2011-02-15 LA 202 กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน

September 25, 2017 | Author: Tee T Thanattanon | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

f...

Description

-1Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

LA 202 SEC 2 (อังคาร) – กฎหมายลักษณะทรั พย์ สิน (อ.วิริยะ) สอบวันศุกร์ ท่ ี ๑๘ มี.ค. ๕๔ (๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐) Topic / Essence บทที่ ๑ ทรั พย์ สิทธิ์ การแบ่งประเภทของสิทธิ หนังสือหน้ า ๑๘

ความแตกต่างระหว่าง สิทธิทางหนี ้และ ทรัพยสิทธิ





Record / Note on 2010-11-16 สิทธิแบ่งได้ ๔ ประเภท ได้ แก่ ๑) การแบ่งตามวัตถุแห่งสิทธิ แบ่งเป็ นสิทธิในทางทรัพย์สินและไม่ใช่ในทางทรัพย์สิน ๒) การแบ่งตามอาการใช้ สิทธิ ๓) การแบ่งตามคูก่ รณี ๔) การแบ่งตามกาเนิดของสิทธิ ความแตกต่ างระหว่ างสิทธิทางหนีแ้ ละทรั พยสิทธิ สิทธิทางหนี้ ทรัพยสิทธิ

วัตถุแห่งสิทธิ

การใช้ ยนั ได้ มาตรา ๔๕๑ บุคคลใช้ กาลังเพื่อป้องกันสิทธิของ ตน ถ้ าตามพฤติการณ์ จะ ขอให้ ศาลหรือเจ้ าหน้ าที่ ช่ วยเหลือให้ ทันท่ วงทีไม่ ได้ และถ้ ามิได้ ทาในทันใด ภัย มีอยู่ด้วยการที่ตนจะได้ สม ดังสิทธินั้นจะต้ องประวิง ไปมากหรือถึงแก่ สาบสูญ ได้ ไซร้ ท่ านว่ าบุคคลนั้นหา ต้ องรั บผิดใช้ ค่าสินไหม ทดแทนไม่ การใช้ กาลังดังกล่ าวมาใน วรรคก่ อนนั้น ท่ านว่ าต้ อง จากัดครั ดเคร่ งแต่ เฉพาะที่ จาเป็ นเพือ่ จะบาบัดปั ด

อาการใช้ สทิ ธิ

ถ้ าวัตถุแห่งสิทธิหมดไป สิทธินนก็ ั ้ หมด ไปด้ วย ซึง่ วัตถุแห่งสิทธิ คือ หนี ้ (หนี ้ = สิ ทธิ ทีเ่ จ้าหนีเ้ รี ยกร้องให้ลูกหนีก้ ระทา การ งดเว้นกระทาการ ส่งมอบ ทรัพย์สิน) ซึง่ เมื่อชาระหนี ้แล้ ว ทาให้ หนี ้ ระงับ สิทธิทางหนี ้ก็หมดไป

ตัวทรัพย์สนิ ซึง่ หากทรัพย์สนิ นันๆ ้ หมด ไป ทรัพยสิทธิก็จะหมดลงไปด้ วย อาทิ หากเรามีทรัพย์สนิ คือ ปากกาหนึง่ ด้ าม แล้ วฟ้ าผ่าสลายไปหมด กรรมสิทธิ์ก็ หมดไป แม้ มีคนเนรมิตทรัพย์ขึ ้นมาใหม่ ทรัพยสิทธิก็ไม่กลับมา เว้ นแต่เฉพาะ กรณีที่ กม. เขียนให้ กลับมา ซึง่ มีอยู่ ไม่มีตวั ทรัพย์ไปรองรับ โดยมีแต่การ ประเภทเดียว คือ สิทธิเก็บกิน ตาม . กระทา งดเว้ นการกระทา การส่งมอบ ๑๔๑๙ / กรณี ม.๑๓๙๗ ภาระจายอม ทรัพย์สนิ ซึง่ เมื่อทรัพย์หายไป สิทธิก็เป็ นอันระงับ ใช้ ยนั ได้ เฉพาะระหว่างคูก่ รณีเท่านัน้ ใช้ ยนั ได้ กบั คนทัว่ ไป อาทิ ภาระจายอม นอกจากนันสิ ้ ทธิทางหนี ้ทีเ่ กือบเหมือน สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน ซึง่ ติดไปกับตัว ทรัพย์สทิ ธิ คือ สัญญาเช่า ทรัพย์ ใครรับทรัพย์นนไปก็ ั ้ ได้ รับเอา อสังหาริ มทรัพย์ ซึง่ เป็ นสิทธิทางหนี ้ ทรัพย์สทิ ธินนไปด้ ั ้ วย อาทิ สัญญาจะ (ตาม ม.๕๖๙) คือ ใครรับโอนทรัพย์ก็ ซื ้อจะขายจึงต้ องเขียนไว้ วา่ ที่ดินที่จะซื ้อ รับสิทธินนไปด้ ั ้ วย จะขายต้ องไม่ติดสัญญาเช่าหรื อ ทรัพยสิทธิอื่นใด ซึง่ ถ้ าติดก็สามารถ เรี ยกค่าเสียหายหรื อบอกเลิกสัญญาจะ ซื ้อจะขายนันได้ ้ โดยหลัก เป็ นสิทธิเรี ยกร้ อง โดยหลัก เป็ นสิทธิอานาจเหนือ (ต้ องใช้ สทิ ธิผา่ นอานาจรัฐ) (สามารถใช้ ได้ เอง ไม่ต้องผ่านศาล อาทิ ข้ อยกเว้ น อาจเป็ นสิทธิอานาจเหนือ -- การติดตามทวงคืนทรัพย์) สามารถดาเนินการบังคับชาระหนี ้ได้ ข้ อยกเว้ น อาการใช้ สทิ ธิอาจเป็ นสิทธิ ด้ วยตัวเอง สามารถใช้ อานาจกาลังทาง เรี ยกร้ อง กายภาพบังคับได้ ด้วยตนเอง คือ ม. ๔๕๑ สิทธิช่วยเหลือตนเอง

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-2Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ป้องภยันตรายเท่ านั้น ถ้ าบุคคลผู้ใดกระทาการ ดังกล่ าวมาในวรรคต้ น เพราะหลงสันนิษฐาน พลาดไปว่ ามีเหตุอัน จาเป็ นที่จะทาได้ โดยชอบ ด้ วยกฎหมายไซร้ ท่ านว่ าผู้ นั้นจะต้ องรั บผิดใช้ ค่า สินไหมทดแทนให้ แก่ บุคคลอื่น แม้ ทั้งการทีห่ ลง พลาดไปนั้นจะมิใช่ เป็ น เพราะความประมาท เลินเล่ อของตน

ม.๑๒๙๙ ว.๑ และ ว.๒ ออกสอบทุกครั้ ง คาว่ า “ไม่ บริบูรณ์ ” ต่ างกับ คาว่ าไม่ สมบูรณ์ คือ ไม่ มี สัญญาเกิดขึน้ หรือถ้ าเกิดก็ เป็ นโมฆะ การไม่ บริบูรณ์ คือ สัญญามีแต่ ไม่ ทาให้ ได้ ทรัพย์ สิทธิแต่ สามารถยัน กันได้ ระหว่ างคู่กรณี

การได้ กรรมสิทธิ์ไปตาม นิตกิ รรมก็ต้องไปจด ทะเบียนให้ ถกู ต้ องด้ วย และแม้ บคุ คลภายนอกได้ ทรัพย์จากผู้ที่ไม่ได้ เป็ น เจ้ าของ แต่หากไปจด ทะเบียนและกระทาการ โดยสุจริ ตก็ถือว่ามีสิทธิ ดีกว่าคนที่ไม่ได้ มีทะเบียน ที่ถกู ต้ อง

การแสดงออกถึง การเป็ นผู้ทรง สิทธิ

การโอนสิทธิทางหนี ้ เพียงบอกให้ ลกู หนี ้ รู้ หรื อการได้ รับความยินยอมก็เพียงพอ แล้ ว ไม่ต้องไปจดทะเบียน อาทิ การ โอนหนี ้ การโอนสิทธิเรี ยกร้ องตาม กม. ลักษณะหนี ้ ตาม ม.๓๐๖

ใช้ ทะเบียนหรื อการครอบครองเป็ นตัว แสดงออกถึงการเป็ นผู้ทรงสิทธิหรื อเป็ น เจ้ าของ (อสังหาริ มทรัพย์หรื อ สังหาริ มทรัพย์ที่สาคัญ) โดยสิง่ ทีท่ าให้ ทาเบียนศักดิ์สทิ ธิ์ คือ  ม.๑๒๙๙ ว.๑ เวลาจะโอนสิทธิต้อง โอนทางทะเบียน คือ การแก้ ไข เปลีย่ นแปลงชื่อในทะเบียน ซึง่ ถ้ าไม่ ทาทะเบียนจะไม่บรู ณ์  ม.๑๒๙๙ ว.๒ คนได้ กรรมสิทธิ์ทาง นิติกรรม v.s. คนที่ได้ กรรมสิทธิ์ไป ทางทะเบียนและเสียค่าตอบแทน ฝ่ ายหลัง (คนที่จดทะเบียน) มี สิทธิดีกว่า (นอกจากการได้ ทางนิติ กรรมแล้ ว อาจได้ กรรมสิทธิ์มาจาก การครอบครองปรปั กษ์ อาทิ ข ได้ การครอบครองปรปั กษ์ ซึง่ หากยัง ไม่ได้ แก้ ไขทางทะเบียน แต่ ค ได้ ไป ทางทะเบียนโดยสุจริ ตและเสีย ค่าตอบแทน ก็มีสทิ ธิดีกว่า เป็ นการ ครอบครองผู้ได้ ครอบครองปรปั กษ์ เพราะไม่ยอมไปเปลีย่ นข้ อเท็จจริง ทางทะเบียน อาทิ กรณีที่ดินพระ พยอม / กรณีสงั หาริ มทรัพย์ชนิด พิเศษ ตาม ม.๑๒๙๙ ให้ รวมถึง สังหาริ มทรัพย์ที่ต้องมีทะเบียนตาม ม.๑๓๐๒ ด้ วย คือ เรื อ สัตว์พาหนะ แพที่อยูอ่ าศัย / สาหรับ สังหาริ มทรัพย์ที่ไม่มีทะเบียนให้ ใช้ การครอบครองเป็ นเจ้ าของ โดยการ ครอบครองมีความศักดิ์สทิ ธิ์ โดย การโอนจะสมบูรณ์ก็ตอ่ เมื่อมีการส่ง มอบทรัพย์นนั ้  มาตรา ๑๒๙๙ ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนีห้ รื อกฎหมายอืน่ ท่านว่าการ ได้มาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์นนั้ ไม่บริ บูรณ์ เว้น แต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสือและได้จดทะเบียน การได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที ่ ถ้ามี ผไู้ ด้มาซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์โดยทางอืน่ นอกจากนิ ติกรรม สิ ทธิ ของผูไ้ ด้มานัน้ ถ้ายังมิ ได้จดทะเบียนไซร้ ท่านว่าจะมีการเปลีย่ นแปลงทาง

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-3Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ทะเบียนไม่ได้ และสิ ทธิ อนั ยังมิ ได้จดทะเบียนนัน้ มิ ให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มา โดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุจริ ตแล้ว อายุความ มีอายุความฟ้ องร้ อง (หนี ้ทุกหนี ้มีอายุ มีอายุความได้ สทิ ธิเสียสิทธิ ซึง่ อายุ ความฟ้ องร้ อง) โดยหลัก อายุความ ความไม่ได้ มีทกุ ทรัพยสิทธิ มีเฉพาะที่ ทัว่ ไป คือ ๑๐ ปี ส่วนอายุความเฉพาะ กม. เขียนไว้ เท่านัน้ อาทิ การ แล้ วแต่ กม. กาหนดเป็ นเรื่ องๆ อาทิ ครอบครองตาม ม.๑๓๗๕ ภายใน ๑ ปี อายุความฟ้ องร้ องตาม ม.๑๔๔๘ มี / ม.๑๓๘๒ / ม.๑๔๐๑ สาหรับสิทธิ กาหนด ๑ ปี / สัญญากู้ยืมเงิน ๑๐ ปี อาศัย สิทธิเก็บกิน ฯลฯ ไม่มีอายุความ เมื่อครบกาหนด หนี ้ไม่ระงับ แต่เพียงให้ เมื่อครบกาหนด กรรมสิทธิ์ก็หมดสิทธิ สิทธิลกู หนี ้ปฏิเสธสามารถยกเอาเรื่ อง อาทิ ภาระจายอม / การครอบครอง ขาดอายุความขึ ้นต่อสู้ปฏิเสธการไม่ ปรปั กษ์ / การฟ้ องตาม ม.๑๓๗๕ ถ้ า ชาระหนี ้ได้ ไม่ฟ้องก็หมดสิทธิ ศาลหยิบยกขึ ้นมาเองไม่ได้ (เพราะ ศาลสามารถหยิบยกขึ ้นมาวินจิ ฉัยเอง ไม่ได้ เกี่ยวกับเรื่ องความสงบเรี ยบร้ อย) ได้ เนื่องจากอายุความได้ สทิ ธิเสียสิทธิ เกี่ยวข้ องกับความสงบเรี ยบร้ อย

บทที่ ๒ สาธารณสมบัติ ของแผ่ นดิน



ประเภทสาธารณสมบัติ ของแผ่นดิน แบ่งเป็ น ๓ ประเภท (เป็ นทรัพย์นอก พาณิชย์ โดยหลักไม่อยู่ ในบังคับของ กม.เอกชน) นานๆ จะออกข้ อสอบ เกี่ยวกับเรื่องการได้ สิทธิ เสียสิทธิ การสิน้ สภาพ หรือการกลับมา เป็ นสาธารณสมบัตขิ อง แผ่ นดิน



มาตรา ๑๓๐๔ สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นนัน้ รวมทรัพย์สินทุกชนิ ดของแผ่นดิ นซึ่งใช้ เพือ่ สาธารณประโยชน์หรื อสงวนไว้เพือ่ ประโยชน์ร่วมกัน เช่น (๑) ที ด ่ ิ นรกร้างว่างเปล่า และที ่ดินซึ่ งมี ผเู้ วนคื น(โดยหลวง)หรื อทอดทิ้ งหรื อกลับมาเป็ น ของแผ่นดิ นโดยประการอืน่ ตามกฎหมายทีด่ ิ น (ที่ดนิ ที่มีเอกสาร นส.๓ ก็ถือว่าเป็ น ที่ดนิ ประเภทนี ้ ซึง่ ไม่สามารถออกโฉนดได้ ทงหมด ั้ ซึง่ หากวันหนึง่ หลวงเอาคืนก็จะ เป็ นศูนย์ แต่บางคนคิดว่าแค่ขอใช้ ประโยชน์ก่อนหลวงเอาคืนก็ค้ มุ พอแล้ ว) – นัก กม.ยอมรับกันโดยทัว่ หน้ าว่าที่ดนิ ลักษณะนี ้สามารถเป็ นเจ้ าของได้ โดยเจ้ าของมี เพียงสิทธิครอบครองเท่านัน้ (๒) ทรัพย์ สินสาหรับพลเมื องใช้ร่วมกัน เป็ นต้นว่าที ช ่ ายตลิ่ ง ทางน้า ทางหลวงทะเลสาบ (อาทิ สนามหลวง ถนน ฟุตบาท โดย อ.มองว่าที่แถวๆ ท่าพระจันทร์ แม้ เป็ นที สาธารณะแต่ก็โดนพ่อค้ าแม่คา่ ยึดไปใช้ ประโยชน์ถาวรไปแล้ ว แต่แม้ จะครอบครอง นานเท่าไหร่ก็ไม่ได้ กรรมสิทธิ์ ไม่สามารถใช้ เรื่ องการครอบครองปรปั กษ์ มาใช้ กบั ที่ดนิ ที่เป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินได้ ) (๓) ทรัพย์ สินใช้เพื อ ่ ประโยชน์ของแผ่นดิ นโดยเฉพาะ เป็ นต้นว่าป้ อม และโรงทหาร สานักราชการบ้านเมื อง เรื อรบ อาวุธยุทธภัณฑ์ (ซึง่ มีหน่วยงานราชการใช้ แทน อาทิ ม.ธ. หรื อ ป่ าสงวน ซึง่ มีกรมป่ าไม้ เป็ นผู้ดาเนินการดูแลป่ าแทน แม้ ว่าขณะนี ้มีการ เรี ยกร้ องให้ ชมุ ชนมีบทบาทในการดูแลป่ าไม้ ถ้ าเราไม่ออกจากสถานที่ราชการก็จะมี ความผิดฐานบุกรุกที่ราชการซึง่ มีโทษหนักกว่าบุกรุกสถานที่เอกชน) สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินต้ องแยกจากทรัพย์เอกชน เนื่องจากเป็ นทรัพย์นอกพาณิชย์ (ไม่อยูใ่ นบังคับของ กม.เอกชน แม้ ออกโฉนดได้ แต่ก็ต้องระวังว่าออกโฉนดมาโดยชอบ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-4Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)



เอกชนสามารถอุทิศยก ที่ดนิ ของตนให้ เป็ น สาธารณะสมบัตไิ ด้ (ทัง้ ทางตรงและโดยปริยาย) Summary Topic / Essence บทที่ ๓ สิทธิ ครอบครอง การครอบครอง (ออกสอบเกือบทุกครัง้ อาจจะเป็ นเรื่ องสิทธิ ครอบครองพื ้นฐานหรื อ ที่ดนิ มือเปล่า ซึง่ ใช้ หลักการเดียวกัน) การใช้ สิทธิเพื่อให้ ได้ คืน ซึง่ การครอบครอง กม.คุ้มครองเฉพาะสิทธิ ในเชิงต่อสู้เท่านัน้ มิได้ ให้

 





หรื อไม่ เสี่ยงต่อการถูกเพิกถอนโฉนด) ซึง่ ไม่ต้องยุง่ เกี่ยวกับ กม.เอกชน แต่ใช้ กม.มหาชน เป็ นหลัก ยกเว้ นเรื่ องสิทธิครอบครอง ข้ อสอบเก่ า ที่เอกชนก็สามารถกลายไปเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินได้ เหมือนกัน อาทิ ทางที่ชาวบ้ านใช้ ที่ดนิ ผ่านไปมาเป็ นเวลานาน ทางดังกล่าวก็อาจกลายเป็ นสาธารณ สมบัตขิ องแผ่นดินได้ ถ้ าเราไม่สงวนสิทธิ์ ดังนัน้ เอกชนจึงขึ ้นป้ายว่าสงวนสิทธิ์ว่าเป็ นที่ ของเอกชน ซึง่ ถ้ าหากไม่ได้ ติดป้ายไว้ ประชาชนก็อาจสามารถอ้ างได้ วา่ เป็ นที่ สาธารณะ o แนว ฎ. เคยมีกรณีทารัว้ ในที่ของตนเองเป็ นต้ นพูร่ ะหงล ้าเข้ าไปในที่ของตัวเอง โดยที่ เหลือที่ของตนไว้ นอกรัว้ ด้ วย ปล่อยนานไปที่ดนิ ของเราที่อยูน่ อกรัว้ พูร่ ะหง ก็กลายเป็ น ที่สาธารณะไปโดยปริยาย o กรณีซื ้อตึกแถวต้ องดูว่าที่ดินหน้ าบ้ านตึกแถวของเรารวมอยูใ่ นโฉนดหรื อไม่เป็ นกรณีที่ ต้ องระวังให้ ดี ซึง่ ถ้ าฟุตบาทอยูใ่ นโฉนดที่ดนิ ของเรา เราสามารถสงวนสิทธิ์ได้ โดยการ เอามานัง่ หินมาตังหรื ้ อเอากระถางต้ นไม้ มาวางเนื่องจากเป็ นที่ของเรา ซึง่ หากปล่อยให้ คนใช้ เดินผ่านไปมาก็ถือว่าเรามอบให้ เป็ นทรัพย์สินสาธารณะโดยปริยาย กรณี ยกให้ เป็ นถนน / ให้ รัฐนาไปสร้ าง รพ. ซึง่ กรณีนี ้ไม่ต้องจดทะเบียน กรณีเอกชนยกที่ดนิ ให้ เทศบาลไปทาเป็ นตลาดเพื่อหากาไร เมื่อเจ้ าของตายลงแล้ ว ทายาทอยากได้ ที่ดนิ คืน ศาล ฎ. ตัดสินว่าเนื่องจากผู้ตายยกให้ เพื่อไปทาตลาดหารายได้ ถือเป็ นของแผ่นดินธรรมดา ต้ องทาเป็ นหนังสือจดทะเบียน เมื่อไม่ได้ ดาเนินการดังกล่าว ที่ดนิ ดังกล่าวก็ยงั เป็ นของผู้ตาย ดังนี ้ ทายาทจึงมีสิทธิได้ รับที่ดนิ Record / Note on 2010-11-23 สมัยโรมัน เมื่อมีการครอบครองทรัพย์สินโดยไม่คานึงว่าจะชอบหรื อไม่ ในเบื ้องต้ น กม. จะคุ้มครองให้ อานาจแก่ผ้ คู รอบครองสามารถใช้ สิทธิป้องกันได้ เนื่องจากเป็ นการป้องกัน การอ้ างจากผู้อื่นที่มิได้ ครอบครองทรัพย์นนอยู ั ้ ่ อย่างไรก็ตาม กม. ไม่ให้ อานาจเจ้ าของมา เอาการครอบครองจากผู้ครอบครองทรัพย์นนอยู ั ้ ่ เพื่อให้ เกิดความสงบเรี ยบร้ อยในสังคม แต่ต้องให้ มีการพิสจู น์กนั ในทางคดี (ไม่วา่ จะทังเรื ้ ่ องภายในหรื อเรื่ องระหว่างประเทศ อาทิ กรณีเขาพระวิหาร ซึง่ กัมพูชาค่อยๆ รุกล ้าการครอบครองโดยค่อยๆ ปลูกสิ่งก่อสร้ าง ล ้า เข้ ามาในพื ้นที่ไทย เป็ นยุทธศาสตร์ เดียวกับอิสราเอล) มาตรา ๑๓๗๕ ถ้าผู้ครอบครองถูกแย่งการครอบครองโดยมิ ชอบด้วยกฎหมายไซร้ท่าน ว่าผูค้ รอบครองมี สิทธิ จะได้คืนซึ่ งการครอบครอง เว้นแต่อีกฝ่ ายหนึ่งมี สิทธิ เหนื อทรัพย์ สิน ดีกว่าซึ่งจะเป็ นเหตุให้เรี ยกคื นจากผูค้ รอบครองได้ การฟ้องคดีเพือ่ เอาคื นซึ่งการครอบครองนัน้ ท่านว่าต้องฟ้ องภายในปี หนึ่งนับแต่ เวลาถูกแย่งการครอบครอง

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-5Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

สิทธิในเชิงงอกเงย เพื่อ รักษาความสงบเรี ยบร้ อย ขึ ้นในสังคม มิให้ คน แก่งแย่งทรัพย์/สิ่งของกัน

การครองครองเป็ นเรื่ องสาคัญทังทางปั ้ จเจกและมหาชน กม. จึงคุ้มครองมิให้ ผ้ อู ื่น มาแย่งได้ โดยเพียงแค่ค้ มุ ครองให้ อยู่ในสถานะเดิม ไม่มีอะไรงอกเงยเพิ่มขึ ้นมา โดย ให้ สิทธิผ้ คู รอบครองขัดขวางพอสมควรแก่เหตุในการรักษาสิทธิ์ไม่ให้ ผ้ อู ื่นแย่งไป หรื อ หากโดนแย่งไปก็สามารถฟ้องติดตามเอาคืนได้ ตาม ม.๑๓๗๕ หรื ออาจใช้ หลักการ ครอบครองโดยต้ องฟ้องร้ องเพื่อติดตามเอาทรัพย์นนคื ั ้ นภายใน ๑ ปี (แต่ถ้าหากเรา มีกรรมสิทธิ์ ก็ไม่ต้องใช้ หลักการครอบครอง สามารถติดตามเอาทรัพย์คืนได้ เสมอ) มาตรา ๑๓๗๔ ถ้าผู้ครอบครองถูกรบกวนในการครอบครองทรัพย์สิน เพราะมี ผสู้ อดเข้า เกี ่ยวข้องโดยมิ ชอบด้วยกฎหมายไซร้ ท่านว่าผูค้ รอบครองมี สิทธิ จะให้ปลดเปลือ้ งการ รบกวนนัน้ ได้ ถ้าเป็ นที น่ ่าวิ ตกว่าจะยังมี การรบกวนอี ก ผู้ครอบครองจะขอต่อศาลให้สงั่ ห้ามก็ได้ การฟ้องคดีเพือ่ ปลดเปลือ้ งการรบกวนนัน้ ท่านว่าต้องฟ้ องภายในปี หนึ่งนับแต่เวลา ถูกรบกวน o แต่หากไม่ได้ มาเอาทรัพย์เรา แต่ว่ากระทาการเพื่อรบกวนการครอบครองทรัพย์ของเรา แล้ ว เราก็สามารถขอให้ ศาลขจัดการรบกวนได้ ความแตกต่างระหว่างสิทธิครอบครองและทรัพยสิทธิอื่นๆ o

หากการครอบครองทรัพย์ ถูกรบกวนก็สามารถขอ ต่อศาลให้ ดาเนินการตาม ม.๑๓๗๔



สิทธิครอบครอง V.S. ทรัพยสิทธิอื่นๆ



ประเด็น สิง่ ที่สทิ ธินนยึ ั้ ด อยู่

สิทธิครอบครอง เกาะเกี่ยวอยูก่ บั ข้ อเท็จจริ ง (Fact) เมื่อไหร่มีการครอบครอง ผู้นนมี ั ้ สทิ ธิ ครอบครอง เมือ่ มีผ้ คู รอบครองก็มีสทิ ธิ ครอบครอง (๓ คา หลัก คือ ผู้ ครอบครอง การครอบครอง สิทธิ ครอบครอง)

เป็ นสิทธิในเชิงต่อสู้ ไม่ได้ สทิ ธิในทาง งอกเงย แม้ ได้ มาโดยการกระทาผิดก็มี สิทธิครอบครองได้ เจ้ าของที่แท้ จริ งก็ ไม่สามารถใช้ กาลังเอาคืนได้

การพัฒนาไป เป็ นกรรมสิทธิ์

พัฒนาไปเป็ นกรรมสิทธิ์ได้ โดยอาศัย กม. เรื่ องการครอบครองปรปั กษ์ หรื อ หลัก กม. เรื่ องการเก็บของหาย (ถ้ าไม่ มีใครมา

ทรั พยสิทธิอื่น ทรัพยสิทธิอื่นไม่ไปเกาะเกี่ยวกับ ข้ อเท็จจริงใด (Rights ไม่ผกู พันอยูก่ บั Fact) แต่สทิ ธินนได้ ั ้ มาจากการยึดติดกับ การได้ มา ๒ ประการ คือ นิตกิ รรมและ การได้ มาโดยผลของ กม. การครอบครอง หรื อชื่อในทะเบียนเป็ นการแสดงออกถึง กรรมสิทธิ์ หรื อผู้ทรงสิทธิ์ แต่บางที อาทิ การได้ ทรัพยสิทธิโดย กม. ไม่ยอมรับการได้ กรรมสิทธิ์มาโดยาการ กระทาความผิด อย่างไรก็ตาม มี ข้ อยกเว้ นเรื่ องการครอบครองปรปั กษ์ ม. ๑๓๘๓ / ภาระจายอมโดยอายุความ ม. ๑๔๐๑ ซึง่ กม. บัญญัติไว้ อย่างชัดเจน แต่ สิทธิอื่นๆ โดยหลักเมื่อได้ มาโดยกระทาผิด อาทิ สิทธิเก็บกิน สิทธิอาศัย ฯลฯพัฒนา ไปเป็ นสิทธิที่สงู ขึ ้นอย่างกรรมสิทธิ์ไม่ได้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-6Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การครอบครอง (อยู่ใน ลักษณะ ๓ ของ ปพพ. โดย กม.เยอรมัน มอง เฉพาะว่าแค่ อปก. ภายนอกก็พอ แต่ฝรั่งเศส อังกฤษ ญี ่ปนุ่ ใช้แนวคิ ด Savigny ซึ่งเป็ นนัก กม. เยอรมัน โดยมองว่า จาเป็ นต้องมี อปก. ภายในด้วย)

ใครยึดถืออยู่ก็ไม่ จาเป็ นต้ องพิสจู น์

กรณีสตั ว์เลี ้ยง เราต้ องดู ประเพณีประกอบด้ วย



การครอบครอง ต้ องครบ อปก. ภายนอก/ภายใน (อปก.ไม่คอ่ ยออกสอบ แต่มกั ออก ข้ อสอบเรื่ องการโอนการครอบครอง) o อปก.ภายนอก -- ต้ องมีการยึดถือ o อปก.ภายใน -- เจตนาที่ตา่ งกันทาให้ การครอบครองต่างกันด้ วย โดยเจตนาในการ ครอบครองแบ่งออกเป็ น ๒ ระดับ ได้ แก่  มีเจตนายึดถือเพื่อตน (เป็ น อปก.ที่ใช้ กน ั ส่วนใหญ่ โดยฝรั่งเศส/เยอรมันใช้ การ ยึดถือเท่ากับการครอบครอง)  มาตรา ๑๓๖๗ “บุคคลใดยึ ดถื อทรัพย์ สินโดยเจตนา จะยึดถื อเพื อ ่ ตน ท่านว่า บุคคลนัน้ ได้ซึ่งสิ ทธิ ครอบครอง” – โดย ม.๑๓๖๗ ต้ องการตอกย ้าว่า กม. มุง่ คุ้มครองสิทธิครอบครอง ซึง่ ในแง่ประโยชน์ คือ “สิทธิ์”  มาตรา ๑๓๖๘ “บุคคลอาจได้มาซึ่ งสิ ทธิ ครอบครองโดยผู้อืน ่ ยึดถื อไว้ให้” – สิทธิครอบครองจะมีได้ โดยให้ ผ้ อู ื่นยึดถือแทน อาทิ กรณีฝากของไว้ ที่เพื่อนให้ ดูแล เราก็ยงั มีกรรมสิทธิ์ในการครอบครองอยู่ / กรณีเจ้ านายไม่อยูบ่ ้ าน แต่มี คนใช้ เฝ้าบ้ านอยู่ ถ้ าไม่มีเรื่ องของเจตนาจะทาให้ เกิดปั ญหา  มาตรา ๑๓๖๙ “บุคคลใดยึ ดถื อทรัพย์ สินไว้ ท่านให้สน ั นิ ษฐานไว้ก่อนว่า บุคคลนัน้ ยึดถื อเพือ่ ตน” – ดังนัน้ หากมีผ้ ทู ี่ต้องการปฏิเสธการยึดถือดังกล่าว ผู้นนก็ ั ้ ต้องเป็ นผู้พิสจู น์หกั ล้ าง ทังนี ้ ้ การยึดถือ มี ๒ อปก. คือ (๑) ต้องใช้อานาจบังคับบัญชาทางกายภาพเหนื อทรัพย์ นน ั้ ได้ (อาทิ อยากฉีก หนังสือก็สามารถทาได้ / หรื อ อ.มีสนุ ขั นาทาง) โดยการใช้ อานาจบังคับ บัญชาทางกายภาพไม่จาเป็ นต้ องมีการยึดถืออยู่ อาทิ การที่เป็ นผู้ ครอบครองบ้ าน การที่เรามีกญ ุ แจเท่ากับเป็ นสัญลักษณ์ของการยึดถือ เนื่องจากเป็ นตัวบ่งว่าสามารถทาให้ เราเข้ าไปใช้ ประโยชน์จากบ้ านได้ (๒) ต้องแสดงออกให้ปรากฏให้คนอื น ่ รับรู้เพือ่ ให้ผู้อืน่ เคารพสิ ทธิ เราได้ อาทิ การเอาปลอกคอใส่ให้ สนุ ขั เพื่อให้ ร้ ูวา่ มีเจ้ าของ / การที่เราไปนัง่ เล่นที่ศาลา พักร้ อนหรื อไปนัง่ อ่านหนังสือที่โต๊ ะ common room ยังไม่เป็ นการยึดถือ เนื่องจากเรายังไม่ได้ แสดงให้ คนอื่นว่าไม่ต้องการให้ เค้ าเข้ ามายุง่ แต่หาก เราไปสร้ างรัว้ ล้ อมหรื อพยายามขัดขวางไม่ให้ คนอื่นใช้ ศาลาพักร้ อน หรื อ เอาหนังสือวางไว้ บนโต๊ ะจองไว้ หรื อเขียนข้ อความจองไว้ วา่ จะมาใช้ ตอ่ แสดงให้ คนอื่นรับรู้ว่าเราต้ องการหวงกันมิให้ คนอื่นมาใช้ ประโยชน์ (ซึง่ ถ้ า ไม่แสดงให้ รับรู้โดยหลักวิญํูชนก็ถือว่าไม่มีการแสดงออก)  ตัวอย่ าง  การยึดถื อสัตว์ป่าเราต้ องทาให้ สต ั ว์นนหมดอิ ั้ สรภาพ อาทิ คณะนิตฯิ มี หนูเยอะ เราจะยึดถือหนูได้ ต้องทาให้ หมดอิสรภาพ อาจใช้ กาวดัก / ปลา

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-7Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

อาทิ วัวในทุง่ หญ้ าซึ่งแม้ จะเป็ นอิสระ แต่ก็มีการ ยึดถือจากเจ้ าของอยู่

มาตรา ๑๓๐๔ สาธารณ สมบัติของแผ่นดิ นนัน้ รวมทรัพย์สินทุกชนิ ดของ แผ่นดิ นซึ่งใช้เพือ่ สาธารณประโยชน์หรื อ สงวนไว้เพือ่ ประโยชน์ ร่ วมกัน เช่น (๓) ทรัพย์สินใช้เพือ่ ประโยชน์ของแผ่นดิ น โดยเฉพาะ เป็ นต้นว่า ป้ อม และโรงทหาร สานัก ราชการบ้านเมื อง เรื อรบ อาวุธยุทธภัณฑ์

สิทธิครอบครองกับ สาธารณสมบัตขิ อง แผ่นดิน สิ ทธิ ครอบครองมักออก สอบคู่กบั สาธารณสมบัติ ของแผ่นดิ น



ในแม่น ้า จะทาให้ หมดอิสรภาพด้ วยเบ็ดตกปลา อวน โป๊ ะ เป็ นต้ น – สาหรับสัตว์เลี ้ยงไม่มีอิสระ แต่กรณีเลี ้ยงวัวควายในทุง่ หญ้ าเราปล่อยให้ กินหญ้ าอิสระ ถือว่ายังอยู่ในการครอบครองของเรา ไม่ใช่ของหาย แต่มี เจ้ าของยึดถืออยู่ ใครเอาไปมีความผิดฐานลักทรัพย์  ถ้ าเรายึดถื อโรงเรื อน ถื อว่าเรายึดถือทุกอย่างในโรงเรื อนโดยไม่คานึงว่าเรา ต้ องรู้ว่ามีของอะไรอยู่ในนัน้ อาทิ เรามีบ้านอยูร่ ิมคลองแล้ วถอดสร้ อยลง เล่นน ้า เรื อลาอื่นผ่านมาเห็นสร้ อยจึงเอาไป มีความผิดฐานลักทรัพย์เพราะ ถือว่าทองนันอยู ้ ใ่ นการยึดถือของเรา (ของตกหล่นในบ้ านเราก็ถือเป็ นของ เรา / แต่ของตกหล่นในห้ าง ถือว่าเจ้ าของห้ างไม่ได้ มีเจตนายึดถือเป็ นของ ตน แต่เป็ นทรัพย์สินหาย)  กรณีมาเรี ยนหนังสือที่ มธ. วางของลืมไว้ ในที่ common room เกิดมี คนมาหยิบเอาของที่เราลืมไว้ ในที่สาธารณะที่ให้ คนสัญจรไปมา เป็ นที่ สาธารณสถานตาม ม.๑๓๐๔(๓) (มิใช่ที่รโหฐาน) – ของตกหล่นในที่ สาธารณะเป็ นทรัพย์สินหาย แต่ของตกหล่นในร้ านกาแฟหรื อห้ างซึง่ เป็ น ที่รโหฐานไม่ใช่ทรัพย์สินหาย ถ้ าเจ้ าของร้ านเอาไปผิดฐานยักยอก แต่คน อื่นเอาไปผิดฐานลักทรัพย์  การยึดถื อกระเป๋ าเราต้ องถื อว่าเรายึดถื อทุกอย่างที่อยูใ ่ นกระเป๋ าของเรา  การซื ้อทรายมาปรับปรุ งบ้ าน เรากองไว้ หน้ าบ้ าน ต้ องดูตามประเพณี  กรณีคนใช้ เฝ้าบ้ านไม่มีเจตนายึดถือเพื่อตน แต่เป็ นการถื อแทนเจ้ าของ บ้ านเป็ นการชัว่ คราว (การยึดถือชัว่ คราวจึงไม่มีเจตนายึดถือเพื่อตน) หาก คนใช้ ขโมยของเราก็มีความผิดฐานลักทรัพย์ / เราฝากกระเป๋ าเพื่อนแล้ ว เข้ าห้ องน ้า หากเพื่อนเอาของเราไปก็ผิดฐานลักทรัพย์  กรณีผ้ เู ช่า มีเจตนายึดถื อเพื่อตน เนื่องจากต้ องการได้ ประโยชน์จาก สัญญาเช่า ผู้เช่าจึงมีสิทธิ หากผู้ให้ เช่าไปล็อคไม่ให้ ผ้ เู ช่าเข้ าไป มีความผิด ฐานบุกรุก (ความผิดฐานทาลายการครอบครองของผู้อื่น)  มีเจตนาเป็ นเจ้ าของ มาตรา ๑๓๐๔ สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นนัน้ รวมทรัพย์ สินทุกชนิ ดของแผ่นดิ นซึ่งใช้ เพือ่ สาธารณประโยชน์หรื อสงวนไว้เพือ่ ประโยชน์ร่วมกัน เช่น (๑) ที ด ่ ิ นรกร้างว่างเปล่า และที ่ดินซึ่ งมี ผเู้ วนคื นหรื อทอดทิ้ งหรื อกลับมาเป็ นของแผ่นดิ น โดยประการอืน่ ตามกฎหมายทีด่ ิ น (๒) ทรัพย์ สินสาหรับพลเมื องใช้ร่วมกัน เป็ นต้นว่าที ช ่ ายตลิ่ ง ทางน้า ทางหลวงทะเลสาบ (๓) ทรัพย์ สินใช้เพื อ ่ ประโยชน์ของแผ่นดิ นโดยเฉพาะ เป็ นต้นว่าป้ อม และโรงทหาร สานักราชการบ้านเมื อง เรื อรบ อาวุธยุทธภัณฑ์

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-8Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ประเด็นความแตกต่ าง (๑) กับ (๒) และ (๓) o (๑) เอกชนมีสิทธิเป็ นเจ้ าของ -- ศาลถือว่าผู้ทรงสิทธิเป็ นเจ้ าของด้ วย ดูจาก แนว ฎ. เนื่องจาก ม.๑๓๓๔ รับรองว่าเป็ นที่ดนิ ที่เอกชนสามารถมีกรรมสิทธิ์ได้ ตาม กม.ที่ดนิ ดังนี ้ ศาลจึงมองว่าระหว่างที่ยงั ไม่มีกรรมสิทธิ์ก็ถือว่ามีสิทธิครอบครองอยู่ และหาก จะให้ มีเฉพาะสิทธิที่เป็ นเชิงต่อสู้ก็จะกระไรอยู่ จึงให้ มีสิทธิครอบครอง  มาตรา ๑๓๓๔ “ที ด ่ ิ นรกร้างว่างเปล่า และที ่ดินซึ่ งมี ผเู้ วนคื นหรื อทอดทิ้ งหรื อ กลับมาเป็ นของแผ่นดิ นโดยประการอืน่ ตามกฎหมายทีด่ ิ นนัน้ ท่านว่าบุคคลอาจ ได้มาตามกฎหมายที ่ดิน” o (๒) และ (๓) เอกชนไม่มีสิทธิเป็ นเจ้ าของ แต่ในทางปฏิบต ั ิจริงเอกชนที่มีเส้ นสาย มักจะทาให้ ได้ มาซึง่ กรรมสิทธิ์ ซึง่ แนว ฎ. และนักวิชาการ มองว่าประชาชนผู้บกุ รุก เข้ าไปมีสิทธิครอบครอง แต่ไม่มีฐานะเป็ นเจ้ าของ จะใช้ ยนั รัฐไม่ได้ (แต่ (๑) สามารถ ใช้ ยนั รัฐและออกโฉนดได้ )  ตัวอย่ าง บึงที่ จ.บุรีรัมย์ โดยบึงเป็ นหนองน ้าขนาดใหญ่ซึ่งเป็ นสาธารณสมบัตใิ ห้ คนมี สิทธิใช้ ร่วมกัน แต่มีการออกโฉนดโดยปั กหมุดล ้าเข้ าไปในบึงพอสมควรแล้ วถมที่ ซึง่ ตาม กม. แล้ วไม่สามารถกระทาการออกโฉนดได้ แต่เนื่องจากกรณีนี ้เป็ นปั ญหาที่หลวงไม่มี การดูแล และ ปชช. ก็ไม่มีปากเสียงไปเรี ยกร้ อง ดังนี ้ อ.ต้ องการผลักดันให้ ปชช. สามารถ มีสิทธิเข้ าชื่อเพิกถอนการออกโฉนดที่ไม่ชอบโดยการร้ องต่อศาลปกครอง (ขณะนี ้มีแต่ ผวจ. ที่สามารถเพิกถอนการออกโฉนดโดยมิชอบได้ )  ที่หลวงตาม กม. มี ๕๓% แต่ความเป็ นจริ งเหลือไม่ถึง ๒๕% มีการรุกที่หลวงเกิดขึ ้นมาก สิทธิในการครอบครองที่ดินของหลวงกรณีมีข้อพิพาทฟ้องร้ อง  ระหว่ างรั ฐ v.s. เอกชน ในหลวงทรงมีแนวคิดว่า กม.ต้ องคานึงสิทธิธรรมชาติและหลัก เหตุผลในการประกาศเขตป่ าและอุทยานโดยไม่ได้ มีการสารวจว่ามีคนทากินอยูใ่ นพื ้นที่ นันอยู ้ เ่ ดิมเท่าไหร่ เพราะเมื่อประกาศแล้ วไปเอาโทษกับชาวบ้ านที่อาศัยทากินในพื ้นที่นนั ้ มาก่อนถือว่าไม่เป็ นธรรมโดยปกติแล้ วสิทธิครอบครองของรัฐมีอานาจเหนือกว่าเอกชน เนื่องจากเอกชนไม่ได้ มาแจ้ งให้ รัฐทราบถึงการครอบครอง ดังนัน้ เมื่อขึน้ ศาลเอกชนก็แพ้ (อ.มองว่าชาวบ้ านก็ผิด แต่ว่าจะทาอย่างไรให้ มีความเป็ นธรรมในการลงโทษ / เอาผิด)  ระหว่ างเอกชน v.s. เอกชน – แนว ฎ. มองว่าเอกชนไม่มีแม้ สิทธิครอบครอง แม้ วา่ ใน ระหว่างเอกชนด้ วยกัน แต่ “หนึง่ ” คนมาก่อนย่อมมีสิทธิดีกว่า “สอง” คนที่มาทีหลัง เมื่อ ไม่มีสิทธิครอบครอง เอกชนฝ่ ายที่มาหลังจะอ้ าง ม.๑๓๗๕ ในการฟ้องคนที่มาก่อนไม่ได้ (แต่ อ. มองว่าน่าจะเอา ม.๑๓๗๕ มาบังคับใช้ ฟ้องภายหลัง ๑ ปี ได้ เพื่อมิให้ ค้ มุ ครองคน ที่มาก่อนมากจนเกินไป) โดยเหตุผลที่ ฎ. มองว่าคุ้มครองผู้เข้ าไปอยู่ก่อนเพื่อมิให้ คน ทะเลาะกันเกิดความวุน่ วายและไม่สงบเรี ยบร้ อย (แนว ฎ. ในเรื ่ องสิ ทธิ ครอบครอง ผูม้ า ก่อนย่อมมี สิทธิ ดีกว่าในกรณี ทีด่ ิ นสาธารณะสมบัติทีม่ ี ข้อพิพาทในเรื ่องสิ ทธิ ครอบครอง 

นอกจากการออกโฉนดใน ที่หลวงแล้ ว ยังมีปัญหา การออกโฉนดทับที่ ชาวบ้ านโดยมีนายทุน อาศัยความรู้ กม. สมคบ กับเจ้ าพนักงานที่ดนิ ที่ จ. ภูเก็ต ซึง่ ชาวบ้ านซึง่ ไม่มี ความรู้ ด้าน กม. ถูกไล่ ออกจากที่ดนิ (รวมถึงป่ า ช้ า) เนื่องจากเอกชนออก โฉนดได้ ทาให้ ชาวบ้ าน ถูกจับขึ ้นศาลติดคุก เมื่อ นายทุนออกโฉนดได้ ก็มี ปั ญหาเนื่องจากไม่มีใคร นอกจาก ผวจ.ที่จะเพิก ถอนได้ (ปชช. ไม่มีสิทธิ ร้ องให้ เพิกถอน) สิทธิในการครอบครอง ที่ดนิ ของหลวงกรณีมีข้อ พิพาท ม.๑๓๗๕ ว.๒ “การฟ้อง คดีเพือ่ เอาคืนซึ่งการ ครอบครองนัน้ ท่านว่า ต้องฟ้ องภายในปี หนึ่งนับ แต่เวลาถูกแย่งการ ครอบครอง” การตอบข้ อสอบต้ องยึด แนว ฎ. เป็ นหลัก

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

-9Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)



 





Summary Topic / Essence การสิ ้นสุดของการ ครอบครองหรื อสิทธิ ครอบครอง ตาม ม. ๑๓๗๕



ระหว่าง เอกชน v.s. เอกชน) แต่กรณี ๑ เอาที่ดนิ ที่ที่เป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินที่ได้ ครอบครองมาก่อน นามาให้ ๒ เช่า สัญญาเช่าเป็ นโมฆะ โดย กม. มองว่าการเช่าหรื อการซื ้อขายสาธารณสมบัตมิ ี วัตถุประสงค์ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้ อย ตาม ม.๑๕๐ ดังนี ้ จะไปเรี ยกเงินค่าเช่าหรื อค่าซื ้อ ขายที่ดนิ ดังกล่าวไม่ได้ อย่างไรก็ตาม จะเรี ยกเงินคืนฐานลาภมิควรได้ นนั ้ ถ้ าหากรู้วา่ ฝ่ า ฝื น กม. แล้ วยังทาการซื ้อขาย/เช่า ดังนี ้ ก็ไม่สามารถเรี ยกคืนได้ / สาหรับการเรี ยกเอา ที่ดนิ หรื อการครอบครองคืนก็ไม่ได้ เช่นเดียวกัน เนื่องจากที่สาธารณะมีแค่การครอบครอง ดังนัน้ เมื่อมีเจตนาส่งผ่านการครอบครองไปให้ คนอื่น คนขาย/ผู้ให้ เช่าก็ไม่มีหลักอะไรที่ จะไปเอาที่ดินสาธารณนันคื ้ น นอกจากนัน้ การมีสิทธิครอบครองยังมีสิทธิป้องกันมิให้ ผ้ อู ื่นมารบกวนการครอบครอง ตาม ม.๑๓๗๔ ซึง่ ศาลอาจจะไม่ได้ ใช้ ม.๑๓๗๔ โดยตรง แต่ใช้ หลักการของ ม.นี ้ สรุป -- การโอนหรื อการให้ เช่าที่ดนิ สาธารณสมบัตซิ งึ่ ไม่มีกรรมสิทธิ์ ถือเป็ นการส่งมอบ การครอบครองไปแล้ ว ผู้สง่ มอบหรื อผู้ให้ เช่าไม่มีสิทธิฟ้องร้ องเรี ยกค่าเช่าจาก ผู้เช่า (อีก ทังสั ้ ญญาเช่าไม่เป็ นโมฆะ -- ต่างกับกรณีหากเป็ นที่เอกชนสัญญาตกเป็ นโมฆะหากมี การบุกรุก) เนื่องจากได้ รับการครอบครองตาม ม.๑๓๗๘ อีกทังจะเอาหลั ้ กลาภมิควร ได้ มาใช้ ก็ไม่ได้ เพราะศาลมองว่าได้ ไปตามผลของ กม. ตาม ม.๑๓๗๘ (สัญญาเช่าเป็ น เรื่ องหนี ้) แต่หากเป็ นสัญญาซื ้อขายที่ดนิ สาธารณสมบัติ ซึง่ เป็ นเรื่ องของการโอน กรรมสิทธิ์ สัญญานันตกเป็ ้ นโมฆะ ข้ อสอบ มักถามว่า เรี ยกให้ จา่ ยค่าเช่าหรื อชาระราคาได้ หรื อไม่ / ถ้ าไม่ยอมจ่ายค่าเช่า จะเอาที่ดินคืนได้ หรื อไม่ นอกจากนัน้ ยังอาจถามว่าถ้ าที่ดนิ นี ้ไม่ใช่สาธารณสมบัตขิ อง แผ่นดินตาม (๒) และ (๓) แต่เป็ นที่เอกชน คาตอบจะเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ (ยึดแนว ฎ. คาตอบเปลี่ยน แต่ยดึ แนว อ. คาตอบไม่เปลี่ยน) ตัวอย่ าง หาก ๑ บุกรุกที่ดนิ ของ ก. ที่ ๒ ครอบครอง ๒ ต้ องใช้ ม.๑๓๗๕ แต่ ก. สามารถ ใช้ หลักกรรมสิทธิ์ในการเรี ยกที่ดนิ คืน เว้ นแต่ ๑ หรื อ ๒ ได้ กรรมสิทธิ์ไปโดยการครอบครอง ปรปั กษ์ (อ. มองว่าการบุกรุก ไม่วา่ จะบุกรุกที่ดนิ เอกชนหรื อที่ดินหลวงก็ใช้ ม.๑๓๗๕ เหมือนกัน) Record / Note on 2010-11-30 มาตรา ๑๓๗๕ “ถ้าผูค้ รอบครองถูกแย่งการครอบครองโดยมิ ชอบด้วยกฎหมายไซร้ท่าน ว่าผูค้ รอบครองมี สิทธิ จะได้คืนซึ่ งการครอบครอง เว้นแต่อีกฝ่ ายหนึ่งมี สิทธิ เหนื อทรัพย์ สิน ดี กว่าซึ่ งจะเป็ นเหตุให้เรี ยกคื นจากผูค้ รอบครองได้ การฟ้องคดีเพือ่ เอาคื นซึ่งการครอบครองนัน้ ท่านว่าต้องฟ้ องภายในปี หนึ่งนับแต่ เวลาถูกแย่งการครอบครอง”

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 10 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)



การสละทรัพย์สินไม่มี เรื่ องทรัพย์สินหาย ทรัพย์สินหายเป็ นเรื่ อง ของการตกหล่นแต่เราไม ได้ มีเจตนาสละ โดยการสละการ ครอบครองต้ องดู พฤติกรรมเป็ นเรื่ องๆ ไป





  

การโอนการครอบครอง (ทาให้ การครอบครอง สิ ้นสุดลง)





การครอบครองหรื อสิทธิครอบครองสิ ้นสุดเมื่อถูกแย่งการครอบครองแล้ วมิได้ ใช้ สิทธิเอา คืนภายในระยะเวลา ๑ ปี โดยการครอบครองอาจหมดไปแต่สิทธิยงั อยูอ่ ีกระยะเวลาหนึง่ อาทิ ๑ ไปทาภารกิจต่างเมืองแล้ ว ๒ เข้ าไปครอบครองที่ดนิ ของ ๑ ทาประโยชน์แทน แม้ การครอบครองของหนึง่ สิ ้นสุดลง แต่สิทธิของ ๑ ยังคงมีอยู่ คือ สิทธิที่จะฟ้องเอาคืน ภายใน ๑ ปี นับจากที่ถกู แย่งไปโดยมิชอบ (สิทธิและการครอบครองไม่สมั พันธ์กนั แต่โดย ปกติสิทธิและการครอบครองก็ต้องสิ ้นสุดไปพร้ อมกัน) และหาก ๓ ไปแย่งการครอบครอง จาก ๒ ต่อไปอีก ดังนี ้ ๑ และ ๒ ก็มีสิทธิไปฟ้องศาล โดยสิทธิที่ ๑ สามารถจะไปฟ้อง ๓ ได้ ก็เมื่อการครอบครองโดนแย่งไปจาก ๑ (คือ วันที่ ๒ แย่ง ๑ ไป) มาตรา ๑๓๗๗ “ถ้าผู้ครอบครองสละเจตนาครอบครอง หรื อไม่ยึดถื อทรัพย์ สินต่อไปไซร้ การครอบครองย่อมสุดสิ้ นลง ถ้าเหตุอนั มี สภาพเป็ นเหตุชวั่ คราวมี มาขัดขวางมิ ให้ผู้ครอบครองยึดถื อทรัพย์ สินไซร้ ท่านว่าการครอบครองไม่สดุ สิ้ นลง” แต่หากสละการครอบครองแล้ วยังเอากรรมสิทธิ์ไว้ อาจเป็ นเรื่ องของหาย อาทิ การทาปื น ตกน ้า แล้ วพยายามงมปื นแต่ไม่เจอ แล้ วล้ มเลิก ถือว่าเราสละการครอบครอง แต่หากมีผ้ ู งมปื นได้ ถือเป็ นการยักยอกทรัพย์ หากเป็ นการสละกรรมสิทธิ์ อาทิ การโยนของลงถังขยะ กลายเป็ นทรัพย์สินไม่มีเจ้ าของ ใครมาเอาไปก็เป็ นเจ้ าของได้ ตาม ม.๑๓๑๘ หากไม่มีเจตนาสละ แต่จาไม่ได้ วา่ เอาทรัพย์สินไว้ ที่ไหน เป็ นการขาดการครอบครองจาก การยึดถือ ดังนี ้ ถือเป็ นทรัพย์สินหาย ข้ อสอบ การแย่ง/การสละการครอบครองมักไปปนกับเรื่ องที่ดนิ มือเปล่า มาตรา ๑๓๗๘ “การโอนไปซึ่งการครอบครองนัน้ ย่อมทาได้โดยส่งมอบทรัพย์สินที ่ ครอบครอง” -- เมื่อมีการโอนการครอบครอง การครอบครองโดยการเจตนายึดถือเอาเพื่อ ตนก็เป็ นอันสิ ้นสุดไป (โดย ม. นี ้ต้ องตีความอย่างแคบ) ตัวอย่ าง o การที่ อ. ส่งขวดน ้าให้ นศ. มีการโอนการครอบครอง มีเจตนา และการยึดถือขวดน ้า ไปอยูใ่ นมือของ นศ. แล้ ว โดยการยึดถือมี ๒ อปก. คือ ๑) ต้ องสามารถใช้ อานาจ บังคับบัญชาทางกายภาพเหนือขวดน ้า และ ๒) ต้ องแสดงออกให้ ปรากฏให้ คนอื่น รับรู้เพื่อให้ ผ้ อู ื่นเคารพสิทธิเราได้ คือ ไปอยูใ่ นมือของผู้รับโอน o การที่ อ. บอก นศ. ว่าจะให้ หนังสือโดยบอกว่าห้ องเปิ ดอยู่ให้ ไปหยิบเอาได้ เลย ดังนี ้ สัญญาให้ สมบูรณ์ก็ตอ่ เมื่อ นศ. เดินเข้ าห้ องไปหยิบหนังสือจากห้ อง อ. คือ การ ครอบครองหลุดออกจากมือ อ. (ซึง่ ห้ อง อ. เปรี ยบเหมือนมือ อ.) ถ้ า นศ. ยังไม่ไป หยิบหนังสือเล่มนัน้ แสดงว่าสัญญาให้ ยงั ไม่สมบูรณ์ o หาก อ. ลืมหนังสือไว้ ในห้ องน ้าที่มีคนเข้ าออกถี่ แล้ ว อ. บอกว่ายกหนังสือให้ นศ.

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 11 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

o

การส่งมอบต้ องดูตาม ประเพณีประกอบด้ วย ดูตวั อย่างหนังสือหน้ า ๘๖ และ ๘๗ Summary Topic / Essence บทที่ ๔ การ ครอบครองปรปั กษ์ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับความ สงบเรี ยบร้ อย ศาล สามารถยกขึ ้นมาวินิจฉัย เองได้ ประเด็น “เจตนาเป็ น เจ้ าของ” มักออกสอบ บ่อย การบอกครอบครอง ปรปั กษ์ ถ้ าผู้จะอ้ างการ ครอบครองปรปั กษ์ ไม่อ้าง

o

ก่อนที่คนอื่นจะเอาไป โดยที่เนื่องจากห้ องน ้าเป็ นที่สาธารณะซึง่ ส่งผลให้ การยึดถือ ขาดจาก อ. แล้ ว แต่ปัญหา คือ นศ. ยังไม่ได้ ยึดถือมาเอา ดังนี ้ สัญญาให้ จงึ ยัง สมบูรณ์ หากผู้อื่นมาหยิบไปก่อน ก็มีความผิดฐานยักยอกทรัพย์สินหาย โดย ผู้เสียหาย คือ นศ. มิใช่ อ. (เช่นเดียวกับของตกหล่นในห้ าง ซึง่ เป็ นเรื่ องของทรัพย์สิน หาย) แต่หากเป็ นห้ องน ้าที่มีคนเข้ าถี่ แล้ ว อ. ล้ างมือ โดยเอาหนังสือไปวางไว้ ในที่แอบๆ เหนือประตูห้องน ้าแล้ วลืม ต่อมา อ. บอก นศ. ว่าให้ หนังสือ ดังนี ้ สัญญาให้ จะ สมบูรณ์ก็ตอ่ เมื่อวินาทีที่ นศ. เอ่ยปากบอกว่าจะไปเอาหนังสือเล่มนัน้ เพราะหนังสือ ขาดจากการครอบครองและ อ. ก็ไม่ได้ มีอานาจบังคับการทางกายภาพ อีกทังโอกาสที ้ ่ คนจะรู้วา่ อ. เอาหนังสือไปใส่ในช่องนันมี ้ น้อยมาก (เพราะ อ. เจตนาสละการ ครอบครองตาม ม.๑๓๗๗) ถือว่าได้ มีการส่งมอบทรัพย์นนแล้ ั้ ว การส่งมอบต้ องดูตามประเพณีประกอบด้ วย – ตัวอย่ าง การที่ อ. บอกว่าให้ ที่ดนิ นศ. โดยให้ ไปเอาได้ เลย เนื่องจาก นศ. รู้ว่าที่ดินของ อ. อยูต่ รงไหน เพียงแค่เอ่ยปาก ก็ถือเป็ นการส่งมอบแล้ ว แต่หากเป็ นรถหรื อบ้ านที่มีกญ ุ แจ การส่งมอบเพียงแค่สง่ มอบกุญแจรถหรื อกุญแจบ้ านก็ถือว่าส่งมอบรถหรื อบ้ านนันแล้ ้ ว (ส่งมอบสิ่งที่เป็ น สัญลักษณ์)

 



Record / Note on 2010-12-07 มาตรา ๑๓๘๒ “บุคคลใดครอบครองทรัพย์สินของผู้อืน่ ไว้โดยความสงบและโดยเปิ ดเผย ด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ถ้าเป็ นอสังหาริ มทรัพย์ได้ครอบครองติ ดต่อกันเป็ นเวลาสิ บปี ถ้า เป็ นสังหาริ มทรัพย์ได้ครอบครองติ ดต่อกันเป็ นเวลาห้าปี ไซร้ ท่านว่าบุคคลนัน้ ได้ กรรมสิ ทธิ์ ” องค์ ประกอบการครอบครองปรปั กษ์ o บุคคล – เป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิตบ ิ คุ คลก็ได้ โดยนิติบคุ คลสามารถครอบครอง ปรปั กษ์ได้ โดยผ่านบุคคลธรรมดา อาทิ ก บริจาคที่ให้ มลู นิธิของ อ.วิริยะ ตังเป็ ้ น โรงเรี ยน ไม่ได้ ทาหนังสือจดทะเบียน สัญญาให้ ดงั กล่าวตกเป็ นโมฆะ แต่มลู นิธิสอน หนังสือเด็กมา ๑๐ ปี มูลนิธิก็สามารถอ้ างการครองครองปรปั กษ์ในที่ดนิ ดังกล่าวได้ / มูลนิธิบกุ รุกที่ดนิ ชาวบ้ านบางส่วน แล้ วชาวบ้ านไม่ได้ ว่าอะไร ๑๐ ปี ผ่านไป มูลนิธิก็ สามารถได้ ที่ดนิ นันไป ้ o ครองครองโดยมี เจตนาเป็ นเจ้าของ – ยกเว้ นผู้รับโอนที่มีเจตนาคือทรัพย์ อาทิ ผู้ซื ้อ ฝาก สัญญาขายฝากเป็ นโมฆะกรณีไม่มีการจดทะเบียน เช่นนี ้แล้ ว ผู้ซื ้อฝากไม่ได้ ครอบครองเจตนาเป็ นเจ้ าของ แต่มีเจตนายึดถือแทน / กรณีรับโอนจากผู้ยดึ ถือแทน ก็ถือว่าเป็ นผู้มีเจตนายึดถือแทน (ผู้ยึดถือแทน) / สาหรับกรณีผ้ ยู ดึ ถือแทน จะ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 12 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ว่าเจ้ าของเดิมมีเจตนา สละการครอบครอง ตาม ม.๑๓๗๗ แล้ ว ก็ต้องมี การแสดงเจตนาบอก กล่าว ตาม ม.๑๓๘๑ (โดยใช้ หลักการแสดง เจตนาทัว่ ไป มีผลเมื่อไป ถึง) ข้อสอบมักออกสลับ ระหว่างเรื ่องการสละกับ การบอกกล่าว เพือ่ ให้ สามารถนับเวลาเรื ่องการ ครอบครองปรปักษ์ ได้ อย่างถูกต้อง การป้องกันการ ครอบครองปรปั กษ์ เจ้ าของทรัพย์เดิมควรมี การทาหลักฐานไว้ เช่น สัญญาเช่าหรื ออยู่อาศัย เพื่อให้ สามารถใช้ ยนั กับผู้ จะอ้ างการครอบครอง ปรปั กษ์ในการสืบพยาน ได้ (มักออกเรื่ องขายฝากเป็ น โมฆะ) สามีภรรยาจะจดทะเบียน สมรสหรื อไม่ก็ตาม ถือว่า เป็ นเจ้ าของรวม จะมีการ ครอบครองปรปั กษ์ต้องมี

เปลี่ยนเป็ นเจตนาเป็ นเจ้ าของ ต้ องเป็ นไปตาม ม.๑๓๗๗ กับ ม.๑๓๘๑ (มักออก ข้ อสอบบ่อยเทียบกับเรื่ องที่ดิน น.ส.๓)  มาตรา ๑๓๗๗ “ถ้าผูค ้ รอบครองสละเจตนาครอบครอง หรื อไม่ยึดถือทรัพย์สิน ต่อไปไซร้ การครอบครองย่อมสุดสิ้ นลง ถ้าเหตุอนั มี สภาพเป็ นเหตุชวั่ คราวมี มาขัดขวางมิ ให้ผคู้ รอบครองยึดถื อ ทรัพย์สินไซร้ ท่านว่าการครอบครองไม่สดุ สิ้ นลง”  เป็ นเรื่ องของการสละ มักออกสอบคูก ่ บั การขายฝากซึง่ ทากันเอง มีผลให้ ตกเป็ น โมฆะ เนื่องจากทาไม่ถกู ต้ องตามแบบ  ตัวอย่ าง ก และ ข ทาสัญญาขายฝาก ๑ ม.ค. ๕๐ กาหนดไถ่ ๑ ม.ค. ๕๒ โดย กาหนดชัดว่าถ้ า ข (ผู้ขายฝาก) ไม่มาไถ่ยินดียกที่ดนิ ให้ ก (ผู้ซื ้อฝาก) เมื่อครบ กาหนด ๒ ปี ข ไม่มาไถ่ที่ดนิ ฎ. วางหลักว่า ข ผู้ขายฝากมีเจตนาสละเจตนา ครอบครอง (ใช้ เรื่ องการสละการครอบครอง) ตาม ม.๑๓๗๗ แม้ สญ ั ญาขาย ฝากเป็ นโมฆะ ณ วินาทีแรกของวันที่ ๒ ม.ค. ๕๒ถือว่า ก ผู้ซื ้อฝากเริ่ม ครอบครองปรปั กษ์ แต่ถ้าตราบใดยังไม่ครบ ๑๐ ปี ข ก็มีสิทธิมาไถ่ถอนที่ดนิ ได้ เนื่องจากสัญญาขายฝากเป็ นโมฆะ เจ้ าของ คือ ข มีสิทธิตดิ ตามเอาคืนได้ จนถึง ๑ ม.ค. ๖๒ (หากกรณี นีเ้ ป็ นเรื ่องของ น.ส.๓ ผลจะต่างออกไป)  มาตรา ๑๓๘๑ “บุคคลใดยึดถื อทรัพย์ สินอยู่ในฐานะเป็ นผูแ ้ ทนผูค้ รอบครองบุคคล นัน้ จะเปลี ย่ นลักษณะแห่งการยึดถื อได้ ก็แต่โดยบอกกล่าวไปยังผูค้ รอบครองว่าไม่ เจตนาจะยึดถื อทรัพย์สินแทนผูค้ รอบครองต่อไป หรื อตนเองเป็ นผูค้ รอบครองโดย สุจริ ต อาศัยอานาจใหม่อนั ได้จากบุคคลภายนอก” – การเปลี่ยนลักษณะแห่งการ ยึดถือ แบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ ได้ แก่ (๑) การบอกกล่าวเปลี่ยนเจตนาจากยึดถือแทนเป็ นยึดถือ อย่างเป็ นเจ้ าของ – ผู้ ยึดถือแทนอาจเป็ น ผู้เช่า ผู้รับฝากทรัพย์สิน ผู้อาศัย ผู้เช่าซื ้อที่จา่ ยราคาค่า งวดยังไม่ครบถ้ วน การยึดถือแทนในระหว่างคดีความจะสิ ้นสุด เป็ นต้ น โดย ผู้ยดึ ถือแทนเหล่านี ้จะเปลี่ยนเจตนาเป็ นการครอบครองอย่างเป็ นเจ้ าของต้ อง มีการบอกกล่าวเจตนา โดยมีหลักดังนี ้  ต้ องบอกกล่าวโดยตรง (การขึ ้นป้ายบอกโฆษณาไม่ได้ เป็ นการบอกกล่าว โดยตรง ซึง่ เรื่ องการบอกกล่าวโดยตรงจะไปออกสอบรวมกับเรื่ อง น.ส.๓)  ต้ องบอกกล่าวขณะมีสติสม ั ปชัญญะดี ไม่อยูใ่ นอารมณ์โกรธหรื อมึนเมา (๒) โดยอาศัยอานาจใหม่โดยสุจริ ตอันได้ มาจากบุคคลภายนอก – ต้ องเป็ นเรื่ อง ที่มาจากการเป็ นผู้ยดึ ถือแทนอยูก่ ่อน เช่น การเป็ นผู้เช่า  ตัวอย่ าง ก เช่าที่ดินของ ข โดย ข ปลอมโฉนดขายที่ดน ิ ของ ข ไปให้ ค ต่อมา ค ไปบอก ก ว่าถ้ าต้ องการอยูใ่ นที่ดนิ ผืนดังกล่าวต่อ ต้ องมาซื ้อที่ดนิ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 13 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การบอกกล่าว

o

o

การครอบครองปรปักษ์ มักอออกเรื ่องเจตนา ครอบครองเป็ นเจ้าของ และการนับระยะเวลา

o

จาก ค ดังนี ้ เมื่อ ค ซื ้อที่ดนิ มาจาก ข โดยรู้วา่ ที่ดนิ เป็ นโฉนดปลอม ค จะ อ้ างการครอบครองปรปั กษ์ไม่ได้ สัญญาซื ้อขายระหว่าง ค และผู้อื่นเป็ น โมฆะ เนื่องจากโฉนดปลอมเท่ากับไม่ได้ ทาหนังสือจดทะเบียนต่อเจ้ า พนักงาน (นอกจากนัน้ การรับโอนมาจากผู้อื่นโดยยึดถือแทนก็จะอ้ างการ ครอบครองปรปั กษ์ไม่ได้ )  แต่หาก ก ซื ้อที่ดน ิ มาจาก ค โดยสุจริ ต (ไม่ร้ ูว่าปลอมมา) ก สามารถอ้ าง การครอบครองปรปั กษ์ในที่ดินของ ข ได้ โดยถือว่าครอบครองมาโดย สุจริตโดยไม่ร้ ูวา่ เป็ นโฉนดปลอม โดยอาศัยอานาจสัญญาซื ้อขายที่ได้ มา จาก ค อย่างไรก็ตาม โดยที่การซื ้อที่ดนิ โดยโฉนดปลอมก็ตกเป็ นโมฆะ ข สามารถติดตามเอาคืนทรัพย์ของตนได้ ทรัพย์สินของผู้อืน่  สิทธิเฉพาะตัว อาทิ สิทธิ อาศัย สิทธิเก็บกิน เครื่ องราชย์ สาธารณสมบัตข ิ อง แผ่นดิน (ม.๑๓๐๖) หากครอบครองเป็ นความผิดก็มีโทษ ดังนี ้ จึงไม่สามารถ ครอบครองปรปั กษ์ได้  มาตรา ๑๓๐๖ “ท่านห้ามมิ ให้ยกอายุความขึ้ นเป็ นข้อต่อสูก ้ บั แผ่นดิ นในเรื ่ อง ทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ น”  ทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่ าง อาทิ หุ้น หากใช้ สิทธิอย่างผู้ถือหุ้น อาทิ ทาการโอนหุ้น เข้ า ฟั งการประชุมผู้ถือหุ้น มีการแก้ ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนผู้ถือหุ้นให้ ถกู ต้ อง อาจอ้ าง การครอบครองปรปั กษ์ใน ๕ ปี ได้ โดยสงบและเปิ ดเผย – “โดยสงบ” มักไม่คอ่ ยมีปัญหา เนื่องจากสามารถเห็นได้ ชดั (กรณีบกุ รุกหรื อมีข้อพิพาทถือว่าไม่สงบ) แต่อาจมีปัญหาอยูบ่ ้ างในประเด็น “เปิ ดเผย” โดย ปพพ. ม.๑๓๗๐ กม.ตีความให้ เป็ นคุณแก่ผ้ คู รอบครอง โดยสันนิษฐานว่าเป็ น การครอบครองโดยสุจริ ต สงบ และเปิ ดเผย ดังนัน้ เจ้ าของต้ องไปพิสจู น์หกั ล้ าง  มาตรา ๑๓๗๐ “ผูค ้ รอบครองนัน้ ท่านให้สนั นิ ษฐานไว้ก่อนว่าครอบครองโดย สุจริ ตโดยความสงบและโดยเปิ ดเผย” ครอบครองติ ดต่อกัน  ๕ ปี สาหรับสังหาริ มทรัพย์ มี ๓ ประเด็นที่ต้องพิจารณา ได้ แก่  ๑๐ ปี สาหรับอสังหาริ มทรัพย์ (๑) เมื่อพิสจ ู น์ได้ วา่ ได้ ครอบครองทรัพย์สินเดียวกัน ๒ คราว ให้ สนั นิษฐานว่าได้ ครอบครองติดต่อกันตลอดเวลา ตาม ม.๑๓๗๑  มาตรา ๑๓๗๑ “ถ้าพิ สูจน์ ได้ว่าบุคคลใดครอบครองทรัพย์ สินเดี ยวกันสอง คราวท่านให้สนั นิ ษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลนัน้ ได้ครอบครองติ ดต่อกัน ตลอดเวลา” -- โดย กม. เมื่อเวลาจะพิสจู น์จะพิสจู น์เฉพาะห้ วงเวลาหัว (บุก

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 14 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

มาตรา ๑๓๗๗ “ถ้าผู้ ครอบครองสละเจตนา ครอบครอง หรื อไม่ยึดถือ ทรัพย์สินต่อไปไซร้ การ ครอบครองย่อมสุดสิ้ นลง ถ้าเหตุอนั มี สภาพเป็ น เหตุชวั่ คราวมี มาขัดขวาง มิ ให้ผคู้ รอบครองยึดถื อ ทรัพย์สินไซร้ ท่านว่าการ ครอบครองไม่สดุ สิ้ นลง” มาตรา ๑๓๘๔ “ถ้าผู้ ครอบครองขาดยึดถื อ ทรัพย์สินโดยไม่สมัคร และได้คืนภายในเวลาปี หนึ่งนับตัง้ แต่วนั ขาด ยึดถื อหรื อได้คืนโดยฟ้อง คดีภายในกาหนดนัน้ ไซร้ ท่านมิ ให้ถือว่าการ ครอบครองสะดุดหยุดลง”

(ข้ อสอบส่วนใหญ่จะออก สอบเรื่ องสังหาริมทรัพย์ ซึง่ มีอายุการครอบครอบ ปรปั กษ์ ๕ ปี แต่อายุ ความการฟ้องร้ องการ

รุกเข้ าไปเมื่อไหร่) และท้ าย (วันที่อ้าง) เท่านัน้ ดังนี ้ เจ้ าของต้ องพิสจู น์หกั ล้ าง โดย ม.๑๓๗๗ และ ม.๑๓๘๔ ในประเด็น ดังนี ้  มีเจตนาสละการครอบครองระหว่างห้ วงเวลากลาง (ระหว่างหัวและท้ าย) ตาม ม.๑๓๗๗ ว.๑ อาทิ ถ้ ามีการไปบวชทางพระเป็ นระยะเวลานาน พอควร (เป็ นพรรษา ไม่ใช่การบวชหน้ าไฟ ๓ วัน) ก็ถือว่าเป็ นการสละการ แสดงเจตนาครอบครองเป็ นเจ้ าของตาม ม.๑๓๗๗ แล้ ว / นอกจากนี ้ อาจ เป็ นการบอกกล่าวการสละการครอบครองโดยตรงก็ได้ / การละทิ ้งที่ซงึ่ ครอบครองไปเป็ นเวลานานก็ถือว่าเป็ นการสละได้ เช่นกัน / อย่างไรก็ตาม การละทิ ้งที่ดินไปเพราะโกรธภรรยาเป็ นเวลา ๑๐ ปี หรื อละทิ ้งที่ดนิ เพราะ เข้ าไปทากินไม่ได้ เป็ นเวลา ๓ ปี หรื อเพราะฝนแล้ ง ติดคุก น ้าท่วม (ถือเป็ น เหตุมาแทรกแซง) ดังนี ้ ก็ไม่ถือว่ามีเจตนาสละตาม ม.๑๓๗๗ แต่ไปเข้ า ม.๑๓๗๗ ว.๒ โดยถือว่าการครอบครองยังมีอยูโ่ ดยตลอด  แต่หากเหตุมาแทรกเกิดขึ ้นโดยผู้อื่น (โดนแย่งการครอบครอง) ตาม ม. ๑๓๘๔ อาทิ ก เข้ าครอบครองที่ดนิ ของ ข อยูม่ าวันหนึง่ ค เข้ ามาแย่งการ ครอบครอง ถือว่าการครอบครองของ ก ขาดไปแล้ ว ส่วน ค เริ่มนับการ ครอบครองปรปั กษ์ตงแต่ ั ้ วนั ที่ ค เข้ าไปแย่งที่ดนิ แต่หาก ก เข้ าไปแย่งที่ดนิ จาก ค คืนได้ ก็ต้องเริ่มนับตังแต่ ้ วนั แย่งกลับคืน เว้ นแต่ได้ คืนมาตาม ม. ๑๓๘๔ คือ ได้ แย่งคืนหรื อฟ้องคืนภายใน ๑ ปี และให้ ถือว่าระยะเวลาการ ครอบครองปรปั กษ์ไม่สะดุดหยุดลง  ตัวอย่ าง ในปี ๔๕ ทรัพย์ของ ข ตกในห้ างแล้ ว ก เห็นจึงขโมยมา ต่อมา ปี ๔๖ ก ทาหาย เมื่อปี ๑ ม.ค.๔๘ ค เก็บได้ จงึ เอาไว้ ในครอบครอง หาก เมื่อ ๒ ม.ค. ๔๙ ก ต้ องการฟ้องเอาการครอบครองคืนจาก ค ดังนี ้ ก ไม่ สามารถฟ้องเอาคืนได้ (เนื่องจากเกินระยะเวลา ๑ ปี – หาก ก แย่งคืนมา ภายในเวลา ๑ ปี ได้ อายุความการครอบครองปรปั กษ์ของ ก ก็จะนับต่อ) โดย ค เริ่มเป็ นผู้ครอบครองปรปั กษ์ ในทรัพย์นนั ้ ตังแต่ ้ ๑ ม.ค. ๔๘ ต่อมา ในปี ๕๓ ข เจ้ าของทรัพย์ มาฟ้องเอาคืนทรัพย์นนจาก ั้ ค ไม่ได้ เนื่องจาก ค ครอบครองมาเกิน ๕ ปี แล้ ว (กรณีสงั หาริมทรัพย์) ทาให้ ค ได้ การ ครอบครองปรปั กษ์ ในทรัพย์นนไป ั้  กรณีทรัพย์ที่ได้ มาจากการกระทาความผิดทางอาญา หากระยะเวลาอายุ ความยาวกว่าระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ก็ให้ ถือตามระยะเวลาที่ ยาวกว่า อายุความของคดีอาญานันๆ ้ แต่หากสังหาริมทรัพย์นนได้ ั ้ มาโดย สุจริตจะใช้ ระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ปกติ ๕ ปี อาทิ ลักทรัพย์หรื อ ยักยอก อายุความฟ้องร้ อง ๑๐ ปี ดังนี ้ การครอบครองปรปั กษ์ของทรัพย์

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 15 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

กระทาผิดทางอาญา ยาวนานกว่า ก็ให้ ถืออายุ ความที่ยาวกว่า) กรณีสจุ ริตหรื อไม่สจุ ริต ตาม ม.๑๓๘๓ ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของนาฬิกา แล้ ว ข ขโมยมา ครอบครองได้ ๕ ปี แล้ ว หลังจากนันน ้ าไปขายให้ ค โดยสุจริ ตและเสีย ค่าตอบแทน ดังนี ้ ค ต้ อง ครอบครองต่อไปอีก ๒ ปี ครึ่ง จึงจะได้ กรรมสิทธิ์ กรณีนี ้แม้ วา่ ตัวบทจะไม่มี ระบุไว้ แต่เนื่องจาก ๒ ครอบครองไปแล้ ว ครึ่งหนึง่ ของระยะเวลา การครอบครองปรปั กษ์ (๕ ปี จากอายุความ ฟ้องร้ องลักทรัพย์ ๑๐ ปี ) ดังนี ้ หาก ค สุจริต ก็ ต้ องครอบครองต่อไปอีก ๒ ปี ครึ่ง แต่หาก ค ไม่ สุจริตก็ต้องครอบครอง ต่อไปอีก ๕ ปี

ที่ยกั ยอกมาก็ใช้ เวลา ๑๐ ปี ไม่ใช่๕ ปี เพราะอายุความฟ้องร้ องทางอาญา ยาวนานกว่า / กรณีชิงทรัพย์อายุความฟ้องร้ องยาว ๑๕ ปี หรื อกรณีการ ปล้ นทรัพย์ทาให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตายอายุความฟ้องร้ อง ๒๐ ปี ดังนี ้ การ ครอบครองปรปั กษ์ก็ใช้ เวลานานกว่า ๑๐ ปี (มักออกสอบปนๆ กันอยู่)  มาตรา ๑๓๘๓ “ทรัพย์ สินอันได้มาโดยการกระทาผิ ดนัน ้ ท่านว่าผูก้ ระทา ผิ ดหรื อผูร้ ับโอนไม่สจุ ริ ตจะได้กรรมสิ ทธิ์ โดยอายุความก็แต่เมื ่อพ้นกาหนด อายุความอาญา หรื อพ้นเวลาทีก่ าหนดไว้ในมาตราก่อน ถ้ากาหนดไหน ยาวกว่า ท่านให้ใช้กาหนดนัน้ ” (๒) การเปลี่ยนตัวเจ้ าของ ม.๑๓๘๒ ให้ นบ ั ระยะเวลาครอบครองติดต่อกันไป ตลอดเวลา ยกเว้ นเจ้ าของเป็ นบุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทน และได้ จดทะเบียนสิทธิมาโดยสุจริต ม.๑๒๙๙ ว.๒ ให้ เริ่มนับระยะเวลาใหม่  ยกเว้ น ม.๑๓๗๗ ว.๑ (การสละการครอบครอง) และ ม.๑๓๘๔ (มีเหตุมา แทรกแซงโดยการแย่งการครอบครอง) อย่างไรก็ตาม หากเป็ นกรณีผ้ ู ครอบครองปรปั กษ์มีเหตุมาขัดขวางการยึดถือชัว่ คราว เช่น ติดคุก ๓ ปี ให้ ถือ ว่ามีเหตุมาขัดขวางชัว่ คราว การครอบครองไม่ขาด ตาม ม.๑๓๗๗ ว.๒  มาตรา ๑๓๗๗ “ถ้าผูค ้ รอบครองสละเจตนาครอบครอง หรื อไม่ยึดถื อ ทรัพย์สินต่อไปไซร้ การครอบครองย่อมสุดสิ้ นลง ถ้าเหตุอนั มี สภาพเป็ นเหตุชวั่ คราวมี มาขัดขวางมิ ให้ผคู้ รอบครองยึดถื อ ทรัพย์สินไซร้ ท่านว่าการครอบครองไม่สดุ สิ้ นลง”  กรณีเป็ นการขาดการครอบครองโดยการถูกแย่งการครอบครองไปโดยไม่ สมัครใจและสามารถฟ้องร้ องแย่งการครอบครองคืนมาได้ ภายใน ๑ ปี ให้ ถือ ว่าการครอบครองยังไม่ขาด (เป็ นการครอบครองต่อเนื่อง)  โดยหลักแล้ วเปลี่ยนตัวเจ้ าของทรัพย์นน ั ้ ก็ให้ นบั เวลาต่อไปสาหรับการ ครอบครองปรปั กษ์ เพราะในสายตาผู้ครอบครอง เจ้ าของถือเป็ น “ผู้อื่น” ตาม ม.๑๓๘๒ ทังนั ้ น้ ไม่วา่ จะเปลี่ยนเจ้ าของไปกี่คนก็ตาม  ยกเว้ น กรณีที่เข้ า ม.๑๒๙๙ ว.๒ ซึง ่ เป็ นหลักคุ้มครองเรื่ องการศักดิส์ ิทธิ์ของ ทะเบียน โดยการโอนต้ องมีการบังคับให้ ดาเนินการทางทะเบียน และคุ้มครอง ผู้รับโอนทางทะเบียนโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทน แต่ปัญหาคือ การ คุ้มครองตาม ม.๑๒๙๙ ว.๒ ต้ องเป็ นการคุ้มครองปรปั กษ์ ครบ ๑๐ ปี แล้ ว เท่านัน้ (ซึง่ เป็ นการครอบครองโดยผลของ กม.) ถ้ ายังครอบครองปรปั กษ์ไม่ ครบ ๑๐ ปี ให้ เริ่มต้ นนับระยะเวลาการครอบครองใหม่  ตัวอย่ าง เมื่อ ก ได้ รับการโอนกรรมสิทธิ์ ในอสังหาริ มทรัพย์นนโดยสุ ั้ จริ ตและ เสียค่าตอบแทน เมื่อ ข ครอบครองปรปั กษ์มาได้ ๗ ปี กรณีนี ้ หาก ก จะอ้ าง

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 16 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การครอบครองปรปั กษ์ไม่ จาเป็ นว่าสัญญาซื ้อขาย หรื อโอนสมบูรณ์ อาจเป็ น สัญญาที่เป็ นโมฆะ ก็ไม่ เป็ นสาระสาคัญ



ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาให้ ข เริ่มนับอายุความใหม่ โดยหลัก อ.กิติศกั ดิ์ มองว่าเอา ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาใช้ โดยตรงไม่ได้ (แม้ แต่คนที่ครอบครองโดยได้ กรรมสิทธิ์ไป แล้ วยังต้ องเริ่มนับอายุการครอบครองปรปั กษ์ใหม่) ดังนี ้แล้ ว ข ซึง่ เป็ นผู้ที่ยงั ไม่ได้ กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปั กษ์ ก็ยิ่งไม่สามารถนามาใช้ ยนั กับ ก ได้ ถ้ าเราใช้ การตีความโดยตรงแล้ ว “ผู้อื่น” ไม่สามารถเป็ นบุคคลภายนอก ไม่ได้ เนื่องจากเป็ นคูก่ รณีโดยตรง ทังนี ้ ้ สามารถตีความ ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาใช้ ในฐานะกม.ที่ใกล้ เคียงอย่างยิ่ง โดยการเทียบเคียง ปพพ. ม.๔ (หลักการ ตีความที่ยิ่งต้ องเป็ นเช่นนัน้ หน้ า ๑๑๒) (๓) การเปลี่ยนตัวผู้ครอบครองด้ วยวิธีการโอนการครอบครองในการนับกาหนด ระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ให้ นบั ระยะเวลาครอบครองของผู้โอนรวมเข้ า ไปด้ วย ตาม ม.๑๓๘๕  มาตรา ๑๓๘๕ “ถ้าโอนการครอบครองแก่ กน ั ผูร้ ับโอนจะนับเวลาซึ่ งผูโ้ อน ครอบครองอยู่ก่อนนัน้ รวมเข้ากับเวลาครอบครองของตนก็ได้ ถ้าผูร้ ับโอนนับ รวมเช่นนัน้ และถ้ามี ข้อบกพร่ องในระหว่างครอบครองของผูโ้ อนไซร้ ท่านว่า ข้อบกพร่ องนัน้ อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสูผ้ รู้ ับโอนได้”  การเปลี่ยนตัวผู้ครอบครองให้ นบ ั ระยะเวลาการครอบครองของผู้โอนไปรวม กับผู้รับโอนได้ ด้วย ซึง่ ถ้ าผู้รับโอนนับรวมเวลาเช่นนันและหากมี ้ ข้อบกพร่อง ระหว่างการครอบครองของผู้โอน ผู้รับโอนก็ต้องรับไปตามนันด้ ้ วย อาทิ ผู้โอน ครอบครองมา ๘ ปี แต่หากมีการสละหรื อการถูกแย่งไปเกิน ๑ ปี (ซึง่ ทาให้ ระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์สินสุดลง) ผู้รับโอนก็เพียงสามารถนับได้ แค่ ๒ ปี (นับรวมได้ แค่เท่าที่ผ้ โู อนนับได้ ) – หลัก “ผู้โอนนับระยะเวลาการ ครอบครองปรปั กษ์ได้ แค่ไหน ผู้รับโอนก็นบั ได้ แค่นน” ั้  ทังนี ้ ้ การรับโอน ตาม ม.๑๓๘๕ รวมถึงการโอนให้ โดยเสน่หาและการรับโอน ทางมรดก อาทิ ก ครอบครองปรปั กษ์มา ๕ ปี แล้ วโอนมาให้ ข อีก ๓ ปี ซึง่ จะ ทาให้ การครอบครองปรปั กษ์ ของ ข มีระยะเวลารวม ๘ ปี หากต่อมา ข ตาย ลง แล้ ว จ ทายาทของ ข ครอบครองต่อเนื่องจากตกเป็ นมรดก ดังนี ้แล้ ว จ ต้ องครอบครองอีก ๒ ปี ถึงจะได้ กรรมสิทธิ์จากการครอบครองปรปั กษ์ ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของนาฬิกา แล้ ว ข ขโมยมาครอบครองได้ ๕ ปี แล้ วหลังจากนัน้ นาไปขายให้ ค โดยสุจริ ตและเสียค่าตอบแทน ดังนี ้ ค ต้ องครอบครองต่อไปอีก ๒ ปี ครึ่ง จึงจะได้ กรรมสิทธิ์ กรณีนี ้แม้ วา่ ตัวบทจะไม่มีระบุไว้ แต่เนื่ องจาก ๒ ครอบครองไปแล้ ว ครึ่งหนึง่ ของระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ (๕ ปี จากอายุความฟ้องร้ องลักทรัพย์ ๑๐ ปี ) ดังนี ้ หาก ค สุจริ ต ก็ต้องครอบครองต่อไปอีก ๒ ปี ครึ่ง แต่หาก ค ไม่สจุ ริตก็ต้อง ครอบครองต่อไปอีก ๕ ปี

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 17 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

Summary Topic / Essence บทที่ ๕ ขอบเขตแห่ ง กรรมสิทธิ์

 



แต่สิทธิใช้ สอยหรื อสิทธิ จาหน่ายจ่ายโอนอาจมี ความคาบเกี่ยวกัน อาทิ การใช้ ดินสอปากกา

การวินิจฉัยสิทธิติดตาม เอาคืนมักจะมีประเด็น

จดเพิ่มจากคลิปของวันที่ 2010-12-14 ที่ขาดเรี ยนไปด้ วย Record / Note on 2010-12-14 (ขาดเรียน จดจากคลิป) มาตรา ๑๓๓๖ “ภายในบังคับแห่งกฎหมาย เจ้าของทรัพย์สินมี สิทธิ ใช้สอยและจาหน่าย ทรัพย์สินของตนและได้ซึ่งดอกผลแห่งทรัพย์สินนัน้ กับทัง้ มี สิทธิ ติดตามและเอาคืนซึ่ง ทรัพย์สินของตนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิ จะยึดถื อไว้ และมี สิทธิ ขดั ขวางมิ ให้ผู้อืน่ สอดเข้า เกี ่ยวข้องกับทรัพย์สินนัน้ โดยมิ ชอบด้วยกฎหมาย” สิทธิตาม ปพพ. มีอยู่ ๕ ประการ ตาม ม.๑๓๓๖ ได้ แก่ ๑) สิทธิใช้ สอย – ใช้ ไปแล้ วยังเหลือวัตถุแห่งสิทธิอยู่ อาทิ การใช้ รถยนต์หรื อเสื ้อผ้ า แม้ วา่ จะเก่าลงไป หรื อการใช้ ปากกาหรื อดินสอ แม้ จะใช้ ไปหมดลงก็ถือเป็ นการ ค่อยๆ หมดลงช้ าๆ ตามสภาพการใช้ ไป / การสร้ างบ้ านหรื อโรงงานมี กม. บังคับไว้ ถือเป็ นการจากัดสิทธิใช้ สอย (พ.ร.บ.โรงงาน หรื อ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร หรื อ พ.ร.บ. ส่งเสริมหรื อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม) ๒) สิทธิจาหน่ายจ่ายโอน – ทาให้ สิทธิหมดไปโดยวัตถุแห่งสิทธิยงั อยู่ รวมถึงการทาให้ วัตถุแห่งสิทธิหมดไปด้ วย อาทิ การซื ้อน ้ามันเติมรถถือเป็ นสิทธิจาหน่าย เพราะใช้ ไป หมดไปอย่างรวดเร็ว ไม่เหลือ / การนาไปขายหรื อทาลายทิ ้งก็ถือเป็ นการจาหน่าย / การที่ใช้ แล้ วทรัพย์นนยั ั ้ งอยูแ่ ต่ไม่สามารถนามาใช้ เป็ นทรัพย์ได้ อีกแล้ ว อาทิ กระดาษชาระเช็ดก้ นแล้ วไม่สามารถนามาใช้ อีก (ต่างกับผ้ าเช็ดหน้ าที่เป็ นสิทธิใช้ สอย คือ เอาไปซักแล้ วมาใช้ ได้ อีก) – มี พ.ร.บ. ที่ดนิ มาจากัดสิทธิการจาหน่ายจ่าย โอน ๓) สิทธิได้ ดอกผล – มีทงดอกผลธรรมดาและดอกผลทางนิ ั้ ตินยั โดยอยูใ่ นบังคับหรื อมี กม. มาจากัดสิทธิได้ ดอกผล อาทิ ม.๔๑๕ ผู้ครอบครองทรัพย์สินโดยสุจริตไม่ต้องคืน ดอกผลแก่เจ้ าของ / พ.ร.บ.ห้ ามเรี ยกดอกเบี ้ยเกินอัตรา ร้ อยละ ๑๕ ฯลฯ ๔) สิทธิขดั ขวาง – อานาจขัดขวางภัยต่างๆ ไม่ให้ เกิดขึ ้นกับทรัพย์สินของตน โดยภัยนัน้ ต้ องไม่ชอบด้ วย กม. ทังนี ้ ้ การใช้ สิทธิขดั ขวางต้ องใช้ ขณะที่ทรัพย์อยูใ่ นความ ครอบครองของเราอยู่ (หากทรัพย์ไม่อยูแ่ ล้ วเราใช้ ได้ เพียงสิทธิตดิ ตามเอาคืน) โดย เราต้ องดูประกอบกับหลัก “ป้องกัน” ป.อ. ม.๖๘ กล่าวคือ การขัดขวางโดยชอบคือ การป้องกันโดยชอบนัน่ เอง ทังนี ้ ้ ภัยดังกล่าวต้ องไม่ใช่ภยั ในอนาคต แต่ต้องเป็ นกรณี ที่ภยั ใกล้ จะถึงแล้ ว การที่มีคนมาด้ อมๆ มองๆ รถเรา เราก็ไม่สามารถไปทาอะไรได้ ต้ องระวัง อีกทัง้ ภัยนันเราต้ ้ องกระทาการป้องกันโดยสมควรแก่เหตุตอ่ ผู้ก่อภัย ๕) สิทธิตดิ ตามเอาคืน – ต้ องเข้ าองค์ประกอบ ๒ ประการ คือ ๑) ติดตามจากผู้ที่ยึดถือ อยู่ และ ๒) ผู้ที่ยึดถืออยูน่ นต้ ั ้ องยึดถือโดยไม่ชอบด้ วย กม. o ตัวอย่ าง ก โดน ข ขโมยนาฬิกาไปขายให้ ค (โดยสุจริ ต) แล้ ว ค ขายต่อให้ ง  ก ไม่มีสิทธิตด ิ ตามเอาคืนจาก ข และ ค ได้ เนื่องจากทัง้ ๒ คน ไม่ได้ ยดึ ถือ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 18 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การครอบครองปรปั กษ์ ควบคูก่ นั ไป

ทรัพย์นนอยู ั ้ ่ อย่างไรก็ตาม โดยหลักที่ “ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน” และ เมื่อ ง ยึดถือทรัพย์อยู่ เช่นนี ้แล้ ว ก สามารถใช้ สิทธิตดิ ตามเอาคืนจาก ง ได้ ตาม ม.๑๓๓๖ (โดย ง ต้ องคืนทรัพย์ในสภาพที่เป็ นอยู่)  ข ต้ องรับผิดต่อ ก โดยผลของ กม. อาญา และ ปพพ.ในทางละเมิด ม.๔๒๐ โดย ก สามารถเรี ยก ข ให้ ชดใช้ ราคา ตาม ม.๔๓๘ ว.๒ และค่าชดใช้ คา่ ความ เสียหายอันเกิดจากการละเมิด (หน้ า ๑๒๗) โดยใช้ อายุความทัว่ ไป ๑๐ ปี  สิทธิตด ิ ตามเอาคืนสามารถกระทาได้ ตลอดเวลา ไม่มีอายุความ เว้ นแต่ผ้ ู ครอบครองทรัพย์นนจะได้ ั้ กรรมสิทธิ์ไปโดยการครอบครองปรปั กษ์ สิทธิเฉพาะของเจ้ าของ สิทธิเฉพาะของเจ้ าของอสังหาริมทรัพย์ แบ่งได้ เป็ น ๒ ประเด็นหลัก ได้ แก่ อสังหาริมทรัพย์ (ม. ๑) สิทธิเหนือแดนกรรมสิทธิ์และใต้ พื ้นดิน -- อสังหาริมทรัพย์อื่นที่ไม่ใช่ที่ดินไม่มีแดน ๑๓๓๕ และ ม.๑๓๓๗) กรรมสิทธิ์ o มาตรา ๑๓๓๕ ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี ห ้ รื อกฎหมาย อื น่ ท่านว่าแดนแห่งกรรมสิ ทธิ์ ทีด่ ิ นนัน้ กิ นทัง้ เหนื อพืน้ ดิ นและใต้พืน้ ดิ นด้วย o ตัวอย่ าง ที่ดน ิ ของ ก ติดกับที่ดนิ ของ ข ที่ปลูกตึกแถว ๕ ชัน้ ต่อมา ก ให้ ค เช่า ที่ดนิ ปลูกที่พกั อาศัยสูง ๒ ชัน้ เมื่อ ค ปลูกบ้ านลงบนที่ดินของ ก ถือว่าบ้ านเป็ นของ ค (เนื่องจากบ้ านไม่เป็ นส่วนควบตาม ม.๑๔๖ ตอนท้ าย เนื่องจาก ค ปลูกบ้ านลง ในที่ดนิ ของ ก โดยมีสิทธิเหนือที่ดินของ ก ต่อมา ง ต้ องการติดป้ายโฆษณาเหนือ ที่ดนิ ของ ก และบ้ านของ ค แต่ไปเกาะเกี่ยวกับอาคาร ๕ ชันของ ้ ข เช่นนี ้แล้ ว  ง ต้ องไปขออนุญาต ข ในเรื่ องการนาป้ายไปยึดติดอาคารของ ข  ง ต้ องไปขออนุญาต ก ในเรื่ องแดนกรรมสิทธิ์เหนือพื ้นดิน  ง ไม่ต้องไปขออนุญาต ค เพราะ ค ไม่มีแดนกรรมสิทธิ์ในพื ้นที่เหนือหลังคาบ้ าน (บ้ านไม่มีแดนกรรมสิทธิ์ แดนกรรมสิทธิ์มีเฉพาะเหนือ “ที่ดนิ ” เท่านัน) ้  หาก ง ต้ องทาป้ายไปยึดติดกับหลังคาบ้ านของ ค ก็ต้องไปขออนุญาต ค ด้ วย ๒) การคุ้มครองเจ้ าของอสังหาริ มทรัพย์ -- เนื่องจากอสังหาริ มทรัพย์เคลื่อนย้ ายหรื อหนี ความเดือดร้ อนไม่ได้ ดังนัน้ ไม่วา่ ใครจะมาใช้ สิทธิทาให้ เจ้ าของอสังหาริมทรัพย์ เดือดร้ อนเกินกว่าที่จะคาดหมายได้ / เดือดร้ อนเกินควรเมื่อพิจารณาตาแหน่งแหล่ง ที่อยูข่ องทรัพย์สินนันประกอบแล้ ้ ว หากทาลงไป เจ้ าของอสังหาริมทรัพย์ก็มีสิทธิกาจัด ทาให้ ความเดือดร้ อนนันหมดลงไป ้ o มาตรา ๑๓๓๗ “บุคคลใดใช้สิทธิ ของตนเป็ นเหตุให้เจ้าของอสังหาริ มทรัพย์ ได้รับ กรณีนี ้ หากเจ้ าของ ความเสียหาย หรื อเดือดร้อนเกิ นทีค่ วรคิ ดหรื อคาดหมายได้ว่าจะเป็ นไปตามปกติ อสังหาริมทรัพย์ถกู ผู้อื่น และเหตุอนั ควรในเมื ่อเอาสภาพและตาแหน่งที ่อยู่แห่งทรัพย์สินนัน้ มาคานึง ใช้ สิทธิทาให้ เสียหาย ประกอบไซร้ ท่านว่าเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์มีสิทธิ จะปฏิ บตั ิ การเพือ่ ยังความ เราต้ องพิจารณาให้ ชดั ว่า เสียหายหรื อเดื อดร้อนนัน้ ให้สิ้นไป ทัง้ นีไ้ ม่ลบล้างสิ ทธิ ทีจ่ ะเรี ยกเอาค่าทดแทน” ใครเป็ นผู้ใช้ สิทธิใครเป็ น คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 19 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ผู้ทาให้ ผ้ อู ื่นเดือดร้ อน การใช้ สิทธิตาม ม.๑๓๓๗ เป็ นการใช้ สิทธิเรี ยกร้ อง แต่ในบางครัง้ อาจเป็ น การใช้ สิทธิอานาจเหนือ ได้ แต่ต้องเข้ าหลักเกณฑ์ ว่าเป็ นเหตุป้องกันหรื อ จาเป็ น (อาทิ หากเค้ ามา กันรั ้ ว้ ปิ ดกันทางเข้ ้ าออก หน้ าบ้ านเรา เราก็มีสิทธิ รื อ้ ถอนโดยไม่ต้องไปฟ้อง ศาลได้ เนื่องจาก ใน กม. แพ่ง เรื่ องป้องกัน/จาเป็ น เข้ าเหตุนิรโทษกรรม ตาม ม.๔๔๙ และ ม.๔๕๐ อีก ทังยั ้ งมีแนวคาพิพากษา ศาลฎีกาประกอบด้ วย)

การใช้ ม.๑๓๓๗ ต้ อง พิจารณาว่าใครเป็ นผู้ก่อ ความเดือดร้ อนก่อน ซึง่ กรณีนี ้เป็ น ก ที่สามารถ หาทางอื่นบาบัดน ้าเสียได้ แต่ไม่ทา ก่อให้ เกิดความ เดือดร้ อนต่อ ข มิใช่การที่ ข สร้ างเขื่อนแล้ วทาให้ น ้า ล้ นกลับไปที่ดนิ ของ ก Summary

o

o

o

o

“เจ้ าของอสังหาริมทรัพย์” เป็ นผู้ได้ รับการคุ้มครองตาม ม.๑๓๓๗ หมายถึง เจ้ าของ ที่มีกรรมสิทธ์ และเจ้ าของที่มีแต่เพียงสิทธิครอบครอง (เจ้ าของที่ดินมือเปล่าหรื อ เจ้ าของที่มีแต่สิทธิครอบครองก็ได้ รับการคุ้มครอง) ม.๑๓๓๗ ไม่จาเป็ นว่าต้ องเป็ น เจ้ าของที่ดินที่มีแดนกรรมสิทธิ์ และ ม.นี ้คุ้มครองเฉพาะเจ้ าของเท่านัน้ ผู้เช่าจะอ้ าง ม.๑๓๓๗ ไม่ได้ แต่การจะได้ รับการคุ้มครองต้ องอ้ าง ม.๑๓๗๔ ซึง่ ม.๑๓๓๗ มิได้ ผกู กับระยะเวลา ๑ ปี กล่าวคือ สามารถใช้ สิทธิได้ ตลอด (ต่างกับ การรบกวนการครอบครอง ม.๑๓๗๔ ซึง่ ต้ องจัดการรบกวนภายใน ๑ ปี ) การที่ผ้ ู เช่าหรื อ ผู้อาศัยจะใช้ ม.๑๓๓๗ ได้ ก็ตอ่ เมื่อเจ้ าของมอบอานาจมา ผู้ก่อให้ เกิดความเดือดร้ อนอาจเป็ นได้ ทงั ้ ๑) เจ้ าของ ๒) บุคคลอื่น (ทัว่ ไปมักเป็ น เจ้ าของที่ดินข้ างเคียงหรื อผู้เช่ามาอยูท่ าธุรกิจให้ เราเดือดร้ อน) และ ๓) หน่วยงาน ของรัฐ (ปั จจุบนั น่าจะแยกต่างหากโดยเป็ นคดีที่ต้องขึ ้นศาลปกครอง ซึง่ ความเห็น อ.วิริยะก็เป็ นแนวนี ้ แต่หากฟ้องศาลยุตธิ รรมตาม ม.๑๓๓๗ ก็สามารถทาได้ ) ความเสียหายที่เกิดขึ ้นอาจเกิดกับทรัพย์สิน สุขภาพ และการไม่ได้ รับความสะดวก โดยความเสียหายและความเดือดร้ อนต้ อง  เกินกว่าที่คาดคิดหรื อคาดหมายได้ เกินตามปกติ เช่น ก อาศัยริ มถนนย่อมต้ อง ได้ ยินเสียงรถวิ่งเป็ นธรรมดา จะไปฟ้องรถไม่ให้ วิ่งส่งเสียงดังย่อมทาไม่ได้ แต่ หาก ก อยูใ่ นหมูบ่ ้ านแล้ วมีคนไม่ชอบหน้ า ก ขับรถผ่านหน้ าบ้ าน ก แล้ วบีบแตร เสมอ ถือเป็ นเรื่ องที่เกินคาดหมายได้ วา่ จะเป็ นไปตามปกติ  มีระยะเวลาไม่สนเกิ ั ้ นไป เช่น หากเกิดขึ ้นนานๆ ที อาทิ มีงานหรื อเทศกาล นานๆ ที มีคนมาจอดรถหน้ าบ้ านเราเพื่อไปชมเทศกาลงานวัด ก็ไม่มีเหตุที่จะไป ฟ้องตาม ม.๑๓๓๗  พิจารณาตาแหน่งแหล่งที่ประกอบ อาทิ การไปปลูกบ้ านในเขตอุตสาหกรรม ต้ องยอมรับสภาพ แต่หากเป็ นเขตที่อยูอ่ าศัยแม้ วา่ โรงงานจะเข้ ามาตังก่ ้ อน แต่ เรามาอยูแ่ ล้ วเกิดเค้ าทาให้ เสียงดังหนวกหู ผู้อยูอ่ าศัยก็สามารถดาเนินการได้ ทังนี ้ ้ต้ องพิจารณาเป็ นกรณีๆ ไปว่าเป็ น “เขตที่อยูอ่ าศัย” หรื อ “เขตโรงงาน” ฯลฯ  ตัวอย่ าง บ้ าน ข อยูต ่ ่าได้ รับความเดือดร้ อนจากการปล่อยน ้าล้ างจานจากบ้ าน ก ที่อยูส่ งู กว่า ดังนี ้ ข ได้ รับความเสียหาย ก็สามารถทาเขื่อนกันไม่ ้ ให้ น ้าโสโครก จากที่ดิน ก ไหลลงมายังที่ดินตนได้ (แม้ ข จะมีสิทธิฟ้อง ก ผ่านศาล เรื่ องน ้า โสโครกก็ตาม) อย่างไรก็ตาม ก ไม่ใช้ ผ้ เู สียหายกรณีนี ้จึงไม่มีสิทธิใช้ ม.๑๓๓๗ ในการฟ้องร้ อง ข ให้ ทาลายเขื่อน เนื่องจาก ข ที่ดนิ ต่าไม่มีหน้ าที่รับน ้าโสโครก จากที่สงู กว่า เว้ นแต่เป็ นน ้าตามธรรมชาติ ถือเป็ นการให้ ที่ดนิ ของ ข รับภาระ ความไม่สะดวกเกินกว่าที่คาดหมาย

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 20 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

Topic / Essence การจากัดกรรมสิทธิ์ใน อสังหาริมทรัพย์ (ม. ๑๓๓๘ – ๑๓๕๕)







Record / Note on 2010-12-21 อาจถูกจากัดได้ ทงโดย ั ้ กม.เอกชน และ กม.มหาชน โดยการจากัดกรรมสิทธิ์นนั ้ o หากเจ้ าของทรัพย์สินละเมิด กม.เอกชน เอกชนผู้ได้ รับความเสียหายสามารถฟ้องร้ อง บังคับคดีให้ เจ้ าของปฏิบตั ติ าม กม. ทังนี ้ ้ สามารถดาเนินการกันเองระหว่างเอกชนได้ o หากเจ้ าของทรัพย์สินละเมิด กม.มหาชน เอกชนผู้ได้ รับความเสียหายไม่ถือเป็ น ผู้เสียหาย จึงไม่สามารถฟ้องร้ องบังคับคดีให้ เจ้ าของทรัพย์สินปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตาม กม. มหาชนได้ มาตรา ๑๓๓๘ “ข้อจากัดสิ ทธิ แห่งเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์ซึ่งกฎหมายกาหนดไว้นนั้ ท่าน ว่าไม่จาต้องจดทะเบียน ข้อจากัดเช่นนี ้ ท่านว่าจะถอนหรื อแก้ให้หย่อนลงโดยนิ ติกรรมไม่ได้นอกจากจะได้ทา นิ ติกรรมเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนกับพนักงานเจ้าหน้าที ่ ข้อจากัดซึ่งกาหนดไว้เพือ่ สาธารณประโยชน์นนั้ ท่านว่าจะถอนหรื อแก้ให้หย่อนลง มิ ได้เลย” การจากัดสิทธิตาม ม.๑๓๓๘ มีลกั ษณะสาคัญพอสรุป ดังนี ้ ๑) ไม่ตอ้ งทาเป็ นหนังสือจดทะเบียนแก่เจ้าหน้าที ่ -- เนื่องจาก กม. ถือว่าทุกคนรู้แล้ ว จึง ไม่ต้องไปทาเป็ นหนังสือจดทะเบียน เว้ นแต่การจากัดสิทธิที่ทาให้ ทอนหรื อหย่อนลง ต้ องไปจดทะเบียนต่อเจ้ าหน้ าที่ มิฉะนัน้ นิตกิ รรมแก้ ไขให้ หย่อนลงตกเป็ นโมฆะ o หากนิตก ิ รรมที่ทาให้ หย่อนลงเป็ นเรื่ องระหว่างผลประโยชน์เอกชน อาทิ ที่ดนิ เพียง ๒ แปลง ก็สามารถไปยกเลิกหรื อทาให้ ลดน้ อยหย่อนลงไปได้ o หากนิตก ิ รรมที่ทาให้ หย่อนลงเป็ นไปเพื่อสาธารณประโยชน์ ไม่สามารถกระทาได้ อาทิ ที่ดนิ ต่าต้ องยอมรับน ้าจากที่ดินสูง ถือเป็ นประโยชน์ของคนหมูม่ าก เมื่อเป็ น ประโยชน์ของคนหมูม่ าก หากตกลงกันทาให้ ผ้ อู ื่นเดือดร้ อนก็ถือเป็ นเรื่ องต้ องห้ าม ๒) สาธารณูปโภคจาเป็ น -- มีหลักเหตุผลได้ แก่ (๑) ทางเศรษฐศาสตร์ กล่าวคือ เพื่อให้ ที่ดนิ ทุก ตร.ม.เกิดประโยชน์สงู สุด หากสาธารณูปโภคเข้ าถึงก็สามารถพัฒนาได้ เต็มที่ หากเป็ นที่ดนิ ตาบอดก็ไม่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ เต็มที่ และ (๒) หลักเพื่อน บ้ านที่ดี ทังนี ้ ้ มี ๓ มาตรา ได้ แก่ ม.๑๓๔๙ ม.๑๓๕๐ และ ม.๑๓๕๒ o มาตรา ๑๓๔๙ “ที ด ่ ิ นแปลงใดมี ทีด่ ิ นแปลงอื ่นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกถึงทาง สาธารณะได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าของทีด่ ิ นแปลงนัน้ จะผ่านทีด่ ิ นซึ่งล้อมอยู่ไปสู่ทาง สาธารณะได้ ทีด่ ิ นแปลงใดมี ทางออกได้แต่เมื ่อต้องข้ามสระ บึง หรื อทะเล หรื อมี ทีช่ นั อัน ระดับที ่ดินกับทางสาธารณะสูงกว่ากันมากไซร้ ท่านว่าให้ใช้ความในวรรคต้น บังคับ ที แ่ ละวิ ธีทาทางผ่านนัน้ ต้องเลื อกให้พอควรแก่ความจาเป็ นของผูม้ ี สิทธิ จะ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 21 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ทางจาเป็ น / ทางปิ ดล้อม ม.๑๓๔๙ ว.๒ ออกเป็ น ข้อสอบปี ที ่แล้ว มี ความถี ่

ผ่านกับทัง้ ให้คานึงถึงที ด่ ิ นที ่ลอ้ มอยู่ให้เสี ยหายแต่นอ้ ยที ่สดุ ที จ่ ะเป็ นได้ถา้ จาเป็ น ผูม้ ี สิทธิ จะผ่านจะสร้างถนนเป็ นทางผ่านก็ได้ผมู้ ี สิทธิ จะผ่านต้องใช้ค่า ทดแทนให้แก่เจ้าของที ด่ ิ นที ่ลอ้ มอยู่เพือ่ ความเสี ยหายอันเกิ ดแต่เหตุทีม่ ี ทางผ่าน นัน้ ค่าทดแทนนัน้ นอกจากค่าเสียหายเพราะสร้างถนน ท่านว่าจะกาหนดเป็ นเงิ น รายปี ก็ได้”  เป็ นกรณีที่ที่ดน ิ ไม่มีทางออกสูท่ างสาธารณะทังทางน ้ ้าและทางบก โดยทาง น ้าสาธารณะต้ องสามารถใช้ สญ ั จรได้ ตามความเป็ นจริงด้ วย (ทัง้ de facto และ de juris)  การขอเปิ ดทางจาเป็ น ปลายทางไม่จาเป็ นต้ องติดกับทางสาธารณะ  ตัวอย่ าง ข ขอเปิ ดทางจาเป็ นผ่านที่ดินของ ก ซึง ่ ติดวัด และโดยที่ ก ใช้ ทางเข้ าออกของวัดเป็ นทางเข้ าออกสัญจรสูท่ างสาธารณะ เช่นนี ้แล้ ว การ ที่ ข ขอเปิ ดทางจาเป็ นผ่านที่ดนิ ของ ก แล้ วไปยังประตูวดั ศาลก็เห็นว่า เรื่ องนี ้สามารถทาได้ แม้ ก จะแย้ งว่าที่ดินของตนไม่ติดทางสาธารณะ แต่ ศาลก็มีหลักและ กม. ก็รองรับอยูแ่ ล้ วว่าวสามารถกระทาได้  ตัวอย่ าง ที่ดน ิ ของ ค ติดกับคลองชลประทานและมีคนั ปูนให้ เดิน ซึง่ แม้ ไม่ใช่ที่สาธารณะแต่ชาวบ้ านก็เดินผ่านคันคลองไปมาโดยปกติ ดังนี ้ ง มี ที่ดนิ ติดกับ ค สามารถขอทางจาเป็ นผ่านที่ดนิ ค เพื่อไปยังคันปูนคลอง ชลประทานเพื่อเป็ นทางสัญจรเข้ าออกสูท่ างสาธารณะได้  การฟ้องขอเปิ ดทางภาระจายอม หากศาลยกฟ้อง คดีใหม่สามารถฟ้องเปิ ด เส้ นทางเดิมเป็ นทางจาเป็ นได้ ไม่เป็ นการฟ้องซ ้า (ฎ.๑๖๕๘/๒๕๑๗) – โดย การฟ้องเปิ ดทางจาเป็ นไม่ต้องเสนอจ่ายเงินค่าใช้ ที่ดนิ ไปในเวลาฟ้อง แม้ ใน ม.๑๓๔๙ ว.ท้ ายระบุไว้ ชดั เจนว่าต้ องจ่ายค่าทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิด จากเหตุที่มีทางจาเป็ นนัน้ รวมถึงค่าทดแทนในการใช้ ที่ดินของเจ้ าของที่ดนิ โดยจะกาหนดจ่ายเป็ นรายปี หรื อขอจ่ายเพียงครัง้ เดียวก็ได้ (ส่วนใหญ่เจ้ าของ ที่มกั ต้ องการให้ จา่ ยเป็ นรายปี เนื่องจากค่าที่ดินสูงขึ ้นเรื่ อยๆ อาจเพิ่มค่าผ่าน ทางจาเป็ น ในขณะที่ผ้ ขู อเปิ ดทางจาเป็ นต้ องการให้ มีการจ่ายงวดเดียว)  การขอเปิ ดทางจาเป็ นสามารถตัดถนนผ่านได้ ไม่จากัดว่าเป็ นทางจาเป็ นที่ เดินด้ วยเท้ าเท่านัน้ (ว.๓) โดยการสร้ างถนนผู้ขอเปิ ดทางจาเป็ นอาจออกเงิน สร้ างเป็ นถนนก็ได้ โดยต้ องเลือกให้ พอควรแก่ความจาเป็ นของผู้มีสิทธิจะผ่าน และให้ เจ้ าของที่ดนิ รอบข้ างที่ปิดล้ อมรอบอยูเ่ สียหายน้ อยที่สดุ  กรณี ม.๑๓๔๙ ว.๒ ยังไม่โดนที่ดน ิ แปลงอื่นปิ ดล้ อมทังหมด ้ แต่สว่ นอื่น อาจจะติดที่ชนั สระ บึง ทะเลสาบ ซึง่ กม. ให้ ใช้ ว.๑ บังคับโดยอนุโลม แม้ กองขยะขนาดใหญ่ไม่ใช่ที่ชนั แต่ก็เป็ นการกีดขวางลักษณะเดียวกัน ถ้ า ก

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 22 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ในการออกข้อสอบในห้วง ๕ ปี หลังสูง

ซึง่ ที่ดนิ โดนปิ ดล้ อม จะขอทางจาเป็ นผ่านที่ดนิ ของผู้อื่น คือ ค ต้ องอ้ าง ม. ๑๓๔๙ ว.๒ ประกอบกับ ม.๔ (เป็ นการ analogy ม.๑๓๙๔ ว.๒) ทังนี ้ ้ การขอ ทางจาเป็ นผ่านที่ดนิ ข จะทาให้ ข เดือดร้ อนก็ต้องเลือกทางจาเป็ นที่เจ้ าของที่ ได้ รับผลกระทบน้ อยที่สดุ กองขยะ กองขยะ o

กองขยะ ที่ดิน ก โดนปิ ดล้ อม ที่ดิน ค ว่างเปล่า

ที่ดิน ปลูกบ้ าน ข ทางสาธารณะ

มาตรา ๑๓๕๐ “ถ้าที ่ดินแบ่งแยกหรื อแบ่งโอนกันเป็ นเหตุให้แปลงหนึ่งไม่มี ทางออกไปสู่ทางสาธารณะไซร้ ท่านว่าเจ้าของที ่ดินแปลงนัน้ มี สิทธิ เรี ยกร้ องเอา ทางเดิ นตามมาตราก่อนได้เฉพาะบนทีด่ ิ นแปลงทีไ่ ด้แบ่งแยกหรื อแบ่งโอนกันและ ไม่ตอ้ งเสียค่าทดแทน” ดูคาอธิบายประกอบหน้ า ๑๔๒ – ๑๔๔ ที่ดินแปลง ๑ ที่ดินแปลง ๒ ทางสาธารณะ

ทีด่ ิ นโฉนดคนละแปลง – ก มี่ที่ดนิ ๒ แปลงต่างโฉนดคนละใบกัน โดยขาย ที่ดนิ แปลงที่ ๒ ให้ กบั ข ทาให้ ที่ดนิ แปลงที่ ๑ ของ ก เป็ นที่ดนิ ถูกปิ ดล้ อม ตาม ม.๑๓๔๙ ดังนี ้ ก อาจขอเปิ ดทางจาเป็ นผ่านที่ดนิ ของ ข แปลงที่ ๒ แต่ก็ต้องจ่ายเงินให้ ข โดยกรณีนี ้เป็ นไปตามบังคับของ ม.๑๓๔๙  ที ด ่ ิ นในโฉนดแปลงเดี ยวกันแต่มีการแบ่งแยก – ก มีที่ดนิ อยูแ่ ปลงหนึง่ ต่อมา แบ่งแยกที่ดนิ ในโฉนดเดียวกันเป็ น ๒ แปลง เพื่อแบ่งขายให้ ข ดังนี ้ ก ขอเปิ ด ที่ดนิ จาเป็ นผ่านที่ดนิ แปลงที่ ๒ ของ ข ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จา่ ย เป็ นไปตาม บังคับของ ม.๑๓๕๐ มาตรา ๑๓๕๒ “ท่านว่าถ้าเจ้าของทีด่ ิ นได้รับค่าทดแทนตามสมควรแล้วต้องยอม ให้ผอู้ ื น่ วางท่อน้า ท่อระบายน้า สายไฟฟ้ า หรื อสิ่ งอืน่ ซึ่งคล้ายกันผ่านที ่ดินของ ตน เพือ่ ประโยชน์แก่ที่ดินติ ดต่อ ซึ่งถ้าไม่ยอมให้ผ่านก็ไม่มีทางจะวางได้ หรื อถ้า จะวางได้ก็เปลื องเงิ นมากเกิ นควรแต่เจ้าของทีด่ ิ นอาจให้ยกเอาประโยชน์ของตน ขึ้นพิจารณาด้วย”  ม.๑๓๕๒ เป็ นกรณีที่ดน ิ ที่ไม่มีสาธารณูปโภคอื่นผ่าน ซึง่ ใช้ หลักใน เรื่ อง ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและเพื่อนบ้ านที่ดีเช่นเดียวกับ ม.๑๓๔๙  อย่างไรก็ตาม ม.๑๓๕๒ วางหลักการต่างจาก ม.๑๓๔๙ โดย “สิ่งอื่นซึง ่ คล้ ายกัน” เป็ นการ analogy ที่เขียนไว้ ในตัวบท ดังนัน้ จึงไม่ต้องอ้ าง ม.๔ ใน การตีความ ทังนี ้ ้ สิ่งอื่นซึง่ คล้ ายกัน อาทิ สายโทรศัพท์ ท่อก๊ าซหุงต้ มหรื อทา 

อปก.และเงื่อนไขของ ม.๑๓๕๒(ซึง่ ต่างกับ เงื่อนไขของ ม.๑๓๔๙) ได้ แก่ ๑) ต้ องจ่ายเงิน และ ๒) ไม่มีทางผ่าน ซึง่ ถ้ าไม่ ยอมให้ ผา่ นก็ไม่ สามารถวางได้ หรือ ๓) แม้ จะวางผ่านได้ ก็เสีย ค่าใช้ จา่ ยสูง

o

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 23 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ความร้ อน ที่ดินของ ค เป็ น ตึกแถว

ที่ดินของ ค เป็ นตึกแถว ที่ดินของ ข ที่ถกู ปิ ดล้ อม ที่ดินของ ก เป็ นทีว่ า่ งเปล่า ทางสาธารณะ

ที่ดินของ ค เป็ น ตึกแถว

กรณีเช่นนี ้ การที่ ข ซึง่ มีที่ดนิ ถูกปิ ดล้ อมจะขอวางผ่านสายไฟและท่อ น ้าประปาก็สามารถขอผ่านที่ดนิ ของ ค ได้ ทังนี ้ ้ จาเป็ นที่จะต้ องเสนอ ค่าตอบแทนให้ ค ก่อน (ต่างกับทางจาเป็ นที่ไม่ต้องเสนอค่าตอบแทนก่อน) ๓) ที ด่ ิ นสูงต่ า – ประกอบด้ วย ม.๑๓๓๙ (น ้าไหลตามธรรมดา) และ ม.๑๓๔๐ (น ้าไหล เพราะการระบาย) ซึง่ ใช้ หลักการเดียวกัน (ออกสอบปี ๕๓ ภาคปกติ ) ดังนี ้ o มาตรา ๑๓๓๙ “เจ้าของที ด ่ ิ นจาต้องรับน้าซึ่งไหลตามธรรมดาจากที ่ดินสูงมา ในทีด่ ิ นของตน น้าไหลตามธรรมดามายังที ่ดินต่า และจาเป็ นแก่ทีด่ ิ นนัน้ ไซร้ ท่านว่าเจ้าของ ที ด่ ิ นซึ่ งอยู่สูงกว่าจะกันเอาไว้ได้เพียงที จ่ าเป็ นแก่ที่ดินของตน”  กรณีฝนตกไหลจากที่ดน ิ สูง ที่ดนิ สูงจะกักน ้าไว้ ใช้ ทงหมดไม่ ั้ ได้ ต้ องกักไว้ เท่าที่ จาเป็ นตามหลักภววิสยั เพื่อมิให้ เกิดความไม่เป็ นธรรมกับที่ดนิ ที่อยูต่ ่ากว่า o มาตรา ๑๓๔๐ “เจ้าของที ่ดินจาต้องรับน้าซึ่ งไหลเพราะระบายจากที ด ่ ิ นสูงมา ในทีด่ ิ นของตน ถ้าก่อนทีร่ ะบายนัน้ น้าได้ไหลเข้ามาในทีด่ ิ นของตนตามธรรมดา อยู่แล้ว ถ้าได้รับความเสียหายเพราะการระบายน้า ท่านว่าเจ้าของทีด่ ิ นต่าอาจ เรี ยกร้องให้เจ้าของที ่ดินสูงทาทางระบายน้าและออกค่าใช้จ่ายในการนัน้ เพือ่ ระบายน้าไปให้ตลอดที ่ดินต่าจนถึงทางน้า หรื อท่อน้าสาธารณะ ทัง้ นีไ้ ม่ลบล้าง สิ ทธิ แห่งเจ้าของทีด่ ิ นต่าในอันจะเรี ยกเอาค่าทดแทน”  กรณีที่น ้าฝนตกเยอะหนักมากเกินไป ที่ดน ิ สูงก็มิใช่ว่าจะปล่อยให้ น ้าทังหมด ้ ไหลลงมาท่วมที่ดนิ ที่ต่ากว่า (ต้ องอาศัยหลักเพื่อนบ้ านที่ดีด้วย) โดยเจ้ าของ ที่ดนิ ต่าอาจขอให้ เจ้ าของที่ดินสูงสร้ างทางระบายน ้า (โดยเจ้ าของที่ดนิ สูงเป็ น ผู้ออกค่าใช้ จ่าย) จนถึงทางระบายน ้าหรื อท่อน ้าสาธารณะ ทังนี ้ ้ หากที่ดนิ ต่า เกิดความเสียหายก็สามารถเรี ยกค่าเสียหายในการที่ดินต่าไม่สามารถใช้ ที่ดนิ ส่วนที่เป็ นทางระบายน ้าได้ อีกด้ วย 

ที่ดนิ สูงต่าก็ต้องเป็ นที่ดนิ สูงต่าตามธรรมชาติ น ้าที่ ไหลก็ต้องเป็ นน ้าที่ไหล ตามธรรมชาติด้วย ม.๑๓๓๙ เป็ นการรับน ้า ธรรมดา ซึง่ ไหลโดยคน ไม่ได้ ไปทาทางน ้าเอาไว้ เช่น น ้าฝนที่ตกลงมาแล้ ว ไหลกระจัดกระจายตาม ธรรมชาติ (รวมถึงหิมะ) ม.๑๓๔๐ เป็ นน ้าได้ เกิด จากการรวบรวมหรื อขุด ร่องระบายน ้าเอาไว้ เมื่อมี ฝนตกน ้าก็ไหลรวมกันใน ร่องไหลลงสูท่ ี่ดนิ ต่า หรื อ น ้าล้ างถ้ วยชาม กรณี ม.๑๓๔๐ ว.๒ เป็ น เรื่ องที่เจ้ าของที่ดนิ ต่าเป็ น ผู้เรี ยกร้ อง

** ข้ อสังเกต ต้ องระวังการปรับใช้ ม.๑๓๔๐ มิให้ สลับหรือสับสนกับ มาตรา ๑๓๕๒ “ท่ านว่ าถ้ าเจ้ าของ ทีด่ ินได้ รับค่ าทดแทนตามสมควรแล้ วต้ องยอมให้ ผ้ อู นื่ วางท่ อน้า ท่ อระบายน้า สายไฟฟ้า หรือสิ่งอื่นซึ่งคล้ ายกันผ่ านทีด่ นิ ของตน เพือ่ ประโยชน์ แก่ ทด่ี ิน ติดต่ อ ซึ่งถ้ าไม่ ยอมให้ ผ่านก็ไม่ มีทางจะวางได้ หรือถ้ าจะวางได้ กเ็ ปลืองเงินมากเกินควร แต่ เจ้ าของทีด่ นิ อาจให้ ยกเอาประโยชน์ ของตนขึน้ พิจารณาด้ วย”

๔) การขุดท่อ สระ บ่อ หลุม คู หรื อร่ องน้า และการวางของหนักบนที ด่ ิ น คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 24 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

มาตรา ๑๓๔๒ “บ่อ สระ หลุมรับน้าโสโครก หรื อหลุมรับปุ๋ ย หรื อขยะมูลฝอยนัน้ ท่านว่าจะขุดในระยะสองเมตรจากแนวเขตทีด่ ิ นไม่ได้ คูหรื อการขุดร่ องเพือ่ วางท่อน้าใต้ดินหรื อสิ่ งอื น่ ซึ่ งคล้ายกันนัน้ ท่านว่าจะทา ใกล้แนวเขตที ด่ ิ นกว่าครึ่ งหนึ่งแห่งส่วนลึกของคูหรื อร่ องนัน้ ไม่ได้ แต่ถ้าทาห่าง แนวเขตหนึ่งเมตรหรื อกว่านัน้ ท่านว่าทาได้ ถ้ากระทาการดัง่ กล่าวไว้ในสองวรรคก่อนใกล้แนวเขตไซร้ ท่านว่าต้องใช้ ความระมัดระวังตามควร เพือ่ ป้ องกันมิ ให้ดินหรื อทรายพังลง หรื อมิ ให้น้าหรื อสิ่ ง โสโครกซึมเข้าไป” (ในที ่ดินของผูอ้ ื น่ )  กรณี ม. ๑๓๔๒ หากปฏิบต ั ิตาม ว.๓ คือ ใช้ ความระมัดระวังพอควร แล้ วยัง ต้ องปฏิบตั ิตาม ว.๑ คือ ต้ องขุดห่าง ๒ ม. ด้ วยหรื อไม่ ซึง่ แนว ฎ. มองว่าหาก ปฏิบตั ิตาม ว.๓ แล้ วยังต้ องทาตาม ว.๑ ด้ วย (ซึง่ เป็ นแนว ฎ. ที่ตดั สินกันมา ตลอด แต่ อ.ไม่คอ่ ยเห็นด้ วย อาทิ กรณีตกึ แถวกว้ าง ๔ ม. จะทาอย่างไรให้ บ่อส้ วมมีขนาดที่พอเหมาะ และห่างจากแนวเขตได้ ๒ เมตร ตาม ว.๑ o มาตรา ๑๓๔๓ “ห้ามมิ ให้ขุดดิ นหรื อบรรทุกน้าหนักบนที ่ดินเกิ นควรจนอาจเป็ น เหตุอนั ตรายแก่ความอยู่มนั่ แห่งที ด่ ิ นติ ดต่อ เว้นแต่จะจัดการเพียงพอเพือ่ ป้ องกัน ความเสียหาย”  แม้ จะทาในที่ดินตนเอง แต่ กม.บัญญัตไ ิ ว้ เพื่อป้องกันมิให้ เพื่อนบ้ านข้ างเคียง ได้ รับความเสียหาย อาทิ การขุดบ่อเพื่อดูดทรายอาจทาให้ บ้านเพื่อนบ้ านร้ าว หรื อเสียหายเนื่องจากดินทรุดตัว หรื อการบรรทุกของหนัก อาทิ เครื่ องจักร ขนาดใหญ่ทาให้ ดนิ ทรุดตัวหรื อกาแพงบ้ านข้ างๆ ได้ รับความเสียหายได้ ๕) รั้ว แนวเขต และหลักเขตของทีด่ ิ น ๖) การปลูกสร้าง ซ่ อมแซม รั้ว กาแพง หรื อโรงเรื อนตรงหรื อใกล้แนวเขตที ด่ ิ น ๗) การทาหลังคาหรื อสิ่ งปลูกสร้ างอย่างอื ่น o มาตรา ๑๓๔๑ “ท่านมิ ให้เจ้าของอสังหาริ มทรัพย์ทาหลังคาหรื อการปลูกสร้ าง อย่างอื ่น ซึ่ งทาให้น้าฝนตกลงยังทรัพย์สินซึ่ งอยู่ติดต่อกัน”  ตาม ม.๑๓๔๑ ต้ องทาด้ วยความระมัดระวังไม่ให้ น ้าฝนตกไหลไปในที่ดินของ ผู้อื่น อาทิ กรณีรางน ้าที่บ้านชารุดอาจทาให้ น ้าจากหลังคาไหลพุง่ ไปสร้ าง ความเสียหายให้ แก่เพื่อนบ้ าน หรื อกรณีดาดฟ้ามีท่อระบายน ้าออกจาก ดาดฟ้าไปพุง่ ใส่ที่ดนิ ผู้อื่น เช่นนี ้ก็ต้องตามมาตรานี ้ (แต่กรณีสร้ างโรงเรื อนหรื อ หลังคารุกล ้าเข้ า ม.๑๓๑๒ กรณีสว่ นควบ ซึง่ จะได้ เรี ยนต่อไป) ๘) กิ่ งไม้ รากไม้ และผลไม้ของทีด่ ิ นติ ดต่อ ๙) ทีว่ ่างเปล่า ทีป่ ่ า หรื อทีด่ ง ของเอกชน ๑๐) ทางน้าสาธารณะ o

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 25 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

o

Summary Topic / Essence บทที่ ๖ เจ้ าของหลาย คน



มาตรา ๑๓๕๕ “เจ้าของที ่ดินริ มทางน้า หรื อมี ทางน้าผ่าน ไม่มีสิทธิ จะชักเอาน้ า ไว้เ กิ นกว่ าที ่จาเป็ นแก่ ประโยชน์ ของตนตามควร ให้เป็ นเหตุเสื ่อมเสี ยแก่ ที่ดิน แปลงอื น่ ซึ่ งอยู่ตามทางน้านัน้ ”  ม.๑๓๕๕ ที่ดน ิ ที่มีทางน ้าไหลผ่านจะกักน ้าไว้ ใช้ ผ้ เู ดียวไม่ได้ โดยขึ ้นอยูก่ บั การ ตีความว่า “ความจาเป็ นของตน” เป็ นไปในเชิงอัตวิสยั (เอาของตนเป็ นหลัก) หรื อภววิสยั (ของส่วนรวมเป็ นหลัก / วิญํูชน) อาทิ กรณีสนามกอล์ฟ ถ้ า แถวนันเป็ ้ นทุง่ นาทาการเกษตร หากสนามกอล์ฟกักน ้าไว้ ใช้ มากตามวิสยั สนามกอล์ฟก็ถือว่าฝ่ าฝื น ม. นี ้ โดย อ.มองว่าควรใช้ หลักภววิสยั ตามความ จาเป็ นของวิญํูชนพึงจะกักเก็บน ้าไว้ ใช้

Record / Note on 2010-12-28 เจ้ าของหลายคน ประกอบด้ วย ๒ เรื่ องใหญ่ๆ ได้ แก่ ๑) การเป็ นเจ้าของรวม ใน ม.๑๓๕๖ – ๑๓๖๖ – คือ เป็ นเจ้ าของรวมกันในทุกโมเลกุล ของทรัพย์นนั ้ อาทิ ก ข ค เป็ นเจ้ าของรวมในทุกโมเลกุลของรถทะเบียน ก-๕๕๕๕ โดย การเป็ นเจ้ าของรวมเกิดจาก ๒ สาเหตุ ได้ แก่ o โดยนิตก ิ รรม – การไปรวมกัน ๒ – ๓ คนเพื่อซื ้อที่ดนิ เก็งกาไร เป็ นการตกลงทา นิตกิ รรมสัญญาร่วมกันเพื่อซื ้อที่ดินมุง่ เก็งกาไร o โดยนิตเิ หตุ หรื อ โดยผลของ กม.  สินสมรสที่ได้ มา แม้ ไม่ตกลงเป็ นเจ้ าของรวม แต่ตาม กม. ก็ถือว่าเป็ นเจ้ าของ รวม แม้ วา่ ชื่อกรรมสิทธิ์ในเจ้ าของทรัพย์นนจะเป็ ั้ นชื่อของเฉพาะสามีหรื อ ภรรยา ทังนี ้ ้ การใส่ชื่อเพิ่มในฐานะคูส่ มรสในทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ไม่ต้อง เสียค่าธรรมเนียม เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์  ศาลยังเอาเรื่ อง กม.ห้ างหุ้นส่วนสามัญมาปรับใช้ กบ ั สามีภรรยาที่ไม่ได้ จด ทะเบียนสมรสแต่ทามาหากินร่วมกัน ก็ถือว่าเป็ นเจ้ าของรวมโดยผลของ กม.  แต่ การภรรยาน้ อยเป็ นเพียงบริ วาร ไม่มีสิทธิการเป็ นเจ้ าของรวมในมรดกเมื่อ สามีถึงแก่กรรม แต่ภรรยาหลวงเป็ นเจ้ าของรวมในทรัพย์สิน/นันที ้ ่หามาร่วมกัน หรื อสินสมรสโดยชอบด้ วย กม. (แต่ทรัพย์สินที่หามาร่วมกับภรรยาน้ อยในการ ทามาหากินก็ถือว่าเป็ นเจ้ าของรวมกับภรรยาน้ อย ไม่ถือเป็ นบริ วาร โดยใช้ เรื่ อง ห้ างหุ้นส่วน) / แม้ ว่าสามีหาเงิน แต่ภรรยาเลี ้ยงลูกอย่างเดียว ก็ถือว่าเป็ นการ แบ่งหน้ าที่กนั ทา ดังนี ้ สินสมรสหรื อทรัพย์ที่หามาได้ ร่วมกันก็เป็ นเจ้ าของรวม  ฎ.๘๔/๒๕๑๒ -- การเอาที่ดินมาลงหุ้นเพื่อตังโรงสี ้ ระหว่าง ก และ ข เมื่อ ก ต้ องการจะเอาที่ดนิ คืนในขณะที่ ข จะเอาโรงสี ศาลพิจารณาว่าไม่ได้ เนื่องจาก การกระทาดังกล่าวถือเป็ นเจ้ าของร่วมกันแล้ ว แม้ ในโฉนดที่ดนิ จะมีชื่อเฉพาะ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 26 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

สิทธิของเจ้ าของรวม (มี ทังหมด ้ ๗ สิทธิ ๕ + ๒) ม.๑๓๕๗ สันนิษฐานว่า ถ้ าไม่ได้ มีการกาหนดว่า เป็ นเจ้ าของรวมใน สัดส่วนเท่าไหร่ กม. กาหนดให้ เป็ นเจ้ าของใน สัดส่วนเท่าๆ กัน



ก ก็ตาม โดย ก และ ข ต่างเป็ นเจ้ าของรวมในที่ดนิ และโรงสี ซึง่ จะแบ่งทรัพย์สิน กันอย่างไร ก็ต้องนาไปขายและนาเงินที่ได้ มาแบ่งกัน / กรณีนี ้ กม. ยังเขียนเพื่อ ป้องกันการเอาชื่อผู้อื่น (อาทิ คนรับใช้ ) มาอ้ างเป็ นเจ้ าของรวมในทรัพย์นนๆ ั้ (ทาให้ คนรับใช้ จะเป็ นเจ้ าของรวมบางส่วนในทรัพย์นน) ั ้ โดยการตังคณะบุ ้ คคล เพื่อมิให้ มีการเลี่ยงภาษี โดยวิธีการดังกล่าว ๒) การเป็ นเจ้าของร่ วมในกรรมสิ ทธิ์ อาคารชุด (มีอยูใ่ น พ.ร.บ.อาคารชุด พ.ศ.๒๕๒๒ ซึง่ มีการแก้ ไขหลายครัง้ ) o มีลก ั ษณะเจ้ าของรวม + เจ้ าของคนเดียว กล่าวคือ มีทรัพย์สว่ นกลาง (ตามหลัก เจ้ าของรวม) และทรัพย์สว่ นบุคคล (ห้ องชุด หรื อ ที่จอดรถส่วนบุคคล ตามหลัก ปั จเจก แล้ วแต่โครงการจะออกแบบ) o ทรัพย์สว่ นบุคคลและทรัพย์ส่วนกลางจะอยู่ด้วยกันอย่างแยกไม่ออก (เมื่อเราโอน ทรัพย์สว่ นบุคคล ทรัพย์สว่ นกลางจะโอนไปด้ วย) โดยมีการแบ่งสัดส่วนชัดเจน และกาหนดอัตราค่าใช้ จา่ ยในทรัพย์สว่ นกลาง อาทิ ค่าบารุงสระว่ายน ้า ค่าบารุง ทางเดิน ฯลฯ o เมื่อซื ้ออาคารชุดต้ องดูทะเบียนที่จดทรัพย์สว่ นกลางให้ ดี ซึง่ บางครัง้ หากไม่ดใู ห้ ดี เจ้ าของโครงการอาจขายทรัพย์สว่ นกลาง เช่น สระว่ายน ้า สนามเด็กเล่น ให้ ผ้ อู ื่น (บุคคลภายนอก) หากไม่ได้ มีการจดทะเบียนไว้ เป็ นทรัพย์สว่ นกลาง ทาให้ เจ้ าของ ห้ องชุดไม่มีสิทธิมาใช้ ได้ อีก หรื อหากต้ องการใช้ ก็ต้องเสียค่าใช้ จา่ ยเพิ่มเติม o อาคารชุดจะมีนิตบ ิ คุ คลดูแลเพื่อให้ บริการที่ดี โดยเจ้ าของห้ องอาจเข้ าไปบริ หาร อาคารชุด (เป็ นระบอบ ปชต. ที่ดีที่สดุ ) โดยกรรมการอาจไปจ้ างคณะบุคคลให้ มา บริหารงานหรื อจัดการด้ านต่างๆ อาทิ การเก็บขยะ การรักษาความปลอดภัย ฯลฯ โดยผู้อาศัยต้ องรักษาสิทธิของตนที่จะให้ การบริหารจัดการทรัพย์สว่ นกลางเกิด ประโยชน์สงู สุด สิทธิของเจ้ าของรวม มีเช่นเดียวกับเจ้ าของคนเดียว ๕ ประการ นอกจากนัน้ ยังมีสิทธิ อื่นเพิ่ม ๒ สิทธิ คือ “สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน” ตาม ม.๑๓๕๘ ซึง่ เจ้ าของรวมต้ องมา ตกลงว่าจะเอาทรัพย์สินไปทาอะไร และ “สิทธิในการแบ่งทรัพย์สิน” ม.๑๓๖๓ – ๑๓๖๔ ๑) สิทธิการจัดการทรัพย์ สิน o มาตรา ๑๓๕๘ “ท่านให้สน ั นิ ษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวมมี สิทธิ จดั การทรัพย์สิน รวมกัน ในเรื ่องจัดการตามธรรมดา ท่านว่าพึงตกลงโดยคะแนนข้างมากแห่งเจ้าของ รวมแต่เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งในทางจัดการตามธรรมดาได้ เว้นแต่ฝ่ายข้างมากได้ตกลงไว้เป็ นอย่างอืน่ แต่เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจทาการ เพือ่ รักษาทรัพย์สินได้เสมอ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 27 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ต้ องมีการตกลงกันว่าจะ จัดการทรัพย์สินนัน้ อย่างไร โดยกาหนดกรอบ วัตถุประสงค์ในการมา เป็ นเจ้ าของรวม จะเอา ทรัพย์นนไว้ ั ้ ทาอะไร อาทิ การไปซื ้อที่ดนิ และบ้ าน มาให้ คนเช่า ดังนี ้ มี วัตถุประสงค์ในการซื ้อ มาเพื่อให้ เช่า

ในเรื ่องจัดการอันเป็ นสาระสาคัญ ท่านว่าต้องตกลงกันโดยคะแนนข้างมาก แห่งเจ้าของรวม และคะแนนข้างมากนัน้ ต้องมี ส่วนไม่ต่ากว่าครึ่ งหนึ่งแห่งค่า ทรัพย์สิน การเปลีย่ นแปลงวัตถุที่ประสงค์นนั้ ท่านว่าจะตกลงกันได้ก็แต่เมื ่อเจ้าของ รวมเห็นชอบทุกคน”  การเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ -- ต้ องได้ รับมติเอกฉันท์ อาทิ หากจะเปลี่ยน บ้ านเช่าเป็ นม่านรูด ก็ต้องได้ รับมติเอกฉันท์  การจัดการในเรื่ องที่เป็ นสาระสาคัญ – การที่บ้านที่เป็ นเจ้ าของรวมโดนพายุ พัดหลังคาปลิว ซึง่ ต้ องการการซ่อมแซมใหญ่ ดังนี ้ ให้ เอาเสียงข้ างมาก ทังใน ้ ประเด็นเรื่ องจานวนคนและสัดส่วนการถือสิทธิในกรรมสิทธิ์รวมนันด้ ้ วย (ว.๓) ในขณะที่เป็ นเรื่ องการซ่อมแซมเพียงเล็กน้ อย เพื่อประโยชน์ทกุ คน กม. (ว.๒) ระบุให้ เจ้ าของรวมคนใดคนหนึง่ ทาก็ได้ แต่คา่ ใช้ จา่ ยที่เกิดขึ ้นเจ้ าของรวมทุก คนต้ องรับผิดชอบร่วมกัน (ม.๑๓๖๒)  การจัดการโดยทัว ่ ไป/ตามธรรมดา – ใช้ หลักเสียงข้ างมาก ตามหลักหุ้นส่วน อาทิ การจัดหาคนมาเช่าบ้ าน หรื อหากเสียงข้ างมากตกลงให้ คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้กระทาการก็สามารถทาได้ เว้ นแต่เสียงข้ างมากจะตกลงเป็ นอย่างอื่น ๒) สิทธิใช้ สอย o มาตรา ๑๓๖๐ ว.๑ “เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มี สิทธิ ใช้ทรัพย์ สินได้ แต่การใช้นน ั้ ต้องไม่ขดั ต่อสิ ทธิ แห่งเจ้าของรวมคนอื ่นๆ” (หน้า ๑๖๔) ๓) สิทธิได้ ดอกผล o มาตรา ๑๓๖๐ ว.๒ “ท่านให้สน ั นิ ษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มี สิทธิ ได้ ดอกผลตามส่วนของตนทีม่ ี ในทรัพย์สินนัน้ ” (หน้า ๑๖๕) ๔) สิทธิจาหน่ ายจ่ ายโอน o มาตรา ๑๓๖๑ “เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จะจาหน่ายส่วนของตน หรื อจานอง หรื อ ก่อให้เกิ ดภาระติ ดพันก็ได้ แต่ตวั ทรัพย์สินนัน้ จะจาหน่าย จานา จานอง หรื อก่อให้เกิ ดภาระติ ดพันได้ก็ แต่ด้วยความยิ นยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน ถ้าเจ้าของรวมคนใดจาหน่าย จานา จานอง หรื อก่อให้เกิ ดภาระติ ดพัน ทรัพย์สินโดยมิ ได้รับความยิ นยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน แต่ภายหลังเจ้ าของรวม คนนัน้ ได้เป็ นเจ้าของทรัพย์สินแต่ผเู้ ดี ยวไซร้ ท่านว่านิ ติกรรมนัน้ เป็ นอันสมบูรณ์ ” o มีการจาหน่าย ๒ อย่าง ตาม ม.๑๓๖๑ ได้ แก่  การจาหน่ายส่วนของตน (ว.๑) – เช่น ก ข ค เป็ นเจ้ าของรวม การที่ ก จาหน่ายส่วนของตน คือ จาหน่าย ๑ ใน ๓ ของที่ดนิ ก็สามารถทาได้ แต่หาก จะไปจาหน่ายส่วนของคนอื่นไม่ได้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 28 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การจาหน่ายตัวทรัพย์ (ว.๒) – จะไปยุง่ กับของบุคคลอื่น แต่ถ้าการจาหน่าย ตัวทรัพย์สินนัน้ รวมถึง จานา จานอง หรื อก่อให้ เกิดภาระติดพันทรัพย์สิน ต้ อง ให้ เจ้ าของรวมทุกคนยินยอม อาทิ หาก ก ต้ องการจาหน่ายที่ดนิ ๕ ไร่ ในส่วนของตน (จากที่รวม ๑๕ ไร่)  ถ้ าไม่ได้ บอกว่าจาหน่ายที่ดนิ ส่วนไหน ก สามารถทาได้  ถ้ า ก ต้ องการจาหน่าย ๕ ไร่ ติดถนน ทางทิศเหนือ ไม่สามารถทาได้ เนื่องจากเป็ นการจาหน่ายตัวทรัพย์สิน ต้ องให้ ข และ ค ยินยอมด้ วย จึงจะจาหน่ายได้  ถ้ า ก ต้ องการขายที่ดนิ ทังแปลงโดยไม่ ้ ได้ รับความยินยอมจาก ข และ ค โดยที่ ง ผู้ซื ้อรู้วา่ เป็ นที่ดินที่มีเจ้ าของรวมและไม่ยินยอม ดังนี ้ ฝ่ าฝื น ม. ๑๓๖๑ ว.๒ สัญญาตกเป็ นโมฆะ แต่เป็ นโมฆะบางส่วน เนื่องจาก ก สามารถขายส่วนของตนเองได้ ตาม ม.๑๓๖๑ ว.๑ ซึง่ ทาให้ สญ ั ญาซื ้อ ขายส่วนของตนสมบูรณ์ สัญญาส่วนอื่นต้ องถูกเพิกถอน / หาก ง กระทา การโดยสุจริ ตก็เข้ าหลักตัวแทนเชิด ข และ ค ไม่สามารถเพิกถอนการซื ้อ ขายได้ โดย ง ได้ ที่ดนิ ไปทังแปลง ้ ๕) สิทธิในการแบ่ งทรัพย์ สิน o มาตรา ๑๓๖๓ “เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มี สิทธิ เรี ยกให้แบ่งทรัพย์สินได้ เว้นแต่ (๑) จะมี นิติกรรมขัดอยู่ หรื อ (๒) ถ้าวัตถุที่ประสงค์ทีเ่ ป็ นเจ้าของรวมกันนัน้ มี ลกั ษณะ เป็ นการถาวร ก็เรี ยกให้แบ่งไม่ได้ (อาทิ การกันเป็ นถนนโดยให้ทกุ คนเป็ นเจ้าของ รวมในลักษณะถาวร ซึ่งหาก ก จะขอแบ่งที ่ดินของถนนที ่เป็ นส่วนรวมในการขาย รวมกับที ่ดินสวนของตน เช่นนีท้ าไม่ได้ แต่หากเจ้าของรวมทุกคนพร้อมใจกันขาย ทีด่ ิ นที ่กนั ไว้เป็ นถนน เช่นนีก้ ็สามารถทาได้ / หรื อกรณี สสุ านทีแ่ บ่งไว้เป็ นทีด่ ิ น ประจาตระกูล) สิ ทธิ เรี ยกให้แบ่งทรัพย์สินนัน้ ท่านว่าจะตัดโดยนิ ติกรรมเกิ นคราวละสิ บปี ไม่ได้ (อาทิ กรณี เจ้าของรวมในสวนยาง ถ้าปล่อยให้มีการขายได้ ก็อาจทาให้ตน้ ยางยังไม่โตเต็มที ่ และไม่สามารถกรี ดยางได้ ทาให้ไม่ได้ราคาน้ายางเท่าทีค่ วร) ท่านว่าเจ้าของรวมจะเรี ยกให้แบ่งทรัพย์สินในเวลาทีไ่ ม่เป็ นโอกาสอันควร ไม่ได้” o การขอแบ่งทรัพย์สินที่เป็ นเจ้ าของรวม กระทาได้ โดย ๒ วิธี ได้ แก่  นิตก ิ รรม (ตกลงกันเองระหว่างเจ้ าของรวม) โดยอาจตกลงกันก่อนว่าแบ่งกัน เท่าไหร่สว่ นไหน หรื อว่าตกลงว่าจะเอาไปขายเพื่อเอาเงินมาแบ่งกัน ซึง่ การตก ลงกันโดยนิติกรรมไม่มีแบบ สามารถทาด้ วยวาจาได้ แม้ ไม่มีหลักฐานเป็ น หนังสือก็ฟ้องร้ องบังคับคดีได้ / โดยการแบ่งต้ องให้ มีการแบ่งอย่างชัดเจน 

ถ้ ามีข้อพิพาทแล้ วมีการ ตกลงแบ่ง เป็ นสัญญา ประนีประนอมยอมความ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 29 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ต้ องมีหลักฐานเป็ น หนังสือจึงฟ้องร้ องบังคับ คดีได้



บทที่ ๗ การได้ กรรมสิทธิ์โดยนิตกิ รรม (การได้กรรมสิ ทธิ์ ออก สอบประจา ไม่ว่าจะเป็ น การได้กรรมสิ ทธิ์ โดยนิ ติ กรรมหรื อโดยผลของ กม.)





มาตรา ๔๖๐ “ในการซื ้อ ขายทรัพย์สินซึ่งมิ ได้ กาหนดลงไว้แน่นอนนัน้ ท่านว่ากรรมสิ ทธิ์ ยงั ไม่ โอนไปจนกว่าจะได้หมาย หรื อนับ ชัง่ ตวง วัด หรื อ คัดเลื อก หรื อทาโดยวิ ธี อืน่ เพือ่ ให้บ่งตัวทรัพย์สิน นัน้ ออกเป็ นแน่นอนแล้ว”

ที่ดนิ ต้ องมีการปั กหมุดรังวัดสอบเขตให้ ชดั เจน จึงจะเป็ นตาม ม.๑๓๖๔ แต่ถ้า  มาตรา ๑๓๖๔ “การแบ่งทรัพย์ สินพึงกระทาโดยแบ่งทรัพย์ สินนัน ้ เอง ระหว่างเจ้าของรวม หรื อโดยขายทรัพย์สินแล้วเอาเงิ นที ่ขายได้แบ่งกัน ถ้าเจ้าของรวมไม่ตกลงกันว่าจะแบ่งทรัพย์สินอย่างไรไซร้ เมื ่อเจ้าของ รวมคนหนึ่งคนใดขอ ศาลอาจสัง่ ให้เอาทรัพย์สินนัน้ ออกแบ่ง ถ้าส่วนที ่ แบ่งให้ไม่เท่ากันไซร้ จะสัง่ ให้ทดแทนกันเป็ นเงิ นก็ได้ ถ้าการแบ่งเช่นว่านี ้ ไม่อาจทาได้หรื อจะเสี ยหายมากนักก็ดี ศาลจะสัง่ ให้ขายโดยประมูลราคา กันระหว่างเจ้าของรวมหรื อขายทอดตลาดก็ได้” ฟ้องศาลให้ ขอแบ่ง – หากเจ้ าของรวมคนใดคนหนึง่ ไม่สามารถตกลงกันได้ ศาลอาจกาหนดวิธีที่เป็ นธรรมขึ ้น แต่โดยทัว่ ไปศาลใช้ วิธีการขายทอดตลาด แล้ วนาเงินที่ได้ มาแบ่งกัน

มาตรา ๑๒๙๙ “ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนีห้ รื อกฎหมายอืน่ ท่านว่าการได้มาโดยนิ ติกรรมซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับ อสังหาริ มทรัพย์นนั้ ไม่บริ บูรณ์ เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสือและได้จดทะเบียน การได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที ่ ถ้ามี ผไู้ ด้มาซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์ โดย ทางอื น่ นอกจากนิ ติกรรม สิ ทธิ ของผูไ้ ด้มานัน้ ถ้ายังมิ ได้จดทะเบี ยนไซร้ ท่านว่าจะมี การ เปลีย่ นแปลงทางทะเบียนไม่ได้ และสิ ทธิ อนั ยังมิ ได้จดทะเบี ยนนัน้ มิ ให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู้ บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุจริ ต และได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ โดย สุจริ ตแล้ว” การได้ กรรมสิทธิ์มาโดยนิตกิ รรม -- ม.๑๒๙๙ ว.๑ ไม่ใช่เฉพาะการได้ กรรมสิทธิ์มาโดย นิตกิ รรม แต่รวมถึงทรัพยสิทธิอื่นๆ โดยเราต้ องเข้ าใจประเภทนิตกิ รรม ๒ ประเภท คือ ๑) นิ ติกรรมก่อความผูกพันทางหนี ้ – ได้ แก่ สัญญาทังหลาย ้ อาทิ สัญญาจะซื ้อจะขาย สัญญายืม สัญญาเช่าซื ้อ ซึง่ เมื่อตกลงกันแล้ วก็ก่อให้ เกิดหนี ้ ตัวอย่ าง ดาตกลง ภาพเขียน ๑๐ ภาพ จาก ๓๐ ภาพ โดยตกลงว่าแดงจะมาเลือกภาพในภายหลัง โดย ตกลงราคาไว้ ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยดามีความผูกพันกับขาวที่จะต้ องให้ ภาพ ๑๐ ภาพ ส่วนขาวมีหน้ าที่ต้องให้ เงินดา ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง กรรมสิทธิ์ในภาพเพราะยังไม่ร้ ูตวั ทรัพย์เฉพาะเจาะจง (ไม่มีการเลือก) แต่หากแดง เลือกภาพแล้ ว กรรมสิทธิ์เปลี่ยนมือทันทีเมื่อสัญญาซื ้อขายเกิดขึ ้น (ม.๔๖๐) – เป็ น เพียงเรื่ องหนี ้ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่ องทรัพย์ ๒) นิ ติกรรมเปลีย่ นแปลงสิ ทธิ – เป็ นนิติกรรมที่ทาให้ สิทธิเปลี่ยนแปลงไป อาทิ สัญญา ซื ้อขายทรัพย์เฉพาะเจาะจง ซึง่ ก่อให้ เกิดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงสิทธิ ต่างกับ นิตกิ รรมที่ก่อให้ เกิดความผูกพันทางหนี ้ ดังนี ้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 30 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

บางนิติกรรมก็ก่อให้ เกิด ความผูกพันทางหนี ้อย่าง เดียว บางนิตกิ รรม ก่อให้ เกิดเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงสิทธิ ขณะที่ บางนิติกรรมก่อให้ เกิดทัง้ การเปลี่ยนแปลงสิทธิและ ความผูกพันทางหนี ้



ความแตกต่ างระหว่ างนิติกรรม ๒ ประเภท (หน้ า ๑๘๕)

นิตกิ รรมก่ อความผูกพันทางหนี้ ไม่อยูใ่ นรูปการโอน ไม่ทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง สิทธิ แต่ก่อให้ เกิดความผูกพัน คือ การกระทาการ การงดเว้ นกระทาการ หรื อการส่งมอบทรัพย์สนิ เป็ นผลโดยไม่ต้องคานึงว่าผู้กอ่ นิติกรรมนันมี ้ อานาจทีจ่ ะโอนหรื อเปลีย่ นแปลงสิทธิอนั เป็ นวัตถุ แห่งหนี ้นันหรื ้ อไม่ ทังนี ้ ้เป็ นไปตามหลัก “เสรี ภาพ ทางทรัพย์สนิ ” ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นเจ้ าของทรัพย์นนั่ หากโอน กรรมสิทธิ์หรื อไม่สามารถทาตามสัญญาได้ ก็ต้อง ชดใช้ คา่ เสียหาย ทังนี ้ ้ ไม่ตกอยูภ่ ายใต้ หลัก “ผู้รับโอนไม่มีสทิ ธิดีกว่าผู้โอน”

Summary Topic / Essence การได้ กรรมสิทธิ์ใน อสังหาริมทรัพย์โดยนิติ กรรม -- หลัก ม.๑๒๙๙ ว.๑ (การใช้ กม. ต้ องดู บทยกเว้ นก่อน) สัญญาบางอย่าง อาทิ สัญญาจะซื ้อจะขาย แม้ ไม่ได้ อยูใ่ นบังคับของ ม. ๑๒๙๙ ว.๑ คือ ไม่มีผล ในการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ โดยเป็ นเรื่ องการก่อความ ผูกพันทางหนี ้ล้ วนๆ แต่ก็มีผลคล้ ายกับการ เปลี่ยนแปลงสิทธิที่ไม่ได้ ทาหนังสือจดทะเบียน คือ ใช้ ยนั กันได้ ระหว่างคูก่ รณี และสามารถฟ้องร้ องให้ มี การดาเนินการตามความ

นิตกิ รรมเปลี่ยนแปลงสิทธิ มักอยูใ่ นรูปสัญญา โดยเฉพาะสัญญาโอน ทรัพย์สนิ ทังหลาย ้ ซึง่ ทาให้ มีการโอนสิทธิเปลีย่ น มือ อิงอยูก่ บั ข้ อเท็จจริ งบางเรื่ อง โดย กม.กาหนดให้ มี ข้ อเท็จจริงอื่นประกอบด้ วย อาทิ ม.๕๒๓ การให้ โดยเสน่หาต้ องมีการส่งมอบจึงสมบูรณ์ / ม. ๑๒๙๙ ว.๑ การโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริ มทรัพย์ ต้ องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ต้ องทาโดยผู้มีอานาจ คือ เจ้ าของกรรมสิทธิ์ จึง ตกอยูภ่ ายใต้ หลัก “ผู้รับโอนไม่มีสทิ ธิดีกว่าผู้โอน”

Record / Note on 2010-01-04 การได้ กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรั พย์ โดยนิตกิ รรม  บุคคลหลายคนอ้ างสิทธิในอสังหาริมทรั พย์ มาโดยนิตก ิ รรมต่ างกัน  หลัก – ผู้ได้ ไปทางทะเบียนมีสิทธิดีกว่า ตาม ม.๑๒๙๙ ว.๑ (หน้ า ๑๘๖) o มาตรา ๑๒๙๙ ว.๑ “ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี ห ้ รื อ กฎหมายอืน่ ท่านว่าการได้มาโดยนิ ติกรรมซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์นนั้ ไม่บริ บูรณ์ เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสื อและได้ จดทะเบียนการได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที ่” o การเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ที่เป็ นอสังหาริ มทรัพย์สว่ นใหญ่จะเข้ าบทยกเว้ น คือ ๔๕๖ / ๕๑๙ / ๕๒๕ / ๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ (ซื ้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ โอนโดนการส่งมอบ แลกเปลี่ยน) แต่ ม.๑๒๙๙ ว.๑ ก็มีที่ให้ ใช้ ได้ แก่ สัญญาประนีประนอมยอมความ สัญญาเช่าซื ้อ นิตกิ รรมเอาอสังหาริมทรัพย์ตีใช้ หนี ้ และสัญญาต่างตอบแทนอื่นๆ – โดยหากมีการกาหนดให้ ทาตามแบบก็ต้องเป็ นไปเช่นนัน้ มิฉะนันไม่ ้ สามารถฟ้อง บังคับชาระหนี ้ได้  สัญญาเช่าซื ้อที่ดน ิ แม้ วา่ เราจ่ายค่างวดครบถ้ วน เราก็ยงั ไม่ได้ กรรมสิทธิ์ที่ดนิ กรรมสิทธิ์ยงั อยู่กบั ผู้เช่าซื ้อ (แต่ต้องทาหนังสือจดทะเบียนก่อน จึงได้ กรรมสิทธิ์) แต่ความผูกพันทางหนี ้ยังมีอยู่ กล่าวคือ ผู้เช่าซื อ้ มีสิทธิไปบังคับให้ ผ้ เู ช่าซื ้อกระทา การตามข้ อผูกพันตามสัญญาเช่าซื ้อ คือ ไปทาหนังสือจดทะเบียนให้ แก่ตน ซึง่ ความผูกพันทางหนี ้ต้ องเป็ นไปตาม กม.ว่าด้ วยหนี ้ คือ ถ้ านิตกิ รรมที่ต้องทาตาม แบบก็ต้องทาตามแบบ อาทิ ม.๕๗๒ การเช่าซื ้อ ด้ วยเหตุนี ้ สัญญาเช่าซื ้อ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 31 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ผูกพันทางหนี ้ได้ (โดยการ ฟ้องให้ เป็ นไปตามสัญญา คือ การฟ้องให้ เอาไปทา หนังสือจดทะเบียน เหมือนกับสัญญา ประนีประนอมยอมความ ฯลฯ คือผูกพันทางหนี ้ ใช้ ยันได้ กบั คูก่ รณี และยัน กับคนภายนอกไม่ได้ เหมือนกันนัน่ เอง) เป็ นเรื่ องของ ม.๓๖๙ คือ ฝ่ ายหนึง่ เสนอขอ ชาระหนี ้ จึงจะบังคับให้ อีกฝ่ ายหนึง่ ชาระหนี ้ตอบ (หลักการยื่นหมูยื่นแมว) สัญญาจะซื ้อจะขายห้ าม เอา ม.๑๒๙๙ ว.๑ มาใช้ เนื่องจากเป็ นเรื่ องหนี ้ แต่ สัญญาจะซื ้อจะขายมีผล คล้ ายกับ ม.๑๒๙๙ ว.๑ ที่ไม่ได้ ทาหนังสือจด ทะเบียน ม.๑๒๙๙ ว.๑ ที่ไม่ได้ ทา หนังสือจดทะเบียนก็ เหลือแต่สญ ั ญาที่มีผล ผูกพันเฉพาะทางหนี ้ เหมือนสัญญาจะซื ้อจะ ขาย โดยใช้ ยนั ได้ ระหว่าง คูก่ รณี และใช้ ยนั กับ บุคคลที่ ๓ ไม่ได้



อสังหาริมทรัพย์จงึ ไม่เป็ นที่นิยม เพราะมีโอกาสถูกเบี ้ยวสูง (สัญญาเช่าซื ้อเป็ น สัญญาทางหนี ้ บังคับได้ เฉพาะคูก่ รณี)  มาตรา ๕๗๒ “อันว่าเช่าซื ้อนัน ้ คื อสัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามัน่ ว่าจะขายทรัพย์สินนัน้ หรื อว่าจะให้ทรัพย์สินนัน้ ตกเป็ นสิ ทธิ แก่ ผูเ้ ช่า โดยเงื อ่ นไขที ผ่ เู้ ช่าได้ใช้เงิ นเป็ นจานวนเท่านัน้ เท่านี ้คราว สัญญาเช่าซื ้อนัน้ ถ้าไม่ทาเป็ นหนังสือ ท่านว่าเป็ นโมฆะ”  สัญญาประนีประนอมยอมความ – อาทิ ข้ อพิพาทเรื่ องมรดก ต่อมาทังสองฝ่ ้ ายใน ที่สดุ ทาสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยฝ่ ายหนึง่ ได้ ที่ดนิ ไปโดยมีข้อแม้ ว่าจะ ไม่เรี ยกร้ องมรดกอื่นแล้ ว การได้ ที่ดนิ มานันหากไม่ ้ ทาหนังสือจดทะเบียนก็ยงั ไม่ได้ กรรมสิทธิ์ แต่มีสิทธิในการบังคับทางหนี ้ ซึง่ จะฟ้องร้ องบังคับคดีได้ ก็ตอ่ เมื่อเป็ น ไปตาม ม.๘๕๑ คือ มีหลักฐานเป็ นหนังสือ  สัญญาแบ่งกรรมสิทธิ์รวม ตาม ม.๑๓๖๔ กม.ไม่ได้ กาหนดอะไรไว้ เมื่อเป็ นเช่นนัน ้ ก็สามารถตกลงกันเป็ นวาจาได้ แต่ก็ต้องมีการตกลงที่ดนิ แนวเขตชัดเจน โดย สามารถฟ้องให้ มีการแบ่งบังคับให้ ออกโฉนดตามนันได้ ้ โดยอ้ าง ม.๑๒๙๙ (เป็ นไป ตามหลักเสรี ภาพแห่งการแสดงเจตนา)  นิตก ิ รรมการยกที่ดินตีใช้ หนี ้ แม้ ตกลงด้ วยวาจา มีพยานยืนยัน หรื อแม้ มีจดหมาย ก็สามารถฟ้องร้ องบังคับคดีได้ เช่นกัน ข้ อยกเว้ น – ผู้ได้ อสังหาริ มทรัพย์มาโดยนิตกิ รรมยังไม่จดทะเบียนอาจมีสิทธิดีกว่าเมื่อ อยูใ่ นฐานะจดทะเบียนได้ ก่อน ตาม ม.๑๓๐๐ และการเพิกถอนการฉ้ อฉล ม.๒๓๗ (อ. อธิ บายเฉพาะบางส่วนที ่สาคัญตามหนังสือ) -- เป็ นกรณีที่หลัก ม.๑๒๙๙ ว.๑ ใช้ ยนั บุคคลภายนอกไม่ได้ o กรณีเมื่ออยูใ่ นฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ ก่อน ตาม ม.๑๓๐๐ (หน้ า ๑๙๒)  มาตรา ๑๓๐๐ “ถ้าได้จดทะเบี ยนการโอนอสังหาริ มทรัพย์ หรื อทรัพยสิ ทธิ อน ั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์เป็ นทางเสี ยเปรี ยบแก่บคุ คลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จด ทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยู่ก่อนไซร้ ท่านว่าบุคคลนัน้ อาจเรี ยกให้เพิ กถอนการจด ทะเบี ยนนัน้ ได้ แต่การโอนอันมี ค่าตอบแทน ซึ่ งผูร้ ับโอนกระทาการโดยสุจริ ตนัน้ ไม่ว่ากรณี จะเป็ นประการใด ท่านว่าจะเรี ยกให้เพิกถอนทะเบียนไม่ได้”  ตัวอย่ าง ก ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกับ ข โดยตกลงยกที่ดินของ ก ให้ ข แลกกับการที่ ข ตกลงไม่เรี ยกร้ องทรัพย์มรดกอื่นอีกแล้ ว ดังนี ้ จะเห็นว่าสัญญา ดังกล่าวใช้ ยนั ได้ แก่คกู่ รณี ต่อมา ก ไปโอนขายที่ดินให้ แก่ ค บุคคลภายนอก ดังนี ้ ข จะบังคับให้ เป็ นไปตามสัญญาประนีประนอมไม่ได้ เพราะเป็ นสัญญาทางหนี ้ และ ข ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ นัน้ และ ค ได้ รับบทสันนิษฐานว่าสุจริ ต แต่วา่ ข ได้ ทาสัญญาประนีประนอมมาก่อน (และตกลงกันว่าจะมีการไปจดทะเบียนโอนที่ดนิ )

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 32 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

หากบุคคลภายนอกได้ กรรมสิทธิ์ไปโดยไม่สจุ ริต และไม่ได้ เสียค่าตอบแทน ก็สามารถเพิกถอนได้ หากเข้ า ม.๑๓๐๐ หรื อ ม.๒๓๙ (แต่ในทาง ปฏิบตั ิการเพิกถอนโดยใช้ ม.ทัง้ ๒ เป็ นเรื่ องยาก เพราะ ม.๖ ให้ สนั นิษฐาน ว่าบุคคลภายนอกสุจริต)

ในวันที่ ๓ ม.ค. ๕๓ แต่ ก ไปจดโอนให้ ค เมื่อ ๓ มี.ค. ๕๓ โดยจะเห็นว่า ก ไม่ยอม จดทะเบียนโอนให้ ข ตังแต่ ้ วนั ที่ทาได้ คือ ๓ ม.ค. ๕๓ แต่ไปจดทะเบียนให้ ค ใน วันที่ ๑ มี.ค. ๕๓ ซึง่ หาก ค สุจริต (ซึง่ ยากที่จะพิสจู น์ได้ ) แล้ ว ข ก็ไม่สามารถทา อะไรได้ ทังนี ้ ้ ตามแนว ฎ. การที่จะไปจดทะเบียนได้ ก่อนวางหลักว่า  ศาลได้ มีคาพิพากษาตัดสินให้ เป็ นผู้มีสิทธิจดทะเบียนได้ ก่อน – อาทิ การที่ ก ไปจดทะเบียนให้ ข ตามสัญญาประนีประนอมยอมความแล้ ว ก ไม่ไปจด ทะเบียนให้ ข (อย่างไรก็ตาม แม้ วา่ ศาลตัดสินแล้ ว แต่ ค ไม่ร้ ู คือ สุจริต ดังนี ้ ข ก็ไม่สามารถเพิกถอนได้ )  ผู้ที่ทาการชาระราคาอสังหาริ มทรัพย์นนครบถ้ ั้ วนหรื อมีหลักฐานว่าจะจ่าย ครบถ้ วน อาทิ Cashier Cheque (เพียงแค่การวางมัดจาไม่ได้ มีสิทธิที่จะ สามารถจดทะเบียนได้ ก่อน)  นอกจากนัน ้ ผู้มิสิทธิจดทะเบียนได้ ก่อนยังมีสิทธิร้องขัดทรัพย์ได้ ตาม วิ.แพ่ง ม. ๒๘๗ ด้ วย โดยเจ้ าหนี ้ของ ก จะนายึดขายทอดตลาดใช้ หนี ้ไม่ได้ (เจ้ าหนี ้ของ ก ถ้ ายังไม่จดทะเบียน ใช้ ไม่มีสิทธิมากไปกว่า ก) หลัก “ทาสัญญาก่อนมี  หาก ค ไม่สจ ุ ริต ข ซึง่ เป็ นผู้จดทะเบียนได้ ก่อน ก็สามารถเพิกถอนนิตกิ รรม สิทธิดีกว่า” เพื่อให้ สอด o การเพิกถอนการฉ้ อฉล ม.๒๓๗ (หน้ า ๑๙๕) รับกับ ม.๒๓๗  มาตรา ๒๓๗ “เจ้าหนี ช ้ อบที ่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสี ยได้ซึ่งนิ ติกรรมใดๆ อัน ลูกหนี ไ้ ด้กระทาลงทัง้ รู้อยู่ว่าจะเป็ นทางให้เจ้าหนี เ้ สี ยเปรี ยบ แต่ความข้อนี ท้ ่านมิ ให้ ใช้บงั คับ ถ้าปรากฏว่าในขณะทีท่ านิ ติกรรมนัน้ บุคคลซึ่ งเป็ นผูไ้ ด้ลาภงอกแต่การ นัน้ มิ ได้รู้เท่าถึงข้อความจริ งอันเป็ นทางให้เจ้าหนี ต้ ้องเสี ยเปรี ยบนัน้ ด้วย แต่หาก กรณี เป็ นการทาให้โดยเสน่หา ท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี เ้ ป็ นผูร้ ู้ฝ่ายเดี ยวเท่านัน้ ก็ พอแล้วทีจ่ ะขอเพิกถอนได้ บทบัญญัติดงั กล่าวมาในวรรคก่อนนี ้ ท่านมิ ให้ใช้บงั คับแก่นิติกรรมใดอันมิ ได้ มี วตั ถุเป็ นสิ ทธิ ในทรัพย์สิน”  แม้ ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่า ข จะจ่ายเงินให้ กบ ั ก ครบในการชาระค่าที่ดนิ แต่ก็ สามารถใช้ ม.๒๓๗ การเพิกถอนการฉ้ อฉลได้ คือ เป็ นเรื่ องระหว่างลูกหนี ้กับ เจ้ าหนี ้ ที่ลกู หนี ้ทาให้ เจ้ าหนี ้เสียเปรี ยบ เรื่ องการโอนที่ดินถือว่า ก เป็ นลูกหนี ้ ข เป็ น เจ้ าหนี ้ โดย ก โอนทรัพย์สินไปให้ ค บุคคลภายนอกอันทาให้ ข เจ้ าหนี ้เสียเปรี ยบ ไม่สามารถบังคับชาระหนี ้ได้ ดังนี ้ ม.๒๓๗ จึงให้ อานาจ ก เพิกถอนการฉ้ อฉลได้ แต่ก็ตอ่ เมื่อ ค ได้ ไปโดยเสน่หาหรื อโดยไม่สจุ ริต ดังนัน้ หากบุคคลภายนอกเสีย ค่าตอบแทนโดยสุจริ ตก็ไม่สามารถทาอะไรได้ ข้ อยกเว้ นของ ม.๑๒๙๙ การได้ กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรั พย์ โดยนิตกิ รรม ว.๑ ได้ แก่ ม.๔๕๖ / ๕๑๙  ข้ อยกเว้ นของ ม.๑๒๙๙ ว.๑ โดย ม.ที่ไม่อยูใ่ นบังคับของ ม.๑๒๙๙ ว.๑ ได้ แก่ ม.๔๕๖ / คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 33 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

/ ๕๒๕ / ๑๓๗๘ – ๑๓๘๐

 

การได้ มาซึง่ สังหาริมทรัพย์โดยนิติ กรรม



๕๑๙ / ๕๒๕ / ๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ ซื ้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เป็ นคนละหลักกับ ม.๑๒๙๙ ว.๑ คือ หากมิได้ ทาตามแบบก็ตก เป็ นโมฆะ ต้ องคืนตามหลักลาภมิควรได้ กรณี ม.๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ หากเราพิจารณาว่าเป็ นนิตกิ รรมแล้ วก็ถือเป็ นนิตกิ รรมลอย กล่าวคือ แม้ วา่ เหตุของการสัง่ จ่าย Cheque เป็ นโมฆะ แต่ก็ยงั สามารถขึ ้นเงินได้ กรณีสงั่ จ่าย Cheque ถ้ าเป็ นสังหาริมทรัพย์มีทะเบียน (สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ) อยูใ่ นบังคับของ ม.๑๓๐๒ โดยเอา ม.๑๒๙๙ – ๑๓๐๑ มาบังคับใช้ โดยอนุโลม (แต่กรณีรถยนต์ / ปื น ไม่อยูใ่ นบังคับ ของ ม.๑๒๙๙ ว.๑ แม้ วา่ มีทะเบียน เนื่องจากไม่ใช่สงั หาริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ) โดยหลักใน การโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริ มทรัพย์ประเภทนี ้ แบ่งเป็ น ๓ กลุม่ ได้ แก่ ๑) ส่งมอบ – ได้ แก่ o ให้ -- ม.๕๒๓ (สมบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบ) o ยืมใช้ สิ ้นเปลือง -- ม.๖๕๐ (บริ บรู ณ์เมื่อมีการส่งมอบ) ๒) ทาสัญญาก็เปลี่ยนแปลงสิทธิ (ไม่มีเงื่อนไขหรื อข้ อเท็จจริ งประกอบว่าต้ องส่งมอบ) o การซื ้อขาย -- เพียงทาสัญญากรรมสิทธิ์ก็เปลี่ยนแล้ ว ไม่จาเป็ นต้ องมีการชาระ ราคาหรื อมีการส่งมอบให้ เสร็ จสิ ้นก่อน เช่น การซื ้อขายรถ (แต่ อ.กิตติศกั ดิ์ ยึด หลักการแสดงเจตนาว่าถ้ าเจตนาโอนกรรมสิทธิ์เมื่อไหร่ กรรมสิทธิ์ก็เปลี่ยนมือ เมื่อนัน้ เนื่องจากอาจมีการสงวนกรรมสิทธิ์ในสัญญาซื ้อขายได้ ) o อย่างไรก็ตาม ในสัญญาซื ้อขาย การได้ กรรมสิทธิ์ที่ยงั ไม่ได้ การครอบครองไปด้ วย คือ ยังไม่มีการส่งมอบ ก็มีข้อจากัด โดยอยูใ่ นบังคับ ม.๑๓๐๓ ว.๑ ดังนัน้ จะ นาไปใช้ ยนั บุคคลภายนอกโดยสุจริ ตและเสียค่าตอบแทนไม่ได้ แม้ ว่า ค จะได้ ไปจากคนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ก็ตาม  มาตรา ๑๓๐๓ ว.๑ “ถ้าบุคคลหลายคนเรี ยกเอาสังหาริ มทรัพย์ เดี ยวกันโดย อาศัยหลักกรรมสิ ทธิ์ ต่างกันไซร้ ท่านว่าทรัพย์สินตกอยู่ในครอบครองของ บุคคลใด บุคคลนัน้ มี สิทธิ ยิ่งกว่าบุคคลอืน่ ๆ แต่ต้องได้ทรัพย์นนั้ มาโดยมี ค่าตอบแทนและได้การครอบครองโดยสุจริ ต” ๓) สัญญาที่ไม่มี กม.บอกว่าต้ องทาอย่างไร อาทิ สัญญาประนีประนอมยอมความ / สัญญาเช่าซื ้อ o สัญญาประนีประนอมยอมความ – อาทิ ก ตกลงยกรถ Benz ให้ ข แลกกับการ ไม่เรี ยกร้ องมรดกเพิ่ม เกิดเซ็นสัญญาเสร็จแล้ วฟ้าผ่าทันที รถ Benz กระจุย ดังนี ้ ผู้รับเคราะห์ คือ ข เจ้ าหนี ้ (ม.๓๗๐ ตกเป็ นพับแก่เจ้ าหนี ้) เจ้ าของกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์นนั ้ หรื อ รถ Benz – กรรมสิทธิ์รถโอนมายัง ข แล้ วแม้ ยงั ไม่มีการส่งมอบ (ดูจากเจตนาในการโอน ตามมุมมอง อ.กิตติศกั ดิ)์

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 34 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

บทที่ ๘ การได้ กรรมสิทธิ์มาโดยผล ของ กม.



การได้ กรรมสิทธิ์ไปตามหลักส่ วนควบ ม.๑๓๐๘ – ๑๓๑๗ (ออกสอบค่อนข้างถี ่ โดย มักจะออกเรื ่อง ม.๑๓๑๒ ม.๑๓๑๕ – ม.๑๓๑๗) o ที่งอกริ มตลิ่ง – ม.๑๓๐๘ และ ม.๑๓๐๙ (เป็ น ม. ที่เอื ้อกับนักการเมืองในการเอาที่ หลวงไปออกโฉนด โดย อ. เห็นว่าควรยกเลิก ม. นี ้) – มีมาตังแต่ ้ สมัยโรมัน  มาตรา ๑๓๐๘ “ที ด ่ ิ นแปลงใดเกิ ดทีง่ อกริ มตลิ่ ง ทีง่ อกย่อมเป็ นทรัพย์สินของ เจ้าของทีด่ ิ นแปลงนัน้ ”  การได้ ที่งอกมานันได้ ้ มาแบบลาภลอย โดยไม่ต้องชดใช้ ให้ หลวง (เป็ นเรื่ องลาภ ลอย แปลกกว่า ม.อื่น และไม่เหมือนกับ กม.โรมันซึง่ มองว่าเป็ นการพัดของ ตะกอนมาจากที่ดนิ อื่น แม้ ว่าเจ้ าของที่ดนิ จะเป็ นเจ้ าของที่งอก แต่ก็ต้องชดใช้ ให้ กบั เจ้ าของที่ดินซึงตะกอนดินโดนซัดมา) การนา ม. นี ้มาใช้ ใน กม. ไทย ก็ เท่ากับเป็ นการให้ คนได้ ที่ของหลวง  ฎ.วางหลักเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ไว้ ว่าจะเป็ นที่งอกริ มตลิ่งได้ ต้ องเข้ าลักษณะ ดังนี ้  ต้ องเกิดขึ ้นโดยธรรมชาติ มิใช่เกิดขึ ้นโดยน ้ามือของมนุษ ย์ (เช่นเดียวกับหลัก เรื่ องที่สงู ต่า) ซึง่ หากพิสจู น์ได้ วา่ มีการถม (อาทิ เป็ นดินคนละชนิดกัน) เช่นนี ้ ก็เป็ นที่งอกริมตลิ่งไม่ได้ / หากว่าลอกจากก้ นของสระหรื อบึงที่แห้ งขอดก็ เป็ นเรื่ องที่พิสจู น์ยากเพราะเป็ นเดินชนิดเดียวกัน – โดยการพิสจู น์หกั ล้ าง เป็ นเรื่ องยาก เนื่องจาก ส่วนใหญ่ผ้ ทู ี่พิสจู น์หกั ล้ าง คือ ราชการ ซึง่ ก็เป็ นผู้ ออกโฉนดให้ ซึง่ หากพิสจู น์หกั ล้ างได้ ก็เท่ากับว่าราชการทาผิดเอง  ต้ องเป็ นที่งอกออกไปจากตลิ่ง หากเป็ นกรณี ตอนกลางของหนองน ้า สาธารณะตื ้นเขิน และต่อมาริมฝั่ งหนอกน ้าเชื่อมกับเกาะนัน้ ดังนี ้ ตกเป็ น สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน  ต้ องเป็ นที่งอกติดกันเป็ นผืนเดียวกับดินริ มตลิ่งโดยไม่มีสิ่งอื่นคัน ่ (อาทิ ถนน ดินดอนคัน่ หรื อธารน ้าคัน่ ) แต่หากเป็ นที่งอกอยูแ่ ล้ วและทางการมาตัดถนน ทีหลังหรื อเจ้ าของที่อทุ ิศให้ มีถนนสาธารณะคัน่ ระหว่างที่ดนิ ของตน เช่นนี ้ก็ ยังถือว่าเป็ นที่งอกริมตลิ่ง  ที่งอกริ มตลิ่งต่างจากที่ชายตลิ่ง กล่าวคือ ที่ชายตลิ่งเป็ นที่สาธารณสมบัตข ิ อง แผ่นดิน ตาม ม.๑๓๐๔ (๒) ที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน อาทิ หาดภูเก็ต ซึง่ ตาม กม.ไม่มีทางที่จะมีชายหาดส่วนตัวได้ โดยทางนิตนิ ยั เป็ นสาธารณสมบัติ แต่ทางพฤตินยั เป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน โดยจะกลายเป็ นของเอกชนก็ ต่อเมื่อที่ชายตลิ่งกลายเป็ นที่งอกริมตลิ่ง  ที่ชายตลิ่ง เป็ นที่ที่น ้าขึ ้นสูงสุด  แต่หากที่ชายตลิ่งที่น ้าท่วมสูงสุดขึ ้นไม่ถึงก็เป็ นที่งอกริ มตลิ่ง ซึง ่ โดยปกติ แล้ วที่งอกริมตลิ่งมักจะเกิดขึ ้นจากน ้าท่วมใหญ่ หรื อกรวด ทราย โคลนตมที่

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 35 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)



Summary Topic / Essence การได้ กรรมสิทธิ์ไป ตามหลักส่ วนควบ (ต่อ)

มีแนว ฎ.วินิจฉัยว่าเรา ไปดูที่ดนิ ของผู้อื่นว่ามีรัว้ หรื อแม้ แต่มีการปลูก ต้ นไม้ /ต้ นยางเป็ นแนว หากยังปลูกสิ่งก่อสร้ าง ในที่ดนิ ดังกล่าว แม้ จะไม่ รู้วา่ โฉนดชื่อใคร ก็ถือว่า ไม่สจุ ริต (การรู้/สุจริต หรื อไม่ใช้ หลักวิญํูชน)

มาตรา ๑๔๖ “ทรัพย์ซึ่ง ติ ดกับที ่ดินหรื อติ ดกับ โรงเรื อนเพียงชัว่ คราว ไม่ถือว่าเป็ นส่วนควบกับ ทีด่ ิ นหรื อโรงเรื อนนัน้



ค่อยๆ ถูกพัดพาทับถมกันมา มาตรา ๑๓๐๙ “เกาะทีเ่ กิ ดในทะเลสาบ หรื อในทางน้าหรื อในเขตน่านน้าของ ประเทศก็ดี และท้องทางน้าทีเ่ ขิ นขึ้นก็ดี เป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิ น”

Record / Note on 2010-01-11 การเอาของไปรวมกับที่ดนิ ๑) การที่เราเอาอะไรไปทาบนที่ดนิ ผู้อ่ ืน ม.๑๓๑๐ / ๑๓๑๑ / ๑๓๑๔ o กรณีปลูกโรงเรื อนในที่ดินผู้อื่นโดยสุจริ ต ม.๑๓๑๐  มาตรา ๑๓๑๐ ว.๑ “บุคคลใดสร้ างโรงเรื อนในที ่ดินของผู้อืน ่ โดยสุจริ ตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที ่ดินเป็ นเจ้าของโรงเรื อนนัน้ ๆ แต่ตอ้ งใช้ค่าแห่งทีด่ ิ นเพียงที ่ เพิ่ มขึ้นเพราะสร้างโรงเรื อนนัน้ ให้แก่ผสู้ ร้าง  เราไม่จาเป็ นต้ องไปปลูกโรงเรื อนเอง อาจจะเป็ นการจ้ างผู้อื่นให้ ปลูกก็ได้ อาจจะเป็ นการใช้ สมั ภาระของเราบ้ างหรื อของผู้อื่นบ้ างก็ไม่ใช่สาระสาคัญ ดังนี ้ โรงเรื อนตกเป็ นส่วนควบของที่ดนิ เจ้ าของที่ดนิ เป็ นเจ้ าของโรงเรื อน แต่เนื่องจากเป็ นการทาโดยสุจริต เจ้ าของที่ดินต้ องจ่ายให้ เราตามลาภที่งอก คือ ราคาที่ดินที่เพิ่มขึ ้นจากการมีโรงเรื อนที่เราไปปลูก  หากเราเป็ นทายาทคนเดียว แล้ วเกิดมัน ่ ใจว่าที่มรดกจะเป็ นที่ดินของเรา หาก ต่อมารู้วา่ พ่อแม่ที่ตายไปทาพินยั กรรมยกที่ดนิ นันให้ ้ แก่ผ้ อู ื่น เช่นนี ้แล้ ว ที่ดนิ เป็ นของผู้ที่ได้ รับที่ดนิ ตามพินยั กรรม เมื่อลูกหลานปลูกไปโดยไม่ร้ ู ก็เข้ า ม.นี ้  กรณีเราไปปลูกสร้ างในที่รกร้ างว่างเปล่า เกิดวันหนึง ่ เจ้ าของโผล่มาฟ้องขับไล่ เรา เจ้ าของไม่สามารถฟ้องให้ เรารื อ้ บ้ านได้ (แต่สามารถฟ้องขับไล่ให้ เราออก จากที่ดินได้ ) เนื่องจากบ้ านหลังดังกล่าวตกเป็ นเจ้ าของที่ดนิ แล้ ว ตามหลัก ส่วนควบ ทังนี ้ ้ เจ้ าของที่ต้องจ่ายค่าที่ดนิ เพิ่มโดยเราต้ องเป็ นผู้ฟ้องเรี ยกร้ อง ราคาที่ดนิ ที่เพิ่มขึ ้น ตาม ม.๑๓๑๐  แต่หากโรงเรื อนไม่เป็ นส่วนควบของที่ดน ิ จะนา ม.๑๓๑๐ มาบังคับใช้ ไม่ได้ – อาทิ เราไปทาสัญญาเช่าที่ดินผู้อื่นปลูกบ้ านเพื่ออยูอ่ าศัย แล้ วเราไปปลูกเป็ น อาคารพาณิชย์แล้ วเอาไปให้ ผ้ อู ื่นเช่า เมื่อตามสัญญาระบุวา่ เมื่อผิดสัญญา สามารถบอกเลิกสัญญาได้ (แต่ถ้าเอาไว้ อยูเ่ องก็ไม่ผิดสัญญา) เจ้ าของที่จงึ ฟ้องให้ เรารื อ้ อาคารพาณิชย์ ดังนี ้ กรณีนี ้อาคารพาณิชย์เป็ นของเรา เนื่องจาก เราเป็ นผู้เช่าที่ดนิ มีสิทธิปลูกสิ่งปลูกสร้ าง ดังนัน้ อาคารพาณิชย์จงึ ไม่เป็ น ส่วนควบ ตาม ม.๑๔๖ ตอนท้ าย เนื่องจากเป็ นการปลูกสร้ างโดยเราเป็ นผู้มี สิทธิปลูกสร้ าง (การผิดสัญญาเกิดหลังที่เอาไปให้ ผ้ อู ื่นเช่า เนื่องจากการเอา ไปให้ เช่าช่วงต้ องให้ ผ้ ใู ห้ เช่ายินยอม ดังนัน้ จึงเป็ นการที่เรามีสิทธิปลูกสร้ าง)

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 36 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

(ท่อนแรกเป็ นที ่ดินของ เรา) ความข้อนีใ้ ห้ใช้ บังคับแก่โรงเรื อนหรื อสิ่ ง ปลูกสร้างอย่างอื ่น ซึ่ งผูม้ ี สิ ทธิ ในที ด่ ิ นของผูอ้ ื ่นใช้ สิ ทธิ นนั้ ปลูกสร้ างไว้ใน ทีด่ ิ นนัน้ ด้วย(ท่อนหลัง เป็ นทีด่ ิ นทีเ่ ราไปเช่าผู้อืน่ แล้วมี สิทธิ ไปปลูก)” – แต่ ม.๑๔๖ สามารถตกลง ยกเว้ นได้ (ไม่เป็ น Jus Cogen) กรณี ม.๑๓๑๐ สิ่ งปลูก สร้างนัน้ ต้องเป็ นส่วนควบ จึงจะใช้ได้ ม.๑๓๑๐ ว.๒ เป็ นกรณี ทีห่ าโอกาสใช้ได้ยาก (แทบจะไม่มีเลย) อ่ านตัวบท ม.๑๓๑๐ ด้ วย เผื่อออกสอบ โรงเรื อนเป็ นสิ่งที่มนุษย์ใช้ อยูอ่ าศัย ถ้ าไม่ใช้ ไว้ ใช้ อยู่ อาศัย เป็ นสิ่งปลูกสร้ าง อย่างอื่น

o

กรณีนี ้ เราอ้ าง ม.๑๓๑๐ ไม่ได้ เพราะอาคารพาณิชย์ไม่ใช่สว่ นควบ  กรณีการปลูกโรงเรื อนในที่ดินที่เราเช่าผู้อื่น โดยหลักโรงเรื อนไม่เป็ นส่วนควบ เมื่อหมดสัญญาเช่า เราไม่ต้องการรื อ้ บ้ านโดยบอกยกบ้ านให้ แล้ วขอราคาที่ ลาภงอก (ราคาบ้ าน) กรณีนี ้เราใช้ ม.๑๓๑๐ (ใช้ ราคาที่ดินที่เพิ่มขึ ้น) หรื อ ม.๑๓๑๑ (ใช้ ราคาบ้ าน/โรงเรื อน หรื อราคาที่ดนิ ที่เพิ่มขึ ้น) โดยตรงไม่ได้ แต่ สามารถใช้ โดยเทียบเคียงได้ อ.กิตติศกั ดิม์ องว่าน่าจะใช้ ม.๑๓๑๑ เพราะรู้ ว่าเป็ นการปลูกโรงเรื อนในที่ดนิ ของผู้อื่นเป็ นการไม่สจุ ริ ต แต่หลายคนมองว่า เข้ า ม.๑๓๑๐ เพราะเป็ นการสร้ างไปโดยเชื่อว่ามีสิทธิสร้ าง ถือเป็ นการสุจริ ต  มาตรา ๑๓๑๐ ว.๒ “แต่ถา ้ เจ้าของทีด่ ิ นสามารถแสดงได้ว่า มิ ได้มีความ ประมาทเลิ นเล่อจะบอกปั ดไม่ยอมรับโรงเรื อนนัน้ และเรี ยกให้ผสู้ ร้างรื ้อถอน ไป และทาที ่ดินให้เป็ นตามเดิ มก็ได้ เว้นไว้แต่(ไม่มีสภาพบังคับ แม้ว่าจะเรี ยก ได้ โดยเจ้าของสิ่ งปลูกสร้างอาจไม่ซื้อก็ได้) ถ้าการนีจ้ ะทาไม่ได้โดยใช้เงิ น พอสมควรไซร้ ท่านว่าเจ้าของที ด่ ิ นจะเรี ยกให้ผสู้ ร้างซื ้อที ่ดินทัง้ หมดหรื อแต่ บางส่วนตามราคาตลาดก็ได้”  สาหรับส่วนที่บง ั คับได้ คือ ถ้ าพิสจู น์ได้ วา่ มิได้ ประมาท ถึงสุจริต ผลคือ ก็ต้อง ซื ้อที่ดนิ ดังกล่าว ซึง่ หายากมากที่จะเข้ ากรณีนี ้ อาทิ กรณีพอ่ ทาพินยั กรรมยก ที่ดนิ ให้ หมอนวดโดยหมอนวดคัดค้ านแล้ วลูกไม่เชื่อ แต่ดนั ไปปลูกโรงเรื อนใน ที่ดนิ ดังกล่าว ซึง่ หมอนวดซึง่ เป็ นเจ้ าของที่ดนิ มรดกก็ไม่ประมาทเพราะ คัดค้ านแล้ ว และเราก็สจุ ริตโดยเชื่อว่าเป็ นที่ดนิ ของเรา กรณีการปลูกโรงเรื อนในที่ดินผู้อื่นโดยไม่สจุ ริ ต ม.๑๓๑๑  มาตรา ๑๓๑๑ “บุคคลใดสร้ างโรงเรื อนในที ด ่ ิ นของผูอ้ ื ่นโดยไม่สจุ ริ ตไซร้ ท่าน ว่าบุคคลนัน้ ต้องทาที ่ดินให้เป็ นตามเดิ มแล้วส่งคืนเจ้าของ เว้นแต่เจ้าของจะ เลื อกให้ส่งคื นตามที เ่ ป็ นอยู่ ในกรณี เช่นนี เ้ จ้าของที ด่ ิ นต้องใช้ราคาโรงเรื อน หรื อใช้ค่าแห่งที ่ดินเพียงทีเ่ พิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรื อนนัน้ แล้วแต่จะเลือก”  ม.๑๓๑๑ ให้ สิทธิเจ้ าของที่ดิน ๒ ประการ (แม้ ไม่มี ม.นี ้ก็ใช้ ม.๑๓๓๖ ก็ได้ ) (๑) เจ้ าของที่ดินมีสิทธิให้ รือ ้ และทาสภาพที่ดนิ ให้ กลับดังเดิม (เลือกที่จะ ให้ รือ้ ตาม ม.๑๓๓๖) (๒) เจ้ าของที่ดินมีสิทธิเลือกให้ ส่งที่ดน ิ พร้ อม(เอา)บ้ านและสิ่งปลูกสร้ าง  จ่ายราคาโรงเรื อนที่สร้ าง หรื อ  จ่ายราคาเพียงเท่าที่ดน ิ ที่เพิ่มขึ ้น ตัวอย่ าง ก สร้ างบ้ านราคา ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในที่ดินของ ข ราคา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ทาให้ ราคาที่ดนิ พร้ อมบ้ านคิดเป็ น ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท ดังนัน้ ข เจ้ าของที่อาจเลือกเอาบ้ านแล้ วจ่ายเพียง ๒,๐๐๐,๐๐๐

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 37 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

o

บาท (ราคาสิ่งปลูกสร้ าง) แทนที่จะจ่าย ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ราคาเท่า ที่ดนิ ที่เพิ่มขึ ้นมา) / แต่หาก ก สร้ างบ้ านออกแบบไม่ดี ทาให้ ที่ดินพร้ อม บ้ านราคาเพิ่มขึ ้นมารวมแล้ วเพียง ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท เช่นนี ้ ข เจ้ าของ ที่ดนิ อาจเลือกจ่ายเพียง ๒๐๐,๐๐๐ บาท (ราคาที่เท่าที่ดินที่เพิ่มขึ ้น) กรณีเป็ นสิ่งปลูกสร้ าง ม.๑๓๑๔ รวมถึงธัญชาติ ไม้ ยืนต้ น ไม้ ล้มลุก  มาตรา ๑๓๑๔ “ท่านให้ใช้บทบัญญัติมาตรา ๑๓๑๐, ๑๓๑๑ และ ๑๓๑๓ บังคับตลอดถึงการก่อสร้างใดๆ ซึ่ งติ ดที ่ดินและการเพาะปลูกต้นไม้หรื อธัญ ชาติ ด้วยโดยอนุโลม แต่ข้าวหรื อธัญชาติ อย่างอื ่นอันจะเก็บเกี ่ยวรวงผลได้คราวหนึ่งหรื อ หลายคราวต่อปี เจ้าของที ด่ ิ นต้องยอมให้บคุ คลผูก้ ระทาการโดยสุจริ ต หรื อ ผูเ้ ป็ นเจ้าของที ่ดินโดยมี เงื ่อนไขซึ่ งได้เพาะปลูกลงไว้นนั้ คงครองที ่ดินจนกว่า จะเสร็ จการเก็บเกี ่ยวโดยใช้เงิ นคานวณตามเกณฑ์ค่าเช่าทีด่ ิ นนัน้ หรื อเจ้าของ ทีด่ ิ นจะเข้าครอบครองในทันทีโดยใช้ค่าทดแทนให้แก่อีกฝ่ ายหนึ่งก็ได้”  ให้ นาเอา ม.๑๓๑๐, ๑๓๑๑ และ ๑๓๑๓ มาใช้ อาทิ สร้ างโกดัง โรงรถ (ถือ เป็ นสิ่งปลูกสร้ าง แต่โรงเรื อนเป็ นที่คนอยู่อาศัย)  ตัวอย่ าง ก ถมที่ดินล ้าเข้ าไปในที่ดน ิ ของ ข โดยไม่ทราบว่าเป็ นที่ดนิ ของ ข คิดว่าเป็ นที่ดนิ ของตัวเอง มีหน้ ากว้ าง ๕๐ เมตร โดยล ้าเข้ าไปลึก ๒ เมตร แล้ วยังทารัว้ กาแพงปูนสูง ๑.๕ เมตรหนา ๑๐ ซม. เป็ นแนวรัว้ ในที่ดนิ ของ ก เอง คิดเป็ นการรุกที่ดนิ ของ ข รวมมากกว่า ๑๐๐ ตร.ม. เมื่อ ข พบการรุกล ้า (โดยรัว้ กาแพงทาให้ ที่ดนิ ของ ข มีราคาลดลงอย่างเห็นได้ ชดั ) ดังนี ้ ถ้ าเราเป็ น ที่ปรึกษา กม.ของ ข จะชี ้ให้ เห็นว่า  สาหรับรัว ้ กาแพงเข้ า ม.๑๓๑๔ ประกอบ ม.๑๓๑๐ กล่าวคือ ข ไม่สามารถ ฟ้องร้ องให้ ก รื อ้ รัว้ ออกไปได้ เพราะรัว้ ตกเป็ นส่วนควบของที่ดนิ ข ดังนัน้ ข ต้ องทุบกาแพงทิ ้งเอง  สาหรับดินที่ ก นามาถมที่โดยสุจริ ต ดินดังกล่าวเป็ นสาระสาคัญความ เป็ นอยู่ของที่ดนิ ตามหลักส่วนควบ ดังนัน้ จึงตกเป็ นส่วนควบของที่ดนิ ข (แม้ ไม่เข้ า ม.๑๓๑๐ หรื อ ม.๑๓๑๑ แต่ก็สามารถใช้ ม.๑๔๔ ว.๒ เจ้ าของ ทรัพย์ประธานเป็ นเจ้ าของส่วนควบด้ วย) ซึง่ หากดินที่ถมทาให้ ข เสียหาย ก็อาจเรี ยกฐานมูลละเมิดได้ แต่ถ้าทาให้ ที่ดนิ ของ ข ดีขึ ้น ดังนี ้ เมื่อ ข เป็ น เจ้ าของดินในฐานะเจ้ าของทรัพย์ประธานเป็ นเจ้ าของส่วนควบ โดยหลัก กม.ทัว่ ไปแล้ ว เมื่อพิจารณา ม.๑๓๑๐ – ม.๑๓๑๗ แล้ ว ข ก็ต้องจ่ายค่า ดินที่ ก ถมที่ให้ ข (เมื่อรับเอาส่วนควบแล้ วก็ต้องจ่ายเงินให้ โดยเป็ นหลัก กม.ทัว่ ไปที่สกัดได้ จาก ม.๑๓๑๐ – ม.๑๓๑๗)

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 38 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

กรณียืมหรื อเช่าทรัพย์ ผู้อื่นมาปลูกในที่ดนิ ตนเอง ไม่เข้ า ม.๑๓๑๕ เพราะไม่เป็ นส่วนควบ / กรณียืมใช้ คงรูปก็ไม่เข้ า ม.๑๓๑๕ เพราะต้ องคืน ในสภาพเดิม อาทิ ไม้ ซุง ยืมมาใช้ เพื่อค ้ายันบ้ าน / กรณียืมใช้ สิ ้นเปลือง อาทิ สังกะสี ดังนี ้ กรรมสิทธิ์ใน สังกะสีโอนเป็ นของเรา แล้ ว ไม่ต้องใช้ ม.๑๓๑๕ (แต่เอาของใหม่ชนิด ประเภทเดียวกันคืน) แนว ฎ. กาหนดว่าถ้ า สร้ างบ้ านติดแนวที่ดนิ ของตนที่มีโฉนด ต้ องมี การรางวัดสอบเขต เพื่อ จะมิให้ อ้างว่าไม่ร้ ู แล้ ว สร้ างสิ่งปลูกสร้ างรุกล ้า ที่ดนิ ผู้อื่น อันอาจให้ เกิด การอ้ างการครอบครอง ปรปั กษ์ตอ่ ไปอีก (ถ้ าไม่ รางวัดสอบเขตเช่นวิญํู ชนทา ถือว่าไม่สจุ ริ ต) เว้ น แต่กรณีที่รัว้ ได้ สร้ างรุกล ้า เข้ าไปแล้ ว แต่อีกฝ่ าย ไม่ได้ มีข้อโต้ แย้ ง ดังนี ้ ก็ สามารถสร้ างบ้ านได้ โดย ไม่ต้องรางวัดและบ้ านก็ ได้ ภาระจายอม

๒) ไปเอาสัมภาระผู้อ่ ืนมาทาในที่เรา ม.๑๓๑๕ (สาหรับ ม.๑๓๑๒ เป็ นเรื่ องการทา คาบเกี่ยวระหว่าง ๒ ที่ดนิ อาทิ โรงเรื อนรุกล ้า) o มาตรา ๑๓๑๕ “บุคคลใดสร้ างโรงเรื อน หรื อทาการก่อสร้ างอย่างอื ่นซึ่ งติ ดที ด ่ ิน หรื อเพาะปลูกต้นไม้หรื อธัญชาติ ในที ่ดินของตนด้วยสัมภาระของผูอ้ ื น่ ท่านว่า บุคคลนัน้ เป็ นเจ้าของสัมภาระแต่ต้องใช้ค่าสัมภาระ” o ค่าสัมภาระ = ค่าใช้ จา่ ยในการสร้ างสิ่งนันลงไป ้ o โดย ม.นี ้ ไม่ต้องคานึงว่าใส่ลงที่ดน ิ ของเราสุจริตหรื อไม่ เมื่อเป็ นดังนี ้ เจ้ าของที่ดิน จึงเป็ นเจ้ าของส่วนควบ แล้ วต้ องจ่ายค่าสัมภาระ (แต่ถ้าเอามารวมแล้ วไม่เป็ น ส่วนควบก็ไม่เข้ า ม.นี ้) โดยมี แนว ฎ.วินิจฉัยว่า ก เช่าโรงสีของ ข มาปลูกในที่ดนิ ของตนเองเป็ นเวลา ๑๐ ปี เมื่อครบสัญญาเช่า ก จะเอาโรงสีของ ข เป็ นของตน ในขณะที่ ข เจ้ าของโรงสีต้องการเอาโรงสีคืน ศาลวินิจฉัยว่า โรงสีไม่เป็ นส่วนควบ ในที่ดนิ ก ดังนี ้ ก ต้ องคืนโรงสีให้ แก่ ข ไป (กรณีนี ้จะอ้ าง ม.๑๓๑๕ แล้ วยินดีจ่าย ค่าสัมภาระ เช่นนี ้ไม่ได้ เว้ นแต่เจ้ าของยินยอมก็สามารถเอา ม.๑๓๑๕ มาใช้ โดย อนุโลมได้ ) ๓) การปลูกโรงเรื อนรุ กลา้ ที่ของผู้อ่ ืน ม.๑๓๑๒ o มาตรา ๑๓๑๒ “บุคคลใดสร้ างโรงเรื อนรุกล้าเข้าไปในที ด ่ ิ นของผูอ้ ื น่ โดยสุจริ ตไซร้ ท่านว่าบุคคลนัน้ เป็ นเจ้าของโรงเรื อนทีส่ ร้างขึ้น แต่ต้องเสี ยเงิ นให้แก่เจ้าของทีด่ ิ น เป็ นค่าใช้ทีด่ ิ นนัน้ และจดทะเบียนสิ ทธิ เป็ นภาระจายอมต่อภายหลังถ้าโรงเรื อน นัน้ สลายไปทัง้ หมด เจ้าของทีด่ ิ นจะเรี ยกให้เพิกถอนการจดทะเบียนเสียก็ได้ ถ้าบุคคลผูส้ ร้ างโรงเรื อนนัน้ กระทาการโดยไม่สจุ ริ ต ท่านว่าเจ้าของที ่ดิน จะเรี ยกให้ผสู้ ร้างรื ้ อถอนไป และทาที ด่ ิ นให้เป็ นตามเดิ มโดยผูส้ ร้างเป็ นผูอ้ อก ค่าใช้จ่ายก็ได้” o โรงเรื อนรุ กล ้าต้ องเป็ นรุ กล ้าเป็ นส่วนน้ อย (และโดยสุจริ ต) แต่โรงเรื อนถ้ ารุกล ้า เป็ นส่วนใหญ่ เข้ า ม.๑๓๑๐ คือ ปลูกโรงเรื อนในที่ดินของผู้อื่น o โรงเรื อนอาจจ้ างใครสร้ างก็ได้ ไม่จาเป็ นต้ องสร้ างเอง โดยถ้ าจะดูวา่ ส่วนที่รุกล ้า เป็ นโรงเรื อนหรื อไม่ พิจารณา “หลักส่วนควบ” คือ ถ้ าไม่ใช่สว่ นควบของโรงเรื อน ก็ไม่ใช่โรงเรื อนลุกล ้า  การติดตังเครื ้ ่ องปรับอากาศรุกล ้าที่ดินผู้อื่น แม้ สว่ นกาแพงที่ตดิ ตัง้ เครื่ องปรับอากาศอยูใ่ นเขตตัวเอง แต่วา่ ตัวเครื่ องปรับอากาศยื่นไปในแดน ของผู้อื่น ศาลตัดสินว่าเครื่ องปรับอากาศไม่ใช่สาระสาคัญความเป็ นอยู่ของ บ้ าน จึงไม่ใช่สว่ นควบของโรงเรื อน  Tank น ้าที่วางบนหลังคาบ้ านในส่วนที่รุกล ้าที่ดน ิ ของผู้อื่น หลังคาเป็ นส่วน ควบกับบ้ าน แต่ Tank น ้าที่ไม่มีการรวมสภาพ คือ Tank ที่วางไว้ เฉยๆ ไม่ยึด

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 39 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การได้ ภาระจายอมได้ เท่าที่ยื่นเข้ าไปในแดน กรรมสิทธิ์ แต่สว่ นบนและ ล่างของหลังคาก็ยงั เป็ น เจ้ าของที่ดินกรรมสิทธิ์อยู่ o

o

ติดก่ออิฐถือปูนไม่เป็ นส่วนควบกับบ้ าน เพราะไม่ใช่สาระสาคัญของความ เป็ นอยู่ของบ้ าน แต่ถ้ามีการรวมสภาพ คือ การก่ออิฐถือปูน เช่นนี ้ Tank น ้า ดังกล่าวก็ถือเป็ นส่วนควบของบ้ าน เมื่อไม่เป็ นส่วนควบก็ไม่ใช่เรื่ องโรงเรื อน รุกล ้า ดังนี ้ แม้ วา่ ทาโดยสุจริ ตก็ต้องเอา Tank น ้าออก แต่ไม่ต้องรื อ้ หลังคา เพราะหลังคาได้ ภาระจายอมจากการใช้ แดนกรรมสิทธิ์เท่าที่หลังคาล ้าไป แต่ แดนกรรมสิทธิ์เหนือและใต้ หลังคาก็ยงั เป็ นแดนกรรมสิทธิ์ของเจ้ าของที่ดนิ อยู่ การนา ม.๑๓๑๒ มาใช้ โดยเทียบเคียง มีแนว ฎ.มาตลอดว่าสามารถทาได้ อย่างไรก็ตาม มีบาง ฎ. ที่บอกว่านาไปใช้ โดยเทียบเคียงไม่ได้ โดยเราต้ อง พิจารณาข้ อเท็จจริงที่อาจมีรายละเอียดที่ตา่ งกัน กล่าวคือ (๑) การสร้ างบ้ านแล้ วจึงมาแบ่งแยกที่ดน ิ แล้ วโอนขายที่ดนิ ไป – อาทิ หมู่บ้าน จัดสรร ซึง่ สร้ างก่อนแบ่งโฉนด ทาให้ บ้านบางส่วนอยูล่ ้าที่ดนิ ของผู้อื่น ไม่ตรงกับโฉนดในที่ดนิ ก่อสร้ าง เมื่อโรงเรื อนรุกล ้าไปในที่ดนิ ผู้อื่น ฎ.จึงให้ นา ม.๑๓๑๒ มาใช้ โดยเทียบเคียง โดยมองว่าขนาดสร้ างโรงเรื อนในที่ดนิ ของ ผู้อื่นโดยสุจริ ตยังได้ รับการคุ้มครอง ดังนัน้ หากมีสิทธิแต่เกิดโรงเรื อนล ้าไป ในที่ดนิ ผู้อื่นก็ยิ่งต้ องได้ รับการคุ้มครอง (แนว ฎ. นี ้เป็ นแนวที่หลายฝ่ ายเห็น ด้ วย) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการซื ้อ townhouse ซึง่ ค่อนข้ างมีปัญหา (๒) เจ้ าของที่ดินสร้ างโรงเรื อนคร่ อมลงไปในที่ดินที่มี ๒ โฉนด ต่อมาจึงเอาที่ดิน ตามแปลงโฉนดหนึง่ ขายให้ ผ้ อู ื่นไป คนที่ซื ้อไปพบว่าโรงเรื อนรุกล ้า ซึง่ ผู้ขาย จะอ้ าง ม.๑๓๑๒ เพื่อถือเอาประโยชน์เพื่อตนโดยเทียบเคียงศาลไม่เห็นด้ วย เนื่องจากเป็ นคูก่ รณีโดยตรง ดังนัน้ เมื่อจะขายที่ให้ ผ้ อู ื่นไป ผู้ขายก็ต้องรื อ้ ถอนออกไปเพื่อไม่ให้ เกิดการรอนสิทธิกบั ผู้ซื ้อ / แต่ถ้าที่ดินเปลี่ยนมือทัง้ ๒ แปลงก็เป็ นเรื่ องที่ต้องพิจารณาว่าศาลฎีกาจะนา ม.๑๓๑๒ มาใช้ โดย เทียบเคียงหรื อไม่ เพราะผู้ซื ้อก็ไม่ร้ ูวา่ มีการรุกล ้า (ปั ญหาเกิดจากการไม่ รางวัดสอบเขต) ซึง่ หากไม่มีการรางวัดสอบเขตก็ถือว่าประมาท ไม่สจุ ริต (ซึง่ เป็ นอีกประเด็นต่างหาก) กรณีแบ่งแยกที่ดิน ศาลไม่ยอมให้ เอา ม.๑๓๑๐ มาใช้ เลย อาทิ ก และ ข เป็ น เจ้ าของรวมในที่ดนิ ต่อมามีการแบ่งแยกที่ดนิ บ้ านของ ก อยู่ที่ดนิ แปลงเหนือแต่ กลับไปเอาที่ดินทางใต้ ส่วน ข ได้ ที่ดินตอนเหนือที่มีบ้านของ ก อยู่ ดังนี ้ ข จึง ฟ้องให้ ก รื อ้ ถอนบ้ านออกไป แต่กลับขอให้ จา่ ยราคาที่ดินที่เพิ่มขึ ้นที่มีบ้านหลัง นัน้ โดยให้ เอา ม.๑๓๑๐ มาใช้ โดยเทียบเคียง กรณีนี ้ ศาลให้ ก รื อ้ บ้ านออกไป ไม่ เอา ม.๑๓๑๐ มาใช้ โดยเทียบเคียง เนื่องจาก ก รู้อยูแ่ ล้ วว่าตนเองมีบ้านอยูใ่ น ที่ดนิ แปลงไหน แล้ วยังไปเลือกเอาที่ดนิ อีกแปลง (โดยหลักวิญํูชนมองว่าไม่ สมเหตุสมผลและไม่เป็ นธรรม) / แต่ถ้าเป็ นการแบ่งแยกที่ดนิ แล้ วหากตกลงการ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 40 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การได้ ส่วนควบหรือสิ่ง ที่คล้ ายคลึงกับส่ วน ควบในสังหาริมทรัพย์

มาตรา ๑๓๑๕ “บุคคลใด สร้างโรงเรื อน หรื อทาการ ก่อสร้างอย่างอื ่นซึ่งติ ด ที ด่ ิ น หรื อเพาะปลูกต้นไม้ หรื อธัญชาติ ในที ่ดินของ ตนด้วยสัมภาระของผู้อืน่ ท่านว่าบุคคลนัน้ เป็ น



ที่จะเอาโรงเรื อนหรื อไม่เอา และจะเอาที่ดนิ แปลงไหนแล้ ว แต่ตกลงราคากันไม่ได้ ศาลก็อาจนา ม.๑๓๑๐ มาใช้ โดยเทียบเคียงได้ การนาสังหาริมทรัพย์หลายเจ้ าของมารวมกัน o มาตรา ๑๓๑๖ “ถ้าเอาสังหาริ มทรัพย์ของบุคคลหลายคนมารวมเข้ากันจนเป็ นส่วน ควบหรื อแบ่งแยกไม่ได้ไซร้ ท่านว่าบุคคลเหล่านัน้ เป็ นเจ้าของรวมแห่งทรัพย์ทีร่ วมเข้า กันแต่ละคนมี ส่วนตามค่าแห่งทรัพย์ของตนในเวลาทีร่ วมเข้ากับทรัพย์อืน่ ถ้าทรัพย์อนั หนึ่งอาจถือได้ว่าเป็ นทรัพย์ประธานไซร้ ท่านว่าเจ้าของทรัพย์นนั้ เป็ นเจ้าของทรัพย์ทีร่ วมเข้ากันแต่ผเู้ ดี ยว แต่ตอ้ งใช้ค่าแห่งทรัพย์อืน่ ๆ ให้แก่เจ้าของ ทรัพย์นนั้ ๆ” o กรณี ม.๑๓๑๖ สรุปได้ ดงั นี ้ (๑) กรณีหาทรัพย์ประธานไม่ได้ ถือว่าสังหาริ มทรัพย์แต่ละอันเป็ นส่วนควบของกัน และกัน – กรณีเอาทองกับเงิน มาผสมกัน แยกออกจากกันไม่ได้ ดังนี ้ จึงเป็ น เจ้ าของรวมตามส่วนแห่งมูลค่าของทรัพย์ โดยใช้ หลัก กม.เรื่ องเจ้ าของรวม / กรณี ข้ าวโอชารสเอาข้ าวเจ้ าผสมข้ าวเหนียว (หน้ า ๒๒๓) ทาให้ ราคาถูกลง เมื่อผสม กันแล้ วไม่เป็ นส่วนควบกัน แม้ จบั แยกกันได้ ก็ลาบากมาก กม.จึงใช้ หลักเหมือน ส่วนควบ คือ ข้ าวกล้ องของ ก ๑๐๐ บาท + ข้ าวขาวของ ข ๑๐๐ บาท จึงเป็ น เจ้ าของรวมตามมูลค่าของข้ าวที่มารวมกัน ถ้ าขายข้ าวได้ ๓๐๐ บาท ก็ต้องเป็ น เจ้ าของกาไรคนละครึ่งเท่าๆ กัน (๒) กรณีหาเจ้ าของทรัพย์ประธานได้ เจ้ าของทรัพย์ประธานก็เป็ นเจ้ าของทรัพย์ที่เป็ น ส่วนควบ และต้ องจ่ายค่าสังหาริมทรัพย์ที่มารวมกับทรัพย์ประธานนันด้ ้ วย – กรณีรถยนต์ ก เช่าซื ้อรถบรรทุกของ ข มา เมื่อเช่าซื ้อมีแต่โครง จึงไปจ้ างช่างทา ตัวถึงรถ ปรากฏว่า ก ขาดส่งค่างวด ข จึงยึดรถไป โดยหลักการเช่าซื ้อ กรรมสิทธิ์ เป็ นของ ข แต่เนื่องจากติดตัวถังรถยนต์ไปด้ วย ซึง่ ตัวถังกลายเป็ นส่ว นควบของ รถยนต์ไปแล้ ว (ไม่เป็ นกรณีที่ ข ลักทรัพย์ตวั ถังรถ ก ไป) ดังนี ้ ศาลจึงหักค่าเสื่อม ราคาตัวถังแล้ วตีราคา โดยให้ ข จ่ายค่าตัวถังในฐานะที่เป็ นส่วนควบของโครงรถ ซึง่ เป็ นทรัพย์ประธาน (ไม่ค่อยออกสอบ) o ข้ อสังเกต กรณีนาสังหาริ มทรัพย์มารวมกันเป็ นสังหาริ มทรัพย์ -- ก เช่าที่ดน ิ ของ ข เป็ น ที่ปลูกบ้ าน โดย ก เอาสัมภาระของ ค ๓๐๐,๐๐๐ บาท และสัมภาระตน ๓๐๐,๐๐๐ บาท โดย ก ลงแรงปลูกเป็ นบ้ าน ซึง่ บ้ านไม่เป็ นส่วนควบในที่ดนิ ของ ข ตาม ม.๑๔๖ ตอนท้ าย ดังนี ้ เราเอา ม.๑๓๑๖ มาใช้ แต่ อ. หลายท่านมองว่า เอาม.๑๓๑๖ มาใช้ กบั อสังหาริมทรัพย์ไม่ได้ (อาทิ อ.บัญญัติ สุชีวะ) (หน้ า ๒๒๘) โดย อ.กิตติศกั ดิม์ องว่า ก คนปลูกและมีสิทธิในที่ดนิ น่าเป็ นเจ้ าของ โดย ก ใช้ คืนสัมภาระ ค โดยเอา ม.๑๓๑๕ มาใช้ โดยเทียบเคียง (ซึง่ เรื่ องนี ้ยังไม่มีขึ ้นศาล อ.วิริยะจึงเห็นว่าจะตอบโดย ม.ไหนก็ได้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 41 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

เจ้าของสัมภาระแต่ตอ้ ง ใช้ค่าสัมภาระ” Summary Topic / Essence ม.๑๓๑๗ เป็ นเรื่ องการ เอาแรง + สัมภาระ กลายเป็ นทรัพย์ใหม่ ขึ ้นมา ทรัพย์ใหม่จะเป็ น ของผู้ใด

การได้ กรรมสิทธิ์มาโดย การครอบครอง

แต่ถ้าเอา ม.๑๓๑๕ มาใช้ ต้องใช้ โดยเทียบเคียงว่าเหมือน ก เป็ นเจ้ าของที่ดนิ / หากใช้ ม.๑๓๑๖ ก็นามาใช้ โดยตรงได้ ) Record / Note on 2010-01-18  มาตรา ๑๓๑๗ “บุคคลใดใช้สม ั ภาระของบุคคลอื ่นทาสิ่ งใดขึ้นใหม่ไซร้ ท่านว่าเจ้าของ สัมภาระเป็ นเจ้าของสิ่ งนัน้ โดยมิ ตอ้ งคานึงว่าสัมภาระนัน้ จะกลับคืนตามเดิ มได้หรื อไม่ แต่ต้องใช้ค่าแรงงาน แต่ถา้ ค่าแรงงานเกิ นกว่าค่าสัมภาระที ใ่ ช้นนั้ มากไซร้ ท่านว่าผูท้ าเป็ นเจ้าของทรัพย์ที่ ทาขึ้น แต่ต้องใช้ค่าสัมภาระ”  หลัก – แรง + สัมภาระ = ทรัพย์ใหม่ ผลคือ เจ้ าของสัมภาระเป็ นเจ้ าของ แต่ต้องจ่าย ค่าแรง  ยกเว้ น – ค่าแรงมากกว่าค่าสัมภาระมาก ผลคือ ผู้ทาได้ เป็ นเจ้ าของทรัพย์ แต่ต้องจ่าย ค่าสัมภาระ (ทัง้ นี ้ ค่าแรงมากกว่ามาก คือ ค่าแรงทีเ่ กิ นค่าสัมภาระมากกว่า ๒ เท่าขึ้นไป / ถ้ามากกว่าเท่าหนึ่งถื อเป็ นมากกว่าธรรมดา) โดยกรณีคา่ แรงมากกว่าค่าสัมภาระมากๆ แสดงให้ เห็นถึงความสาคัญของฝี มือว่าเป็ นทรัพย์ ที่ต้องใช้ ฝีมือจริงๆ  ตัวอย่างข้ อสอบ o กรณี การยื มไม้มาแกะสลัก -- ไม่วา่ จะแกะสลักแล้ วขายไปในราคาเท่าใด ไม่ใช่เรื่ อง ม.๑๓๑๗ แต่เป็ นสัญญายืมใช้ สิ ้นเปลือง ซึง่ เมื่อยืมแล้ วกรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ยืม เนื่องจากรู้อยูแ่ ล้ วจะไม่คืนไม้ ในสภาพเดิมแต่จะหาไม้ คณ ุ สมบัตใิ กล้ เคียงมาคืน ซึง่ หากหามาคืนไม่ได้ ก็ต้องใช้ ราคา o การเชื ่อมโยงกับบุคคลที ส ่ าม – ข ขโมยเอาองุ่นจาก ก ราคา ๑,๐๐๐ บาท เอาไปรวม กับองุ่นของ ก ราคา ๑,๐๐๐ บาท นาไปทาโยเกิร์ตขาย ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อมา ค ซื ้อไป เป็ นเงิน ๑๐,๐๐๐ บาทโดยไม่สจุ ริต แล้ ว ค ไปขายให้ ง ราคา ๑๒,๐๐๐ บาทโดยไม่ สุจริต เราต้ องพิจารณาก่อนว่าโยเกิร์ตเป็ นของใครโดยใช้ ม.๑๓๑๗ มาพิจารณาว่า โยเกิร์ตเป็ นของใคร ซึง่ กรรมสิทธิ์ในโยเกิร์ตเป็ นของ ข ดังนี ้ ก ไม่มีสิทธิติดตามเอา โยเกิร์ตคืนมาจาก ค หรื อ ง ได้ การได้ กรรมสิทธิ์มาโดยการครอบครอง เป็ นเรื่ อง ม.๑๓๑๘ – ๑๓๒๒  มาตรา ๑๓๑๘ “บุคคลอาจได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ แห่งสังหาริ มทรัพย์ อน ั ไม่มีเจ้าของโดยเข้า ถือเอา เว้นแต่การเข้าถื อเอานัน้ ต้องห้ามตามกฎหมายหรื อฝ่ าฝื นสิ ทธิ ของบุคคลอืน่ ทีจ่ ะ เข้าถือเอาสังหาริ มทรัพย์นนั้ ” o เป็ น กม.ยุคแรกๆ ที่เกิดจากเหตุผลง่ายๆ คือ ทรัพย์ที่ไม่มีเจ้ าของ เมื่อใครหยิบถือเอา หรื อครอบครองอย่างมีเจตนาเป็ นเจ้ าของ ก็ถือว่าได้ เป็ นเจ้ าของทรัพย์นนั ้ โดยมี ข้ อยกเว้ น โดยเว้ นแต่ กม.ห้ าม อาทิ ช้ างเผือก (ซึง่ ถือเป็ นของแผ่นดิน) หรื อสัตว์สงวน

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 42 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

o

แม้ ถือเอาก็ไม่ได้ กรรมสิทธิ์ / กรณีรังนก โดยหลักรังนกไม่มีเจ้ าของ คนที่ได้ สมั ปทาน เมื่อเข้ ายึดถือก็มีสิทธิได้ รังนกนันๆ ้ ก่อน (หากยังไม่เข้ ายึดถือก็ยงั ไม่มีสิทธิ ) ดังนัน้ เมื่อ ชาวบ้ านขโมยเอารังนกที่เจ้ าของสัมปทานยังไม่เข้ ายึดถือ (ซึง่ ยังไม่ได้ กรรมสิทธิ์) ก็ไม่ เป็ นการลักทรัพย์ (ดาเนินคดีอาญาฐานลักทรัพย์ไม่ได้ ) แต่เป็ นเพียงการละเมิด ม.๑๓๑๘ ขยายความตาม ม.๑๓๑๙ และ ๑๓๒๐

 มาตรา ๑๓๑๙ “ถ้าเจ้าของสังหาริ มทรัพย์เลิ กครอบครองทรัพย์ ดว้ ยเจตนาสละกรรมสิ ทธิ์ ไซร้ ท่านว่า

สังหาริ มทรัพย์นนั้ ไม่มีเจ้าของ”  มาตรา ๑๓๒๐ “ภายในบังคับแห่งกฎหมายเฉพาะและกฎข้อบังคับในเรื ่องนัน้ ท่านว่าสัตว์ป่าไม่มี เจ้าของตราบเท่าทีย่ งั อยู่อิสระ สัตว์ป่าในสวนสัตว์และปลาในบ่อ หรื อในทีน่ ้าซึ่งเจ้าของกัน้ ไว้นนั้ ท่านว่าไม่ใช่สตั ว์ไม่มีเจ้าของ สัตว์ป่าทีค่ นจับได้นนั้ ถ้ามันกลับคืนอิ สระและเจ้าของไม่ติดตามโดยพลันหรื อเลิ กติ ดตามเสีย แล้ว ฉะนีท้ ่านว่าไม่มีเจ้าของ สัตว์ซึ่งเลีย้ งเชื ่องแล้ว ถ้ามันทิ้ งทีไ่ ปเลย ท่านว่าไม่มีเจ้าของ”  มาตรา ๑๓๒๑ “ภายในบังคับแห่งกฎหมายเฉพาะและกฎข้อบังคับในเรื ่องนัน้ ผูใ้ ดจับสัตว์ป่าได้ในที ่ รกร้างว่างเปล่าหรื อในทีน่ ้าสาธารณะก็ดี หรื อจับได้ในทีด่ ิ น หรื อทีน่ ้ามี เจ้าของโดยเจ้าของมิ ได้แสดง ความหวงห้ามก็ดี ท่านว่าผูน้ นั้ เป็ นเจ้าของสัตว์” 

ทรัพย์สินหาย ม.๑๓๒๓ – ม.๑๓๒๕ (นานๆ ออกข้อสอบ ครั้งนึง) หน้ า ๒๓๓



มาตรา ๑๓๒๒ “บุคคลใดทาให้สตั ว์ป่าบาดเจ็บแล้วติ ดตามไปและบุคคลอืน่ จับสัตว์นนั้ ได้ก็ดี หรื อสัตว์นนั้ ตายลงในทีด่ ิ นของบุคคลอืน่ ก็ดีท่านว่าบุคคลแรกเป็ นเจ้าของสัตว์ ” o เป็ น กม. ถืออยูใ่ นยุคที่ ๒ คือ กม.ของนัก กม. โดยเราต้ องตีความคาว่า “บาดเจ็บ” ว่า เป็ นการบาดเจ็บขนาดเสื่อมสมรรถภาพในการหนี เป็ นการตีความและอธิบายความ ซึง่ ชาวบ้ านธรรมดาไม่สามารถเข้ าใจได้ และอาจตีความผิด มาตรา ๑๓๒๓ “บุคคลเก็บได้ซึ่งทรัพย์สินหาย ต้องทาอย่างหนึ่งอย่างใดดัง่ ต่อไปนี ้ (๑) ส่งมอบทรัพย์ สินนัน ้ แก่ผขู้ องหายหรื อเจ้าของ หรื อบุคคลอื น่ ผูม้ ี สิทธิ จะรับ ทรัพย์สินนัน้ หรื อ (๒) แจ้งแก่ผข ู้ องหายหรื อเจ้าของ หรื อบุคคลอื ่นผูม้ ี สิทธิ จะรับทรัพย์สินนัน้ โดยมิ ชักช้า หรื อ (๓) ส่งมอบทรัพย์ สินนัน ้ แก่เจ้าพนักงานตารวจ หรื อพนักงานเจ้าหน้าที ่อืน่ ภายใน สามวันและแจ้งพฤติ การณ์ตามทีท่ ราบอันอาจเป็ นเครื ่องช่วยในการสืบหาตัว บุคคลผูม้ ี สิทธิ จะรับทรัพย์สินนัน้ แต่ถา้ ไม่ทราบตัวผูข้ องหาย เจ้าของ หรื อบุคคลอื น่ ผูม้ ี สิทธิ จะรับทรัพย์สินก็ดี หรื อ บุคคลดัง่ ระบุนนั้ ไม่รับมอบทรัพย์สินก็ดี ท่านให้ดาเนิ นการตามวิ ธีอนั บัญญัติไว้ใน อนุมาตรา (๓) ทัง้ นี ้ ท่านว่าผูเ้ ก็บได้ซึ่งทรัพย์สินหายต้องรักษาทรัพย์สินนัน้ ไว้ดว้ ยความระมัดระวัง อันสมควรจนกว่าจะส่งมอบ” o ตกในห้ างในปั๊ มน ้ามันเป็ นทรัพย์สินหาย / แต่ของตกในโรงงานหรื อบ้ านเพื่อนไม่ใช่

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 43 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)





บทที่ ๙ การได้ กรรมสิทธิ์ไปตาม หลักคุ้มครอง บุคคลภายนอก (๖ มาตราเรื่ องนี้ ออกสอบทุกครั้ ง) มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ทรัพย์เปลี่ยนมือได้ อย่าง รวดเร็ว อันจะส่งผลให้ เกิดการเพิ่มมูลค่าทาง





ทรัพย์สินหาย (โดยพิจารณาว่า หากเจ้ าของไม่มีทางมาเอาคืนได้ อย่างง่ายๆ ถือเป็ น กรณีทรัพย์สินหาย) o ผู้เก็บทรัพย์สินหายได้ ต้องดาเนินการตาม (๑) - (๓) โดยการแจ้ งนันให้ ้ ตีความรวมถึง ผู้จดั การงานนอกสัง่ และใช้ ประเพณีตีความด้ วย อาทิ จ.ส.๑๐๐ ซึง่ เป็ นที่ยอมรับกัน โดยทัว่ ไป ซึง่ จะถือว่าได้ ปฏิบตั ติ าม (๑) และ (๒) แล้ ว สาหรับกรณี (๓) “พนักงาน เจ้ าหน้ าที่อื่น” รวมถึง นายอาเภอ ผู้ใหญ่บ้าน o ผู้เก็บทรัพย์สินหายได้ และดาเนินการตาม ม.๑๓๒๓ จะได้ รับสิทธิตาม ม.๑๓๒๔ มาตรา ๑๓๒๔ “ผูเ้ ก็บได้ซึ่งทรัพย์สินหาย อาจเรี ยกร้ องเอารางวัลจากบุคคลผูม้ ี สิทธิ จะรับ ทรัพย์สินนัน้ เป็ นจานวนร้อยละสิ บแห่งค่าทรัพย์สินภายในราคาสามหมื ่นบาทและถ้า ราคาสูงกว่านัน้ ขึ้ นไปให้คิดให้อีกร้ อยละห้าในจานวนที เ่ พิ่ มขึ้น แต่ถา้ ผูเ้ ก็บได้ซึ่งทรัพย์ สิน หายได้ส่งมอบทรัพย์สินแก่เจ้าพนักงานตารวจหรื อพนักงานเจ้าหน้าที ่อืน่ ให้เสียเงิ นอี ก ร้อยละสองครึ่ งแห่งค่าทรัพย์สินเป็ นค่าธรรมเนียมแก่ทบวงการนัน้ ๆ เพิ่มขึ้นเป็ นส่วนหนึ่ง ต่างหากจากรางวัลซึ่ งให้แก่ผเู้ ก็บได้แต่ค่าธรรมเนี ยมนี ใ้ ห้จากัดไว้ไม่เกิ นหนึ่งพันบาท ถ้าผูเ้ ก็บได้ซึ่งทรัพย์สินหายมิ ได้ปฏิ บตั ิ ตามบทบัญญัติในมาตราก่อนไซร้ท่านว่า ผูน้ นั้ ไม่มีสิทธิ จะรับรางวัล มาตรา ๑๓๒๕ “ถ้าผูเ้ ก็บได้ซึ่งทรัพย์สินหายได้ปฏิ บตั ิ ตามบทบัญญัติมาตรา ๑๓๒๓ แล้ว และผูม้ ี สิทธิ จะรับทรัพย์สินนัน้ มิ ได้เรี ยกเอาภายในหนึ่งปี นับแต่วนั ที เ่ ก็บได้ไซร้ ท่านว่า กรรมสิ ทธิ์ ตกแก่ผเู้ ก็บได้ แต่ถา้ ทรัพย์สินซึ่ งไม่มีผเู้ รี ยกเอานัน้ เป็ นโบราณวัตถุไซร้ กรรมสิ ทธิ์ แห่งทรัพย์สินนัน้ ตกแก่แผ่นดิ น แต่ผเู้ ก็บได้มีสิทธิ จะได้รับรางวัลร้ อยละสิ บแห่งค่าทรัพย์สินนัน้ ” o เมื่อปฏิบต ั ติ าม ม.๑๓๒๓ แล้ วหากไม่มีคนมารับทรัพย์สินหายคืนใน ๑ ปี ทรัพย์สินนัน้ ตกเป็ นกรรมสิทธิ์ของผู้เก็บได้ การได้ กรรมสิทธิ์ไปตามหลักคุ้มครองบุคคลภายนอก – เป็ นกรณีที่บคุ คลภายนอกได้ ทรัพย์สินไปจากผู้ไม่มีกรรมสิทธิ์ โดยหลัก ต้ องคืนเจ้ าของ / แต่มีเหตุผลบางประการที่ กม.คุ้มครอง ซึง่ ถือเป็ นหลักที่ยกเว้ น ม.๑๓๓๖ (เจ้ าของย่อมมีสิทธิติดตามเอาทรัพย์คืน จากผู้ที่ยึดถือโดยมิชอบ) หลักทัว่ ไปที่เกี่ยวข้ องกับการคุ้มครองบุคคลภายนอก ได้ แก่ o หลักความศักดิ์ สิทธิ์ ของทะเบี ยน -- ถ้ าเป็ นทรัพย์ที่มีทะเบียนก็จะมีเรื่ องหลักความ ศักดิส์ ิทธิ์ของทะเบียน ตาม ม.๑๒๙๙ ว.๒ ซึง่ ผู้ได้ รับทางทะเบียนไปโดยสุจริตเสีย ค่าตอบแทน แม้ จะไม่ได้ รับโอนไปจากเจ้ าของ กม.ก็ค้ มุ ครองให้ ได้ กรรมสิทธิ์ o หลักความศักดิ์ สิทธิ์ ของการครอบครอบ – ม.๑๓๐๓ ว.๑ โดยถ้ ามีการเถียงกันเรื่ อง การครอบครอง ผู้ครอบครองโดยสุจริ ต(และเสียค่าตอบแทน)เป็ นเจ้ าของ o หลักคุม ้ ครองผูท้ ี ซ่ ื ้อไปจากพ่อค้า/การขายทอดตลาดไปโดยสุจริ ต – ม.๑๓๓๒ ซึง่

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 44 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

เศรษฐกิจและส่งเสริมการ ค้ าขาย

เกิดขึ ้นภายหลังเพื่อส่งเสริมการค้ าขายการลงทุน o นอกจากนัน้ ยังมีหลักคุ้มครองเฉพาะ ตาม ม.๑๓๒๙ – ๑๓๓๑ ซึง่ เวลาเราใช้ กม.เรา ต้ องดูหลัก กม.เฉพาะก่อน เมื่อไม่เข้ า ม.๑๓๒๙ – ๑๓๓๑ แล้ วจึงไปดูหลัก กม.ทัว่ ไป (หน้ า ๒๔๔) o การตอบข้ อสอบ กรณีทรัพย์ที่ถก ู ขโมยมา เมื่อไม่เข้ าหลักคุ้มครองบุคคลภายนอก คือ ม.๑๓๐๓ ว.๑ หรื อ ม.๑๓๓๒ ต้ องอธิบายว่าเพราะเหตุใด – เมื่อไม่เข้ าตามหลักทัว่ ไป ก็เข้ าหลักผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน ทาให้ เจ้ าของทรัพย์สามารถติดตามเอาทรัพย์ คืนได้ ตาม ม.๑๓๓๖ และหากมีเรื่ องเวลาก็ต้องวินิจฉัยประเด็นเรื่ องการครอบครอง ปรปั กษ์ด้วย หลักการคุ้มครอง หลักทั่วไปการคุ้มครองกรรมสิทธิ์บุคคลภายนอก -- ผู้ที่มาซื ้อทางทะเบียนต้ องเข้ า กรรมสิทธิ์บคุ คลภายนอก หลักเกณฑ์ ๓ ข้ อ จึงจะได้ รับการคุ้มครอง ได้ แก่ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (๑) ต้ องไปไปทางทะเบียนอย่างถูกต้ องโดยชอบด้ วย กม. (๒) จดทะเบียนได้ ไปโดยสุจริ ต (๓) เสียค่าตอบแทน ์ ิทธิ์ของทะเบียน  หลักความศักดิส o มาตรา ๑๒๙๙ ว.๒ “ถ้ามี ผไู้ ด้มาซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์ หรื อทรัพยสิ ทธิ อน ั เกี ่ยวกับ อสังหาริ มทรัพย์ โดยทางอื น่ นอกจากนิ ติกรรม สิ ทธิ ของผูไ้ ด้มานัน้ ถ้ายังมิ ได้จด ทะเบียนไซร้ ท่านว่าจะมี การเปลีย่ นแปลงทางทะเบียนไม่ได้ และสิ ทธิ อนั ยังมิ ได้จด ทะเบี ยนนัน้ มิ ให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยเสี ยค่าตอบแทน และโดยสุจริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุจริ ตแล้ว” o หากยังไม่มีการแก้ ไขทางทะเบียน กรรมสิทธิ์ก็มีข้อจากัด คือ  ยกขึ ้นต่อสู้บค ุ คลภายนอกที่ได้ ทรัพย์มาโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทนไม่ได้  สิทธิของผู้ครอบครองปกปั กษ์ หากยังไม่ได้ จดทะเบียน ก็จะไปโอนให้ ผ้ อ ู ื่นทาง ทะเบียนหรื อไปจดสิทธิอื่นๆ อาทิ สิทธิเก็บกิน หรื อสิทธิอาศัยทางทะเบียนไม่ได้ o ตัวอย่ าง กรณีได้ ไปทางทะเบียนไม่ถก ู ต้ องตาม กม. -- ก เป็ นเจ้ าของที่ดนิ มอบให้ ข ดูแลที่ดนิ ดังกล่าว โดย ข ปลอมโฉนดและใบมอบอานาจนาที่ดินไปขายให้ กบั ค แม้ วา่ ค จะซื ้อที่ดนิ ดังกล่าวไปสุจริตและเสียค่าตอบแทน แต่การจดทะเบียนระหว่าง ข และ ค ไม่ชอบ คือ ใบมอบอานาจหรื อโฉนดปลอม ทาให้ สญ ั ญาเป็ นโมฆะ ดังนี ้ เมื่อทะเบียนไม่ชอบ กม.ก็ไม่ค้ มุ ครอง ค จะอ้ าง ม.๑๒๙๙ ว.๒ ไม่ได้ แต่ต้องไปอาศัย หลัก กม.อื่น คือ เรื่ องการครอบครองปรปั กษ์ กล่าวคือ เมื่อสุจริตและเสียค่าตอบแทน ก็เริ่มมีการครอบครองปรปั กษ์ แต่หาก ค ไม่สจุ ริ ตหรื อไม่เสียค่าตอบแทนก็ไม่เป็ นการ ครอบครองปรปั กษ์ แต่เป็ นการเข้ าไปยึดถือแทน ซึง่ เจ้ าของสามารถติดตามเอาคืนได้ (แต่หากเป็ น น.ส.๓ ก็จะใช้ กม.คนละหลักกัน เนื่องจาก น.ส.๓ ไม่ถือว่ามีการแย่งการ คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 45 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

o

Summary Topic / Essence ม.๑๒๙๙ ว.๒ (ต่อ) กรณีที่ใช้ หลัก บุคคลภายนอก ตาม ม.๑๒๙๙ ว.๒ ก็ตอ่ เมื่อ ได้ รับโอนมาจากผู้ไม่มี สิทธิเท่านัน้







กรณีการคุ้มครอง บุคคลภายนอกที่เกี่ยวกับ สังหาริมทรัพย์ ม.๑๓๐๓



ครอบครอง แต่ถือเป็ นการยึดถือแทนทังหมด) ้ หลัก กม.ทัว่ ไป (เป็ นหลักที่ศาลสร้ างขึ ้นมาเอง) – ใช้ กรณีการปลอมใบมอบอานาจ แต่ลายเซ็นถูกต้ อง คือ ก เซ็นใบมอบอานาจโดยไม่ได้ เซ็นบอกว่าให้ ข ไปทาอะไร โดย ก ตังใจให้ ้ เอาที่ดนิ ไปจานองประกันหนี ้เงินกู้ โดยเซ็นชื่อไม่กรอกข้ อความ แล้ ว ข ไป กรอก ว่ามอบอานาจให้ ขาย เมื่อ ค ซื ้อโดยสุจริ ตและเสียค่าตอบแทน กรณีนี ้แม้ จะ เอา ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาใช้ ไม่ได้ ก็ตาม แต่ศาลก็ค้ มุ ครอง ค โดย “หลักสุจริ ตด้ วยกัน ผู้ประมาทเลินเล่อย่อมเสียเปรี ยบ” (เป็ นหลัก กม.อังกฤษ) โดยถือว่า ก ประมาท เลินเล่ออย่างร้ ายแรง เมื่อทัง้ ก และ ค สุจริตทังคู ้ ่ กม.จึงคุ้มครอง ค

Record / Note on 2010-01-25 หลักสุจริต – ต้ องดูวา่ รู้หรื อไม่ร้ ู ถ้ าไม่ร้ ูก็สจุ ริ ต / กรณีประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง อาทิ ไปดูที่ดนิ แล้ วเห็นว่ามีผ้ คู รอบครองอยู่แต่ไม่ถาม เป็ นประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง ถือว่า ไม่สจุ ริต / การซื ้อขายที่ดนิ ไม่จาเป็ นต้ องไปดูที่ดิน ดูแค่ทะเบียนก็ถือว่าสุจริตแล้ ว ตาม หลักวิญํูชน การเสียค่าตอบแทน – จะเป็ นตัวเงินหรื อเป็ นสิ่งมีคา่ อย่างอื่นก็ได้ อาทิ ยกที่ดนิ ให้ ลกู แต่ ลูกจดสิทธิอาศัยให้ พอ่ ถือว่าเสียค่าตอบแทน เพราะพ่อได้ สิทธิอาศัยที่เป็ นทรัพยสิทธิไป / อย่างไรก็ตาม ค่าตอบแทนที่น้อยมากก็ถือว่าไม่สจุ ริตได้ (ม.ร.ว. เสนีย์ฯ) / กรณีการ แลกเปลี่ยนก็ให้ ใช้ กม.ซื ้อขายมาใช้ โดยอนุโลม (ถือเป็ นการเสียค่าตอบแทน) เมื่อครบทัง้ ๓ ประการแล้ ว หากได้ โดยทางอื่นโดยไม่จดทะเบียน จะใช้ ยนั กับ บุคคลภายนอกผู้รับโอนถูกต้ องทางทะเบียน สุจริต และเสียค่าตอบแทน ไม่ได้ กรณีการคุ้มครองบุคคลภายนอกที่เกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ -- หลักการใหญ่ๆ คล้ ายกับ ม.๑๒๙๙ ว.๒ โดยดูวา่ ยึดอะไรเป็ นหลัก o สังหาริ มทรัพย์มีทะเบียน -- ใช้ หลักเดียวกับอสังหาริ มทรัพย์ ตาม ม.๑๓๐๒ o สังหาริ มทรัพย์ไม่มีทะเบียน -- ใช้ ม.๑๓๐๓ และ ม.๑๓๓๒ โดยต้ องใช้ ม.๑๓๐๓ ก่อน หากไม่เข้ า จึงไปดู ม.๑๓๓๒  มาตรา ๑๓๐๓ “ถ้าบุคคลหลายคนเรี ยกเอาสังหาริ มทรัพย์ เดี ยวกันโดยอาศัยหลัก กรรมสิ ทธิ์ ต่างกันไซร้ ท่านว่าทรัพย์สินตกอยู่ในครอบครองของบุคคลใด บุคคลนัน้ มี สิทธิ ยิ่งกว่าบุคคลอืน่ ๆ แต่ตอ้ งได้ทรัพย์นนั้ มาโดยมี ค่าตอบแทนและได้การ ครอบครองโดยสุจริ ต ท่านมิ ให้ใช้มาตรานี ้บงั คับถึงสังหาริ มทรัพย์ซึ่งระบุไว้ในมาตราก่อนและใน เรื ่องทรัพย์สินหาย กับทรัพย์สินทีไ่ ด้มาโดยการกระทาผิ ด”  ว.๑ -- การครอบครองโดยสุจริ ต ได้ รับการสันนิษฐานว่าเป็ นเจ้ าของ ดังนัน ้ ใคร ได้ กรรมสิทธิ์มาโดยไม่ได้ การครอบครองมาด้ วย ก็จะมีข้อจากัด (เช่นเดียวกับ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 46 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

อ.วิริยะ เห็นด้ วยกับการ ตีความ ม.๑๓๐๓ ว.๒ อย่างแคบ ซึง่ จะทาให้ มี โอกาสใช้ ม.๑๓๐๓ ว.๑ อย่างกว้ างขวางมาก ยิ่งขึ ้น มิฉะนันก็ ้ จะมี โอกาสได้ ใช้ น้อยมาก (เมื่อมีการส่งผ่านการ ครอบครองโดยไม่ได้ สมัครใจก็จะไม่ได้ รับการ คุ้มครอง เช่นเดียวกับ การได้ ไปทางทะเบียนโดย มิชอบ ก็จะไม่ได้ รับความ คุ้มครอง) 

ม.๑๓๐๓ คุ้มครอง มากกว่า ม.๑๓๓๒ กรณีการใช้ ม.๑๓๓๒ ต้ องเป็ นทรัพย์ที่ได้ มาจาก การกระทาความผิด คือ ได้ มาจากเจ้ าของโดยไม่ สมัครใจ -- โดย ม.๑๓๓๒ จะคุ้มครองผู้ที่มีทรัพย์อยู่ ในการครอบครอง

การครอบครองปกปั กษ์ โดยไม่มีทะเบียน) คือ ยกขึ ้นต่อสู้บคุ คลภายนอกที่ได้ ครอบครอง สุจริ ต และเสียค่าตอบแทนไม่ได้  ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของนาฬิกา ข ตกลงซื ้อนาฬิกาจาก ก แต่จา ่ ยเงินแล้ ว แต่ ยังไม่ได้ รับนาฬิกาไป ต่อมา ค มาซื ้อนาฬิกาเรื อนเดียวกัน โดยหลัก สัญญาซื ้อ ขาย กรรมสิทธิ์โอนจาก ก มายัง ข แล้ ว ตาม ม.๔๕๘ ดังนัน้ ก มีหน้ าที่ต้องส่ง มอบนาฬิกา (ก ไม่ได้ เป็ นเจ้ าของแล้ ว) อย่างไรก็ตาม เมื่อ ค เสียค่าตอบแทน โดยสุจริ ตและมีการส่งมอบแล้ ว ค ก็มีสิทธิดีกว่า / แต่หากได้ การครอบครองมา โดยไม่ชอบก็เอา ม.๑๓๐๓ มาใช้ บงั คับไม่ได้  ว.๒ -- หากเป็ นการครอบครองที่ได้ มาโดยไม่ชอบ คือ ไม่ได้ สมัครใจส่งผ่านการ ครอบครองให้ อาจเป็ นการขโมยมาหรื อเก็บของได้ ฉ้ อโกง กรรโชก ถือว่าได้ การ ครอบครองมาโดยไม่ชอบ (โดยแม้ กม.ไม่ได้ เขียนไว้ แต่เราเอามาจาก กม. ฝรั่งเศส อ.จิตติ บอกว่าต้ องตีความอย่างแคบ โดยเพิ่มคาว่า “การครอบครอง” คือ “กับทรัพย์สินทีไ่ ด้การครอบครองมาโดยการกระทาผิ ด” ซึง่ รวมถึงกรณี การยักยอกด้ วย)  ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของเครื่ องตัดผม ข มาเช่าไป แล้ วขายให้ ค โดยสุจริ ต เสีย ค่าตอบแทน ได้ การครอบครองไป ดังนี ้ ก จะมาเอาคืนโดยอ้ าง ม.๑๓๓๖ แต่ ก อ้ าง ม.๑๓๐๓ ว.๑ ในขณะที่ ค อ้ างว่าเป็ น ม.๑๓๐๓ ว.๒ – ฎ. ตัดสินให้ ก ชนะ เนื่องจาก ฎ.ตีความ ม.๑๓๐๓ ว.๒ อย่างกว้ าง อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก เป็ นทรัพย์ที่ได้ มาจากการกระทาความผิด (ซึง่ ในทางวิชาการไม่เห็นด้ วยกับ ฎ. โดยมองว่าควรคุ้มครอง ค โดย ก ต้ องไปเอาเรื่ อง ข ตามหลักสัญญาเช่าทรัพย์ เมื่อผู้เช่าคืนไม่ได้ ก็ต้องชดใช้ คา่ เสียหาย มิใช่มาเอาจากผู้สจุ ริต) มาตรา ๑๓๓๒ “บุคคลผูซ้ ื ้อทรัพย์สินมาโดยสุจริ ตในการขายทอดตลาดหรื อใน ท้องตลาด หรื อจากพ่อค้าซึ่งขายของชนิ ดนัน้ ไม่จาต้องคื นให้แก่เจ้าของแท้จริ ง เว้นแต่เจ้าของจะชดใช้ราคาทีซ่ ื ้อมา”  คุ้มครองกรณีการได้ ไปโดยทะเบียน/โดยการครอบครองไปโดยไม่ชอบ เมื่อมี คนมาซื ้อไปโดยสุจริ ตและเสียค่าตอบแทนก็จะได้ รับความคุ้มครองไปหากซื ้อ จากการขายทอดตลาดหรื อจากพ่อค้ าที่ขายของชนิดนัน้ เพื่อให้ การค้ าขาย เป็ นไปอย่างคล่องตัว -- โดยจะดูวา่ คุ้มครองตาม ม.๑๓๐๓ ว.๑ หรื อ ๑๓๓๒ ก็ดตู ามเรื่ องไป โดย ม.๑๓๐๓ ให้ กรรมสิทธิ์ไปโดยไม่มีเงื่อนไข แต่ ม.๑๓๓๒ ได้ กรรมสิทธิ์ไปโดยมีเงื่อนไขว่าเจ้ าของเดิมอาจมาจ่ายเงินแล้ วเอาของคืนไปได้  อธิ บายคาจากตัวบท  ซื ้อ – คือ เอาเงินไปแลกกรรมสิทธิ์ (ถ้ าเอาทรัพย์สินไปแลกกรรมสิทธิ์ เป็ น การแลกเปลี่ยน ไม่ใช่การซื ้อ) นอกจากนัน้ ซื ้อยังรวมถึงการเช่าซื ้อที่จา่ ย

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 47 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ค่างวดครบถ้ วนแล้ ว และยังรวมถึงเอาของแลกของแล้ วเพิ่มเงิน  ทรัพย์สิน – เห็นว่าควรตีความอย่างกว้ างให้ รวมถึงสังหาริ มทรัพย์และ อสังหาริมทรัพย์หาทุกชนิด (ตัวอย่างหน้ า ๒๖๒)  โดยสุจริ ต – ไม่ร้ ู วา ่ เป็ นของที่ขโมยมาหรื อเก็บได้ มาเป็ นทรัพย์สญ ู หาย นอกจากนัน้ ยังต้ องซื ้อในที่เปิ ดเผย ไม่ใช่แอบซื ้อ เป็ นการซื ้อโดยเปิ ดซื ้อขาย ตามปกติ  การขายทอดตลาด – ตาม ม.นี ้เป็ นการขายทอดตลาดโดยเอกชน ถ้ าซื ้อของ จากการขายทอดตลาด แม้ ว่าจะขโมยมาหรื อสูญหายก็จะได้ รับความ คุ้มครอง ตาม ม.๑๓๓๒ (หากเป็ นการขายทอดตลาดตามคาสัง่ ศาล จะใช้ ม.๑๓๓๐)  ในท้ องตลาด – เป็ นตลาดที่ขายของประเภทนันๆ ้ เป็ นปกติ อาทิ การซื ้อปื นที่ จตุจกั รไม่เป็ นการซื ้อของจากท้ องตลาด / ซื ้อหวยต้ องไปซื ้อหน้ าสานักงาน สลากกินแบ่ง  พ่อค้ าที่ขายสินค้ าชนิดนันๆ ้ -- เช่น พ่อค้ าขาย ล๊ อตเตอรรี่ โดยปกติไม่ได้ ขาย สร้ อยทองคา หากเราซื ้อสร้ อยมาก็ไม่ได้ รับความคุ้มครอง เจ้ าของสามารถ ติดตามเอาคืนได้ ตาม ม.๑๓๓๖ โดยไม่ต้องชดใช้ ราคา (จะเสนอให้ มีการ ชดใช้ ราคาเมื่อเข้ า ม.๑๓๓๒)  การซื ้อมาจากการขายทอดตลาด ม.๑๓๓๒ กับกรรมสิทธิ์  กม.ฝรั่งเศส – ผู้ซื ้อไม่ได้ รับกรรมสิทธิ์ ได้ เพียงสิทธิยด ึ หน่วง เว้ นแต่เจ้ าของ ไม่มาเอาคืนภายใน ๓ ปี – โดย มี กม.คล้ ายกับ ม.๑๓๗๒ ทาให้ สามารถใช้ สอยทรัพย์สินได้  กม.อังกฤษ – ใช้ กบ ั ทังสั ้ งหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ / คุ้มครองผู้ซื ้อ ให้ ได้ รับกรรมสิทธิ์ โดยถือว่าแม้ แต่ของที่ขโมยมา ผู้ซื ้อก็ได้ กรรมสิทธิ์ แต่ถ้า เจ้ าของต้ องการเอาคืนก็จา่ ยราคา  แนว ฎ. – ผู้ซื ้อได้ กรรมสิทธิ์ -- ต่างกับสิทธิยึดหน่วง คือ  กรณีสิทธิยึดหน่วง เจ้ าของเมื่อไปแจ้ งความ ตารวจก็เอาของนันไปเป็ ้ น ของกลาง โดยเมื่อดาเนินคดีแล้ ว ของกลางก็ต้องคืนเจ้ าของเดิม โดยเจ้ า ของเดิมก็มาเอาคืนได้ เสมอ เว้ นแต่ครอบครองปรปั กษ์  กรณี กรรมสิทธิ์ ผู้ซื ้อได้ กรรมสิทธิ์ หากเจ้ าของเดิมจะเอาคืนก็ต้องเสนอ ชดใช้ ราคา โดยกรณีกรรมสิทธิ์ถ้าจะมาเอาคืนก็ใช้ อายุความ ๑๐ ปี (ความเห็น อ.วิริยะ เหมือนแนว ฎ.) บทที่ ๑๐ เจ้ าของสิทธิ History Overview หน้ า ๒๗๑ – ๒๘๒ ครอบครอง (หน้ า ๒๗๑)  การมีโฉนดกับกรรมสิทธิ์ – ศาลฎีกาพัฒนาหลักขึ ้นมา คือ คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 48 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ก่อนประกาศใช้ ปพพ. บรรพ ๔ -- พ.ศ.๒๔๕๗ ถ้ าเป็ นที่บ้านที่สวนก็ถือว่ามีกรรมสิทธิ์ ส่วนที่นาให้ มีเพียงสิทธิครอบครอง o หลังประกาศใช้ ปพพ. บรรพ ๔ -- ถ้ าไม่มีโฉนดก็ไม่มีกรรมสิทธิ์ โดยนาหลัก กม.เรื่ อง สิทธิครอบครองมาใช้ โดยเป็ นเจ้ าของที่มีเพียงสิทธิครอบครอง สรุปหลักที่ศาลวางและ กม.ที่ดนิ เกี่ยวกับสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน คือ o สิทธิครอบครองและมีฐานะเป็ นเจ้ าของ คือ ม.๑๓๐๔ (๑) (๑) ที ด่ ิ นรกร้างว่างเปล่า และที ด่ ิ นซึ่ งมี ผเู้ วนคื นหรื อทอดทิ้ งหรื อกลับมาเป็ นของ แผ่นดิ นโดยประการอืน่ ตามกฎหมายทีด่ ิ น o สิทธิครอบครองแต่ไม่มีฐานะเป็ นเจ้ าของ คือ ม.๑๓๐๔ (๒)(๓) หรื อผู้บก ุ รุก (๒) ทรัพย์สินสาหรับพลเมื องใช้ร่วมกัน เป็ นต้นว่าทีช่ ายตลิ่ ง ทางน้า ทางหลวง ทะเลสาบ (๓) ทรัพย์สินใช้เพือ่ ประโยชน์ของแผ่นดิ นโดยเฉพาะ เป็ นต้นว่าป้ อม และโรงทหาร สานักราชการบ้านเมื อง เรื อรบ อาวุธยุทธภัณฑ์ เจ้ าของที่ดิน แบ่งเป็ นเป็ น ๒ ประเภท คือ (๑) เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ – ได้ แก่ เจ้ าของที่ดินมีโฉนด ไม่วา ่ จะเป็ นโฉนดแผนที่ โฉนดตรา จอง หรื อตราจองที่วา่ “ได้ ทาประโยชน์แล้ ว” รวมทังเจ้ ้ าของที่ดนิ ที่เป็ นที่บ้าน ที่สวน ซึง่ มีมาก่อนประกาศใช้ ปพพ.บรรพ ๔ (๒) เจ้าของสิ ทธิ ครอบครอง – ได้ แก่ ผู้มีสิทธิครอบครองในที่ดินเอกชนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ และได้ รับการรับรองจากประมวล กม.ที่ดนิ เช่น ที่ดินมีใบไต่สวน น.ส.๓ น.ส.๓ ก ใบจอง สิทธิและหน้ าที่ของเจ้ าของสิทธิครอบครอง (เฉพาะที่ดนิ ที่เจ้ าของมีเพียงสิทธิครอบครอง) (หน้ า ๒๘๓) โดยเจ้ าของสิทธิครอบครองมีสิทธิตา่ งๆ ที่เหมือนเจ้ าของกรรมสิทธิ์ ดังนี ้ ๑) สิทธิใช้ สอย ๒) สิทธิได้ ดอกผล ๓) สิทธิจาหน่าย ๔) สิทธิขดั ขวาง ๕) สิทธิตดิ ตามเอาทรัพย์สินที่ตนครอบครองอยูก่ ่อนคืนจากผู้แย่งการครอบครองโดยมิ ชอบด้ วย กม. ๖) สิทธิเป็ นเจ้ าของทรัพย์สว่ นควบกับที่ดิน ๗) สิทธิขจัดความเสียหายหรื อความเดือดร้ อนที่เกินกว่าปกติอนั เกิดจากการใช้ สิทธิของ ผู้อื่น ๘) สิทธิสงู สุด ๙) คนต่างด้ าวไม่สามารถเป็ นเจ้ าของที่ดินที่เจ้ าของมีเพียงสิทธิครอบครอง o





เปรี ยบเทียบที่ดนิ มีโฉนด กับที่ดนิ มีเฉพาะ น.ส.๓ ต่างกับที่ดนิ ที่มีโฉนดก็ เฉพาะเรื่ องการเสียสิทธิ ม.๑๓๗๕ ม.๑๓๗๗ ม. ๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ การฟ้องร้ องเอาคืนที่ดิน น.ส.๓ ภายใน ๑ ปี โฉนด ภายใน ๑๐ ปี



คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 49 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การสิ ้นสุดของเจ้ าของ สิทธิครอบครอง

เรื่องการครอบครอง ออกสอบเสมอ

Summary Topic / Essence การสละการ ครอบครอง เน้ นดู (และท่ องจา) ม.๑๓๗๗ ว.๑ และ ว.๒ และ ม.๑๓๗๕



๑๐) หน้ าที่ต้องเสียภาษี การสิน้ สุดของเจ้ าของสิทธิครอบครอง แบ่งเป็ น ๒ กรณีใหญ่ๆ ได้ แก่ o การแย่งการครอบครอง ๑) ผู้ยดึ ถือทรัพย์สินแทนตนมีการเปลี่ยนแปลงการยึดถือมาเป็ นยึดถือเพื่อตน ตาม ม.๑๓๘๑  ด้ วยการบอกกล่าวไปยังผู้มีสิทธิครอบครองว่าตนไม่มีเจตนายึดถือทรัพย์สิน นันแทนผู ้ ้ มีสิทธิครอบครองต่อไปแล้ ว  มาตรา ๑๓๘๑ “บุคคลใดยึดถื อทรัพย์ สินอยู่ในฐานะเป็ นผูแ ้ ทนผู้ ครอบครองบุคคลนัน้ จะเปลี ่ยนลักษณะแห่งการยึดถื อได้ ก็แต่โดยบอก กล่าวไปยังผู้ครอบครองว่าไม่เจตนาจะยึดถื อทรัพย์สินแทนผูค้ รอบครอง ต่อไป หรื อตนเองเป็ นผู้ครอบครองโดยสุจริ ต อาศัยอานาจใหม่อนั ได้จาก บุคคลภายนอก”  การเปลี่ยนลักษณะการยึดถื อโดยที่ผ้ ย ู ึดถือได้ เป็ นผู้ครอบครองทรัพย์สินนัน้ โดยสุจริ ต โดยอาศัยอานาจใหม่จากบุคคลภายนอก ๒) แย่งการครอบครองโดยที่บคุ คลอื่นเข้ ายึดถือทรัพย์สินของเขาโดยเจตนาเป็ น เจ้ าของ  ต้ องเป็ นการบอกกล่าวโดยตรงกับผู้มีสิทธิครอบครอง ซึง ่ อีกฝ่ ายต้ องรี บฟ้อง ภายใน ๑ ปี หากพ้ นระยะเวลา คนที่บอกกล่าวก็ได้ ที่ดนิ นันไป ้ ตาม ม.๑๓๗๕ ว.๒  มาตรา ๑๓๗๕ “ถ้าผูค ้ รอบครองถูกแย่งการครอบครองโดยมิ ชอบด้วย กฎหมายไซร้ท่านว่าผูค้ รอบครองมี สิทธิ จะได้คืนซึ่ งการครอบครอง เว้นแต่อีก ฝ่ ายหนึ่งมี สิทธิ เหนื อทรัพย์สินดีกว่าซึ่งจะเป็ นเหตุให้เรี ยกคื นจากผู้ครอบครอง ได้ การฟ้องคดีเพือ่ เอาคื นซึ่งการครอบครองนัน้ ท่านว่าต้องฟ้ องภายในปี หนึ่งนับแต่เวลาถูกแย่งการครอบครอง”

o

Record / Note on 2010-02-01 การสละสิ ทธิ ครอบครอง  หากมีเหตุโดยสภาพเป็ นเหตุชว ั่ คราวมาขัดขวางมิให้ ยึดถื อทรัพย์สินนันได้ ้ ยังไม่ถือ ว่าผู้ที่ขาดการยึดถือสละสิ ้นซึง่ การครอบครองนันแล้ ้ ว ทังนี ้ ้ เหตุโดยสภาพชัว่ คราว ต้ องพิจารณาเป็ นกรณีๆ ไป  หากกรณี ที่ดน ิ มีโฉนดขายฝากแล้ วไม่มาไถ่ตามกาหนด ถือมีเจตนาสละการ ครอบครอง โดยการเริ่มต้ นครอบครองปรปั กษ์นบั แต่วนั ที่พ้นกาหนดการไถ่

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 50 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

กรณีมีผ้ รู ับโอนไปทาง ทะเบียน v.s. ตาม ม. ๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ เช่นนี ้ จะมีปัญหากับผู้ซื ้อเมื่อ ออกโฉนดที่ดิน คือ การ ซื ้อขายที่ดนิ มี น.ส.๓ อาจ ซื ้อขายกันเองแล้ วมีการ ส่งมอบ แม้ วา่ หากโอนไป ตาม (๒) แล้ ว แต่ชื่อเจ้ า ของเดิมยังติดในโฉนดอยู่ ผลคือ สนง.ที่ดินจะไม่ ยอมให้ โอน ต้ องไปโอน กันโดยทางทะเบียนตาม (๑) และเสียค่าธรรมเนียม อยูด่ ี เดิมศาลไม่เอา ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาใช้ กบั ที่ดนิ น.ส.๓ เพราะคาว่า “ทะเบียน” ใน ม.๑๒๙๙ ว.๒ หมายถึง “ทะเบียนแสดง กรรมสิทธิ์” เท่านัน้ ไม่ รวมถึง น.ส.๓ -- แต่ตอ่ มา ศาลเริ่มเปลี่ยนแนว โดย ถือว่าทะเบียนดังกล่าว เป็ นเรื่ องเดียวกัน เนื่องจากการครอบครอง ถือเป็ นสิทธิอย่างหนึง่ มีการครอบครองตาม ม. ๑๓๗๓ ดังนัน้ ผู้มาแย่ง การครอบครองจึงต้ อง พิสจู น์หกั ล้ างให้ ได้

o

โดยผลของ ม.๑๓๘๑  กรณีที่ดินมีเฉพาะ น.ส.๓ ดังนี ้ ผลคือ เมื่อสละสิทธิ์ในการครอบครองก็หมด ทันที ถือว่าแย่งการครอบครองแล้ วเมื่อวันที่พ้นจากกาหนดวันไถ่ ดังนัน้ การเสีย สิทธิของ ส.ค.๑ และ น.ส.๓ จึงเกิดขึ ้นได้ ง่ายมาก  ตัวอย่ าง ขณะติดคุกก็ถือว่ายังมีการครอบครองอยู่ แต่หากมีคนมาบุกรุ กก็ถือว่า มีการแย่งการครอบครอง ต้ องฟ้องภายใน ๑ ปี นับแต่มีการถูกแย่งการครอบครอง (ไม่ใช่นบั แต่มีการละทิ ้งที่ดิน) / ดูตวั อย่างเกี่ยวเพิ่มเติมจากข้ อสอบเก่าเรื่ องการ บวชพระแล้ วสึกออกมาเกี่ยวกับการแย่งการครอบครอง การโอนการครอบครองไปให้ผอู้ ื น่ ม.๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ โดยดูคกู่ บั ม.๑๒๙๙ ว.๒ ด้ วย  ที่ดน ิ น.ส. ๓ ตาม แนว ฎ. โอนได้ ๓ วิธี (อ.ไม่เห็นด้ วย) (๑) การโอนทางทะเบียน คือ การทาเป็ นหนังสือจดทะเบียน หากไม่ทาตกเป็ น โมฆะ – อ.มองว่ามีประมวลที่ดนิ ซึง่ เป็ น กม.เฉพาะ ต้ องทามาใช้ ก่อน  การโอนทางทะเบียนเสียค่าธรรมเนียมโอน ๒ % ภาษี หก ั ณ ที่จา่ ย ๑ % ภาษีเงินได้ ภาษีธุรกิจเฉพาะ ๓.๓ % (กรณีมงุ่ กาไร) และอากรแสตมป์ เบ็ดเสร็จรวมราว ๖.๓ % (๒) การโอนการครอบครองตาม ม.๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ (ต้ องดู ม.๑๓๗๗ ประกอบด้ วย) เป็ นการส่งมอบ ซึง่ ศาลมองว่าเป็ นการโอนทางข้ อเท็จจริง – แม้ วา่ สัญญาจะทากันเองเป็ นโมฆะ แต่การส่งมอบที่ดินตาม ม.๑๓๗๘ ผู้ซื ้อ เข้ าครอบครองก็ได้ สิทธิครอบครองโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ส่งผลให้ รัฐขาด รายได้  มาตรา ๑๓๗๘ “การโอนไปซึ่ งการครอบครองนัน ้ ย่อมทาได้โดยส่งมอบทรัพย์สินที ่ ครอบครอง”  มาตรา ๑๓๗๙ “ถ้าผูร ้ ับโอนหรื อผูแ้ ทนยึดถื อทรัพย์สินอยู่แล้ว ท่านว่าการโอนไป ซึ่งการครอบครองจะทาเพียงแสดงเจตนาก็ได้”  ตัวอย่ าง ก เป็ นที่ดน ิ มี น.ส.๓ ให้ ข เช่า เมื่อตกลงซื ้อขายไม่จดทะเบียน แต่สง่ มอบตาม ม.๑๓๗๙ เนื่องจาก ข ผู้รับโอนเป็ นผู้ยดึ ถือที่ดินอยูแ่ ล้ ว ก เพียงแค่ แสดงเจตนาโอนก็ถือว่าได้ สง่ มอบการครอบครองแล้ ว สิทธิ การครอบครองก็ เปลี่ยนมือไป  มาตรา ๑๓๘๐ “การโอนไปซึ่ งการครอบครองย่อมเป็ นผล แม้ผโู้ อนยังยึดถื อ ทรัพย์สินอยู่ ถ้าผู้โอนแสดงเจตนาว่าต่อไปจะยึดถื อทรัพย์สินนัน้ แทนผู้รับโอน ถ้าทรัพย์สินนัน้ ผูแ้ ทนของผูโ้ อนยึดถื ออยู่ การโอนไปซึ่ งการครอบครองจะทา โดยผู้โอนสัง่ ผูแ้ ทนว่า ต่อไปให้ยึดถื อทรัพย์สินไว้แทนผูร้ ับโอนก็ได้”  ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของที่ดิน น.ส.๓ เมื่อวันที่ ๑ ก.พ. ๕๒ ก ตกลงขายที่ดน ิ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 51 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

อ.มองว่าหลัก กม.เรื่ อง การโอนไม่ควรใช้ ควรใช้ เรื่ องทะเบียนเพื่อไม่ให้ เกิดการเลี่ยงภาษี ซึง่ รัฐ ไม่ควรคุ้มครอง มองว่า ศาลไม่ควรให้ มีการโอน ที่ดนิ น.ส.๓ โดยมีการส่ง มอบ อีกทังยั ้ งจะทาให้ ทะเบียน น.ส.๓ มีความ ศักดิส์ ิทธิ์ เนื่องจาก ปั จจุบนั ก็มีประมวลที่ดนิ ม.๔ ทวิ แล้ ว จึงไม่ควรยึด แนว ฎ.เก่าก่อนที่จะมี ประมวล กม.ที่ดนิ

บทที่ ๑๑ ภาระจายอม ความหมาย





ให้ กบั ข ราคา ๑ ล้ านบาท โดยทาเป็ นหนังสือกันเองแต่ไม่จดทะเบียน จ่ายเงิน ให้ ๓๐๐,๐๐๐ บาท แล้ ว ส่วนที่เหลือจะจ่ายเมื่อส่งมอบที่ดนิ วันที่ ๓ ก.พ. ๕๒ ก ทาสัญญาเช่าที่ดินจาก ข แล้ ว ข ก็จ่ายเงินค่าที่ดินที่เหลือ และ ก จ่ายค่าเช่า ให้ ข โดยตลอด  วินิจฉัย แม้ ว่าสัญญาซื ้อขายเป็ นโมฆะสิทธิครอบครองยังอยูท ่ ี่ ก แต่ตอ่ มา การที่ ก จ่ายค่าเช่าถือว่า ก แสดงเจตนายึดถือแทน ข ถือว่า ณ วันที่มีการทา สัญญาเช่า (ไม่ใช่วนั ที่ทาสัญญาซื ้อขาย เพราะสัญญาซื ้อขายเป็ นโมฆะ ไม่มี การโอนหรื อการส่งมอบ) ได้ มีการโอนสิทธิครอบครองจาก ก ไปยัง ข แล้ ว ตาม ม.๑๓๘๐ ดังนัน้ ที่ดนิ จึงเป็ นของ ข แล้ วในปั จจุบนั  ม.๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ การส่งมอบเป็ นนิติกรรมแบบหนึง ่ เรี ยกว่านิตกิ รรมลอย โดย มีเรื่ องของเจตนาอยู่ด้วย แต่เป็ นเจตนาที่พรากจากเหตุ (แม้ วา่ นิติกรรมทางหนี ้จะ เป็ นโมฆะไปแล้ วก็ตาม) ดังนัน้ เมื่อมีการส่งมอบ สิทธิครอบครองก็เปลี่ยนมือทันที  การโอน น.ส.๓ -- ไม่ได้ ทาทางทะเบียนตกเป็ นโมฆะตามประมวลที่ดิน ม.๔ ทวิ (แต่ไม่เป็ นโมฆะตาม ม.๔๕๖ เพราะไม่ใช่เรื่ องการซื ้อขายที่มีกรรมสิทธิ์) ดังนัน้ ที่ดนิ ส่งมอบเอาคืนไม่ได้ แต่เงินที่จา่ ยไปแล้ วอาจเข้ า ม.๔๑๒ เป็ นการชาระหนี ้ฝ่ า ฝื น กม. จึงไม่มีสิทธิเรี ยกเงินคืน แต่หากจ่ายไม่ครบก็เรี ยกส่วนที่ขาดไม่ได้ เช่นกัน เพราะไม่มีหนี ้แล้ ว ดังนัน้ การส่งมอบที่ดนิ น.ส.๓ ต้ องยื่นหมูยื่นแมว หรื อทา สัญญาจะซื ้อจะขายแล้ วไปโอนเงินกันวันจดทะเบียน  การโอนที่ดน ิ ส.ค.๑ -- ศาลฎีกามองว่าโอนกันเองได้ โดยการส่งมอบ (ซึง่ อ. ไม่เห็น ด้ วย) ทาให้ เกิดการแพร่หลายของการโอนที่ดิน ส.ค.๑ (ซึ่งตาม ประมวล กม.ที่ดนิ ส.ค.๑ ห้ ามโอน) แต่หากส่งมอบแล้ วไม่จา่ ยเงินก็เรี ยกเงินได้ ดังนัน้ จึงถือว่าสัญญา ที่เกิดขึ ้นสมบูรณ์ สามารถนาไปอ้ างได้ เป็ นไปตามหลักศักดิส์ ิทธิ์ของการแสดง เจตนา คือ ถ้ าไม่มี กม.บอกว่าห้ ามโอนหรื อโอนตามแบบก็สามารถทาด้ วยวาจาได้ / แต่การโอนกันเองก็ต้องยึดตาม ม.๑๓๗๘ – ๑๓๘๐ มาตรา ๑๓๘๗ “อสังหาริ มทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในภาระจายอมอันเป็ นเหตุให้เจ้าของต้อง ยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรื อต้องงดเว้นการใช้สิทธิ บางอย่าง อันมี อยู่ในกรรมสิ ทธิ์ ทรัพย์สินนัน้ เพือ่ ประโยชน์แก่อสังหาริ มทรัพย์อืน่ ” องค์ประกอบของภาระจายอม ๒ องค์ประกอบ ได้ แก่ ๑) ต้ องมี ๒ อสังหาริมทรัพย์ตา่ งเจ้ าของกัน – หากเป็ นเจ้ าของเดียวกันก็สามารถใช้ กรรมสิทธิ์ได้ ไม่ใช่เรื่ องภาระจายอม / การนับเริ่มระยะเวลาของภาระจายอมต้ องดู ว่ามีเจ้ าของต่างกันหรื อยัง อาทิ ปลูกบ้ าน ๓๐ ปี อาจไปขอให้ ที่ดนิ ข้ างเคียงไปจด ภาระจายอม ๓๐ ปี ให้ ก็ได้ (ภาระจายอมไม่จาเป็ นว่าต้ องเป็ นเรื่ องที่ดินกับที่ดนิ แต่ อาจเป็ นเรื่ องบ้ านกับที่ดนิ ก็ได้ )

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 52 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การยอมรับกรรม บางอย่างหรื อใช้ สิทธิ บางอย่างต้ องดูเรื่ องจารี ต ประเพณีประกอบด้ วย อาทิ ฎ.เก่ามองเรื่ องการ ใช้ คนั นาของที่นาติดกัน เดินต่อเนื่องกันไปแต่ละ แปลง การใช้ คนั นานานๆ ฎ.ดังเดิ ้ มถือว่าได้ ภาระจา ยอม แต่ ฎ.ปี ๕๒ ไม่ถือ ว่าได้ ภาระจายอม โดย ให้ เหตุผลว่าเป็ นการถือ วิสาสะ จึงไม่ได้ ภาระจา ยอม (แต่มีคนเขียนหมาย เหตุท้าย ฎ. ว่าอาจเป็ น ผลให้ นายทุนซื ้อที่ไปทา โรงงาน เป็ นปั ญหาให้ ชาวนาไม่มีทางเข้ าออก ได้ อีกทังไม่ ้ ให้ นายทุน กว้ านซื ้อที่ดิน เนื่องจาก หากนายทุนซื ้อที่ดนิ ติด ถนน ชาวนาที่ด้านในอาจ เดินออกถนนไม่ได้ จึง จานนต้ องขายที่ดนิ ) ทังนี ้ ้ อ.เห็นด้ วยกับแนว ฎ.หลัง โดยถ้ ารัฐต้ องการ คุ้มครองชาวนาก็ประกาศ เขตพื ้นที่ทาการเกษตรได้





 





Summary Topic / Essence การได้ มาซึ่งภาระ

๒) เจ้ าของภารยทรัพย์ต้องยอมรับกรรมหรื องดเว้ นการใช้ สิทธิบางอย่างเพื่อประโยชน์ ของสามยทรัพย์ อาจเป็ นลักษณะการใช้ สิทธิ อาทิ ภาระจายอมในการยอมให้ ชกั น ้า เข้ านา หรื อไปตักน ้าในบ่อ หรื ออาจเป็ นกรณีการงดใช้ สิทธิ อาทิ การงดขัดขวางไม่ให้ คนอื่นเดินผ่านที่ดนิ เราก็ได้ o ภารยทรัพย์ – เป็ นทรัพย์ที่ต้องรับภาระ o สามยทรัพย์ – เป็ นทรัพย์ที่ได้ รับประโยชน์ ภาระจายอมต้ องเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของอีกอสังหาริมทรัพย์หนึง่ คือ เพื่อประโยชน์ใน การดูแลรักษาอสังหาริมทรัพย์นนเหมื ั ้ อนอุปกรณ์ ดังนัน้ หาก ก เจ้ าของที่ดนิ วิ่งออกกาลัง กายในที่ดนิ ของ ข แม้ วา่ จะทา ๑๐ ปี ก็ไม่ได้ ภาระจายอม เนื่องจากเป็ นการทาเพื่อ ประโยชน์ของตัวคน ไม่ได้ ทาเพื่อดูแลรักษาอสังหาริมทรัพย์นนั ้ (คนอื่นมาก็ไม่ได้ จะมาวิ่ง ออกกาลังกาย) แต่หากกรณี ก เดินผ่านที่ดนิ ข เพื่อไปสูท่ างสาธารณะ เป็ นไปเพื่อทรัพย์ ฎ.ที่มองว่า ก ใช้ ที่ดนิ ข เป็ นทางขนส่งน ้าแข็งไปทางเรื อ ไม่เป็ นไปเพื่อทรัพย์ แต่เพื่อ ประโยชน์ของตัว ก เอง จะอ้ างภาระจายอมไม่ได้ / แต่หาก ก ใช้ ที่ดนิ ของ ข เป็ นทางผ่าน เดินไปขึ ้นเรื อโดยสารเดินทางไปที่ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวันด้ วย เช่นนี ้ เป็ นไปเพื่อประโยชน์ ของอสังหาริมทรัพย์ เพราะเป็ นใครเป็ นเจ้ าของที่ดิน ก ก็อ้างภาระจายอมได้ การใช้ คลองผู้อื่นเป็ นที่จอดเรื อ เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของสังหาริมทรัพย์ คือ เพื่อประโยชน์ ในการรักษาใช้ สอยเรื อ ดังนี ้ จึงอ้ างภาระจายอมไม่ได้ การใช้ ที่ดนิ ของผู้อื่นเป็ นที่จอดรถ หากตีความเข้ มงวดตามแนว ฎ. เช่นเรื่ องเรื อก็จะเป็ น ปั ญหา ซึง่ จะอ้ างภาระจายอมไม่ได้ แต่ อ.บางท่านมองว่าการจอดรถไม่เหมือนจอดเรื อ เนื่องจากการใช้ ที่ดินผู้อื่นเป็ นที่จอดรถเป็ นไปเพื่อประโยชน์ใช้ สอยในชีวิตประจาวัน แนว ฎ. -- เจ้ าของที่ดนิ ให้ ธนาคารเช่าอาคารโดยธนาคารเอาที่ดนิ ที่เหลือเป็ นที่จอดรถ ทามา ๖ ปี ต่อมาธนาคารขอซื ้อที่ดนิ ส่วนที่เป็ นสานักงานแต่ไม่ได้ ซื ้อที่จอดรถ หากยังคง ใช้ ที่นนต่ ั ้ อเป็ นที่จอดรถอยู่ตอ่ มาอีก แต่ศาลแทนที่จะวินิจฉัยว่าเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของ รถ จึงไม่ได้ ภาระจายอม แต่มองว่าเป็ นเรื่ อง ๒ เจ้ าของ แต่จอดรถมายังไม่ถึง ๑๐ ปี จึง ไม่ได้ ภาระจายอม จึงทาให้ เกิดความเข้ าใจว่าการใช้ เป็ นที่จอดรถก็เพื่อประโยชน์การใช้ สอยสานักงาน – อ.มองว่าตีความได้ ๒ ด้ าน คือ เพื่อประโยชน์ของรถ หรื อเพื่อประโยชน์ ของสานักงานก็ได้ โดย อ.มีแนวโน้ มเห็นด้ วยกับศาลฎีกาว่าเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของ สังหาริมทรัพย์มากกว่า จึงไม่นบั เป็ นเรื่ องภาระจายอม สรุป การใช้ ทรัพย์อื่นเพื่อประโยชน์ของเจ้ าของที่ (ไม่ใช่เพื่อตัวทรัพย์) เพื่อประโยชน์ทาง ธุรกิจของเจ้ าของที่ หรื อเพื่อประโยชน์ของสังหาริมทรัพย์ ไม่ถือเป็ นภาระจายอม Record / Note on 2010-02-08



โดยนิตกิ รรม

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 53 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

จายอม

มาตรา ๑๒๙๙ ว.๑ “ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนีห้ รื อ กฎหมายอืน่ ท่านว่าการได้มาโดยนิ ติกรรมซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิ อนั เกี ่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์นนั้ ไม่บริ บูรณ์ เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสื อและได้ จดทะเบียนการได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที ่”  หลัก – ยันบุคคลภายนอกไม่ได้ กล่าวคือ ถ้ าไม่ทาเป็ นหนังสือจดทะเบียนก็ไม่ บริบรู ณ์เป็ นทรัพยสิทธิ ยันได้ เฉพาะคูก่ รณี / ถ้ ามีบคุ คลที่ ๓ ได้ ไปทางทะเบียนก็ส้ ู ไม่ได้ -- อาทิ ก ตกลงให้ ข เดินผ่านที่ดนิ ตนเอง เนื่องจาก ข เป็ นญาติสนิท ไม่มี กาหนดระยะเวลา การตกลงเช่นนี ้ ไม่ได้ ทาเป็ นหนังสือจดทะเบียน ก็ไม่บริบรู ณ์ เป็ นทรัพยสิทธิ แต่ยงั ใช้ ยนั กับ ก ซึง่ เป็ นคูก่ รณีได้ (เอา กม.เรื่ องหนี ้มาใช้ ) ดังนี ้ ศาล จึงวางหลักว่า  ถ้ าไม่มีคา ่ ตอบแทน -- บอกยกเลิกภาระจายอมได้ ทกุ เมื่อ (วันใด ก จะบอกเลิก ไม่ยอมให้ ข เดินผ่านก็ได้ ) แต่  ถ้ ามีคา ่ ตอบแทน -- หาก ข จ่ายค่าตอบแทนก็เป็ นไปตามหลักเรื่ องหนี ้ ตาม ม.๓๖๙ คือ มีสิทธิฟ้องบังคับให้ ก ชาระหนี ้ตอบแทนได้ คือ ฟ้องบังคับให้ ก ไปจดทะเบียนภาระจายอมได้ ก จะบอกเลิกไม่ได้  ข้อยกเว้น (ค่อนข้ างเข้ มงวดมาก)  นา ม.๑๓๐๐ มาใช้ กรณี ศาลพิพากษาให้ ไปจดทะเบียนแล้ ว (หน้ า ๓๑๑)  ไม่นา ม.๒๓๗ มาใช้ – อาทิ กรณี ก เอาที่ดน ิ ไปขายให้ กบั ค ดังนี ้ ข จะอ้ าง นิตกิ รรมที่ไม่ได้ จดทะเบียนไปยัน ค ไม่ได้ / แต่หาก ค ไม่สจุ ริต หรื อไม่เสีย ค่าตอบแทน ข จะไปบอกเลิกนิตกิ รรมระหว่าง ก-ค ไม่ได้ (บอกเลิกบุคคล ภายนอกไม่ได้ ไม่วา่ จะสุจริ ตหรื อไม่ หรื อเสียค่าตอบแทนหรื อไม่) กรณีนี ้ไม่เอา ม.๒๓๗ มาใช้ เพราะเรื่ องภาระจายอมเป็ นเรื่ องของการรอนสิทธิ์ ซึง่ ศาลมองว่า คนที่ซื ้อไปรู้อยูแ่ ล้ วว่าไม่จดทะเบียน ไม่ได้ ภาระจายอมโดยผลของ กม. เมื่อซื ้อ ไปก็ไม่ควรจะถูกรอนสิทธิ โดยผลของ กม. o มาตรา ๑๔๐๑ “ภาระจายอมอาจได้มาโดยอายุความ ท่านให้นาบทบัญญัติว่าด้วย อายุความได้สิทธิ อนั กล่าวไว้ในลักษณะ ๓ แห่งบรรพนี ้ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม” o นาหลักเรื่ องการครอบครองปกปั กษ์ มาใช้ กบ ั ภาระจายอมโดยอายุความ ซึง่ แบ่ง อปก. ได้ เป็ น ๔ อปก. ได้ แก่ ๑) มี ๒ อสังหาริมทรัพย์ตา่ งเจ้ าของกัน  ตัวอย่ าง ก ครอบครองที่ดน ิ แปลง ๑ ของ ข มา ๑๕ ปี และเดินผ่านที่ดนิ แปลง ๒ ของ ข มา ๑๕ ปี ด้ วย ดังนี ้ ก ได้ กรรมสิทธิ์โดยการครอบครอง ปรปั กษ์ในที่ดนิ แปลงที่ ๑ ไป แต่ยงั ไม่ได้ ทางภาระจายอมของที่ดนิ แปลง ๒ o

ม.๑๒๙๙ ว.๑ มีความถี่ ออกสอบพอสมควร

หากจดทะเบียนภาระจา ยอมไม่ได้ ตกลงเวลาไว้ ผลคือ ได้ ภาระจายอม ตลอดไป (จนกว่าแผ่นดิน จะสลาย) (หน้ า ๓๑๓)



คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 54 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ในการฟ้องปกติมกั ฟ้อง ให้ เป็ นทางสาธารณะ (คดีอาญาหากปิ ดกัน) ้ แล้ วจึงฟ้องภาระจายอม (ไม่ต้องเสียเงิน) แล้ วจึง เป็ นทางจาเป็ น (เสียเงิน)

เราสามารถอ้ างการได้ ภาระจายอมในที่ดนิ ส.ค. ๑ โดยผลของ กม.เท่านัน้ (ไม่มีทางได้ มาโดยนิติ กรรม)

โดยอายุความ เพราะว่าอายุความเริ่มนับภาระจายอมต้ องมี ๒ อสังหาริมทรัพย์ตา่ งเจ้ าของกัน ๒) เจ้ าของอสังหาริมทรัพย์หนึง่ ได้ เข้ าไปใช้ ประโยชน์ในอีกอสังหาริมทรัพย์หนึง่ โดย เจตนาเอาเป็ นภาระจายอม (สามยทรัพย์ได้ ใช้ ประโยชน์ภารยทรัพย์)  การใช้ ยง ั สามารถใช้ ร่วมกับผู้อื่นได้ (ต่างจากครอบครอง) อาทิ หลังคาบ้ าน ก รุกล ้าบ้ าน ข แต่ ข ก็ยงั ใช้ ที่ใต้ หรื อเหนือหลังคาได้ (หากปลูกบ้ านล ้าที่ดินผู้อื่น เป็ นการครอบครองเพราะเป็ นการกันเจ้ าของไม่ให้ เข้ ามายุง่ ในที่ดนิ ส่วนนี ้ได้ ) (ห้ องนอนเป็ นเรื่ องครอบครอง หลังคาเป็ นเรื่ องใช้ )  การไปตักน ้าจากบ่อคนอื่น การใช้ ที่นาของผู้อื่นเป็ นที่น วดข้ าว ทังนี ้ ้ การใช้ ต้ องมีเจตนาเอาเป็ นภาระจายอม ต้ องไม่ใช่เรื่ องของการถือวิสาสะ  การที่ ก มีที่ดน ิ ติดกองขยะใหญ่ ทาให้ ออกถนนไม่ได้ ขอเดินผ่านที่ดนิ ของ ข โดย ข มอบกุญแจประตูบ้านให้ เดินผ่านได้ หาก ก เดินผ่านที่ดนิ ข มา ๑๐ ปี ผลคือ ก ไม่ได้ ภาระจายอม เพราะ ไม่ได้ มีเจตนาเอาเป็ นภาระจายอม เป็ น การเดินผ่านที่ของ ข โดยอาศัยสิทธิของ ข และ ข จะเอากุญแจคืนเมื่อใดก็ได้ (การถือวสาสะหรื ออาศัยสิทธิผ้ อู ื่นอยู่ แม้ จะเดินผ่านกี่ปีก็ไม่ได้ ภาระจายอม) ๓) โดยสงบ โดยเปิ ดเผย  ตัวอย่ าง ก ปลูกบ้ านติดที่ของ ข แล้ วทาคานใต้ ดน ิ รุกล ้าที่ดนิ ของ ข และ หลังคารุกล ้าที่ดิน ข เวลาผ่านไป ๑๐ ปี เมื่อ ข รังวัดสอบเขตพบว่าหลังคา และคานใต้ ดินรุกล ้าไปในที่ดินของตน เลยเรี ยกให้ รือ้ (ก ปลูกโดยรังวัดสอบ เขตแต่ ข ไม่) ดังนี ้ ก ได้ ภาระจายอมในส่วนหลังคาเพราะเป็ นส่วนที่เปิ ดเผย เห็นได้ แต่ไม่ได้ ในส่วนคานใต้ ดนิ เพราะไม่เปิ ดเผย  กรณีคานใต้ ดน ิ ใช้ ม.๑๓๑๒ ได้ แต่เนื่องจากไม่ได้ รังวัดสอบเขต ผลถือว่า ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง คือ ไม่สจุ ริ ต ก ต้ องรื อ้ คานออกไป  กรณีการทะเลาะกันไม่ถือว่าเป็ นเรื่ องสงบ เช่น ก เดินผ่านที่ดน ิ ของ ข แต่ ข ปลูกรัว้ กันไม่ ้ ให้ เดินผ่าน ก จึงเอาไม้ พาดรัว้ ทาให้ ข ไปแจ้ งตารวจ เช่นนี ้ไม่ สงบ หรื อการแอบเดินเฉพาะกลางคืน ถือว่าไม่เป็ นการเปิ ดเผย ๔) โดยติดต่อกันมาเป็ นเวลา ๑๐ ปี  เริ่ มพิจารณาจาก ม.๑๓๗๑ คือ พิสจ ู น์วา่ เริ่มใช้ เมื่อใด และครัง้ หลังสุดเมื่อใด กม.สันนิษฐานว่าใช้ ตดิ กัน ตัวอย่ าง ก เดินผ่านที่ดิน ข ตังแต่ ้ ปี ๔๐ ครัง้ แรก ปั จจุบนั ยังใช้ อยู่ ถือว่าใช้ ติดต่อกันอยูต่ ลอดเวลา ก ได้ ภาระจายอม แต่ เจ้ าของที่ดินสามารถพิสจู น์หกั ล้ างได้ โดยอาศัย ม.๑๓๘๔ และ ม.๑๓๗๗ อาทิ ข บอกว่า ก ไปบวชเป็ นพระ ๓ ปี ตังแต่ ้ ปี ๔๕ แล้ วมาเดินต่อปี ๔๘ ดังนี ้ ก สละแล้ วในช่วงการดังกล่าว การใช้ ขาดไป ต้ องเริ่มนับใหม่ตงแต่ ั ้ ปี ๔๘

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 55 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

สิทธิและหน้ าที่



จนถึงปั จจุบนั ก็ยงั ไม่ได้ ภาระจายอม / หากกรณีตดิ คุก ๓ ปี ระยะเดียวกัน ก็ นับต่อ โดยใช้ ม.๑๓๗๗ ว.๒ ขาดการยึดถือเนื่องจากมีเหตุขดั ขวางชัว่ คราว ซึง่ ไม่ถือว่าขาดการใช้ ในกรณีนี ้  กรณีมีบค ุ คลภายนอกเข้ ามาแย่งการครอบครองไปแล้ วไม่ให้ ก เดินผ่าน ก ต้ องกลับมาเดินใหม่ภายใน ๑ ปี ก จึงสามารถนับภาระจายอมต่อได้ หาก ไม่ได้ เดินต่อภายใน ๑ ปี ต้ องเริ่มนับระยะเวลาภาระจายอมใหม่  ตัวอย่ าง หาก ค มาแย่งที่ดินของ ข และไม่ให้ ก เดินผ่าน เช่นนี ้ แม้ จะแย่ง การครอบครองไปแล้ ว ก ต้ องได้ กลับมาใช้ ใหม่ภายใน ๑ ปี หรื อฟ้องขอใช้ ภายใน ๑ ปี (แต่เป็ นไปได้ ยาก เพราะ ก ไม่มีสิทธิมาฟ้อง ค เพื่อขอใช้ ) / ค อ้ าง ม.๑๓๗๔ ไม่ให้ ก เดินผ่านได้ เพื่อไม่ให้ รบกวนการครอบครองของ ค ได้ o ภาระจายอมโดยการเปลี่ยนเจ้ าของภารยทรัพย์ คือ ที่ดน ิ ที่ถกู เอาภาระจายอม อาทิ ก เดินผ่านที่ดนิ ของ ข ปี ๔๐ แล้ ว ข เอาไปขายให้ ค ปี ๔๕ เช่นนี ้ แม้ ตอ่ มา ก เดินต่อ มาถึงปั จจุบนั ผลคือ ได้ ภาระจายอม เนื่องจาก ก ใช้ ที่ดนิ ของ ข และ ค เป็ นผู้อื่น (ไม่ ว่าจะโอนกันต่อไปกี่ทอดก็ตาม) หาก ง สุจริ ตเสียค่าตอบแทนก็ไม่เอา ม.๑๒๙๙ ว.๒ มาใช้ ผลคือ นับต่อ (แต่การครอบครองปรปั กษ์ หากบุคคลภายนอกสุจริ ตเสีย ค่าตอบแทน ก็ไม่นบั เวลาต่อ) o ภาระจายอมโดยการเปลี่ยนด้ านสามยทรัพย์ ใช้ ม.๑๓๘๕ -- ผู้รับโอนสามารถรับ ระยะเวลาต่อจากผู้โอนได้ ตัวอย่ าง ก เช่าที่ดนิ แปลงที่ ๑ ของ ข แล้ วเดินผ่านที่ดนิ แปลงที่ ๒ ของ ค เป็ นเวลา ๖ ปี จากนัน้ ก ซื ้อที่ดนิ ของ ข แล้ วเดินต่อเป็ นระยะเวลา อีก ๕ ปี เช่นนี ้ นับระยะเวลาต่อได้ เพราะอายุความ ๖ ปี แรกเป็ นของ ข แต่อายุความ ๕ ปี หลังเป็ นของ ก ดังนัน้ ก ในฐานะผู้รับโอนจาก ข ก็สามารถนับรวมระยะเวลา ภาระจายอมของ ข มารวมเป็ น ๑๑ ปี ด้ วย ดังนี ้ ก จึงได้ ภาระจายอม (ตอนแรกใช้ ใน นามของ ข แต่ตอนหลังใช้ ในตามของตน) สิทธิและหน้ าที่ของเจ้ าของสามยทรั พย์ ตาม กม. o มาตรา ๑๓๘๘ “เจ้าของสามยทรัพย์ไม่มีสิทธิ ทาการเปลี ่ยนแปลงในภารยทรัพย์หรื อ ในสามยทรัพย์ซึ่งทาให้เกิ ดภาระเพิ่มขึ้นแก่ภารยทรัพย์ ” o มาตรา ๑๓๘๙ “ถ้าความต้องการแห่งเจ้าของสามยทรัพย์ เปลี ย ่ นแปลงไป ท่านว่า ความเปลี ่ยนแปลงนัน้ ไม่ให้สิทธิ แก่เจ้าของสามยทรัพย์ทีจ่ ะทาให้เกิ ดภาระเพิ่มขึ้นแก่ ภารยทรัพย์ได้”  หลัก -- สามยทรัพย์ไปเพิ่มภาระแก่ภารยทรัพย์ไม่ได้  ถ้ าสามยทรัพย์ไปตกลงกับภารยทรัพย์ว่าได้ สิทธิเป็ นทางเดินเท้ า ก็เป็ นทางเดินเท้ า แคบๆ อาทิ ซอกตึกที่เป็ นทางเดินเท้ าแคบๆ แถวๆ พาต้ า ซึง่ จะขอเปิ ดทางจาเป็ น ไม่ได้ เนื่องจากมีทางออกสูท่ างสาธารณะแล้ ว ดังนัน้ ถ้ าจดทะเบียนเป็ นทางเดิน

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 56 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

 

เท้ า ฎ.มองว่าได้ แค่ทางเดินเท้ า แต่ถ้าจดทะเบียนเป็ นทางเดิน(เฉยๆ) ใช้ รถเก๋งได้ แต่ใช้ รถบรรทุกไม่ได้ เนื่องจากถือว่าเป็ นการทาให้ ทางเดินมีภาระเพิ่มขึ ้น หรื อแม้ ต่อมาที่ดนิ ที่เป็ นสามยทรัพย์เปลี่ยนเป็ นโรงงาน ต้ องใช้ รถบรรทุก ที่ดินภารยทรัพย์ ก็ห้ามไม่ให้ ใช้ รถบรรทุกได้ o มาตรา ๑๓๙๐ “ท่านมิ ให้เจ้าของภารยทรัพย์ ประกอบกรรมใดๆ อันจะเป็ นเหตุให้ ประโยชน์แห่งภาระจายอมลดไปหรื อเสือ่ มความสะดวก”  หลัก – ภารยทรัพย์ก็ต้องไม่ไปทาให้ ที่ภาระจายอมเสื่อมประโยชน์ลง หรื อเสื่อม ความสะดวก  การสร้ างอาคารคร่ อมที่ที่ดน ิ ที่เป็ นทางภาระจายอม เจ้ าของที่ภารยทรัพย์สามารถ ทาได้ แต่ ฎ.วางหลักว่าต้ องสูงเกินกว่า ๓ เมตรครึ่ง (ที่เหลือจะสูงขึ ้นไปจากส่วนที่ คร่อมทางเป็ น ๑๐๐ ชันก็ ้ ได้ ) เนื่องจากมองว่า ๓ เมตรครึ่งไม่ถือว่าเป็ นการที่ทาให้ ภาระจายอมเสื่อมประโยชน์ลง  เจ้ าของที่ภารยทรัพย์นาศาลพระภูมิไปวางหรื อสร้ างขวางทางภาระจายอม ดังนี ้ เป็ นการทาให้ ทางแคบลง ถือว่าทาให้ ภาระจายอมเสื่อมประโยชน์และเจ้ าของที่ สามยทรัพย์ได้ รับความไม่สะดวก o มาตรา ๑๓๙๑ “เจ้าของสามยทรัพย์ มีสิทธิ ทาการทุกอย่างอันจาเป็ นเพือ ่ รักษาและใช้ ภาระจายอม แต่ตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง ในการนีเ้ จ้าของสามยทรัพย์จะ ก่อให้เกิ ดความเสียหายแก่ภารยทรัพย์ได้ก็แต่นอ้ ยทีส่ ดุ ตามพฤติ การณ์ เจ้าของสามยทรัพย์ต้องเสียค่าใช้จ่ายของตนเองรักษาซ่อมแซมการทีไ่ ด้ทาไป แล้วให้เป็ นไปด้วยดี แต่ถา้ เจ้าของภารยทรัพย์ได้รับประโยชน์ดว้ ยไซร้ ท่านว่าต้องออก ค่าใช้จ่ายตามส่วนแห่งประโยชน์ทีไ่ ด้รับ”  เจ้ าของสามยทรัพย์สามารถไปรื อ ้ ศาลพระภูมิออกได้ ตาม ม.๑๓๙๑ (แต่อาจถูก ฟ้องศาลทาให้ เสียทรัพย์ ซึง่ ศาลจะวินิจฉัยว่าไม่มีความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์)  การที่เจ้ าของสามยทรัพย์รือ ้ ศาลพระภูมิต้องเสียค่าใช้ จา่ ยเอง และต้ องทาให้ เกิด ความเสียหายน้ อยที่สดุ ตามพฤติการณ์ + โดยหากเกิดความเสียหายต้ องจ่าย ค่าชดเชยความเสียหายให้ ด้วย (แต่ถ้าฟ้องศาลให้ รือ้ ออก เจ้ าของที่ภารยทรัพย์ก็ ต้ องเป็ นผู้รือ้ ถอนออกไปและเสียค่าใช้ จา่ ยเอง เจ้ าของสามยทรัพย์ไม่ต้องเสียเงิน)  ตัวอย่ าง หากกิ่งไม้ ยื่นมาขวางการเข้ าออกของรถที่เป็ นทางภาระจายอม เมื่อ เจ้ าของสามยทรัพย์ไปตัดก็ต้องจ่ายค่าเสียหายที่ตดั ต้ นไม้ ให้ แก่เจ้ าของภารยทรัพย์ กล่าวคือ ตัดต้ นไม้ เองได้ แต่ต้องอยูใ่ นกรอบของ ม.๑๓๙๑ สิทธิและหน้ าที่ของเจ้ าของภารยทรัพย์ ตาม กม. สิทธิและหน้ าที่ของเจ้ าของสามยทรั พย์ และภารยทรั พย์ ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญา ก่ อตัง้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 57 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การระงับสิน้ ไปของ ภาระจายอม





การได้ ภาระจายอม ส่ วนใหญ่ เป็ นการออก สอบเรื่องการได้ มาซึ่ง ภาระจายอม

ภาระจายอม ไม่ใช่สิทธิ ติดตัว สามารถโอนกันได้ แต่ต้องโอนสามยทรัพย์ แล้ วคนที่มาสวมสิทธิ สามยทรัพย์ก็จะได้ รับภาระจายอมต่อไป

บทที่ ๑๒ สิทธิอาศัย (หน้ า ๓๓๓)

 

โดยนิตกิ รรม – จดยกเลิกภาระจายอม โดยอยูภ่ ายในบังคับ ม.๑๓๐๑ คือ การยกเลิก ต้ องไปจดทะเบียน ไม่ไปจด ไม่บริบรู ณ์เป็ นทรัพยสิทธิ ใช้ ยนั ได้ เฉพาะคูก่ รณี ไม่สามารถ ยันบุคคลที่ ๓ ได้ อาทิ เมื่อ ก กับ ข ตกลงทาสัญญายกเลิกภาระจายอมแต่ไม่ได้ ไปจด ทะเบียน ต่อมา ก เจ้ าของที่สามยทรัพย์ขายที่ดินให้ ค ดังนี ้ ค ก็ยงั ถือประโยชน์ในภาระ จายอมในที่ดนิ ของ ข ได้ ตอ่ ไป โดยผลของ กม. o มาตรา ๑๓๙๗ “ถ้าภารยทรัพย์หรื อสามยทรัพย์สลายไปทัง้ หมดท่านว่าภาระจายอม สิ้ นไป”  เหลืออสังหาริ มทรัพย์เดียวกัน o มาตรา ๑๓๙๘ “ถ้าภารยทรัพย์และสามยทรัพย์ ตกเป็ นของเจ้าของคนเดี ยวกัน ท่าน ว่าเจ้าของจะให้เพิกถอนการจดทะเบียนภาระจายอมก็ได้ แต่ถ้ายังมิ ได้เพิกถอน ทะเบี ยนไซร้ ภาระจายอมยังคงมี อยู่ในส่วนบุคคลภายนอก”  ตกเป็ นของเจ้ าของเดียวกัน แต่ต้องไปเพิกถอนทางทะเบียน หากไม่ได้ ไปเพิกถอน แล้ วแต่มาขายที่ดงั กล่าว ภาระจายอมยังคงมีอยูใ่ นส่วนของบุคคลภายนอก o มาตรา ๑๓๙๙ “ภาระจายอมนัน ้ ถ้ามิ ได้ใช้สิบปี ท่านว่าย่อมสิ้ นไป”  แต่ก็ควรไปเพิกถอนทางทะเบียนเพื่อไม่ให้ เกิดปั ญหาภายหลัง o มาตรา ๑๔๐๐ “ถ้าภาระจายอมหมดประโยชน์แก่สามยทรัพย์ไซร้ ท่านว่ าภาระจา ยอมนัน้ สิ้ นไป แต่ถา้ ความเป็ นไปมี ทางให้กลับใช้ภาระจายอมได้ไซร้ ท่านว่าภาระจา ยอมนัน้ กลับมี ขึ้นอีกแต่ต้องยังไม่พน้ อายุความทีร่ ะบุไว้ในมาตราก่อน ถ้าภาระจายอมยังเป็ นประโยชน์แก่สามยทรัพย์อยู่บา้ ง แต่เมื ่อเที ยบกับภาระอัน ตกอยู่แก่ภารยทรัพย์แล้ว ประโยชน์นนั้ น้อยนักไซร้ ท่านว่าเจ้าของภารยทรัพย์จะขอ ให้พน้ จากภาระจายอมทัง้ หมด หรื อแต่บางส่วนก็ได้ แต่ตอ้ งใช้ค่าทดแทน”  ตัวอย่ าง ได้ ภาระจายอมตักน ้ามาบ่อใช้ ต่อมาการประปาวางท่อผ่านที่ดน ิ เรา ก็ไม่ ต้ องไปตักน ้าอีก เนื่องจากใช้ น ้าประปาได้ วันหนึง่ ท่อประปาเกิดเสีย หากยังไม่พ้น ๑๐ ปี ยังสามารถไปตักน ้าบ่อได้ แต่หากพ้ น ๑๐ ปี ก็ไม่สามารถไปตักน ้าบ่อได้ มาตรา ๑๔๐๒ “บุคคลใดได้รับสิ ทธิ อาศัยในโรงเรื อน บุคคลนัน้ ย่อมมี สิทธิ อยู่ในโรงเรื อน นัน้ โดยไม่ตอ้ งเสียค่าเช่า” สิทธิอาศัย = สิทธิอาศัยอยูใ่ นโรงเรื อนโดยไม่เสียค่าเช่า o บรรทัดฐานของศาล -- สิทธิอาศัยได้ มาโดยนิตก ิ รรมเท่านัน้ ทาให้ ไม่ได้ ทรัพยสิทธิ และใช้ ยนั ได้ เฉพาะคูก่ รณีเท่านัน้ ผลคือ ใช้ ยนั บุคคลภายนอกไม่ได้ ดังนัน้ จึงใช้ ม.๑๒๙๙ ว.๑ เป็ นหลัก ดังนัน้  ไม่มีค่าตอบแทน – จะยกเลิกสิทธิอาศัยเมื่อใดก็ได้  มี ค่าตอบแทน – ใช้ ม.๓๖๙ บังคับให้ จดทะเบียนได้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 58 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

ตัวอย่ าง แม่ยกที่ดนิ ให้ ลกู แล้ วให้ ลกู จดสิทธิอาศัยให้ ดังนัน้ เมื่อแม่ยกที่ดินให้ ลูกโดยเสน่หาแล้ ว (ซึง่ ถือว่าเป็ นค่าตอบแทนในการจดสิทธิอาศัย เป็ นสัญญา ต่างตอบแทนชนิดหนึง่ ) ลูกก็มีหน้ าที่ต้องจดสิทธิอาศัยให้ แม่ แต่หากปรากฏว่า ลูกไม่จดสิทธิอาศัยให้ แม่ เช่นนี ้ ลูกไม่สามารถไล่แม่ออกจากที่ดินดังกล่าวได้ และฟ้องให้ ลกู จดสิทธิอาศัยให้ ได้ ตาม ม.๓๖๙ สัญญาต่างตอบแทน o ความเห็น อ.วิริยะ – ไม่เห็นด้ วยกับแนวศาล โดยมองว่าแนว ฎ.ที่กาหนดให้ การได้ สิทธิอาศัยมาโดยพินยั กรรมเป็ นการได้ มาตามนิติกรรมจึงเอาไปยันได้ เฉพาะคูก่ รณี คือ คนตายเท่านัน้ ดังนัน้ จึงต้ องเอาไปจดทะเบียนก่อน หาก อ.วิริยะ มองว่าการได้ มา โดยพินยั กรรมเป็ นการได้ มาตามมรดก ซึง่ เป็ นไปตามผลของ กม. ผลคือ ผูกพันบุคคล ที่ ๓ ทาให้ สามารถยันได้ กบั ทุกคน มาตรา ๑๔๐๓ “สิ ทธิ อาศัยนัน้ ท่านว่าจะก่อให้เกิ ดโดยมี กาหนดเวลาหรื อตลอดชี วิตของ ผูอ้ าศัยก็ได้ ถ้าไม่มีกาหนดเวลา ท่านว่าสิ ทธิ นนั้ จะเลิ กเสียในเวลาใดๆ ก็ได้แต่ต้องบอกล่วงหน้า แก่ผอู้ าศัยตามสมควร ถ้าให้สิทธิ อาศัยโดยมี กาหนดเวลา กาหนดนัน้ ท่านมิ ให้เกิ นสามสิ บปี ถ้ากาหนดไว้ นานกว่านัน้ ให้ลดลงมาเป็ นสามสิ บปี การให้สิทธิ อาศัยจะต่ออายุก็ได้ แต่ต้อง กาหนดเวลาไม่เกิ นสามสิ บปี นับแต่วนั ทาต่อ” o สิทธิอาศัยจะมีกาหนดเวลาหรื อไม่ก็ได้ / แต่หากไม่มีกาหนดเวลา แม้ จะจดทะเบียน ก็สามารถบอกเลิกเมื่อใดก็ได้ (ดังนัน้ จึงมักมีกาหนดเวลา) (จดหรื อไม่จดผลก็ไม่ต่าง) ดังนัน้ เมื่อมีการโอนที่ดนิ ให้ กบั บุคคลภายนอกไป หากไม่มีกาหนดเวลา บุคคลที่รับ โอนที่ดนิ จะบอกเลิกสิทธิอาศัยเมื่อไหร่ก็ได้ มาตรา ๑๔๐๔ “สิ ทธิ อาศัยนัน้ จะโอนกันไม่ได้แม้โดยทางมรดก” o สิทธิอาศัยเป็ นสิทธิเฉพาะตัว จะโอนกันไม่ได้ แม้ ทางมรดกให้ แก่ลก ู หลานไม่ได้ หากผู้ ทรงสิทธิอาศัยตาย สิทธิอาศัยก็ระงับ มาตรา ๑๔๐๕ “สิ ทธิ อาศัยนัน้ ถ้ามิ ได้จากัดไว้ชดั แจ้งว่าให้เพือ่ ประโยชน์แก่ผู้อาศัย เฉพาะตัวไซร้ บุคคลในครอบครัวและในครัวเรื อนของผูอ้ าศัยจะอยู่ดว้ ยก็ได้” o หากผู้ทรงสิทธิยงั มีชีวิตอยู่ ก็ให้ ลก ู หลานอยู่ด้วยได้ มาตรา ๑๔๐๖ “ถ้าผูใ้ ห้อาศัยมิ ได้หา้ มไว้ชดั แจ้ง ผู้อาศัยจะเก็บเอาดอกผลธรรมดาหรื อ ผลแห่งทีด่ ิ น มาใช้เพียงทีจ่ าเป็ นแก่ความต้องการของครัวเรื อนก็ได้” o ใช้ ได้ แต่ขายไม่ได้ มาตรา ๑๔๐๘ ”เมื ่อสิ ทธิ อาศัยสิ้ นลง ผู้อาศัยต้องส่งทรัพย์สินคื นแก่ผใู้ ห้อาศัย” o สิทธิอาศัยสิ ้นสุดลงโดยผลนิตก ิ รรมเท่านัน้ คือ การไปจดยกเลิก และต้ องส่งทรัพย์สิน คืนแก่เจ้ าของที่ดนิ นัน้ 











คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 59 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

Summary Topic / Essence บทที่ ๑๓ สิทธิเหนือ พืน้ ดิน (ไม่ค่อยได้ใช้)

สิทธิเหนือพื ้นดินสู้สญ ั ญา เช่าไม่ได้ ในเรื่ องของการ ใช้ ประโยชน์ เนื่องจาก การเช่าที่ดนิ ทังหมด ้ สามารถทาให้ เราใช้ สอย ได้ เต็มที่ แต่สิทธิเหนือ พื ้นดินก็อาจไม่ต้องเสีย เงิน (ต่างกับสัญญาเช่าที่ ต้ องเสียค่าเช่า)



Record / Note on 2010-02-15 (ขาดเรียน จดจากคลิป) มาตรา ๑๔๑๐ “เจ้าของทีด่ ิ นอาจก่อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพืน้ ดิ นเป็ นคุณแก่บคุ คลอืน่ โดยให้ บุคคลนัน้ มี สิทธิ เป็ นเจ้าของโรงเรื อน สิ่ งปลูกสร้าง หรื อสิ่ งเพาะปลูก บนดิ นหรื อใต้ดินนัน้ ” o ให้ สิทธิผ้ อ ู ื่นเป็ นเจ้ าของโรงเรื อน สิ่งปลูกสร้ าง หรื อสิ่งเพาะปลูกบนที่ดนิ ซึง่ สอดรับกับ หลักส่วนควบ โดยหากให้ สิทธิเหนือพื ้นดินเมื่อใด สิ่งที่ปลูกลงไปโดยมีสิทธิก็ไม่เป็ น ส่วนควบ แต่สามารถเป็ นเจ้ าของทรัพย์นนเองได้ ั้ o การได้ มา – โดยนิตก ิ รรม (เหมือนสิทธิอาศัย) (โดยการได้ มาโดยพินยั กรรม ศาลก็ วินิจฉัยว่าเป็ นการได้ มาโดยนิตกิ รรม) o ไม่เป็ นสิทธิเฉพาะตัว (ต่างจากสิทธิอาศัย) – ดูจาก ม.๑๔๑๓ และสามารถโอนและ รับมรดกกันได้ (ม.๑๔๑๑) ซึง่ ทาให้ เจ้ าของโรงเรื อนสิ่งปลูกสร้ างสามารถขายสิ่งปลูก สร้ างหรื อโรงเรื อนให้ ผ้ อู ื่นได้  มาตรา ๑๔๑๓ “ถ้าสิ ทธิ เหนื อพื น ้ ดิ นนัน้ ไม่มีกาหนดเวลาไซร้ ท่านว่าคู่กรณี ฝ่ายใด จะบอกเลิ กเสี ยในเวลาใดก็ได้ แต่ต้องบอกล่วงหน้าแก่อีกฝ่ ายหนึ่งตามสมควร ถ้า มี ค่าเช่าซึ่งจาต้องให้แก่กนั ไซร้ ท่านว่าต้องบอกล่วงหน้าปี หนึ่ง หรื อให้ค่าเช่าปี หนึ่ง”  มาตรา ๑๔๑๑ “ถ้ามิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื น ่ ในนิ ติกรรมอันก่อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อ พืน้ ดิ นไซร้ ท่านว่าสิ ทธิ นนั้ อาจโอนได้และรับมรดกกันได้” o หากบ้ านตกเป็ นมรดกของทายาท สิทธิเหนือพื ้นดินก็ตกเป็ นของทายาทด้ วย มิฉะนัน้ หากไม่โอนหรื อตกไปเป็ นมรดก ทายาทก็ต้องรื อ้ บ้ านไป แต่ไม่ได้ ทาให้ ทายาทได้ สิทธิ ใช้ สอยในที่ดนิ ส่วนอื่น o ตัวอย่ าง ก มีที่ดน ิ ๑ ไร่ ให้ ข ปลูกบ้ านบทเนื ้อที่ ๕๐ ตร.ว. ดังนัน้ เมื่อบ้ านของ ข ตกเป็ นของทายาทหรื อโอนไปให้ ผ้ อู ื่น ผู้รับโอนหรื อทายาทของ ข ก็มีสิทธิใช้ สอยที่ดนิ เฉพาะ ๕๐ ตร.ว. ที่ปลูกบ้ านนันเท่ ้ านัน้ ไม่สามารถใช้ สอยที่ดนิ ส่วนอื่นของ ก ได้ ถ้ า จะใช้ สอยอย่างอื่น อาทิ ขุดสระว่ายน ้า ก็ต้องต้ องมีการ ตกลงกันต่างหาก แต่ ข สามารถเดินเข้ าออกในที่ดินของ ก เพื่อไปใช้ ประโยชน์ในบ้ านของตนได้ o สิทธิเหนือพื ้นดินจะมีกาหนดเวลาหรื อไม่มีก็ได้ ม.๑๔๑๒ – โดยหากมีกาหนดเวลา ต้ องไม่เกิน ๓๐ ปี แต่ถ้าไม่มีกาหนดเวลาจะคล้ ายสิทธิอาศัย  มาตรา ๑๔๑๒ “สิ ทธิ เหนื อพื น ้ ดิ นนัน้ จะก่อให้เกิ ดโดยมี กาหนดเวลาหรื อตลอดชี วิต เจ้าของที ด่ ิ น หรื อตลอดชี วิตผูท้ รงสิ ทธิ เหนื อพืน้ ดิ นนัน้ ก็ได้ ถ้าก่อให้เกิ ดสิ ทธิ พืน้ ดิ นโดยมี กาหนดเวลาไซร้ ท่านให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐๓ วรรค ๓ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม”  ถ้าไม่มีค่าตอบแทน – แม้ วา ่ จะมีการจดทะเบียน (มีผลเหมือนสิทธิอาศัย) หากบอก

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 60 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

สิทธิอาศัย/สิทธิเหนือ พื ้นดิน หากไม่จดทะเบียน ก็ไม่บริบรู ณ์เป็ น ทรัพยสิทธิ ไม่สามารถยัน บุคคลภายนอกได้ และ แม้ วา่ จดทะเบียนก็บอก เลิกได้ เพราะไม่เสีย ค่าตอบแทน

บทที่ ๑๔ สิทธิเก็บกิน



เลิกสามารถทาได้ เลย  ถ้ามี ค่าเช่าหรื อค่าตอบแทน – หากจะมีการยกเลิก ต้ องมีการบอกล่วงหน้ า ๑ ปี o หากออกสอบ -- จะเป็ นเรื่ องการได้ มาโดยนิติกรรม (เหมือนสิทธิอาศัย) แต่อาจมี ประเด็นหลอก ในเรื่ องให้ จดทะเบียนแบบไม่มีกาหนดเวลา แล้ วโอนไปยังบุคคลที่ ๓ บุคคลที่ ๓ ขอยกเลิกสิทธิเหนือพื ้นดิน/สิทธิอาศัยได้ หรื อไม่ – อาทิ ก จดทะเบียนสิทธิ อาศัย/สิทธิเหนือพื ้นดินให้ ข ต่อมา ก โอนขายที่ดนิ ให้ ค โดยที่ ค ก็ร้ ูวา่ ข มีสิทธิเหนือ ที่ดนิ แปลงดังกล่าว แต่ก็ยงั ซื ้อไป เมื่อซื ้อไปเสร็จ ค จะขอเลิกสิทธิอาศัย/สิทธิเหนือ พื ้นดินก็สามารถทาได้ แม้ วา่ จะจดทะเบียน (จดทะเบียนหรื อไม่ / รู้หรื อไม่ร้ ู ผลก็ไม่ ต่าง) เนื่องจากผู้รับโอนรับไปทังสิ ้ ทธิและหน้ าที่ของผู้โอน แม้ วา่ สิทธิดงั กล่าวไม่มี กาหนดเวลาก็บอกเลิกได้ o ข้ อเท็จจริ งเดิม หาก ก เจ้ าของที่ดน ิ ไม่ยอมให้ รือ้ ถอนเรื อนโรงที่ปลูกบนที่ดนิ ของ ก แต่ต้องการใช้ หลักส่วนควบ บอกเจตนาจะซื ้อตามราคาท้ องตลาด ข ผู้ทรงสิทธิเหนือ พื ้นดินจะไม่ยอมขายไม่ได้ เว้ นแต่จะมีเหตุตามสมควร อาทิ เป็ นบ้ านทรงไทยมรดกตก ทอด ว่าหากสิทธิเหนือพื ้นดินหมดให้ ยกไปปลูกที่อื่น ซึง่ ศาลต้ องพิจารณาเป็ นกรณีไป มาตรา ๑๔๑๗ “อสังหาริ มทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในบังคับสิ ทธิ เก็บกิ นอันเป็ นเหตุให้ผทู้ รง สิ ทธิ นนั้ มี สิทธิ ครอบครอง ใช้ และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งทรัพย์สินนัน้ ผูท้ รงสิ ทธิ เก็บกิ นมี อานาจจัดการทรัพย์สิน ผูท้ รงสิ ทธิ เก็บกิ นในป่ าไม้ เหมื องแร่ หรื อที ข่ ุดหิ น มี สิทธิ ทาการแสวงประโยชน์จาก ป่ าไม้ เหมื องแร่ หรื อทีข่ ดุ หิ นนัน้ ” o การได้ สิทธิเก็บกินเหมือนเกื อบจะได้ กรรมสิทธิ์ เว้ นแต่ไม่ได้ “สิทธิจาหน่ายจ่ายโอน” เพราะมีสิทธิใช้ สอย สิทธิได้ ดอกผล และในฐานะที่มีสิทธิครอบครองก็สามารถมีสิทธิ ติดตามเอาคืน ขัดขวาง นอกจากนัน้ ในบางกรณีอาจล ้าไปถึงสิทธิในการจาหน่าย ด้ วย อาทิ การได้ สิทธิเก็บกินในป่ าไม้ หรื อเหมืองแร่ สามารถเอาไม้ และแร่ขดุ มาขาย ได้ เลย (จาหน่ายส่วนของที่ดิน แต่ไม่ได้ สามารถจาหน่ายตัวที่ดนิ ได้ ไม่สามารถเอา เนื ้อดินไปขายได้ เว้ นแต่ การระเบิดหิน เอาหินไปขายได้ สิทธิขดุ ทรายขาย สามารถ ขุดทรายขายได้ ) o สิทธิเก็บกินมีลก ั ษณะเฉพาะตัว ตาม ม.๑๔๑๘ ว.ท้ าย – เมื่อผู้ทรงสิทธิตายก็ระงับ เสมอ แม้ วา่ จะตกลงกันไว้ อย่างไรก็ตาม / กรณีจดสิทธิเก็บกินให้ นิติบคุ คลไม่มี กม. ใดห้ ามไว้ แต่หากจดไว้ วา่ ตลอดชีวิตของนิติบคุ คล ก็มีผลจนกว่าจะเลิกนิตบิ คุ คลนัน้  มาตรา ๑๔๑๘ “สิ ทธิ เก็บกิ นนัน ้ จะก่อให้เกิ ดโดยมี กาหนดเวลาหรื อตลอดชี วิต แห่งผูท้ รงสิ ทธิ ก็ได้ ถ้าไม่มีกาหนดเวลา ท่านในสันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าสิ ทธิ เก็บกิ นมี อยู่ตลอดชี วิต ผูท้ รงสิ ทธิ

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 61 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

บทที่ ๑๕ ภาระติดพัน ในอสังหาริมทรัพย์



ถ้ามี กาหนดเวลา ท่านให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐๓ วรรค ๓ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ถ้าผูท้ รงสิ ทธิ เก็บกิ นถึงแก่ความตาย ท่านว่าสิ ทธิ นนั้ ย่อมสิ้ นไปเสมอ” o สิทธิเก็บกินแม้ ห้ามโอน แต่สามารถโอนประโยชน์การใช้ สอยได้ ตาม ม.๑๔๒๒  มาตรา ๑๔๒๒ “ถ้ามิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื น ่ ในนิ ติกรรมอันก่อให้เกิ ดสิ ทธิ เก็บ กิ นไซร้ ท่านว่าผูท้ รงสิ ทธิ นนั้ จะโอนการใช้สิทธิ ของตนให้บคุ คลภายนอกก็ได้ ใน กรณี เช่นนัน้ เจ้าของทรัพย์สินอาจฟ้ องร้องผูร้ ับโอนโดยตรง”  ตัวอย่ าง ก มีสิทธิเก็บกินในที่ดน ิ ของ ข แต่ ก อาจไม่อยากใช้ สิทธิเอง ก็สามารถ เอาออกให้ ค เช่า ตาม ม.๑๔๒๒ และเมื่อผู้เช่าไปทาอะไรที่ขดั กับหลักสิทธิเก็บ กิน ข เจ้ าของที่ดนิ ก็สามารถฟ้องกับผู้เช่าโดยตรงได้ หรื ออาจฟ้อง ก ร่วมด้ วยก็ได้ เมื่อ ก ผู้ทรงสิทธิเก็บกินตาย สิทธิเก็บกินระงับ ค ผู้เช่าก็ไม่มีสิทธิอยูต่ อ่ (ผู้เช่าไม่ มีสิทธิดีกว่าผู้ทรงสิทธิ และไม่มีฐานจะอ้ างเมื่อผู้ทรงสิทธิตาย) หาก ค ผู้เช่าไม่ ยอมออก ข เจ้ าของที่ดนิ ก็ฟ้องผู้เช่าโดยตรงได้ มาตรา ๑๔๒๙ “อสังหาริ มทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในภาระติ ดพัน อันเป็ นเหตุให้ผรู้ ับ ประโยชน์มีสิทธิ (๑) ได้รับการชาระหนีเ้ ป็ นคราวๆ จากทรัพย์สินนัน้ หรื อ (๒) ได้ใช้และ ถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งทรัพย์สินตามที ่ระบุไว้” o เมืองไทยไม่คอ ่ ยมีแต่ใช้ มากในเยอรมัน เรี ยก “สิทธิของตาเฒ่า” เนื่องจากมีประเพณี ของเยอรมัน คือ เมื่อคนแก่ลงแล้ ว ก็ต้องการให้ ลกู หลานเลี ้ยงดู จึงต้ องไปกาหนด ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ โดยยกทรัพย์สินให้ ลกู หลานแลกกับการที่ลกู หลาน ต้ องจ่ายเงินให้ เป็ นงวดๆ โดยเงินที่จา่ ยต้ องเป็ นเงินรายได้ จากทรัพย์สินนันแล้ ้ วเอามา แบ่งให้ พอ่ แม่ อาทิ เงินที่ได้ จากค่าเช่าที่ดินแล้ วเอามาแบ่งให้ พอ่ แม่ การแบ่งข้ าวที่เกิด ในนาให้ ๑ เกวียนต่อไร่ การกาหนดให้ แบ่งค่าเช่าจากบ้ าน o การที่พอ ่ แม่ยกบ้ านให้ ลกู อยู่ แล้ วบอกว่าให้ ลกู จ่ายค่าเลี ้ยงดูให้ พอ่ แม่เดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ไม่ถือเป็ นภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ เพราะไม่ใช่การชาระหนี ้เป็ น คราวๆ อีกทังเงิ ้ นไม่ได้ เกิดจากดอกผลของทรัพย์สินนัน้ o บางครัง้ ภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์มีความคาบเกี่ยวกับสิทธิเก็บกิน แต่เป็ นสิทธิ เก็บกินเฉพาะเรื่ อง  สิทธิเก็บกิน -- ข มีสวนมะม่วงให้ สิทธิเก็บกินกับ ก ผลคือ ก สามารถถือเอา ประโยชน์จากสวนมะม่วงเต็มที่  ภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์ -- ข ยกที่ดน ิ และสวนมะม่วงให้ ก โดยบอกว่า ให้ แบ่งมะม่วงมาให้ ครึ่งหนึง่ o ตัวอย่ าง ก เป็ นเจ้ าของที่ดน ิ ติดกับที่ดนิ ของ ข โดย ก ให้ ค เช่าบ้ านบนที่ดนิ ดังกล่าว ต่อมา ข และ ค สนิทกัน ข จึงให้ สิทธิ ค เดินผ่านที่ดนิ ของตนไปสูท่ างสาธารณะได้

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

- 62 Note-Taking by Cookingpond -- TU LAW 53 (Bus-1-B)

การได้ สิทธิเก็บกินต้ องได้ ทังหมด ้ แต่การได้ ภาระ ติดพันในอสังหาริ มทรัพย์ สามารถได้ บางส่วนได้ o

o

และจะไปจดสิทธินี ้ให้ ด้วย ดังนัน้ สิทธิดงั กล่าวเป็ น “ภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์” เป็ นภาระจายอมไม่ได้  เพราะการจดภาระจายอมต้ องจดให้ กบ ั เจ้ าของทรัพย์ คือ ก แต่กรณีนี ้เป็ นการจด ให้ กบั ค ตัวบุคคล / นอกจากนัน้ ไม่ใช่สิทธิเก็บกินเพราะหากจะจดสิทธิเก็บกิน การให้ สิทธิเก็บกินต้ องเป็ นสิทธิทงหมด ั้ ภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นส่วนหนึง่ ของสิทธิเก็บกิน โดยหลักจึงเป็ นสิทธิ เฉพาะตัว แต่อาจตกลงยกเว้ นให้ ไม่เป็ นสิทธิเฉพาะตัวก็ทาได้ ตาม ม.๑๔๓๑  มาตรา ๑๔๓๑ “ถ้ามิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื น ่ ในนิ ติกรรมอันก่อให้เกิ ดภาระติ ดพัน ไซร้ ท่านว่าภาระติ ดพันในอสังหาริ มทรัพย์นนั้ จะโอนกันไม่ได้แม้โดยทางมรดก” ภาระติดพันในอสังหาริ มทรัพย์ สามารถให้ มีกาหนดเวลาหรื อไม่ก็ได้ ตาม ม.๑๔๓๐  มาตรา ๑๔๓๐ “ภาระติ ดพันในอสังหาริ มทรัพย์ นน ั้ จะก่อให้เกิ ดโดยมี กาหนดเวลา หรื อตลอดชี วิตแห่งผูร้ ับประโยชน์ก็ได้ ถ้าไม่มีกาหนดเวลา ท่านให้สนั นิ ษฐานไว้ก่อนว่าภาระติ ดพันใน อสังหาริ มทรัพย์มีอยู่ตลอดชี วิตผูร้ ับประโยชน์ ถ้ามี กาหนดเวลา ท่านให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐๓ วรรค ๓ มาใช้บงั คับ โดยอนุโลม” End of the Course

คาเตือน – Lecture ฉบับนี้เป็ นการจดด้ วย Notebook ขณะฟั งบรรยายในห้ อง (บางอย่ างก็จดในชีทด้ วย) มิใช่ การถอดเทป -- ดังนั้น โปรดใช้ วจิ ารณญาณในการอ่ าน เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด ซึง่ หากพบก็บอกกันได้ นะ จะได้ แก้ ไขให้ ถูกต้ อง และห้ ามโทษเจ้ าของ Lecture หากมีข้อผิดพลาดหรื อได้ คะแนนไม่ ดีเด็ดขาดจ้ า 555 =)

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF