สูจิบัตรคอนเสิร์ต Wind of Change

October 26, 2017 | Author: Nattawat Jiravechsuntonkul | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

wind of change ,Farmus Kasetsart Wind Symphony Bio,Nontri Orchestra Winds Bio,Songs list,Soloist Bio...

Description

วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Nontri Orchestra Wind Founded in 2009, the Nontri Orchestra Wind has continuously served the musical needs of Thai wind band Lover. Each year performing many concerts on the campus, as well as throughout the community, this community band is comprised of Kasetsart University’s alumni students music teachers and amateurs musicians.A truly divertse group, members come from all over Thailand, drawn by their common love of band music equally diverse is the repertoire, ranging from standard band classics to marches, Broadway melodies, and big band jazz arrangements.

วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Kasetsart Wind Symphony ปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยด�ำริของผู้บริหารมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในสมัยนั้นได้ก่อตั้งวงดุริยางค์แห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ขึ้น ภายใต้การก�ำกับดูแลของภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ โดยใช้ชื่อว่า Kasetsart Wind Symphony ซึ่งนับว่าเป็นวง Wind Symphony ในระดับมหาวิทยาลัยวง แรกๆ ของเมืองไทย Kasetsart Wind Symphony (ชื่อย่อว่า K.U. WINDS) มีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้นิสิตมีความรู้ ความสามารถและพั ฒ นาทางด้ า นดนตรี ป ระเภทนี้ ใ ห้ มี มาตรฐานเทียบเท่าระดับสากลอันจะเป็นอีกบทบาทหนึ่งของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมวง K.U.WINDS จึงเปรียบเสมือนสื่อทางวัฒนธรรมที่จะแสดงออก ถึงเกียรติภูมิและศักยภาพของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใน การท�ำนุบ�ำรุงและเผยแพร่ด้านศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในและ นานาประเทศสืบไป

รายการแสดง Of Sailors and Whales (1990) ................................... W. Francis McBeth (1933–2012) -Mov.I Ishmael -Mov.IV Ahab

Voi che sapete (1786)

(From “The Marriage of Figaro”)

O mio babbino caro (1918) (From “Gianni Schicchi”)

Wolfgang Amadeus Mozart (1756-1791) Giacomo Puccini (1858-1924)

Manhattan (2004) ...................................................................Philip Sparke (b.1951) -Mov.I Saturday Serenade -Mov.II Sunday Scherzo

The Sound of Music Medley (1959).......................... Richard Rodgers (1902-1979) &



Oscar Hammerstein II (1895-1960) Arranged by Naohiro Iwai คำ�ร้องภาษาไทยโดย นรินทร์ ประสพภักดี Vesuvius (1999)....................................................................... Frank Ticheli (b.1958) Hanuman(2015)...................................................................Jinnawat Mansap (1979)

-พักครึ่งการแสดง 10 นาทีSymphony No. 5 (1937)............................................Dmitri Shostakovich (1906–1975) -Mov.IV Allegro non troppo Transcribed by C.B.RIGHTER Concerto for Piano,Percussion and Wind Orchestra (2004) David Gillingham (1947) -Mov.I With Intensity Arranged by Dennis W. Fisher -Mov.II Elegy,With elegiac reflection (In Memorium - Robert Hohner) -Mov.III With much spirit and drive

Habanera (1875)............................................................... George Bizet (1838-1875) (From “Carmen”)

Arranged by Kenichi Koda

Vilja Song (1905).............................................................. Franz Lehar (b.1870-1948) (From “The Merry Widow”) Arranged by Jinnawat Mansap Pictures at an Exhibition (1874)............................... Modest Mussorgsky (1839–1881)

วาทยกร อาจารย์สุรพล ธัญญวิบูลย์ อาจารย์สุรพลเริ่มเล่นดนตรีครั้งแรก ในวงเครื่องสายไทยที่โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดสุทธิวรารามและร่วม ฝึกหัดดนตรีอย่างจริงจัง ในวงดุริยางค์โรงเรียนวัด สุทธิวราราม จนส�ำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา และได้ศึกษาต่อทางดนตรีโดยตรงในระดับปริญญาตรีที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเครื่อง ดนตรีเอกทรอมโบน (ศิลปศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสอง) อาจารย์สุรพล มีโอกาสเข้าร่วมอบรมด้านวงดุริยางค์เครื่องลมที่ Tenri High School, Nara ณ ประเทศญี่ปุ่น กับอาจารย์ Kikuo Atarashi และที่ MidWest Band and Orchestra Clinic ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายหลังได้เป็น อาจารย์ประจ�ำที่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นผู้ร่วมก่อ ตั้งวงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวงดุริยางค์เครื่องลม กึ่งอาชีพนนทรี ออร์เคสตร้า วินด์ อาจารย์สุรพล ได้รับเชิญให้เป็นกรรมการตัดสินการประกวดวงดนตรีทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ อาทิเช่น สิงคโปร์ มาเลเชีย ฮ่องกงและสาธารณรัฐ ประชาชนจีนและเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ด้านวงดุริยางค์เครื่องลมให้กับ เยาวชนทั่วประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์เป็นประจ�ำทุกปี

วาทยกร Dr. Nipat Kanchanahud is a full time faculty at Department of Western Music, Faculty of

Humanities, Kasetsart University. While he is the Conductor in Residence of Kasetsart University Wind Symphony, Nipat has collaborated with many world-class musicians and composers namely Prof. Boris Berman, famous pianist and professor from Yale University, Dr. Indhuon Srikaranonda a famous pianist from Thailand, Dr.Timothy Thompson, a well known Hornist from University of Arkansas, Jan Van de Roost, and Satoshi Yagisawa. Dr. Nipat Kanchanahud completed Doctor of Musical Arts degree in Wind conducting performance (D.M.A. Conducting Performance) from University of North Texas, Denton TX, U.S.A. where he was a doctoral conducting associate of North Texas Wind Studies as well as guest conductor of North Texas Wind Symphony, North Texas Symphonic Band, and North Texas Concert band. He was also a graduate teaching fellow of Wind Conducting class of Prof. Eugene M. Corporon and Prof. Dennis W. Fisher. While studying, Nipat has been the drill formation designer of “The Green Brigade” UNT Marching Band since 2004 – 2006, and 2012 – 1015 under the direction of Dr. Nicholas E Williams. In addition he studied horn with Prof.William Scharnberg and was a horn player of North Texas Wind Symphony. A native of Krabi Province, Dr. Nipat Kanchanahud started his music education in Bangkok while in secondary school at Wat Suthiwararam School, one of Thailand’s leading schools for wind band. He grew up in the environment of wind band during his 6 years in secondary school and was selected to be a band - leader for the last two years of his studies. Having been appointed as a horn player of the Bangkok Symphony Orchestra between 1988-1995, Dr. Nipat had many opportunities to perform and work with famous conductors and musicians. He passed the audition to participate in the “1st ASEAN Symphonic Band Workshop” in Singapore in April 1992. Later that year he was selected among youth from all Asian countries to participate in the “Asian Youth Orchestra Music Camp and Concert Tours 1992”. Dr. Nipat is regarded as one of Thailand’s most famous drill formation designers and has conducted workshops on drill design at the Symposium of World Championship for Marching Show Band 2005,

วาทยกร Taubate, Sao Paolo, Brazil where he was also one of the lecturers. In 1998, he was selected to be the Drill Formation Director of the 13th ASIAN GAMES’ opening and closing ceremonies. In 2011, he was invited to conduct the Wind Ensemble at University of California, Los Angeles (UCLA). While in residence, he worked with music performance and education students in the conducting class. 2012-2015, as a doctoral conducting associate of North Texas Wind Studies, he was a guest conductor of North Texas Wind Symphony, North Texas Symphonic Band, and North Texas Concert band. He was invited to conduct Ohio University Wind Symphony on Spring 2014 Concert and 2015 Summer Concert. Dr.Nipat Kanchanahud has served as a jury member in many prestigious marching band competitions worldwide. He was one of the jury members of Show Band Competition and Concert Percussion Competition at the World Music Contest 2005 and in 2009 in Kerkrade, The Netherlands, where he also participated in the 3rd International Round Table Conference at Rolduc Conference Center in July 2005. Moreover he was invited from the World Association of Marching Show Band to be in the judges panel of the World Marching Show Band Championships in 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, and 2010 in Calgary Alberta Canada, Potsdam Germany, Chiba Japan, Monza Italy, Bournmouth England, Taubate Brazil, and Jeju South Korea. In 1998 and 2008 he was invited by the Ministry of Education of the Republic of Singapore to sit in the panel of judges for “Grand National Marching Band Competition”. Dr.Nipat Kanchanahud was a recipient of the University of North Texas Academic and Graduate Assistantship Tuition Scholarship Award while he was studying his doctoral degree. In addition, he is an honorary member of Phi Mu Alpha music fraternity. He is a sought-after recording, associate producer, and editor, having been involved with numerous CDs and DVDs on the Klavier, Mark Records, GIA, and UNT labels. In addition to his work in the recording arts, he has written conductor study guides that are published in the Teaching Music Through Performance in Band series Vol.10 and Middle School.

ผู้แสดงเดี่ยว Surasi Chanoksakul has served as Principal Trumpet of the Thailand Philharmonic Orchestra,

since he was appointed in 2007. Prior to his appointment he performed with the Bangkok Symphony and the Chao Phraya Symphony Orchestra. One of the most in-demand trumpet artists in Thailand today, Chanoksakul has given performances and master classes throughout the region. He has taught thousands of music students in clinics, workshops and master classes. He has extensive experience in both concert and marching band, and regularly adjudicates festivals and competitions. He has been a faculty member of the Department of Music, Kasetsart University since 1998. Chanoksakul is an active chamber musician, and performs regularly with the Bangkok Brassberry Quintet, who gives numerous performances both in Thailand and internationally. He also performs with the Thailand Philharmonic Brass Quintet and several other groups. Chanoksakul enjoys incredible crossover success, and performs and records in jazz and commercial styles with artists at concert events such as Bird Thongchai, Marsha Wattanapanich , Am Saowalak, Nong Plub, Nong Ploy, UHT,Da Endophine, Revolution, Koh Mr.Saxman, Soul After Six, T-Bone, Byrd-Heart, H.R.U., JRP Big Band, Heineken Jazz Festival, Bangkok Jazz Festival, Infinity Band, Mr.Team Band, 10th years Bakery Concert, Groove Rider, Woman in Love Concert, Benmore, Heineken, Love IS Concert,Rhythm&Boyd Eleventh, Chatree Band, Brasswave Band, Bodyslam,Blackhead,E.T.C., Be Peerapat, The Impossibles and many more. He is the first call trumpet for most commercial recordings companies in Thailand, including Grammy Entertainment, RS Promotion, Bakery Music, Love Is Etc. Chanoksakul is currently pursuing his Doctor of Music Degree in Trumpet Performance and Pedagogy at the College of Music, Mahidol University, where he studies with Asst. Prof. Dr. Joseph Bowman. He has a Master Degree from Mahidol University and a Bachelor Degree from Kasetsart Univerity. His previous trumpet teachers include Vanich Potavanich and Manu Hothai. Chanoksakul is a Yamaha Thailand Performing Artist.

ผู้แสดงเดี่ยว สุรสีห์ ชากนกสกุล อาจารย์ประจำ�ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

หัวหน้ากลุ่มทรัมเป็ต วงดุริยางคฟิลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย (TPO) นักทรัมเป็ตวงSoul After Six และศิลปินทรัมเป็ต Yamaha Thailand สุรสีห์ถือว่าเป็นศิลปินทรัมเป็ตชาวไทยที่มากความสามารถในหลายด้านและเป็นที่ต้องการ ตัวมากอีกคน ไม่ว่าจะเป็นผลงานการอัดเสียงทรัมเป็ตให้ศิลปินมากมายให้ค่ายเพลงต่างๆ (Studio Recording ) อาทิ Grammy Entertainment, RS Promotion, Bakery Music, Love Is. รวมถึง เป็นนักดนตรีเบื้องหลังศิลปิน เป็นครูสอนวงโยธวาทิต เป็นนักดนตรีแจ๊ส และนักดนตรีคลสสิค สุรสีห์เริ่มเล่นทรัมเป็ตจากการเข้าร่วมกิจกรรมวงโยธวาธิตที่โรงเรียนมัธยม วัดธาตุทอง ในระดับ มัธยมต้นและ โรงเรียนเซนต์ดอมินิก ในระดับมัธยมปลาย โดยศึกษาทรัมเป็ต และการสอนวงโยธวาธิต กับ อาจารย์ อนุพงษ์ มุ่งสมานกุล และ มาสเซอร์อิทธพล เข็มประสิทธิ ตามลำ�ดับ จากนั้นเข้าศึกษาต่อระดับ ปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อ.มนู โห้ไทย และ อ.วานิชโปตะวานิช และ อ.สุรพล ธัญญวิบูลย์ หลักจากจบการศึกษา เริ่มอาชีพ นักดนตรี ในปี 2541ที่ วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ (BSO) และรับราชการ อาจารย์ที่ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีเดียวกัน รวมไปกึงการเป็นนักดนตรีสมทบให้กับศิลปินมากมายอาทิ ฟอร์ด สมชัย ไกรยูนเสน, เบริด ธงไชยเมดอินไตย์, มาช่า วัฒนพานิช, แอม เสาวลักษณ์, วง UHT, วง Endophine, Revolution, Koh Mr.Saxman, Soul After Six, T-Bone, Byrd-Hart,วงหรู Ha-Ru,Bodyslam,ETC. บี พีรพัฒน์.Infinity และอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนั้นยังเป็นนักดนตรี สมทบให้กับ วงJRP Big Band,ฺ Brass wave Band และ Swing King โดยแสดงที่ร้าน Saxophone Pub สุรสีห์จบการศึกษาทางด้านการแสดงเดี่ยวทรัมเป็ตในระดับ ปริญญาโท จากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกำ�ลังศึกษา ระดับปริญญาเอก ทางด้านการแดสงดนตรีและการสอนดนตรี ณที่แห่งเดียวกัน กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โจเซฟ โบว์แมน ปั จ จุ บั น เป็ น ผู้ ส อนเครื่ อ งลมทองเหลื อ งในวงโยธวาทิ ต ให้ กั บ โรงเรียนผดุงนารี จ.มหาสารคาม โรงเรียนเทศบาลวัดกลาง จังหวัดขอนแก่น และ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น

ผู้แสดงเดี่ยว ผศ.ดร.ภาวไล ตันจันทร์พงศ์ สำ�เร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (เหรียญ

ทอง) จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขา วิชาการแสดงเปียโน จากมหาวิทยาลัย เวสต์เวอร์จิเนียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ภาวไลมีผลงานการ แสดงเปียโนทั้งการแสดงเดี่ยว การแสดงกลุ่ม และการแสดงร่วมกับวงออเคสตราอย่างสม่ำ�เสมอ ปัจจุบัน ภาวไลเป็นอาจารย์ประจำ�คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ เป็นอาจารย์พิเศษที่วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต และคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังให้ความสนใจในงานวิชาการที่มุ่งเน้นด้าน การสอนเปียโนสำ�หรับเด็กพิเศษ และสำ�หรับผู้สูงอายุ

Asst.Dr.Pawalai Tanchanpong Pawalai graduat-

ed with first class honor and gold medal award from Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University. Pawalai earned her Master of Music and Doctor of Musical Arts degrees from West Virginia University. During her studied she received three-time awarded of The Valerie Canady Foundation and H.J.Heinz Scholarship. Currently,Pawalai is a faculty of Humanities Kasetsart University and also Part time lecturer of Conservatory of Music Rangsit University and Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University. She performed several concerti with Thai National Symphony Orchestra, Rangsit Philharmonic Orchestra and Bangkok Symphony Orchestra as well as solo recitals and chamber reictals. Moreover, she also interested in teaching special child and senior citizen.

ผู้แสดงเดี่ยว อาจารย์ ภาณุภัค โมกขศักดิ์ ตำ�แหน่ง หัวหน้าสาขาดนตรีไทย ประวัติการศึกษา -จบการศึ ก ษาจากโรงเรี ย นหนองไผ่ ใ นสั ง ฆ ราชูปถัมภ์ -ศศ.บ.ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -ศป.ม.ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขามนุษยดุ ริยางควิทยามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การศึกษาด้านดนตรีไทยและขับร้อง มี ค วามชื่ น ชอบในเสี ย งดนตรี ทุ ก ประเภทเริ่ ม เรียนดนตรีและคลุกคลีอยู่กับวงปี่พาทย์ เครื่อง สาย และแตรวง ตั้งแต่อายุ 9 ขวบ สามารถบรรเลงแทนนักดนตรีที่ขาดในวงได้ทุก เครื่องมือ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ทางด้าน ดนตรีจากครูดนตรีหลายท่าน เช่น -เรียนปี่พาทย์ อาจารย์สุนทร พลอยงาม ครูสุบิน จันทร์แก้ว ครูประมวลอรรถชีพ -เรียนเครื่องหนัง อาจารย์กุมารี ทับทิมหล้า ครู เทิม สมานมิตร -เรียนเครื่องสาย ครูชูเกียรติ ลิที ครูวิเชียร จันทร์เกษม -เรียนซอสามสาย อาจารย์จักรพงษ์ กลิ่นแก้ม -เรียนแตรวง ครูชูเกียรติ ลีที -เรียนแคนวง กับคณูองุ่น บัวเอี่ยม -เรียนตีกรับขับเสภา อาจารย์ศิริวิชเวช -เรียนขับร้องกับอาจารย์สุนทรพลายงาม -เรียนเพลงหุ่นกระบอกกับครูดวงเนตร ดุริยพันธุ์ -ครอบและต่ อ ทางร้ อ งเพลงทยอยเดี่ ย วจาก อาจารย์ศิริวิชเวช (ศิลปินแห่งชาติ) เป็นต้น

ผลงานทางวิชาการ -ปริ ญ ญานิ พ นธ์ เรื่ อ ง “ ภู มิ ปั ญ ญาครู ด นตรี ไ ท ย ก ร ณี ศึ ก ษ า ค รู องุ่น บัวเอี่ยม”ปริญญา ศิ ล ปกรรมศาสตรมหา บัณฑิตสาขามนุษยดุริยางค วิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ -โครงการจัดเก็บข้อมูลด้านศิลปะการแสดงประจำ� ปี 2550 เรื่อง “ลิเกเรียบชุมชนคลองสามวา กรุงเทพมหานคร” ตามโครงการภูมิบ้านภูมิเมือง พ.ศ. 2550 ของสำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ -ชนะเลิศการประกวดขับร้องเพลงไทยประเภทชาย อายุ 18 ถึง 28 ปีบริบูรณ์เนื่องในวันภาษาไทยแห่ง ชาติ พุทธศักราช 2550 จัดโดยสำ�นักวรรณ กรรม กรมศิลปากร -ได้รับรางวัลดีเด่นการเสนอผลงานแบบบรรยายเนื่อง ในการประชุมวิชาการ“ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ” ครั้งที่ 2 ประจำ�ปี 2550 สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ชนะเลิศการประกวดดนตรีไทย“วงปี่พาทย์เสภา” สำ�หรับประชาชนทั่วไปในวาระครบรอบ 100 ปีแห่ง การสถาปนากรมศิลปากรพุทธศักราช 2554

ผู้แสดงเดี่ยว มนสิชา มงคลนารา (Monsicha Mongkhonnara) มนสิชาเป็นนักร้องเสียง Soprano เริ่มสนใจด้านการ ขับร้องเพลงตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ โดยเรียนที่สถาบัน EBO Voice Studio กับครูเจ ธนิก จุติธรรมวุฒิ และครู กานต์ จั่นทอง เคยได้รับรางวัลนักร้องยุวชนดีเด่นแห่งประเทศไทย ประเภทเพลงไทยสากล จากเวที “KPN Junior Award 2006” และได้รับรางวัลรองชนะเลิศถ้วยพระราชทาน จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองศ์เจ้า โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ จากเวที C-SA ทางสายฝัน สู่ดวงดาว ออกอากาศทางโทรทัศน์ไทยทีวี สีช่อง ๓ มนสิชาเริ่มต้นศึกษาการขับร้องด้านคลาสสิกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๔ กับอาจารย์ดวงใจ อมาต ยกุล และเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เอกขับร้องคลาสสิก ณ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยมีอาจารย์สุมิดา อังศวานนท์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และ ได้ศึกษาการขับร้องคลาสสิกกับอาจารย์พฤฒิกา แจ้งรัตนตระกูล, อาจารย์กิตตินันท์ ชินสำ�ราญ, อาจารย์ พัทธนันท์ อาจองค์, และอาจารย์วุฒิพันธ์ พงศ์ธนเลิศ มนสิชาได้เข้าร่วมเป็นนักร้อง ประจำ�วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Wind Symphony ) และวง KU Chamber และในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในนักร้องสมาชิกชมรม ดนตรีสากลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Band) ปัจจุบัน มนสิชาเข้ารับราชการที่กรมดุริยางค์ทหารบก ในตำ�แหน่งนักร้อง และเป็นหนึ่งใน สมาชิกคณะขับร้องประสานเสียงสวนพลู ในตำ�แหน่ง Soprano 2 ภายใต้การควบคุมของ อาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ และ Ramon Lijauco JR, ณปภา แก้วชลคราม (Napapa Keocholakram) ณปภาเป็นนักร้องเสียง Mezzo-Soprano ได้มีโอกาส เริ่มเรียนร้องเพลงครั้งแรกตอนอายุ ๑๖ ปี กับคุณครูภูริวัจน์ บุญสุยา ที่ดุริยางค์ตำ�รวจ และฝึกฝนการ ร้องเพลงเสมอมา ณปภาได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เอกขับร้องคลาสสิก ณ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ และได้ศึกษาการขับร้องคลาสสิกกับ อาจารย์พฤฒิกา แจ้งรัตนตระกูล และ อาจารย์วุฒิพันธุ์ พงศ์ธนเลิศ ณปภาได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในนัก ร้องสมาชิกชมรม ดนตรีสากลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Band) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ และได้เข้าร่วม Workshop การร้องเพลงคลาสสิกกับ Prof.Franz Lukasovsky ปัจจุบันได้เข้าร่วมเป็นนักร้องประจำ�วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Wind Symphony) และวง KU Chamber เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยอยู่เสมอ

ผู้แสดงเดี่ยว ศรีกัญญ์ฉัตร เจือไทย (Srikanchat Juathai) เป็นนักร้องเสียง Mezzo-Soprano ได้มีโอกาสเริ่มเรียน ร้องเพลงครั้งแรกตอนอายุ ๑๑ ปี และเคยเข้ารอบ ๑๐ คนสุดท้าย ประเภทเพลงไทยสากล จากเวที “KPN Junior Award 2006” ศรีกัญญ์ฉัตรเริ่มเรียนร้องเพลงคลาสสิกครั้งแรกกับอาจารย์วุฒิพันธ์ พงศ์ธนเลิศ เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๔ และได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เอกขับร้องคลาสสิก ณ ภาควิชาดนตรี คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๕ และได้ศึกษาการขับร้องคลาสสิกกับอาจารย์ พฤฒิกา แจ้งรัตนตระกูล อาจารย์กิตตินันท์ ชินสำ�ราญ อาจารย์พัทธนันท์ อาจองค์ และอาจารย์ วุฒิพันธุ์ พงศ์ธนเลิศ ปัจจุบันได้เข้าร่วมเป็นนักร้อง ประจำ�วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Wind Symphony) และวง KU Chamber เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยอยู่เสมอ บุษยพัชร อุ่นจิตติกุล (Bussayapat Aunchittikul) เป็นนักร้องเสียง Soprano มีความสนใจในดนตรี ตั้งแต่วัยเด็ก เริ่มฝึกร้องเพลงด้วยตนเองจากการดูภาพยนตร์เพลงและการ์ตูน และเมื่ออายุ ๑๑ ปี ก็ได้ มีโอกาสเรียนเปียโนที่โรงเรียนดนตรีสยามกลการ จังหวัดนครราชสีมา ในขณะเดียวกันก็ยังคงฝึกฝน การร้องเพลงอย่างต่อเนื่อง บุษยพัชรเรียนร้องเพลงคลาสสิกเป็นครั้งแรกกับอาจารย์กรวิช เทพหัสดิน ณ อยุธยา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เอกขับร้องคลาสสิก ณ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยมีอาจารย์สุมิดา อังศวานนท์ เป็น อาจารย์ที่ปรึกษา และได้ศึกษาการขับร้องคลาสสิกกับอาจารย์พฤฒิกา แจ้งรัตนตระกูล บุษยพัชรได้เข้าร่วม Workshop กับนักร้องคลาสสิกและมิวสิคัลมืออาชีพ อาทิ Mary Logan, Leila Benn Harris และ Prof.Franz Lukasovsky และในปีพ.ศ. ๒๕๕๖ และ ๒๕๕๗ ได้มีโอกาสเข้าร่วม โครงการฝึกอบรม YES Academy สาขา Broadway และเคยเข้ารอบ ๑๐ คนสุดท้ายของ Broadway Singing Competition นอกจากนี้ยังได้ร่วมแสดงในศิลปกรรมคอนเสิร์ต ครั้งที่ ๑๒ “Les Miserables” และครั้งที่ ๑๓ “Bedtime Story” ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปีพ.ศ. ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘ ปัจจุบัน บุษยพัชร เป็นนักร้องประจำ�วงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU Wind Symphony) วง KU Chamber และเป็นนักร้องในงานแสดงต่างๆ ร่วมกับวง Krungthep Light Orchestra

รายละเอียดบทเพลง และผู้ประพันธ์ เพลง -Of Sailors and Whales เป็นบทเพลงที่ได้รับแรงบันดาลจากบทประพันธ์เรื่อง Moby Dick ของ Herman Melville ซึ่งกล่าวถึงการเดินทางของกะลาสีในทะเลที่ไปพบเจอกับปลาวาฬยักษ์อันดุร้าย W.Francis Mcbeth (1933-2012) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวอเมริกัน ซึ่งมีผลงานในการ ประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงส�ำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Of Sailors and Whales -Voi Che Sapete เป็น aria ที่โดดเด่นมากของเมซโซโซปราโน มาจากอุปรากรเรื่อง The Marriage of Figaro (Le Nozze de Figaro) อยู่ในองก์ที่ 2 ของเรื่อง เป็นฉากที่ Cherubino เด็กหนุ่มผู้แอบรัก Countess Almaviva สารภาพบางอย่าง ผ่านเพลงนี้เพื่อแสดงความรู้สึกที่แปลกใหม่ส�ำหรับเขาซึ่งก็ คือความรัก Wolfgang Amadeus Mozart (1756-1791) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวออสเตรียในยุค คลาสสิค ซึ่งมีผลงานในการประพันธ์เพลงและอุปรากรมากมาย ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Piano Sonata No.15, Symphony No.41 “Jupiter”, Eine Kleine Nachtmusik, The Magic Flute, The Marriage of Figaro, Don Giovanni -O Mio Babbino Caro เป็น aria ของโซปราโนที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด มาจากอุปรากรเรื่อง Gianni Schicchi อยู่ในองก์ที่ 1 ของเรื่อง เป็นฉากที่ Lauretta ร้องไห้คร�่ำครวญขอพ่อไปหาคนรัก เพื่อไปดู แหวนแต่งงาน ถ้าไม่ให้ไปเธอจะไปกระโดดน�้ำตายที่ Ponte Vecchio Giacomo Puccini (1858-1924) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวอิตาเลียนในยุคโรแมนติค ซึ่ง มีผลงานในการประพันธ์อุปรากรมากมาย ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Madame Butterfly, La Boheme, Tosca, Turandot, Gianni Schicchi

รายละเอียดบทเพลง และผู้ประพันธ์ เพลง -The Sound of Music Medley เป็นรวมบทเพลงดังจากละครบรอดเวย์ในต�ำนานที่มีชื่อเสียงมาก จนถูกน�ำมาสร้างเป็นภาพยนต์เพลง มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับคณะนักร้องครอบครัว Von Trapp ในช่วงต้น สงครามโลกครั้งที่ 2 กับการหลบหนีกองก�ำลังนาซีที่เข้ายึดครองออสเตรียประเทศบ้านเกิด โดยน�ำ เสนอแง่มุมของความรัก ความอบอุ่นที่มีเสียงดนตรีเป็นสิ่งเชื่อมโยง ซึ่งล่าสุดได้ถูกน�ำมาแสดงเป็น ละครเวทีเวอร์ชั่นภาษาไทย ในชื่อ มนต์รักเพลงสวรรค์ ที่โรงละครเมืองไทยรัชดาลัย Richard Rodgers (1902-1979) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวอเมริกัน ซึ่งมีผลงานในการ ประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงประกอบละครบรอดเวย์ ภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ ผลงานที่ โดดเด่น ได้แก่ เพลงจากละครเรื่อง Carousel, South Pacific, The King and I, The Sound of Music Oscar Hammerstein II (1895-1960) เป็นนักประพันธ์เนื้อเพลงและนักเขียนบทละคร ชาวอเมริกัน ซึ่งมีผลงานในการประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงประกอบละครบรอดเวย์ ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์ ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ เพลงจากละครเรื่อง Carousel,The Sound of Music -Manhattan เป็นบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นให้แก่วง The United States Army Band ส�ำหรับบรรเลง เดี่ยวทรัมเป็ต ท�ำนองหลักของเพลงถูกน�ำเสนอในลักษณะของเพลงบลูส์และใช้ลักษณะของดนตรี แจ๊สในการประพันธ์ Phillip Sparke (1951) เป็นนักประพันธ์เพลง นักเปียโนและนักทรัมเป็ตชาวอังกฤษ ซึ่งมี ผลงานในการประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงส�ำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Manhattan, Song for Ina, Flowerdale -Vesuvius เป็นบทเพลงที่ประพันธ์ส�ำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ซึ่งบทเพลงนี้ได้รับแรงบันดาลใจจาก การปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสที่เมืองปอมเปอี โดยมีการน�ำท�ำนองจากเพลง Dies Irae ซึ่งเพลงสวดศพ ของยุคกลางมาใช้ในท่อนหนึ่งของเพลงด้วย Frank Ticheli (1958) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวอเมริกัน และเป็นอาจารย์อยู่ที่ University of Southern California ซึ่งมีผลงานในการประพันธ์เพลงมากมาย ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Shenandoah, Vesuvius, Blue Shades, Abracadabra, Rest

รายละเอียดบทเพลง และผู้ประพันธ์ เพลง -Hanuman เป็นบทเพลงที่ประพันธ์ส�ำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ใช้เป็นเพลงบังคับการประกวดวง ดุริยางค์เครื่องลมนั่งบรรเลงประเภท ก ชิงถ้วยพระราชทานประจ�ำปี 2559 จัดโดยกรมพลศึกษา โดย ได้รับแรงบันดาลใจจาก หนุมาน ซึ่งเป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ จิณณวัตร มั่นทรัพย์ จิณณวัตร มั่นทรัพย์ (1979) เป็นนักประพันธ์เพลง ผู้เรียบเรียงเสียงประสาน และเป็น อาจารย์ประจ�ำสาขาดนตรีตะวันตก ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลงานที่โดดเด่น คือ หนุมาน (Hanuman) -Symphony No.5 in D minor เป็นบทเพลงส�ำหรับบรรเลงโดยวงออร์เคสตร้า และได้ถูกน�ำมา เรียบเรียงให้ส�ำหรับวง Wind Symphony ในภายหลัง Shostakovich ได้ประพันธ์เพลงนี้ โดยใช้เวลาเพียง 3 เดือน และแสดงครั้งแรก ในฤดู หนาวของปีนั้นเอง ในการประพันธ์เพลงนี้เขาได้กลับไปใช้การประสานเสียงตามจารีตประเพณี ของ พวกเขา ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก เพลงซิมโฟนีบทแรกของเขานั่นเอง Dmitri Shostakovich (1906-1975) เป็นนักประพันธ์เพลงและนักเปียโนชาวรัซเซียใน สมัยยุคสหภาพโซเวียต ซึ่งมีผลงานในการประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นซิมโฟนี และสตริงควอร์เต็ต ผล งานที่โดดเด่น ได้แก่ Symphony No.5, String Quartet No.8, Lady Macbeth of the Mtsensk District -Concerto for Piano, Percussion and Wind Orchestra เป็นบทเพลงส�ำหรับการบรรเลง ประชันระหว่างเปียโน เครื่องกระทบ และวงเครื่องลม ประกอบด้วย 3 ท่อน ท่อนแรกเป็นการแสดง ท่วงท�ำนองและการสอดประสานของเพลง ท่อนที่สองสื่อให้เห็นถึงความเศร้าที่สะท้อนถึงความทรง จ�ำของเพื่อน และท่อนสุดท้ายเป็นการขับเคลื่อนของจิตวิญญาณที่น�ำไปสู่บทสรุปสุดท้าย David R.Gillingham (1947) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวอเมริกัน และอาจารย์อยู่ที่ Central Michigan University ซึ่งมีผลงานในการประพันธ์เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงส�ำหรับวงดุริยางค์ เครื่องลม ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Stained Glass, Waking Angels, Concerto for Piano, Percussion and Wind Orchestra

รายละเอียดบทเพลง และผู้ประพันธ์ เพลง -Carmen(Habanera) Carmen เป็นอุปรากรที่มีชื่อเสียงมากและถูกน�ำไปแสดงบ่อยที่สุด มีเนื้อ เรื่องกล่าวถึงหญิงสาวชาวสเปนซึ่งมีความงามและมากเสน่ห์ จนถูกชายคนรักฆ่าตายด้วยความหึงหวง หลังจากที่รู้ว่าหญิงสาวปันใจให้ชายอื่น เพลง Habanera เป็น aria ของเมซโซโซปราโนที่มีชื่อเสียง มาก บทเพลงนี้อยู่ในฉากที่ Carmen สาวโรงงานชาวยิปซีก�ำลังแกล้งหยอกล้อหว่านเสน่ห์ให้ผู้ชายใน เมืองตกหลุมรักเธอ George Bizet (1838-1875) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวฝรั่งเศสในยุคโรแมนติค ซึ่งมีผล งานในการประพันธ์เพลงและอุปรากรมากมาย ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ L ‘Arlésienne Suite, the Fair Maid of Perth , Carmen -Vilja Song (Merry Widow) เป็นหนึ่งในบทเพลงร้องของโซปราโนที่มีคนชื่นชอบมากที่สุด มาจาก Operetta เรื่อง Merry Widow อยู่ในองก์ที่ 2 ของเรื่อง เป็นฉากที่ Hanna ม่ายสายพราวเสน่ห์เล่า นิทานให้กับแขกที่มาร่วมงานเลี้ยงฉลองที่บ้านของเธอฟัง โดยเล่าถึง Vilja ภูติสาวที่อาศัยอยู่ในป่า วัน หนึ่งมีพรานหนุ่มมาพบเข้า เธอจึงแกล้งหลอกให้เขาตกหลุมรักแล้วจากไป ทิ้งให้เขาต้องคร�่ำครวญถึง เธอไปจวบจนวันตาย Franz Lehar (1870 - 1948) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวออสโตร-ฮังกาเรียนในยุค โรแมนติค เป็นที่รู้จักและโด่งดังในวงการจุลอุปรากรและละครเพลง ผลงานที่โดดเด่น คือ The Merry Widow -Pictures at an Exhibition เป็นบทเพลงชุดบรรเลงเดี่ยวเปียโนที่มีเพลงพื้นบ้านของชาวรัสเซีย แฝงอยู่ในเพลง โดยบทเพลงนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากนิทรรศการภาพของ Victor Hartmann ซึ่งต่อ มา Maurice Ravel ได้น�ำมาเรียบเรียงตามแนวฉบับอิมเพรสชั่นนิสม์ให้วงออเคสตร้าบรรเลง Modest Mussorgsky (1839-1881) เป็นนักประพันธ์เพลงชาวรัสเซียซึ่งอยู่ในกลุ่ม Russian Five ถือเป็นผู้บุกเบิกดนตรีชาตินิยมรัสเซียในยุคโรแมนติก ผลงานที่โดดเด่น ได้แก่ Pictures at the Exhibition, Night on Bald Mountain, Songs and Dances of Death

รายชื่อนักดนตรี Kasetsart Wind Symphony Flute กฤตพัฒน์ สุวรรณัง ญาดา หล่อวิทยาเลิศนภา * ทัศวรรณ ขันสอาด ทิฆัมพร แสงวิรุฬห์ พชรพล โสภณิก ภัทรดนัย ปฏิโก สุธินี แก้ววิเชียร Oboe กรวิชญ์ ยะหะยอ * ปัทมาภรณ์ เสน่ห์ Bassoon กิตติยาธร เพชรชื่นกมล * กฤตธน มนูญวงศ์ ภีมวัจน์ พจนากนกกุล Clarinet จรัญ บรรเทา จารุกิตติ์ มะโนเรือง ณัฐวัฒน์ จิรเวชสุนทรกุล * ธนภาค ไชยศร เนติพงษ์ แสงจันทร์ ปทุมรัตน์ เมืองนาค ภัทรพล บัวเอี่ยม ภาพพิมพ์ จักรกลม

เมธา ยวนเขียว วัชระ งามผล ** อรจิรา สุทธิบาก อโรชา นามมงคูณ Saxophone กฤชธัช แก้วปลั่ง ณันทพงศ์ ธนิกกุล ทวินำ� วารี * ทศพล สุขเจริญวิภารัตน์ ประภาเพ็ญ จิมขุนทด พิชามญชุ์ ลีละผลิน ทิวานันท์ วารี ภีมวัจน์ พจนากนกกุล มงคล ศรีสุวรรณ เมธา บุญทัน โยษิตา จิรวรางกูร อรปรียา วิริโยธิน อริยาภรณ์ ภามาตย์ Trumpet กฤชภร พงศ์ศักดิ์ศรี จักรภัสณ์ ลิ้มศีวรกานจ์ ชาญวิทย์ เรือนแก้ว ณรงค์กฤต ฉันทดิลกพร ธีรโชติ เงินประเสริฐศิริ

นนทพัทธ์ เทศทอง ปดิวรัดา มะหะหมัด ปิยะวัฒน์ พูลศรี * พีระยุทธ ชินอัน วรรษรักษ์ วีระโพธิ์ อมเรศ วรุตม์โกเมน อัสนี น้อยสันต์ French Horn ฉัตรฑริญา ฉลองกลาง ณัฐภรณ์ ณ เชียงใหม่ บุญญฤทธิ์ งามกาละ ปฏิธาน ถิ่งพังงา พิศนุ ไชยเจริญ เพ็ญพิชชา หลวงเจริญ วรพล รัตนอำ�พล * วิภาวี เพ็ชรคง วุฒิกร ยวนเขียว สิทธิเดช คชมิตร

รายชื่อนักดนตรี Kasetsart Wind Symphony Trombone เจตณัฐ ทะนันชัย ธนพนธ์ บุญพรหม ธราธร เหรียญหิรัญ นฤเบศร์ ตั้งจักรสุวรรณ พงศกร เพ็ญจันทร์ อภิศักดิ์ พรชีวางกูร อิทธิ ฆารสว่าง *** Euphonium ชวิศา เจริญสุข * ณภัทร เรืองธรรมโชติ บดินทร์ สมพงษ์ ศศิธร ชอบสวย สหดล บุญประกอบ Tuba ณัฐพล คำ�แหงพล * ธนากร มิตรทอง

Percussion จิรัฏฐ์กร ชัยเบญจพล ชยณัฐ พริกบุญจันทร์ ชวิศา ลี * ธนพล ฉัตรทิวาพร ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง พิทักษ์ สมภักดี ภคพล ลิมปิสุข สุขสันต์ ทองเลี่ยมนาค Voice กมลวรรณ ชลารักษ์ ฆฤณ ศุภวงศ์ ธาดา เจริญชัยพัทธ์ ปรวีย์ พันธ์ชาติ สุชานันท์ เดชฟุ้ง * Section Leader ** Concert Master *** Band Master

รายชื่อนักดนตรี Nontri Orchestra Wind Flute ญาดา หล่อวิทยาเลิศนภา ธีรวัฒน์ รัตนประภาเมธีรัฐ ปฏิภาณ พูลสวัสดิ์* อัครวิญช์ เลิศสดใส Oboe เชาวลิต เจริญชีพ* Bassoon อภิชาติ เดชะโสภณ* Clarinet กฤตยันพล จตุภิชัยพันธ์ ชัยวัฒน์ แก้วสอาด ธนพร พิมพ์เพ็ชร ธีระพงษ์ ทรัพย์มูล* ปฐมพงษ์ ตั้งเธียรฐิติกุล ไพศาล พินิจกร ภาพพิมพ์ จักรกลม รักนาฏ ขาวฉลาด วรรธนะ ตันเจริญผล วริศกร กิตติคุณาดุลย์ วัชระ งามผล วิทยพร เวณุจันทร์ สุทธิศักดิ์ แสงวงศ์ อภิวุฒิ มินาลัย อานุภาพ จริโมภาส

Saxophone จิราภา ผาคำ� ณัฐอร เลาหวงศ์เพียรพุฒิ* ดนตรา กันเขตภัย ปิยพัทธ์ วิชัย ภัทราพร ราชาเดช วรินธร สีเสียดงาม วิศุวัฒน์ พฤกษวานิช สินีนาถ ชยาภิรมย์ สุคนธรส ไทยยืนวงษ์ Trombone ฐณวัฒน์ เอื้อพูนผล ณัฐกฤต กรุดสมัย ธีระพล ทรัพย์มูล* นรสิทธิ์ ทองหอม สุขนิษฐ์ สะสมสิน French Horn กุลชา แก้วเกตุสัมพันธ์ ฐิติภัทร์ ชัยกิมานนท์ ณัฐภรณ์ ณ เชียงใหม พิพัฒน์ ถิ่นพังงา เอกนก ขอเจริญ* Trumpet กันตพนธ์ ปานนาค ณพัศ แสงวิสุทธิ์ ณัฐดนัย คฤหาสน์สุวรรณ*

อาจารย์ ผ้ ูสอน

ตุโรจน์ ลิตากร พชร สินลอย พัศภพ อุณวิไล สราวุธ ตันวัฒนาอารีย์ Euphonium กันต์ฤทธิ์ สวัสดิสุข*** จิรพัฒน์ แพรประเสริฐ ธนาณัติ กันสัย* Tuba กฤตบุญ สวัสดิสุข* ณัฐพล อริยะเมธาสวัสดิ์ สิทธิเดช เสาหงษ์ Percussion เกษม ทิพยเมธากุล จิรัฏฐ์กร ชัยเบญจพล ชยณัฐ พริกบุญจันทร์ ชวิศา ลี นัทชา ทองกล่อมสี บวร วิชาพาณิชย์ ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง พิทักษ์ สมภักดี ภัทรพงศ์ นภากูล วรรษพงษ์ เกษรากุล อัตถสิทธิ์ วัฒนาวงศารัตน์* * Section Leader ** Concert Master *** Band Master

“รายชื่อนักดนตรีถูกเรียงตามลำ�ดับอักษรภาษาไทย เพื่อแสดงถึงความร่วมแรงร่วมใจในการ บรรเลง นักดนตรีทุกคนมีความสำ�คัญในการบรรเลงดนตรีให้ไพเราะเท่าเทียมกันหมด”

อ.บัณณพัฒน์ ตั้งไพบูลย์ - Flute อ.ปฏิภาณ พูลสวัสดิ์ - Flute อ.กิติมา โมลี - Bassoon อ.เชาวลิต เจริญชีพ - Oboe อ.สุวัฒน์ เทียมหงษ์ - Clarinet อ.วรัญญา โชติจิรกาล - Clarinet อ.ธีรพงษ์ ทรัพย์มูล - Clarinet ดร.ภาธร ศรีกรานนท์ - Saxophone อ.ถนัดพงษ์. เพิ่มผล - Saxophone อ.สุรสีห์ ชานกสกุล - Trumpet อ.ยุทธศักดิ์ พลายภู่ - Trumpet อ.สมเจตต์ ภูแก้ว - Trumpet อ.ยุทธพงศ์ อนันถาวร - Trumpet

อ.ประเสริฐ ราชมณี - French Horn อ.นันทวัฒน์ วารนิช - French Horn อ.กุลชา แก้วเกตุสัมพันธ์ - French Horn อ.อนันท์พร เอี่ยมชาญบรรจง - Trombome อ.ฐากูร อัศวพิสิษฐ์ - Trombome อ.ธีรพล ทรัพย์มูล - Trombome อ.จิรพัฒน์ เเพรประเสริฐ - Euphonium อ.กันฤทธิ์ สวัสดิสุข - Euphonium อ.กฤตบุญ สวัสดิสุข - Tuba อ.เกษม ทิพยเมธากุล - Percussion อ.พฤฒิกา แจ้งรัตนตระกูล - Voice อ.พัทธนันท์ อาจองค์ - Voice อ.วิภาต วิบูลย์ภาณุเวช - Voice

ขอขอบคุณ

• ผู้บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ผู้บริหารคณะมนุษยศาสตร์ • คณะกรรมการพัฒนาวงดุริยางค์เครื่องลม แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • คุณศิริ ชมชาญ (ประธานมูลนิธิเพิ่มสุข)

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF