอ้ างสิทธิกบั บุคคลภายนอก  เมือ ่ บริษัทได้ ลงทะเบียนการโอน หุ้นแล้ ว กรณีผ้ ถู ือหุ้นตาย/ล้ มละลาย  ภายใน ๑ เดือนนับแต่วน ั ได้ รับ หลักฐานครบถ้ วน

ในระยะเวลา ๑๔ วันก่อนการประชุม บริษัทมีจะปิ ดสมุดทะเบียน พักการโอนหุ้นก็ได้ (เพือ่ ความสะดวกในการจ่ายเงินปันผล)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

ข้ อสันนิษฐานเกี่ยวกับสมุด ทะเบียนผู้ถือหุ้น การห้ ามบริ ษัทเป็ นเจ้ าของหุ้น ตนเอง

เงินปั นผลของหุ้น ประเภทเงินปั นผล เงื่อนไขการจ่ายเงินปั นผล

๑๑๓๘ – ๑๑๔๑ ๑๑๔๓

๑๒๐๑ ว.๑ / ว.๒ ๑๒๐๑ ว.๓





  



การกันเงินปั นผลเป็ นทุนสารอง

๑๒๐๒



การจ่ายเงินปั นผลฝ่ าฝื น หลักเกณฑ์ การจ่ายเงินปั นผลเป็ นหุ้น

๑๒๐๓



-



ข้ อความที่จดแจ้ งในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่า เป็ นพยานหลักฐานที่ถกู ต้ อง ห้ ามบริษัทเป็ นเจ้ าของถือหุ้นของตนเองหรื อรับจานาหุ้นของตนเอง

การจ่ายเงินปันผลประจาปี – ใช้ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เงินปันผลระหว่างกาล – ใช้ มติของ คกก. (กรณี มี กก.หลายคน) ห้ ามจ่ายเงินปั นผลจากเงินประเภทอื่น นอกจากกาไร (หลักการ คงไว้ซึ่งเงินทุนของบริ ษทั – Maintenance of Capital) หากบริษัทมีผลประกอบการขาดทุนสะสม ห้ ามจ่ายเงินปั นผล จนกว่าจะแก้ ให้ หายขาดทุน ทุกครัง้ ที่มีการจ่ายเงินปั นผล บริษัทต้ องจัดสรรเงินเป็ น “ทุนสารอง”  อย่างน้ อย ๕ % ของผลกาไรของบริ ษัท  จนกว่าทุนสารองจะถึง ๑๐ % ของจานวนทุนของบริ ษัท หรื อ มากกว่านันได้ ้ ตามแต่จะกาหนดไว้ ในข้ อบังคับ เจ้ าหนี ้ของบริษัทเรี ยกเอาเงินคืนมายังบริษัทได้ เว้ นแต่ ผู้ถือหุ้นคน นันจะได้ ้ รับเงินปั นผลโดยสุจริต (ฝ่ าฝื น ม.๑๒๐๑ / ม.๑๒๐๒) ไม่มี กม. บัญญัตใิ ห้ ทาได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๖๖/๑

13

มีกรณีที่บริษัทอาจซื ้อหุ้นคืนมาได้ ๒ กรณี (ทาให้ตอ้ งถื อหุน้ ของตนเอง) (๑) ซื ้อหุ้นคืนจากผู้ถือหุ้นที่ออกเสียงไม่เห็นด้ วยกับมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งแก้ ไขข้ อบังคับของบริษัทเกี่ยวกับสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนและ สิทธิในการรับเงินปั นผล ซึ่งผู้ถือหุ้นเห็นว่าตนไม่ได้ รับความเป็ นธรรม (๒) ซื ้อหุ้นคืนเพื่อบริ หารทางการเงิน เมื่อบริ ษัทมีกาไรสะสมและสภาพคล่อง ส่วนเกิน โดยการซื ้อหุ้นคืนไม่ทาให้ บริ ษัทประสบปั ญหาทางการเงิน ทัง้ นี ้ หุ้นที่ซื ้อคืนไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนและรับเงินปั นผล และต้ อง จาหน่ายออกไปตามเวลาที่ กม. กาหนด 





ไม่ต้องกันทุนสารองจากเงินปั นผล / แต่กนั จากกาไรสุทธิประจาปี ของ บริษัท (ม.๑๑๖)



๑๑๗



อาจจ่ายเงินปั นผลทังหมดหรื ้ อบางส่วนเป็ นหุ้นสามัญได้ ในกรณีที่บริษัท ยังมีห้ นุ เหลืออยู่จากการจาหน่ายหรื อเมื่อเพิม่ ทุน โดยได้ รับความ เห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

กาหนดเวลาจ่ายเงินปั นผล

-

กาหนดให้ จ่ายเงินปั นผลภายใน ๑ เดือนนับแต่วนั ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้น หรื อ คกก. ลงมติ แล้ วแต่กรณี การจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล  ทาได้ – กม. ไม่ได้ กาหนดว่าต้ องมีข้อบังคับใดจึงจะทาได้ ๑๑๕ ว.๓  ทาได้ – เมื่อมีข้อบังคับบริ ษัทกาหนดให้ ทาได้ ทุนสารองตาม กม. – บริษัทเอาไปใช้ ประกอบกิจการปกติได้ (เนือ่ งจากทุนสารองเป็ นสินทรัพย์ ซึ่งเป็ นสิทธิ ของบริ ษทั ทีจ่ ะนาไป ใช้ประกอบกิ จการได้) ทุนสารอง แต่ จะเอาไปคืนผู้ถือหุ้นไม่ได้ โดยเด็ดขาด เนื่องจากขัดกับหลัก MoC จนกว่าจะมีการเลิกบริษัทและชาระบัญชีแล้ วเท่านัน้ (อ.อรรณพบอกว่าอาจออกสอบ) ที่มาของเงินทุนสารองตาม กม. ๑๒๐๒ เงินทุนสารองส่วนล ้ามูลค่าหุ้น (๓) เงินทุนสารองจากกาไร (๒) ๕๑ เงินทุนสารองส่วนล ้ามูลค่าหุ้น (๓) เงินทุนสารองจากกาไร (๒) ๑๑๖  ถ้ าออกหุ้นราคาเกินกว่าที่จด  ทุกคราวที่จ่ายเงินปั นผล  กรณี บริ ษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่า  บริ ษัทจัดสรรกาไรสุทธิส่วนหนึ่ง ทะเบียน จานวนที่คดิ เกินให้ บริษัทจัดสรรเงินไว้ เป็ นทุน มูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน และ ไม่น้อยกว่า ๕ % ของกาไรสุทธิ บวกทบเข้ าไว้ ในทุนสารอง สารองอย่างน้ อย ๕ % ของ นาค่าหุ้นส่วนที่เกินตังเป็ ้ นทุน ประจาปี หกั ด้ วยยอดขาดทุน จานวนผลกาไร จนกว่าทุน สารอง สะสม จนกว่าทุนสารองนี ้จะมี ๑๑๐๕ ว.๒ ทีม่ าเงินทุนสารองส่วนล้าฯ – สารองจะมีจานวน ๑๐ % จานวนไม่น้อยกว่า ๑๐ % ของ ต้องมีขอ้ บังคับบริ ษทั ให้ขายหุน้ ของจานวนทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียน เกิ นกว่าราคาทีจ่ ดทะเบียนไว้ได้ ของบริษัทหรื อมากกว่านัน้ ทุนสารองอื่นๆ (กม.ไม่บงั คับ จึงไม่อยู่ภายใต้หลัก MoC) บัญชีเงินทุนสารอง

-

การโอนทุนสารอง

๑๒๐๒

-



ไม่มีกาหนดเวลาไว้

เงินสารองอื่น (๑)  บริ ษัทอาจกาหนดให้ มีเงินสารองประเภทอื่นก็ได้  เงินทุนสารองทัง้ ๒ ประเภทรวมอยู่ในบัญชีเดียวกัน (บัญชีทน ุ สารองที่ กม.กาหนด มีเพียงบัญชีเดียว) 

กม. ไม่ได้ กาหนดอานาจไว้ ชดั เจน (โอนไม่ได้ )

๑๑๕ ว.๔

14

๕๑ ๑๑๖ ๑๑๙



เงินสารองอื่น (๑)  บริ ษัทอาจกาหนดให้ มีเงินสารองประเภทอื่นก็ได้  ต้ องแยกบัญชีทน ุ สารองแต่ละประเภทออกจากกัน





หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

บริษัทอาจโอนทุนสารองตาม ม.๕๑ (จากส่วนล ้ามูลค่าหุ้น) และ ม. ๑๑๖ (จากกาไร) และเงินทุนสารองอื่น เพื่อชดเชยขาดทุนสะสมก็ได้ เมื่อได้ รับอนุมตั จิ ากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ ว การชดเชยขาดทุนสะสม ให้ หกั จาก (ตามลาดับ) (๑) เงินสารองอื่น (๒) เงินทุนสารองจากกาไร (ม.๑๖๖) (๓) เงินทุนสารองจากส่วนล ้ามูลค่าหุ้น (ม.๕๑)

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การเพิ่มทุน เงื่อนไข/วิธี การเพิม่ ทุน

การเสนอขายหุ้นเพิม่ ทุน

วัตถุประสงค์ – เพื่อจัดหาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติมให้ กบั กิจการ ๑๑๒๐  วิธี – เพิม่ จานวนหุ้น (วิ ธีเดียว)  เงื่อนไข – ไม่ได้ กาหนดเงื่อนไขการเพิ่มทุนไว้  แต่ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยมติพเิ ศษ (คะแนนเสียงข้างมาก ไม่นอ้ ยกว่า ๓ / ๔ ของจานวนเสียงทัง้ หมด ของผูถ้ ือหุน้ ทีม่ าประชุมและมี สิทธิ ออกเสียง) ๑๒๒๒ ว.๑



ว.๓



ข้ อสังเกต

๑๑๒๑



การเพิม่ ทุนต้ องแก้ ไขหนังสือ บริคณห์สนธิ

๑๑๔๕



การลดทุน เงื่อนไข/วิธีการลดทุน

ต้ องเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมตามสัดส่วนหุ้นที่เขา ถืออยู่ (เสนอขายแก่ผบู้ คุ คลอื ่นทีไ่ ม่ใช่ผถู้ ือหุน้ เดิ ม/กรรมการไม่ได้) ถ้ าพ้ นกาหนดเวลาที่ให้ ตอบสนอง / ผู้ถือหุ้นไม่รับซื ้อหุ้น – กรรมการ จะเอาหุ้นนันไปขายแก่ ้ ผ้ ถู ือหุ้นคนอื่น หรื อรับซื ้อไว้ เองก็ได้ การออกหุ้นใหม่ให้ เหมือนหนึ่งว่าได้ ใช้ เต็มค่า / ได้ ใช้ บางส่วนแล้ ว ด้ วยสิง่ อื่นนอกจากเงิน จะต้ องใช้ “มติพเิ ศษ” ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น เนื่องจากการเพิม่ ทุนเป็ นการแก้ ไขทุนจดทะเบียน ดังนัน้ ที่ประชุมผู้ ถือหุ้นจะต้ องมี “มติพเิ ศษ” แก้ ไขหนังสือบริ คณห์สนธิให้ สอดคล้ อง กับทุนจดทะเบียนที่เปลี่ยนแปลงไปด้ วย (วาระ ๒ หลังเพิ่มทุน)

๑๓๖

 



๑๓๗



15

วิธี – เพิม่ จานวนหุ้น (วิ ธีเดียว) เมื่อหุ้นได้ ออกจาหน่ายแล้ วทังหมดและได้ ้ รับชาระเงินค่าหุ้นครบถ้ วน แล้ ว และ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ / ๔ ของจานวน เสียงทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง เสนอได้ ๒ ลักษณะ คือ  เสนอขายผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนที่ถือ หรื อ  เสนอขายแก่ ปชช. หรื อบุคคลอื่น ไม่วา ่ ทังหมดหรื ้ อบางส่วนก็ได้







วัตถุประสงค์ (๑) เพื่อลดขนาดกิจการลง โดยการคืนทรั พย์สน ิ ของบริษัทกลับไปยังผู้ถือหุ้น หรือ (๒) เพื่อตัดขาดทุนสะสมทางบัญชี ทาให้ บริ ษัทมีโอกาสจัดหาแหล่งเงินทุนใหม่ๆ เข้ ามาในกิจการ โดยไม่มีการจ่ายทรัพย์สน ิ ของบริษัทกลับคืนไปยังผู้ถือหุ้นเลย ๑๑๒๔  วิธีการ – ๒ วิธี ๑๓๙ ว.๑  วิธีการ – ๒ วิธี (๑) ลดมูลค่าหุ้นให้ ต่าลง (ห้ามลดต่ ากว่า ๕ บาท PV) (๑) ลดมูลค่าหุ้นให้ ต่าลง (ไม่มี PV ขัน ้ ต่า จึงลดต่ากว่า PV ได้) (๒) ลดจานวนหุ้นให้ น้อยลง (๒) ลดจานวนหุ้นให้ น้อยลง  เงื่อนไข – ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดย  เงื่อนไข – ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ / ๔ มติพเิ ศษ ของจานวนเสียงทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การลดทุนให้ ต่ากว่า ๑ / ๔ ของทุนจดทะเบียน

๑๑๒๕



ลดทุนให้ เหลือต่ากว่า ๑ / ๔ ของทุนจดทะเบียนไม่ได้ ไม่วา่ กรณีใด

ว.๑ ว.๒

 



การให้ เจ้ าหนี ้เข้ ามามีสว่ นร่วม / คัดค้ านการลดทุน

การลดทุนต้ องแก้ ไขหนังสือ บริคณห์สนธิ กรรมการ / คณะกรรมการ จานวนกรรมการ คุณสมบัตขิ องกรรมการ

๑๒๒๖

 

๑๑๒๗



๑๑๔๕



๑๑๔๔ ๑๑๕๔

  

ต้ องโฆษณาความประสงค์ใน นสพ. อย่างน้ อย ๑ ครัง้ และ ต้ องมีหนังสือบอกกล่าวความประสงค์เกี่ยวกับการลดทุนไปยัง เจ้ าหนี ้ของบริษัท และขอให้ เจ้ าหนี ้คัดค้ าน (ภายใน ๓๐ วัน)  หากมีเจ้ าหนี ้คัดค้ าน – จะลดทุนลงไม่ได้ จนกว่าจะได้ ใช้ หนี ้ หรื อให้ ประกันแก่เจ้ าหนี ้จนเจ้ าหนีพ้ อใจ  หากไม่มีผ้ ใู ดคัดค้ าน (ภายใน ๓๐ วัน) – ถือว่าไม่มีการคัดค้ าน ถ้ าเจ้ าหนี ้ไม่คดั ค้ านเพราะไม่ทราบความ และเหตุที่ไม่ทราบก็ไม่ใช่ ความผิดของเจ้ าหนี ้ ผลคือ ผู้ถือหุ้นที่ได้ รับเงินคืนตามสัดส่วนหุ้นที่ ลดลงจะต้ องรับผิดต่อเจ้ าหนี ใ้ นจานวนที่ได้ รับทุนคืนไป โดยรับผิด ๒ ปี นับแต่จดทะเบียนลดทุน (อ.บอกว่าไม่ตอ้ งจา) เนื่องจากการลดทุนเป็ นการแก้ ไขทุนจดทะเบียน ดังนัน้ ที่ประชุมผู้ ถือหุ้นจะต้ องมี “มติพเิ ศษ” แก้ ไขหนังสือบริ คณห์สนธิให้ สอดคล้ อง กับทุนจดทะเบียนที่เปลี่ยนแปลงไปด้ วย (วาระ ๒ หลังลดทุน) ไม่ได้ กาหนดจานวนขันต ้ ่าไว้ ไม่ได้ กาหนดคุณสมบัติของกรรมการไว้ ในรายละเอียด เป็ นบุคคลล้ มละลาย/ผู้ไร้ ความสามารถไม่ได้

๑๔๑

 

(การลด ทุนทีไ่ ม่ใช่ ตาม ม. ๑๔๐)

หลัก – ห้ ามลดทุนไม่ให้ ต่ากว่า ๑ / ๔ ของทุนจดทะเบียนทังหมด ้ เว้ นแต่ กรณีที่บริษัทขาดทุนสะสม และมีการชดเชยผลขาดทุนสะสม ตาม ม.๑๑๙ (เอาทุนสารองมาหัก คือ ทุนสารองอื ่น – ทุนสารองจาก กาไร – ทุนสารองจากส่วนล้าหุน้ ) แล้ วหากยังมีขาดทุนสะสมเหลืออยู่ ผลคือ – บริษัทอาจลดทุนให้ ต่ากว่า ๑ / ๔ ได้ (เป็ นกรณี ที่ กม. เปิ ดช่อง ให้แก้ปัญหาการขาดทุนสะสมเท่านัน้ ) ต้ องโฆษณามติลดทุนทาง นสพ. และ ต้ องมีหนังสือแจ้ งมติการลดทุนไปยังเจ้ าหนี ้ของบริษัท (ภายใน ๔๐ วัน นับแต่วนั มี มติ ) โดยกาหนดเวลาให้ สง่ คาคัดค้ านภายใน ๒ เดือนนับแต่ วันที่ได้ รับหนังสือแจ้ งมตินนั ้  หากมีเจ้ าหนี ้คัดค้ าน – จะลดทุนไม่ได้ จนกว่าจะได้ ชาระหนี ้หรื อให้ ประกันเพื่อหนี ้นันแล้ ้ ว



๓๑

๖๗ ๖๗ ๖๘



    

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

16

เนื่องจากการลดทุนเป็ นการแก้ ไขทุนจดทะเบียน ดังนัน้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น จะต้ องมี “มติ ๓ / ๔ ฯ” แก้ ไขหนังสือบริคณห์สนธิให้ สอดคล้ องกับทุน จดทะเบียนที่เปลี่ยนแปลงไปด้ วย (วาระ ๒ หลังลดทุน) ไม่น้อยกว่า ๕ คน ไม่น้อยกว่า ๑ / ๒ ของกรรมการต้ องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร ต้ องบรรลุนิตภิ าวะ ไม่เป็ นคนล้ มละลาย / คนไร้ ฯ / คนเสมือนไร้ ฯ ไม่เคยรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาของศาลถึงที่สดุ ให้ จาคุกในความผิด เกี่ยวกับทรัพย์ที่ได้ กระทาโดยทุจริต

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011 

การกาหนดข้ อบังคับบริษัทที่ จากัดคุณสมบัตขิ องผู้ถือหุ้นที่ จะเป็ นกรรมการ การเข้ าสู่ตาแหน่ งของ กรรมการชุดแรก การแต่งตังกรรมการ ้ การพ้ นจากตาแหน่ ง การออกตามวาระ หลักเกณฑ์

การตังบุ ้ คคลเข้ ามาดารง ตาแหน่งแทนกรรมการที่พ้นไป การออกด้ วยเหตุอ่ ืนนอกจาก การออกตามวาระ สาเหตุที่กรรมการพ้ นจาก ตาแหน่ง

๑๑๓๗



๑๑๐๘(๖)



๑๑๕๑ ๑๑๕๒

ข้ อบังคับของบริษัทอาจกาหนดคุณสมบัตขิ องผู้ถือหุ้นที่จะเป็ น กรรมการว่าต้ องถือหุ้นจานวนเท่าใดก็ได้ (หุน้ ดังกล่าวต้องเป็ นใบ หุน้ ชนิดระบุชื่อ) กรรมการชุดแรกเลือกโดยมติของที่ประชุมตังบริ ้ ษัท

เฉพาะแต่ที่ประชุมใหญ่ เท่านันอาจจะตั ้ งหรื ้ อถอนได้ (๑) หากข้ อบังคับไม่ได้ กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น (๒) ในการประชุมสามัญครัง้ แรกนับแต่จดทะเบียนตังบริ ้ ษัท หรื อการ ประชุมสามัญครัง้ ต่อไปทุกๆ ปี ก็ดี (๓) กรรมการต้ องออกจากตาแหน่งจานวน ๑ / ๓ หรื อถ้ าแบ่งให้ ลงตัว ไม่ได้ ก็ให้ ออกจานวนที่ใกล้ ที่สดุ กับ ๑ / ๓ ๑๑๕๓ (๔) กรรมการคนใดจะเป็ นผู้ออกจากตาแหน่ง ถ้ าไม่ได้ ตกลงกัน  ให้ ใช้ วธ ิ ีจบั สลาก (สาหรับกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองที่ต้องพ้ น จากตาแหน่ง)  ส่วนในปี ต่อๆ ไป ให้ กรรมการคนที่เหลืออยู่ในตาแหน่งนาน สุดเป็ นผู้ออก  การตังบุ ้ คคลเข้ ามาดารงตาแหน่งแทนกรรมการซึ่งพ้ นจากตาแหน่ง  ให้ ท่ ป ี ระชุมผู้ถือหุ้นลงมติแต่งตัง้  ทังนี ้ ้ กรรมการผู้ออกไปจะเลือกกลับเข้ ารับตาแหน่งอีกก็ได้ ๑๑๔๓/๑  กรรมการลาออก ๑๑๔๕  กรรมการล้ มละลายหรื อตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ  กรรมการตาย  กรรมการขาดคุณสมบัตต ิ ามข้ อบังคับ ๑๑๕๖  ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติถอดถอนกรรมการ (มติเสียงข้างมากธรรมดา) 

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๖๙



17

ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก/ปลดออกจากราชการ/องค์กร/หน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริตต่อหน้ าที่ กาหนดข้ อจากัดใดๆ ที่มีลกั ษณะกีดกันมิให้ ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นกรรมการไม่ได้



๗๐ ๗๑ ว.๑

  

ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตัง้ เว้ นแต่ จะมีข้อบังคับกาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น วาระ ๑ ปี โดย คกก. ต้ องออกทังชุ ้ ด และมีการเลือกตังใหม่ ้ คกก. ชุดเก่าต้ องรักษาการไว้ ในขณะที่ยงั ไม่มี คกก. ชุดใหม่





๗๑



นอกจากการพ้ นตาแหน่งตาม ม.๗๑ กรรมการพ้ นจากตาแหน่งเมื่อมี เหตุตา่ งๆ (ตาม ม.๘๕ และ ม.๘๖ ซึ่ง พ.ร.บ. ให้สิทธิ แก่บริ ษทั /ผูถ้ ือหุน้ ฟ้ องขับกรรมการออกได้) และมีกรณีทีศาลสัง่ ให้ ออกด้ วย

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การตัง้ บุคคลอื่นเข้ ามาดารง ตาแหน่ งแทนกรรมการซึ่งพ้ น จากตาแหน่ ง

18

๑๑๕๕

กรณีมีกรรมการเหลืออยู่ครบองค์ประชุม ๗๕ กรณีมีกรรมการเหลืออยู่ครบองค์ประชุม  ตาแหน่งว่างลงในสภากรรมการเพราะ แต่บคุ คลที่เป็ น  คณะกรรมการเลือกบุคคลที่มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามเป็ น เหตุอ่ ืนนอกจากถึงคราวออกตามวาระ กรรมการใหม่มีเวลา กรรมการแทนในการประชุมครัง้ ต่อไป (เว้ นแต่ วาระของกรรมการจะ  คณะกรรมการจะเลือกผู้อื่นขึ ้นให้ อยู่ในตาแหน่งเพียง เหลือน้ อยกว่า ๒ เดือน) เต็มที่วา่ งหรื อไม่ก็ได้ (กม.ไม่ได้บงั คับ) เท่ากาหนดเวลา  มติของคณะกรรมการประกอบด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ / ๔ ของ ๑๑๕๖  ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตังกรรมการ ้ กรรมการผู้ที่ออกไป จานวนกรรมการที่เหลืออยู่ คนใหม่แทนกรรมการที่ถกู ถอดถอน ชอบที่จะอยู่ได้ ออกไป (มติเสียงข้างมากธรรมดา) กรณีกรรมการลดน้ อยลงกว่าองค์ ๑๑๕๙ กรณีกรรมการเหลืออยู่ไม่ครบเป็ นองค์ประชุม ๘๓ กรณีกรรมการเหลืออยู่ไม่ครบเป็ นองค์ประชุม ประชุม (ไม่ใช่กรณี ทีเ่ กิ ดจากเหตุ  กรรมการที่มีอยู่ย่อมทากิจการได้ เฉพาะเรื่ องต่อไปนี ้ เท่านัน ้  ให้ กรรมการที่ เหลืออยู่กระทาการในนามของ คกก. ได้ เฉพาะการจัดให้ มี อื ่น)  เพิม ่ กรรมการให้ ครบจานวน (ทีพ่ อเป็ นองค์ประชุมเท่านัน้ ) การประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตังกรรมการแทนต ้ าแหน่งกรรมการที่วา่ ง  นัดเรี ยกประชุมใหญ่ผ้ ถ ู ือหุ้นเพื่อแต่งตังกรรมการ ้ (ให้ครบองค์ ลงทังหมดเท่ ้ านัน้ ประชุมเท่านัน้ ) การประชุมคณะกรรมการ เจตนารมณ์ – เพื่อให้ มีการปรึกษาหารื อเกี่ยวกับกิจการของบริษัท เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและลงมติ ดังนัน้ โดยหลักต้ องมีการมาประชุมกัน มีสถานที่ ซึ่งมติเวียนมีไม่ได้ การเรี ยกประชุมคณะกรรมการ ๑๑๖๒  กรรมการคนใดคนหนึ่งจะเรี ยกประชุม คกก. เมื่อใดก็ได้ (แต่ถา้ ๘๑  ประธานกรรมการเป็ นผู้เรี ยกประชุม (หลัก) (รวมถึงเป็ นผูเ้ รี ยกประชุม เรี ยกประชุมผูถ้ ือหุน้ ต้องเป็ นมติ คกก. – กก.คนเดียวเรี ยกไม่ได้) ใหญ่ผถู้ ือหุน้ ด้วย) หรือ  กรรมการตังแต่ ้ ๒ คนขึ ้นไป ร้ องขอให้ ประธานเรี ยกประชุม (ซึ่ง ประธาน กก. ต้องกาหนดวันประชุมภายใน ๑๔ วัน นับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้รบั การร้องขอ – เป็ นกรณี ประธานถูกบังคับให้ตอ้ งเรี ยกประชุม) จานวนครัง้ / สถานที่การประชุม  จะเรี ยกเมื่อใดก็ได้ และไม่ได้ กาหนดสถานที่ประชุมไว้ ๗๙  อย่างน้ อย ๑ ครัง้ / ๓ เดือน ณ ท้ องที่อน ั เป็ นที่ตงั ้ สนง.ใหญ่ หรื อจังหวัด คกก. ที่ กม. กาหนด ใกล้ เคียง เว้ นแต่ ข้อบังคับจะกาหนดไว้ ให้ ประชุม ณ ท้ องที่อื่น (กาลังมี ร่าง กม. ให้ กก.ต่างชาติ สามารถประชุม Tele-Conference ได้) ประธานในที่ประชุม ๑๑๖๓ (๑) ถ้ าตามข้ อบังคับ ถ้ ามีการกาหนดตาแหนง “ประธานกรรมการ” ก็  ให้ เป็ นไปตามนัน้ (๒) ในกรณี ที่ไม่มีการกาหนดไว้ กรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งขึ ้น เป็ นประธานในที่ประชุม และกาหนดเวลาให้ อยู่ในตาแหน่ง หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

องค์ ประชุมกรรมการ

๑๑๖๐

การลงมติในที่ประชุม คกก.

๑๑๖๑

การมอบอานาจให้ แก่ ผ้ ูจัดการ หรืออนุกรรมการซึ่งตัง้ จากผู้ เป็ นกรรมการด้ วยกัน

๑๑๖๔

การตังกรรมการมี ้ ข้อบกพร่อง

๑๑๖๖

ความเกี่ยวพันระหว่างกรรมการ ๑๑๖๗ และบริษัทและบุคคลภายนอก หน้ าที่ของกรรมการ (รวมถึงผู้แทน กก.) หน้ าที่ทวั่ ไป ๑๑๖๘ ว.๑

เพียงใดก็ได้ (๓) กรณี ที่ผ้ เู ป็ นประธานไม่มาประชุมตามเวลาที่ได้ นัดหมาย กรรมการที่ประชุมจะเลือกกันเองให้ กรรมการคนหนึ่งขึ ้นมาเป็ น ประธานในที่ประชุมก็ได้ (๑) พิจารณาจากข้ อบังคับก่อนว่าต้ องมีจานวนกรรมการกี่ คนจึงจะ เป็ นองค์ประชุมได้ (๒) หากมิได้ กาหนดไว้ (เมื่อจานวนกรรมการเกินกว่า ๓ คน) ต้ องมี กรรมการ ๓ คน เข้ าประชุม จึงจะเป็ นองค์ประชุม  ให้ ตด ั สินด้ วยคะแนนเสียงข้ างมากของกรรมการ (ประธานถ้าเป็ นผู้ ถือหุน้ ก็ลงมติได้ แต่ถา้ ไม่เป็ นผูถ้ ือหุน้ จะลงมติไม่ได้)  ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน –ประธานเป็ นผู้ชี ้ขาด (แม้ประธานไม่ถือหุน ้ )  ผู้จด ั การหรื ออนุกรรมการต้ องใช้ อานาจตามที่ได้ รับมอบหมาย ให้ เป็ นไปตามคาสัง่ หรื อข้ อบังคับซึ่งกรรมการทังหลายได้ ้ กาหนดให้ ทกุ อย่างทุกประการ  ให้ ที่ประชุมอนุกรรมการตัดสินด้ วยเสียงข้ างมาก ถ้ าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ ประธานในที่ประชุมเป็ นผู้ชี ้ขาด (ม.๑๑๖๕)  แม้ การแต่งตังกรรมการจะบกพร่ ้ อง หรื อกรรมการขาดคุณสมบัตใิ น การดารงตาแหน่ง การที่ได้ ทานันยั ้ งคงสมบูรณ์เหมือนว่าบุคคลผู้ นันได้ ้ รับการแต่งตังโดยถู ้ กต้ องและบริบรู ณ์ด้วยคุณสมบัตขิ อง กรรมการ  ให้ บงั คับตาม กม.ว่าด้ วยตัวแทน



กรรมการต้ องใช้ ความเอื ้อเฟื อ้ สอดส่องอย่างบุคคลค้ าขายผู้ ประกอบธุรกิจด้ วยความระมัดระวัง

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๘๐



๘๐ ว.๒





19

ไม่ น้อยกว่ า ๑ / ๒ ของจานวนกรรมการทังหมด ้

ให้ ตดั สินด้ วยคะแนนเสียงข้ างมากของกรรมการ โดยกรรมการ ๑ คน มี ๑ เสียง เว้ นแต่ กรรมการที่มีสว่ นได้ เสียเป็ นพิเศษ ไม่มีสทิ ธิลงมติ ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน – ให้ ประธานเป็ นผู้ชี ้ขาด



๘๔



กิจการของบริษัทที่ คกก. / กรรมการ / บุคคลซึ่งได้ รับมอบหมายจาก คกก. ได้ กระทาไปในนามของบริ ษัท ย่อมมีผลสมบูรณ์ และผูกพันบริษัท แม้ จะปรากฏในภายหลังว่ามีข้อบกพร่องเกี่ยวกับการเลือกตัง้ / แต่งตัง้ / คุณสมบัตขิ องกรรมการ



๘๕ ว.๑



ต้ องปฏิบตั หิ น้ าที่ให้ เป็ นไปตาม กม. วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของ บริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริตและ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

หน้ าที่โดยเฉพาะ

ว.๒

 

 

ข้ อห้ ามกรรมการกระทา

ว.๓



การฟ้องเรียกค่ าเสียหายจาก กรรมการ – ในกรณีที่กรรมการ ทาความผิดและก่ อให้ เกิด ความเสียหายแก่บริษัทแล้ ว (ต้องมีความผิดก่อน คือ กก. กระทาการ/ละเว้นการตามข้อ บังคับ/หน้าที /่ มติทีป่ ระชุมใหญ่)

๑๑๖๙



กรณีที่กรรมการอาจก่อให้ เกิด ความเสียหาย (ยังไม่เกิ ดความ เสียหาย)

-

ดูแลการใช้ เงินค่าหุ้นให้ มีการใช้ กนั จริง จัดให้ มีและรักษาไว้ ให้ เรี ยบร้ อย ซึ่งบรรดาสมุดบัญชีและเอกสารที่ กม.ได้ กาหนดไว้ แจกเงินปั นผลหรื อดอกเบี ้ยให้ เป็ นไปโดยถูกต้ องตาม กม. บังคับการให้ เป็ นไปตามมติของที่ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้น

๘๘



๘๙



ประกอบการค้ าขายใดๆ อันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน และเป็ นการ แข่งขันกับการค้ าขายของบริษัท หรือ  เข้ าเป็ นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้ างค้ าขายอื่น ซึ่งประกอบ กิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันกับกิจการของบริษัท เว้ นแต่ – จะได้ รับอนุมตั จิ ากที่ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้น





บริษัท – ฟ้องเรี ยกเอาค่าสินไหมทดแทนจากกรรมการ ในกรณีที่บริษัทไม่ยอมฟ้องร้ อง  ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งคนใดจะเป็ นผู้ฟ้องร้ องคดีก็ได้ (ไม่มีเงื อ ่ นไข)  เจ้ าหนี ข ้ องบริษัทจะเป็ นผู้เรี ยกบังคับก็ได้ เท่าที่เจ้ าหนี ้ยังคงมี สิทธิเรี ยกร้ องแก่บริษัท

ไม่มีบทบัญญัติ

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

20

หน้ าที่เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับส่วนได้ เสียของกรรมการที่มีอยู่ในบริษัท/ บริษัทในเครื อ (หุ้น / หุ้นกู้ / สัญญา) การขัดกันแห่งผลประโยชน์



๘๕ ว.๒

 

(ดู ม.๙๑ – ๙๔ เพิม่ )

๘๕ ว.๒ (๒)



บริษัท – ฟ้องเรี ยกค่าสินไหมทดแทนจากกรรมการ หรื อ ในกรณีที่บริษัทไม่ยอมฟ้องร้ อง  ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า ๕ % ของ จน. หุ้นที่ขายได้ (ไม่ คานึงจานวนคน) และต้ องถือหุ้นขณะที่ กก.คนนันท ้ าความเสียหาย แก่บริษัท แจ้ งเป็ นหนังสือให้ บริษัทฟ้องร้ อง กก. ที่ทาให้ เสียหาย  ถ้ าบริ ษัทฟ้องร้ อง – ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรื อหลายคนอาจฟ้องคดีเรี ยก ค่าสินไหมทดแทนแทนบริษัทก็ได้ ผู้ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า ๕ % ของหุ้นที่ขายได้ (ไม่คานึงจานวนคน) และต้ องถือหุ้นขณะที่กรรมการคนนันก ้ าลังจะกระทาการก่อให้ เกิด ความเสียหายแก่บริษัท  ขอให้ ศาลสัง่ ระงับการกระทาของกรรมการ หรื อ  ขอให้ ศาลสัง่ ให้ กรรมการคนนันออกจากต ้ าแหน่ง

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

กรรมการทาไปโดยได้ รับอนุมตั ิ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (อ.นนทวัชร์ มองว่าเป็ นเสมือน “มาตรการฟอกตัวของ กก.”)

ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ประเภทของการประชุมผู้ถือหุ้น  การประชุมสามัญ

๑๑๗๐

กรรมการคนใดทาไปโดยได้ รับอนุมตั จิ ากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ๙๕  กรรมการคนใดกระทาการใดที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ อานาจอนุมต ั ิ/  กรรมการผู้นนไม่ ั ้ ต้องรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นซึ่งได้ ให้ อนุมตั หิ รื อ ให้ สตั ยาบันแล้ ว แม้ ต่อมาจะมีการเพิกถอนมตินนั ้ ต่อบริษัทอีกต่อไป  ผลคือ กรรมการคนนันไม่ ้ ต้องรับผิดในการกระทานันต่ ้ อบริษัท / ผู้ถือหุ้น  สาหรับผู้ถือหุ้นที่มิได้ อนุมต ั ใิ นการดังกล่าว จะต้ องฟ้องคดี / เจ้ าหนี ้ของบริษัท ภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ที่ประชุมใหญ่ให้ อนุมตั แิ ก่การนัน้ สิทธิพนื ้ ฐานของผู้ถือหุ้น (ทัง้ บจก.และ บมจ.)  สิทธิในการเข้ าประชุมผู้ถือหุ้น  สิทธิในการได้ รับเงินปั นผล  สิทธิในการออกเสียงในที่ ประชุมผู้ถือหุ้น  สิทธิที่ได้ รับคืนทุนเมื่อเลิกกิจการ  สิทธิตรวจสอบควบคุมการบริ หารจัดการของ คกก. ** (อ.นนทวัชร์ บอกว่าสาคัญที ส ่ ดุ ) (เฉพาะ บมจ. ม.๑๒๘) 



๑๑๗๑





การประชุมวิสามัญ (ไม่มีก็ได้) การเรียกประชุมวิสามัญ ๑๑๗๒ ว.๑ การที่กรรมการ / คกก. เรี ยก ประชุมวิสามัญ การเรี ยกประชุมต้ องทาโดย ๑๑๗๓ กรณีกรรมการไม่เรี ยกประชุม ผู้ถือหุ้นมีสทิ ธิทาหนังสือร้ อง ขอให้ กรรมการเรี ยกประชุม 

หากกรรมการ / คกก. ไม่เรี ยก ประชุมตามที่ผ้ ถู ือหุ้นร้ องขอ

21

๑๑๗๔ ว.๒



การประชุมสามัญครัง้ แรก ต้ องประชุมภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ ได้ จดทะเบียนบริษัท การประชุมสามัญครัง้ ต่อๆ ไป ต้ องประชุมครัง้ หนึ่งเป็ นอย่างน้ อย ทุกระยะเวลา ๑๒ เดือน คือ การประชุมอื่นนอกเหนือจากการประชุมสามัญ

๙๘





การประชุมประจาปี ภายใน ๔ เดือนนับแต่วนั สิ ้นสุดรอบบัญชีบริษัท (มีกาหนดเวลาชัดเจน)

คือ การประชุมผู้ถือหุ้นคราวอื่นนอกเหนือจากการประชุมสามัญ

 

 





กรรมการ/คกก. เรี ยกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อใดก็ได้ สดุ แล้ วแต่ จะเห็นสมควร มติ คกก. ผู้ถือหุ้นมีจานวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ / ๕ ของจานวนหุ้นของ บริษัท เข้ าชื่อกันทาหนังสือร้ องขอให้ เรี ยกประชุม ในหนังสือร้ องขอต้ องระบุวา่ ประสงค์ให้ เรี ยกประชุมเพื่อการใด

ถ้ ากรรมการไม่เรี ยกประชุม (ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ยืน่ คาร้อง) ผู้ถือหุ้นทังหลายซึ ้ ่งเป็ นผู้ร้อง หรื อผู้ถือหุ้นคนอื่นๆ รวมกันได้ จานวน หุ้น ๑ / ๕ จะเรี ยกประชุมเองก็ได้

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๙๙





๑๐๐



-

 

คกก. เรี ยกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อใดก็ได้ (ไม่ได้กาหนดว่า คกก. ต้องเรี ยกประชุมเมือ่ มีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง อาทิ บริ ษัทขาดทุน) มติ คกก. ผู้ถือหุ้นทาหนังสือขอให้ คณะกรรมการเรี ยกประชุมได้ เมื่อ  ผู้ถือหุ้นมีจานวนหุ้นนับรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ / ๕ ของจานวนหุ้นที่ จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ (จานวนคนไม่สาคัญ) หรือ  ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า ๒๕ คน ซึ่งมีห้ น ุ นับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่า ๑ / ๑๐ ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ (คุม้ ครองผูถ้ ือหุน้ ข้างน้อย) ผู้ถือหุ้นทังหลายไม่ ้ มีสทิ ธิเรี ยกประชุมเอง แต่เนื่องจากมีบทลงโทษกรรมการ/คกก.เอาไว้ ตาม พ.ร.บ. ดังนัน้ จึงเป็ น หน้ าที่ของ คกก. (โดยประธานกรรมการ) ที่ต้องเรี ยกประชุมผู้ถือหุ้น

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

กรณีที่ กม. กาหนดให้ กรรมการ เรี ยกประชุม

๑๑๗๒ ว.๒ ๑๒๑๑

วิธีการบอกกล่ าวเรียกประชุม

๑๑๗๕

สิง่ ที่ต้องมีในหนังสือบอกกล่าว การประชุม

 







ผู้มีสิทธิเข้ าประชุม

๑๑๗๖

การมอบฉันทะให้ผอู้ ื ่นเข้าร่ วม การประชุม/ลงมติ ผู้สอบบัญชี

๑๑๘๗ – ๑๑๘๙ -



วิธีการประชุม องค์ประชุม









๑๑๗๘ (นับจานวน หุน้ เท่านัน้ )

บริษัทขาดทุนถึงกึ่งจานวนต้ นทุน ตาแหน่งผู้สอบบัญชีวา่ งลง ให้ นดั ประชุมเพื่อเลือกตังผู ้ ้ สอบบัญชี ใหม่ให้ ครบจานวน คาบอกกล่าวการเรี ยกประชุม (มติธรรมดา ๗ วัน มติ พิเศษ ๑๔ วัน)  ให้ ลงพิมพ์โฆษณาใน นสพ. แห่งท้ องที่อย่างน้ อยหนึ่งครัง้ ก่อน ประชุม (ไม่นอ้ ยกว่า ๗ วัน) และ  ส่งทางไปรษณี ย์ตอบรับไปยังผู้ถือหุ้นทุกคนที่มีชื่อชื่อใน ทะเบียนบริษัทก่อนวันนัดประชุม (ไม่นอ้ ยกว่า ๗ วัน) คาบอกกล่าวเรี ยกประชุมให้ ระบุสถานที่ วัน เวลา และสภาพแห่ง กิจการที่จะได้ ประชุมปรึกษากัน กรณีที่เป็ นคาบอกกล่าวการเรี ยกประชุมเพื่อลงมติพเิ ศษ – ให้ ระบุ ข้ อความที่จะนาเสนอให้ ลงมติด้วย ผู้ถือหุ้นทุกคนมีสทิ ธิเข้ าประชุมใหญ่เสมอ ไม่วา่ การประชุมชนิดใด คราวใด



ไม่มีหน้ าที่ดงั กล่าว หากมีข้อบังคับของบริษัทกาหนดไว้ – ให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับนัน้ (แต่หากไม่มีขอ้ บังคับกาหนดไว้ ก็เป็ นดังนี ้) ต้ องมีผ้ ถู ือหุ้นเข้ าประชุมรวมกันแทนหุ้นไม่น้อยกว่า ๑ / ๔ ของทุน จดทะเบียนของบริษัท

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

22



๑๐๑

 

๑๐๑



๑๐๒



๑๐๒



๑๒๕



ทาเป็ นหนังสือส่งผู้ถือหุ้นและนายทะเบียน และ ประกาศในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่า ๓ วัน ก่อนการประชุม

ผู้ถือหุ้นมีสทิ ธิเข้ าประชุมและออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น แต่จะมอบฉันทะให้ บคุ คลอื่นเข้ าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนก็ ได้ โดยผู้รับมอบฉันทะต้ องบรรลุนิตภิ าวะ มีหน้ าที่เข้ าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นทุกครัง้ ที่มีการพิจารณางบดุล บัญชีกาไร ขาดทุน และปั ญหาเกี่ยวกับบัญชีบริษัท



๑๐๓ (นับทัง้ จานวนคน และหุน้ )





จานวนคน – จานวนผู้ถือหุ้น  ไม่น้อยกว่า ๒๕ คน หรื อ  ไม่น้อยกว่า ๑ / ๒ ของจานวนผู้ถือหุ้นทังหมด ้ และ จานวนหุ้น -- นับจานวนหุ้นรวมกันได้ ไม่น้อยกว่า ๑ / ๓ ของจานวนหุ้น ที่จาหน่ายได้ ทงหมด ั้

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

เวลาผ่านไป ๑ ชม. แล้ วไม่ครบ องค์ประชุม

๑๑๗๙

ประธานในที่ประชุม

๑๑๘๐

 

 

การเลื่อนการประชุม

๑๑๘๑





สิทธิในการออกเสียง

 



กรณี ผถู้ ือหุน้ ถูกจากัดสิ ทธิ ใน การออกเสียง

๑๑๘๓

๑๑๘๔ ๑๑๘๕ วิธีการลงคะแนนเสียง  หลัก  ยกเว้น



 

ถ้ าเป็ นการประชุมที่ผ้ ถู ือหุ้นร้ องขอ – ให้ เลิกประชุม ถ้ าเป็ นการประชุมที่ กก. เรี ยกประชุม – ให้ นดั ใหม่อีกคราวภายใน ๑๔ วัน และการประชุมครัง้ หลังไม่จาเป็ นต้ องครบองค์ประชุม ให้ ประธานในสภากรรมการนัง่ เป็ นประธานการประชุม ถ้ าไม่มีหรือไม่มาจนล่วงเวลาไป ๑๕ นาที – ให้ ผ้ ถู ือหุ้นเลือกผู้ถือ หุ้นคนหนึ่งในจานวนที่มาประชุมขึ ้นเป็ นประธานในที่ประชุม ประธานในที่ประชุมจะเลื่อนการประชุมไปเวลาอื่นโดยความ ยินยอมของที่ประชุมก็ได้ แต่ ในที่ประชุมซึ่งเลื่อนมานัน้ ห้ ามมิให้ ปรึกษากิจการใดนอกจากที่ ค้ างมาจากวันประชุมครัง้ ก่อน ผู้ถือหุ้นทุกคนย่อมมีสทิ ธิลงคะแนนเสียง กรณีห้ นุ ชนิดผู้ถือ – จะต้ องนาใบหุ้นมาแสดงก่อนเวลาประชุม ข้ อบังคับของบริษัทกาหนดไว้ วา่ ต่อเมื่อผู้ถือหุ้นเป็ นผู้มีห้ นุ จานวน เท่าใดจึงให้ ออกเสียงเป็ นคะแนน – ผู้ถือหุ้นทังหลายซึ ้ ่งไม่มีห้ นุ ถึง จานวนเท่านันย่ ้ อมมีสทิ ธิจะเข้ ารวมกันออกเสียงให้ ได้ จานวนหุ้น ดังกล่าว แล้ วตังคนหนึ ้ ่งคนใดในพวกของตนให้ เป็ นผู้รับฉันทะออก เสียงแทนในการประชุมใหญ่ได้ ผู้ถือหุ้นซึ่งค้ างชาระค่าหุ้น ผู้ถือหุ้นที่มีสว่ นได้ เสียเป็ นพิเศษในเรื่ องใดซึ่งที่ประชุมลงมติ

ม.๑๑๙๐ – ๑๑๙๒  หลัก – ข้ อมติอน ั เสนอให้ ลงคะแนน กม.ให้ ตดั สินด้ วยวิธีชูมือ  ก่อนหรื อในเวลาแสดงผลด้ วยวิธีชม ู ือ มีผ้ ถู ือหุ้นอย่างน้ อย ๒ คน ร้ องขอให้ ลงคะแนนลับ  ทังนี ้ ้ การลงคะแนนลับ จะทาโดยวิธีใดสุดแล้ วแต่ประธานเป็ นผู้สงั่

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

๑๐๓ ว.๒ (เหมือน บจก.) (เหมือน บจก.)

 

23

ถ้ าเป็ นการประชุมที่ผ้ ถู ือหุ้นนัดเรี ยก (ตาม ม.๑๐๐) – ให้ เลิกการประชุม ถ้ าเป็ นการประชุมที่ คกก./กก. เรี ยกประชุม – ให้ นดั ประชุมใหม่ โดยการ ประชุมครัง้ หลังไม่ต้องครบองค์ประชุม)





๑๐๒



ผู้ถือหุ้นทุกคนย่อมมีสทิ ธิลงคะแนนเสียง (การลงคะแนนและนับคะแนน เอา ม.๓๓ ว.๒ / ว.๔ / ว.๕ มาใช้โดยอนุโลม)



(๓๓ ว.๒)

ไม่มี เพราะผู้ถือหุ้นใน บมจ. ต้ องชาระค่าหุ้นครบทุกคนแล้ ว  ผู้ถือหุ้นที่มีสว ่ นได้ เสียเป็ นพิเศษในเรื่ องใดซึ่งที่ประชุมลงมติ นอกจาก การเลือกตังกรรมการ ้ ม.๑๐๒ ประกอบ ม.๓๓ ว.๒ / ว.๔ / ว.๕ อนุโลม  หลัก – การลงคะแนนแบบเปิ ดเผย (๓๓ ว.๕)  ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า ๕ คน ร้ องขอให้ ลงคะแนนลับ และ  ที่ประชุมมีมติให้ ลงคะแนนลับ 

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การนับคะแนนเสียง  ชูมือ







๑๑๘๒

ลงคะแนนลับ

มติของที่ประชุม  มติ เสี ยงข้างมาก

มติพิเศษ (เฉพาะ บจก. / บมจ. ไม่มีคาว่า “มติ พิเศษ”)





การลงคะแนนด้ วยวิธีชมู ือ – ให้ นบั ผู้ถือหุ้นทุกคนที่มาประชุมหรื อ มอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นมาประชุมแทน มี ๑ เสียงเป็ นคะแนน (one man one vote) การลงคะแนนลับ – ให้ นบั คะแนน ๑ หุ้น ต่อ ๑ เสียง (one share one vote)

(๓๓ ว.๔)





กรณี ตอ้ งใช้มติพิเศษ

๑ หุ้นต่อ ๑ เสียง (one share one vote) (ไม่ว่าเป็ นการลงคะแนนลับ/ เปิ ดเผย) เว้ นแต่ เป็ นหุ้นบุริมสิทธิที่กาหนดสิทธิออกเสียงลงคะแนนน้ อยกว่าหุ้น สามัญ (เช่น ๕ หุน้ มี สิทธิ ออกเสียง ๑ เสียง)



๑๑๙๓



๑๑๙๔



ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ไม่ว่าจะเป็ นวิธีการชูมือหรื อลงคะแนน ๑๐๗ (๑) ลับ – ให้ ประธานในที่ประชุมมีเสียงอีกเสียงหนึ่งเป็ นเสียงชี ้ขาด (ไม่ ว่าประธานจะเป็ นผูถ้ ือหุน้ หรื อไม่ก็ไม่สาคัญ) คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ / ๔ ของจานวนเสียงทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้น ๑๐๗ (๒) ที่เช้ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง









24

๑๑๔๕ ๑๒๒๐ ๑๒๒๑ ๑๒๒๔ ๑๒๓๖(๔) ๑๒๓๘ ๑๘๐

  

   

แก้ ไข้ ข้อบังคับหรื อหนังสือบริคณห์สนธิ เพิม่ ทุน การออกหุ้นเพิม่ ทุนเหมือนหนึ่งได้ ใช้ เต็มค่า หรื อได้ ใช้ แต่บางส่วน ด้ วยอย่างอื่นนอกจากให้ ใช้ เป็ นตัวเงิน ลดทุน เลิกบริษัท ควบบริษัท การแปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชน (ม.๑๘๐ พ.ร.บ.บริ ษัท มหาชนฯ)

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานในที่ประชุมมีเสียงอีกเสียงหนึ่ง เป็ นเสียงชี ้ขาด เว้ นแต่ พ.ร.บ. นี ้กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น (อาทิ กรณี ตาม ม.๗๖ ซึ่งต้อง นับทัง้ คนและหุน้ ) เรื่องสาคัญ ๆ ต้ องลงมติโดยใช้ คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ / ๔ ของ จานวนเสียงทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง (ก) การขาย / โอนกิจการของบริษัททังหมด/บางส่ ้ วนที่สาคัญคนอื่น (ข) การซื ้อ / รับโอนกิจการของบริษัทอื่น/บริษัทเอกชนมาเป็ นของ บริษัท (ค) การทา แก้ ไข หรื อเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้ เช่ากิจการของบริษัท ทังหมดหรื ้ อบางส่วนที่สาคัญ / การมอบหมายให้ บคุ คลอื่นเข้ า จัดการธุรกิจของบริษัท / การรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดยมี วัตถุประสงค์จะแบ่งกาไรขาดทุนกัน

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การเพิกถอนมติท่ ปี ระชุมผู้ถือ หุ้น

๑๑๙๕

การตอบคาถามแนะนาผูท้ ีม่ า ปรึ กษาข้าพเจ้าในฐานะนัก กม. – ต้องวิเคราะห์ ให้ครบว่าอะไร ชอบ/ไม่ชอบด้วย กม. ทีเ่ ป็ นเหตุ จะทาให้เพิกถอนมติ ได้ และเน้น คือ ต้องบอกว่าต้องใช้สิทธิ เพิก ถอนภายใน ๑ เดือนนับแต่ลงมติ







การประชุมใหญ่ที่ฝ่าฝื นบทบัญญัตใิ น ป.พ.พ. หรือข้ อบังคับใน บริษัทในเรื่ องต่อไปนี ้  การนัดเรี ยกประชุม  การประชุม (องค์ประชุม)  การลงมติ “กรรมการ” หรื อ “ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งคนใด” มีสทิ ธิร้องขอให้ ศาล เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่อนั ผิดระเบียบนันได้ ้ (ไม่มีเงือ่ นไขของ จานวนหุน้ / เวลาทีผ่ ถู้ ือหุน้ อยู่ซึ่งอาจเพิ่งเข้ามาภายหลังก็ได้) แต่ต้องร้ องขอภายในกาหนด ๑ เดือน นับแต่วนั ที่ที่ประชุมลงมตินนั ้

๑๐๘





 

การคุ้มครองผู้ถือหุ้น การกีดกันมิให้ ผ้ ถู ือหุ้นเป็ น กก. ผู้ถือหุ้นคัดค้ านการแก้ ไข ข้ อบังคับเกี่ยวกับสิทธิออกเสียง และรับเงินปั นผล ผู้ถือหุ้นคัดค้ านการควบบริษัท ร้ องขอให้ ศาลสัง่ ให้ ระงับการ กระทาของกรรมการที่อาจ ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่บริษัท การตรวจสอบควบคุมการทางาน ของ คกก. โดยการแต่งตังผู ้ ้ ตรวจ สอบ

-

-

-

ไม่มีบทบัญญัติ ไม่มีบทบัญญัติ

๖๙ ๖๖/๑



ไม่มีบทบัญญัติ ไม่มีบทบัญญัติ

๑๔๖ ๘๕(๒)



ไม่มีบทบัญญัติ

๑๒๘

 



หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

 

 



25

การประชุมใหญ่ที่ฝ่าฝื น พ.ร.บ.นี ้ หรือข้ อบังคับของบริ ษัทในเรื่ อง  การนัดประชุม  (องค์ประชุม)  การลงมติ ผู้ถือหุ้น  ไม่น้อยกว่า ๕ คน (ไม่ว่าจะถื อหุน ้ รวมกันกี ่หนุ้ ) หรือ  ซึ่งมีจานวนหุ้นรวมกันได้ ไม่น้อยกว่า ๑ / ๕ ของจานวนหุ้นที่ จาหน่ายได้ ทงหมด ั้ (ไม่ว่าจะมีผถู้ ือหุน้ กี ่คน) มีสทิ ธิร้องขอให้ ศาลสัง่ เพิกถอนมติในการประชุมครัง้ นัน้ แต่ต้องร้ องขอต่อศาลภายใน ๑ เดือนนับแต่วนั ที่ที่ประชุมลงมติ

กาหนดข้ อจากัดมิให้ ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นกรรมการไม่ได้ บริษัทอาจซื ้อหุ้นคืนจากผู้ถือหุ้นที่คดั ค้ าน (เป็ นกรณี ยกเว้นหลักทีห่ า้ ม บริ ษทั ถือหุน้ ตัวเอง แต่ก็เป็ นการทีบริ ษทั ถือหุน้ ตัวเองเฉพาะชัว่ คราว เท่านัน้ โดยต้องจาหน่ายออกไปตามเวลาที ่ กม. กาหนด) ต้ องจัดให้ มีผ้ ซู ื ้อหุ้นของผู้ถือหุ้นที่คดั ค้ านในราคาที่เป็ นธรรม ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรื อหลายคนที่ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า ๕ % ของหุ้นที่ จาหน่ายได้ ทงหมด ั้ มีสทิ ธิขอให้ ศาลสัง่ ให้ ระงับการกระทาได้ ทาหนังสือขอให้ นายทะเบียนแต่งตังผู ้ ้ ตรวจสอบเพื่อดาเนินการ ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของบริษัท ตลอดจนตรวจสอบการ ดาเนินงานของคณะกรรมการ

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

As of 1 Oct 2011

การเลือกกรรมการด้ วยวิธีการ ลงคะแนนแบบสะสม

-



ไม่มีบทบัญญัติ

๗๐





การที่กรรมการต้ องเปิ ดเผยข้ อมูล ต่อผู้ถือหุ้น

-



ไม่มีบทบัญญัตกิ าหนดไว้ เป็ นพิเศษ

๑๑๔ ๘๘

 



การกาหนดโทษทางอาญาของ กรรมการ

-



-



๑๑๓

ไม่มีบทกาหนดโทษทางอาญาแยกไว้ โดยเฉพาะ แต่ได้ กาหนดการ กระทาที่เป็ นความผิด ตาม พ.ร.บ.กาหนดความผิดเกี่ยวกับห้ าง หุ้นส่วนจดทะเบียนฯ ไม่ได้ กาหนด

๙๔ ๑๙๑ – ๒๒๒ ๒๒๒/๑



 

 



26

ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียง = จานวนหุ้นที่ตนถือ x จานวนกรรมการที่ จะเลือกตัง้ ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงของตนทังหมดที ้ ่มีอยู่เลือกบุคคลคน เดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ และจะแบ่งคะแนนให้ แก่ผ้ ใู ดมาก น้ อยเท่าใดก็ได้ กรรมการต้ องเสนอรายงานประจาปี ตอ่ ผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจาปี ในรายงานประจาปี ต้ องมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ตามที่กาหนด รวมทังการที ้ ่กรรมการต้ องแจ้ งต่อบริษัทเมื่อมีกรณีเกี่ยวกับการที่ กรรมการมีสว่ นได้ เสียในสัญญาใดๆ หรื อถือหุ้นในบริษัท/บริษัทในเครื อ ถ้ าทารายงานเท็จ กรรมการต้ องรับผิดร่ วมกัน มีบทกาหนดโทษทางอาญาไว้ เป็ นพิเศษ ลงโทษบริษัท คกก. กรรมการ คนหนึ่งคนใด หรื อบุคคลใดๆ ที่กระทาฝ่ าฝื นบทบัญญัตใิ น พ.ร.บ. มหาชน จากัด ให้ อานาจเปรี ยบเทียบในความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว

เลขมาตราที่ขีดเส้ นใต้ – อ.นนทวัชร์ เน้นหลังบรรยายจบ คาบสุดท้ายในห้อง เลขมาตราตัวเข้ มที่มีสี – มาตราสาคัญ / ม.ที ่ อ.อรรณพเน้น เรื่ องหลักๆ เปรี ยบเทียบ บจก./บมจ. – การฟ้ องกรรมการให้รบั ผิ ด – การลดทุน – การเพิ่ มทุน – การฟ้ องเพิ กถอนมติ ผถู้ ื อหุ้น (การทาข้อสอบเปรี ยบเที ยบต้องแยก บมจ. และ บจก. ต้องวิ เคราะห์ แยกออกจากกันให้ชดั )

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ เป็ นหลัก

สรุ ปมาตรา กม.ลักษณะหุ้นส่ วน-บริ ษัท+บริ ษัทมหาชนจากัด โดย Cookingpond TULAW 53

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF