นิราศภูเขาทอง1

September 11, 2017 | Author: thawatchai11222512 | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download นิราศภูเขาทอง1...

Description

ข้ อสอบวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เรื่อง “นิราศภูเขาทอง” ชื่อ ................................................... คะแนน .................................. ---------------------------------------------------------------------------------------ตอนที่ ๑: จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียวโดย X ทับตัวอักษรข้ อทีเ่ ลือก ๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับนิราศ ก. การครํ่าครวญถึงพ่อแม่ที่ตอ้ งจากมา โดบยรรยายถึงความลําบากที่ตอ้ งเดินทาง ข. ใช้เห่กล่อมเจ้านายในการเดินทางเพื่อให้ขอ้ คิด คติเตือนใจ ค. การรําพันถึงผูห้ ญิงของกวีที่ตอ้ งตายจากกันไป ง. แต่งเพื่อพรรณนาการเดินทาง การรําพันถึงการพลัดพลากจากนางอันเป็ นที่รัก ๒. นิราศภูเขาทองแต่งขึ้นในสมัยใด ก. สมัยรัชกาลที่ ๑ ค. สมัยรัชกาลที่ ๓

ข. สมัยรัชกาลที่ ๒ ง. สมัยรัชกาลที่ ๔

๓. วรรณคดีประเภทนิราศมักนิยมแต่งด้วยคําประพันธ์ประเภทใด ก. โคลง หรื อ กลอน ข. โคลง หรื อ กาพย์ ค. กาพย์ หรื อ กลอน ง. กลอน หรื อ ฉันท์ ๔. นิราศภูเขาทองมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ในด้านใด ก. การใช้โวหารเปรี ยบเทียบที่ดีเด่นมองเห็นภาพความยากลําบากในการเดินทาง ข. การใช้อุปมาอุปไมยให้เห็นภาพความทุกข์ทรมานของสุนทรภู่ที่ตอ้ งจากนางอันเป็ นที่รัก ค. การเลือกใช้คาํ ดีเด่น ง. การเล่นเสี ยงสัมผัสที่ยากต่อการเลียนแบบ ๕. ในนิราศภูเขาทองสุนทรภูเ่ ดินทางไปด้วยวัตถุประสงค์ใด ก. เพื่อนมัสการรอยพระพุทธบาท ค. เพื่อไปเยีย่ มชมเจดียภ์ ูเขาทอง

ข. เพื่อจําพรรษาอยูท่ ี่วดั ภูเขาทอง ง. เพือ่ นมัสการเจดียภ์ ูเขาทอง

๖. ในเรื่ องข้อใดไม่ใช่สถานที่ที่สุนทรภู่เดินทางผ่าน ก. พระบรมมหาราชวัง โรงเหล้า ค. บางจาก ตลาดขวัญ

ข. วัดประโคนปั ก บางพลัด ง. บางธรณี โศก บางพูด

๗. ข้อความใดแสดงความเชื่อของคนไทย ก. เห็นโศกใหญ่ใกล้น้ าํ ระกําแฝง เหมือนโศกพี่ที่ประจําก็ซ้ าํ เจือ

ทั้งรักแซงแซมสวาทประหลาดเหลือ เพราะรักเรื้ อแรมสวาทมาคลาดคลาย

ข. งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม ใครทําชูค้ ู่ท่านครั้นบรรลัย ค. จนแจ่มแจ้งแสงตะวันเห็นพันธุ์ผกั เหล่าบังเผื่อนแลสล้างริ มทางจร ง. สายติ่งแซมสลับต้นตับเต่า กระจับจอกดอกบัวบานผกา ๘.

“ ถึงบางพูดพูดดีเป็ นศรี ศกั ดิ์

แม้นพูดชัว่ ตัวตายทําลายมิตร ข้อใดมีความหมายเหมือนกับข้อความที่ยกมา ก. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตําลึงทอง ค. พูดจนลิงหลับ ๙.

“ ไปพ้นวัดทัศนาริ มท่านํ้า

ดังขวากแซมเสี้ ยมแซกแตกไสว ก็ตอ้ งไปปี นต้นน่าขนพอง ดูน่ารักบรรจงส่งเกสร ก้ามกุง้ ซ้อนเสี ยดสาหร่ ายใต้คงคา เป็ นเหล่าเหล่าแลรายทั้งซ้ายขวา ดาษดาดูขาวดัง่ ดาวพราย มีคนรักรสถ้อยอร่ อยจิต จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา ” ข. พูดนํ้าไหลไฟดับ ง. พูดดีเป็ นศรี แก่ปาก แพประจําจอดรายเขาขายของ ทั้งสิ่ งของขาวเหลืองเครื่ องสําเภา ”

มีแพรผ้ามารพัดสี ม่วงตอง คําที่ขีดเส้นใต้หมายความว่าอย่างไร ก. ผ้าแพรสี ขาว สี เหลือง ข. เรื อสําเภาที่ประดับด้วยทองคําและเงิน ค. ภาชนะเครื่ องทองเหลือง เครื่ องโลหะขาว ง. อาหารที่มีหลากสี สนั เช่น สี ขาวและสี เหลือง ๑๐.

“ มีเจดียว์ ห ิ ารเป็ นลานวัด

ที่องค์ก่อย่อเหลี่ยมสลับกัน ข้อความที่ยกมาให้คุณค่าทางด้านใด ก. จิตรกรรม ค. ประติมากรรม ๑๑.

๑๒.

ในจังหวัดเขาแขวงกําแพงกั้น เป็ นสามชั้นเชิงชานตระหง่านงาม ”

“ โอ้บาปกรรมนํ้านรกเจียวอกเรา

ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย ” หากใครดื่มนํ้านรกที่สุนทรภู่กล่าวถึงจะทําผิดศีลข้อใด ก. ศีลข้อ ๒ ข. ศีลข้อ ๓ ค. ศีลข้อ ๔ ง. ศีลข้อ ๕ “ ดูน้ าํ วิง่ กลิ้งเชี่ยวเป็ นเกลียวกรอก

ข้อความที่ยกมามีลกั ษณะเด่นทางวรรรศิลป์ ในข้อใด ก. การเล่นเสี ยงพยัญชนะ ค. การเล่นเสี ยงวรรณยุกตต์ ๑๓.

ข. สถาปั ตยกรรม ง. หัตถกรรม

“ พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด

กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน ” ข. การเล่นเสี ยงสระ ง. การใช้คาํ ถามเชิงวรรณศิลป์

ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเข็ญ ทั้งโรคซํ้ากรรมซัดวิบตั ิเป็ น ไม่แลเห็นที่ซ่ ึงจะพึ่งพา ” ในกลอนบทนี้แสดงให้เห็นความทุกข์ของสุนทรภู่ยกเว้นข้อใด

ก. ไร้ญาติขาดมิตร ยากแค้นแสนเข็ญ ค. ต้องโทษประหารชีวติ ๑๔.

“ ถึงหน้าวังดังหนึ่งใจจะขาด

ข. มีโรคภัยไข้เจ็บ ง. ถูกกรรมซํ้าเติม คิดถึงบาทบพิตรอดิศร ”

บาทบพิตรอดิศร สุนทรภู่กล่าวถึงใคร ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข. พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ค. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ง. พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้าเจ้าอยูห่ วั ๑๕. คําประพันธ์ในข้อใดแสดงให้เห็นถึงคติธรรมเกี่ยวกับความอนิจจัง ก. โอ้บาปกรรมนํ้านรกเจียวอกเรา ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย ทําบุญบวชกรวดนํ้าขอสําเร็ จ พระสรรเพชรโพธิญาณประมาณหมาย ข. ถึงบางเดื่อโอ้มะเดื่อเหลือประหลาด บังเกิดชาติแมลงหวีม่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอา ค. แต่ยามยากหากว่าถ้าท่านแปลก อกมีแตกเสี ยหรื อเราเขาจะสรวล เหมือนเข็ญใจใฝ่ สูงไม่สมควร จะต้องม้วนหน้ากลับอัปประมาณ ง. โอ้สามัญผันแปรไม่แท้เที่ยง เหมือนอย่างเยีย่ งชายหญิงทิ้งวิสยั นี่หรื อจิตคิดหมายมีหลายใจ ที่จิตใครจะเป็ นหนึ่งอย่าพึงคิด ๑๖. ข้อใดที่สุนทรภู่สอนเกี่ยวกับการให้รู้จกั คบคน ก. ถึงบางโพโอ้พระศรี มหาโพธิ ร่ มนิโรธรุ กขมูลให้พนู ผล ขอเดชะอานุภาพพระทศพล ให้ผอ่ งพ้นภัยพาลสําราญกาย ข. ถึงบางเดื่อโอ้มะเดื่อเหลือประหลาด บังเกิดชาติแมลงหวีม่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอา ค. บันไดมีสี่ดา้ นสําราญรื่ น ต่างชมชื่นชวนกันขึ้นชั้นสาม ประทักษิณจินตนาพยายาม ได้เสด็จสามรอบคํานับอภิวนั ท์ ง. แต่ยามยากหากว่าถ้าท่านแปลก อกมิแตกเสี ยหรื อเราเขาจะสรวล เหมือนเข็ญใจใฝ่ สูงไม่สมควร จะต้องม้วนหน้ากลับอัปประมาณ ๑๗. ข้อใดแสดงให้เห็นความสามารถของสุนทรภู่ในการเล่นเสี ยงสัมผัสสระ ก. พระสุริยงลงลับพยับฝน ดูมวั มนมืดมิดทุกทิศา ถึงทางลัดตัดทางมากลางนา ทั้งแฝกคาแขมกกขึ้นรกเรี้ ยว ข. เป็ นเงางํ้านํ้าเจิ้งดูเวิง้ ว้าง ทั้งกว้างขวางขวัญหาไม่วายเหลียว เป็ นดุ่มดุ่มหนุ่มสาวเสี ยงกราวเกรี ยว ล้วนเรื อเพรี ยวพร้อมหน้าพวกปลาเลย ค. ถึงบางเดื่อโอ้มะเดื่อเหลือประหลาด บังเกิดชาติแมลงหวีม่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอา ง. ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แม้นมอดม้วยกลับชาติวาสนา อายุยนื หมื่นเท่าเสาศิลา อยูค่ ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง

๑๘. ข้อใดกวีใช้โวหารอธิพจน์ ก. พระสุริยงลงลับพยับฝน ดูมวั มนมืดมิดทุกทิศา ถึงทางลัดตัดทางมากลางนา ทั้งแฝกคาแขมกกขึ้นรกเรี้ ยว ข. เป็ นเงางํ้านํ้าเจิง้ ดูเวิง้ ว้าง ทั้งกว้างขวางขวัญหาไม่วายเหลียว เป็ นดุ่มดุ่มหนุ่มสาวเสี ยงกราวเกรี ยว ล้วนเรื อเพรี ยวพร้อมหน้าพวกปลาเลย ค. ถึงบางเดื่อโอ้มะเดื่อเหลือประหลาด บังเกิดชาติแมลงหวีม่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอา ง. ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แม้นมอดม้วยกลับชาติวาสนา อายุยนื หมื่นเท่าเสาศิลา อยูค่ ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง ๑๙.

“ เห็นโศกใหญ่ใกล้น้ าํ ระกําแฝง

ทั้งรักแซมแซงสวาทประหลาดเหลือ เพราะรักเรื้ อแรมสวาทมาคลาดคลาย ”

เหมือนโศกพี่ที่ระกําก็ซ้ าํ เจือ สุนทรภู่มีวธิ ีการใดในการแต่งคําประพันธ์ในบทนี้ ก. การเล่นนคํา ค. การกล่าวเกินจริ ง ๒๐.

ข. การเล่นเสี ยง ง. การเปรี ยบเทียบ

“ จึงสร้างพรตอุตส่ าห์ส่งส่ วนบุญถวาย

เป็ นสิ่ งของฉลองคุณมุลลิกา จากข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นว่าสุนทรภู่เป็ นคนเช่นไร ก. มีความกตัญญูรู้คุณ ค. รู ้จกั การวางแผนที่ดี ๒๑.

“ เคยมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบ

ประพฤติฝ่ายสมถะทั้งวสา ขอเป็ นข้าเคียงพระบาททุกชาติไป ” ข. รู ้จกั พลิกวิกฤตให้เป็ นโอกาส ง. รู ้จกั ใช้ประโยชน์จากสิ่ งที่ตนมี

ละอองอบรสรื่ ชื่นนาสา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์ ”

สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคําประพันธ์ขา้ งต้น ก. สุนทรภู่รําพันถึงรัชกาลที่ ๒ ข. “รสสุคนธา” หมายถึง นํ้าหอม ค. แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดระหว่างสุนทรภู่กบั รัชกาลที่ ๒ ง. สุนทรภู่กล่าวถึงชีวติ ของตนที่รุ่งเรื องในสมัยรัชกาลที่ ๒ และต้องตกอับเมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต แล้ว ๒๒. คําประพันธ์ในข้อใดเป็ นการบรรยายลักษณะของเจดียภ์ ูเขาทอง ก. ครั้นรุ่ งเช้าเป็ นวันอุโบสถ เจริ ญรสธรรมาบูชาฉลอง ไปเจดียท์ ี่ชื่อภูเขาทอง ดูสูงล่องลอยฟ้ านภาลัย ข. มีเจดียว์ หิ ารเป็ นลานวัด ในจังหวัดวงแขวงกําแพงกั้น ที่องค์ก่อย่อเหลี่ยมสลับกัน เป็ นสามชั้นเชิงชานตระหง่านงาม ค. ออกจากวัดทัศนาดูอาวาส เมื่อตรุ ษสารทพระพรรษาได้อาศัย สามฤดูอยูด่ ีไม่มีภยั มาจําไกลอารามเมื่อยามเย็น ง. งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ ยมแทรกแตกไสว ใครทําชูค้ ู่ท่านครั้นบรรลัย ก็ตอ้ งไปปี นต้นน่าขนพอง

๒๓.

“ ออกจากวัดทัศนาดูอาวาส

สามฤดูอยูด่ ีไม่มีภยั “วัด” ในคําประพันธ์ขา้ งต้นนี้ คือวัดในข้อใด ก. วัดระฆังโฆสิ ตาราม ฯ ค. วัดดุสิตาราม ฯ ๒๔. คําประพันธ์ในข้อใดไม่ได้ใช้อุปมาโวหาร ก. ถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไป ข. พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด ค. สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา ง. โอ้บาปกรรมนํ้านรกเจียวอกเรา

เมื่อตรุ ษสารทพระพรรษาได้อาศัย มาจําไกลอารามเมื่อยามเย็น ” ข. วัดอรุ ณราชวราราม ฯ ง. วัดราชบุรณะ ฯ

แต่เมาใจนี้ประจําทุกคํ่าคืน ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเข็ญ วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์ ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย

๒๕. คําประพันธ์ในข้อใดเป็ นบทตัดพ้อต่อว่า (พิโรธวาทัง) ก. จะยกหยิบธิบดีเป็ นที่ต้ งั ก็ใช้ถงั แทนสัดเห็นขัดขวาง ข. พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเข็ญ ค. เหลือรําลึกนึกน่านํ้าตากระเด็น เพราะทุกเข็ญคนพาลมารานทาง ง. ทั้งปิ่ นเกล้าเจ้าพิภพจบสากล ให้ผอ่ งพ้นภัยสําราญผ่านบุรินทร์ ๒๖.

“ ไม่เมาเหล้าแล้วแต่เรายังเมารัก

สุดจะหักห้ามจิตคิดไฉน ถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไป แต่เมาใจนี้ประจําทุกคํ่าคืน ” คําประพันธ์ขา้ งต้นนี้สุนทรภู่กล่าวเมื่อตอนที่เดินทางผ่านสถานที่ในข้อใด ก. บ้านญวน ข. โรงเบียร์ปทุมธานี ค. โรงเบียร์สามเสน ง. โรงเหล้าบางยีข่ นั

๒๗.

มาผูกโบสถ์ก็ได้มาบูชาชื่น ชมพระพิมพ์ริมผนังยังยัง่ ยืน ทั้งแปดหมื่นสี่ พนั ได้วนั ทา ” คําประพันธ์ขา้ งต้นนี้สุนทรภู่กล่าวเมื่อเดินทางถึงวัดในข้อใด ก. วัดบางพลัด ข. วัดประโคนปั ก ค. วัดเขมาภิรตาราม ง. วัดสังฆทาน “ โอ้ปางหลังครั้งสมเด็จบรมโกศ

๒๘. จากคําประพันธ์ในข้อ ๒๗. แปดหมืน่ สี่พนั หมายถึงสิ่ งใด ก. พระพุทธรู ปตามฝาผนัง ข. พระคัมภีร์ ค. รู ปวาดพระสงฆ์ ง. รู ปปั้ นพระสงฆ์ ๒๙. สถานที่ในข้อใดที่สุนทรภูบ่ อกกล่าวให้รู้วา่ ชาวบ้านละแวกนั้นมีอาชีพทางการประมง ก. บางจาก ข. บางพลู ค. บ้านญวน ๓๐. คําประพันธ์ในข้อใดมีสมั ผัสพยัญชนะมากที่สุด ก. พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด ข. ดูน้ าํ วิง่ กลิ้งเชี่ยวเป็ นเกลียวกลอก

ง. บางโพ

ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเข็ญ กลับกระฉอกฉาดฉัดวัดเฉวียน

ค. บ้างพลุ่งพลุ่งวุง้ วงเหมือนกงเกวียน ง. ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย

ดูเวียนเวียนคว้างคว้างเป็ นหว่างวน พวกหญิงชายพร้อมเพรี ยงมาเมียงมอง

๓๑. คําประพันธ์ในข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความรู ้สึกน้อยเนื้อตํ่าใจของสุนทรภู่ ก. โอ้พระคุณสูญลับไม่กลับหลัง แต่ชื่อตั้งก็ยงั อยูเ่ ขารู ้ทวั่ แต่เรานี้ที่สุนทรประทานตัว ไม่รอดชัว่ เช่นสามโคกยิง่ โศกใจ ข. เราเกิดมาอายุเพียงนี้แล้ว ยังคลาดแคล้วครองตัวไม่มวั หมอง ทุกวันนี้วปิ ริ ตผิดทํานอง เจียนจะต้องปี นบ้างหรื ออย่างไร ค. โอ้คิดมาสารพัดจะตัดขาด ตัดสวาทตัดรักมิยกั ไหว ถวิลหวังนัง่ นึกอนาถใจ ถึงเกาะใหญ่ราชครามพอยามเย็น ง. เมื่อเคราะห์ร้ายกายเราก็เท่านี้ ไม่มีที่พสุธาจะอาศัย ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือนนกไร้รังเร่ อยุเ่ อกา ๓๒. คําประพันธ์ในข้อใดที่คาํ ที่ขีดเส้นใต้ไม่ได้หมายถึงรัชกาลที่ ๒ ก. ถึงหน้าวังดังหนึ่งใจจะขาด คิดถึงบาทบพิตรอดิศร ข. จะยกหยิบธิบดีเป็ นที่ต้ งั ก็ใช้ถงั แทนสัดเห็นขัดขวาง ค. โอ้ผา่ นเกล้าเจ้าประคุณของสุนทร แต่ปางก่อนเคยเฝ้ าทุกเช้าเย็น ง. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปิ่ นเกล้า พระพุทธเจ้าหลวงบํารุ งซึ่งกรุ งศรี ๓๓. คําประพันธ์ในข้อต่อไปนี้ขอ้ ใดไม่ใช่การอธิษฐาน ก. ขอฟุ้ งเฟื่ องเรื่ องวิชาปั ญญายง ทั้งให้ทรงศีลขันธ์ในสันดาน ข. สมถวิลยินดีชุลีกร ประคองช้อนเชิญองค์ลงนาวา ค. ทั้งทุกข์โศกโรคภัยอยูใ่ กล้กราย แสนสบายบริ บูรณ์ประยูรวงศ์ ง. ขอสมหวังตั้งประโยชน์โพธิญาณ ตราบนิพพานชาติหน้าให้ถาวร ๓๔.

“ อันพริ กไทยใบผักชีเหมือนสี กา

ต้องโรยหน้าเสี ยสักหน่อยอร่ อยใจ ”

คําประพันธ์ขา้ งต้นนี้สุนทรภู่กล่าวถึงอะไร ก. พืชผักสวนครัว ข. การปรุ งอาหาร ค. เครื่ องเทศที่ชอบ ง. การกล่าวถึงการพลัดพรากจากนางผูเ้ ป็ นที่รักในนิราศเรื่ องนี้ ๓๕. คําประพันธ์ในข้อใดมิได้ใช้อุปมาโวหาร ก. ไม่จบบทลดเลี้ยวเหมือนเงี้ยวงู จนลูกคู่ขอทุเลาว่าหาวนอน ข. จะแวะหาถ้าท่านเหมือนเมื่อเป็ นไวย ก็จะได้รับนิมนต์ข้ ึนบนจวน ค. ประทับท่าหน้าอรุ ณอารามหลวง ค่อยสร่ างทรวงศีลพระชินสี ห์ ง. อันพริ กไทยใบผักชีเหมือนสี กา ต้องโรยหน้าเสี ยสักหน่อยอร่ อยใจ ๓๖.

“ พอกราบพระปะดอกปทุมชาติ

คําว่า “พระธาตุ” มีความสําคัญอย่างไร

พบพระธาตุสถิตในเกสร ”

ก. ข. ค. ง.

เป็ นพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้า มีพรรณสุกใสดุจแก้วผลึกหรื อทองคํา ใครได้บูชาย่อมได้อานิสงส์แรง ถูกต้องทุกข้อ

๓๗. คําประพันธ์ขอ้ ใดดีเด่นทางด้านจินตภาพ เล่นสัมผัส อุปมา เล่นอักษร มากที่สุด ก. ถึงโรงเหล้าเตากลัน่ ควันโขมง มีคนั โพงผุกสายไว้ปลายเสา โอ้บาปกรรมนํ้านรกเจียวอกเรา ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย ข. ถึงบางจากจากวัดพลัดพี่นอ้ ง มามัวหมองม้วนหน้าไม่ฝ่าฝื น เพราะรักใคร่ ใจจืดไม่ยดื ยืน จําต้องขืนใจพรากมาจากเมือง ค. ถึงบางพลูคิดถึงคู่เมื่ออยูค่ รอง เคยใส่ซองส่งให้ลว้ นใบเหลือง ถึงบางพลัดเหมือนพี่พลัดมาขัดเคือง ทั้งพลัดเมืองพลัดสมรมาร้อนรน ง. ดูน้ าํ วิง่ กลิ้งเชี่ยวเป็ นเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดวัดเฉวียน บ้างพลุ่งพลุ่งวุง้ วงเหมือนกงเกวียน ดูเวียนเวียนคว้างคว้างเป็ นหว่างวน ๓๘. คําว่า “ดัง” ในข้อใดใช้ในความหมายต่างจากข้ออื่น ก. ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แม้นมอดม้วยกลับชาติวาสนา อายุยนื หมื่นเท่าเสาศิลา อยูค่ ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง ข. สายติ่งแกมแวมสลับต้นตับเต่า เป็ นเหล่าเหล่าแลรายทั้งซ้ายขวา กระจับจอกดอกบัวบานผกา ดาดาดุขาวดังดาวพราย ค. สงัดเสี ยงคนดังระฆังเงียบ เย็นยะเยียบยามนอนริ มเนินผา เมื่อยามแกนแสนทุเรศเวทนา ต้องไสยาอยูก่ ลางนํ้าค้างพราว ง. งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ ยมแทรกแตกไสว ใครทําชูค้ ู่ท่านครั้นบรรลัย ก็ตอ้ งไปปี นต้นน่าขนพอง ๓๙.

“ เมื่อเคราะห์ร้ายกายเราก็เท่านี้

ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ คําประพันธ์น้ ีใช้โวหารภาพพจน์ในข้อใด ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ๔๐. สุนทรภู่ออกเดินทางจากที่ใด และกลับมายังที่ใด ก. วัดราชบุรณะ ฯ - วัดอรุ ณราชวราราม ค. วัดราชบุรณะ ฯ - วัดพระศรี รัตนศาสดาราม

ไม่มีที่พสุธาจะอาสัย เหมือนนกไร้รังเร่ อยูเ่ อกา ” ค. อธิ พจน์

ง. บุคคลวัต

ข. วัดราชบุรณะ ฯ - เจดียภ์ ูเขาทอง ง. วัดราชบุรณะ ฯ - วัดราชบุรณะ ฯ

ตอนที่ ๒: ตอบคาถามต่ อไปนี้ “ ถึงเกร็ ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า

เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุก๊ ตา

ผูห้ ญิงเกล้ามวยงามตามภาษา ทั้งผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย ”

๑. จงวิเคราะห์และอธิบายคําประพันธ์ขา้ งต้นว่าสะท้อนสภาพสังคมเช่นไร --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------๒. นิราศภูเขาทองมีคุณค่าด้านใดบ้าง อย่างไร จงอธิบาย -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF