เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556) - แซดวายดาวเทียม

September 8, 2017 | Author: แซดวาย ดาวเทียม | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556) - แซดวายดาวเทียม...

Description

 

 

เออกสาารปรระกออบกาารอบบรม การตติดตั้งจานนดาวเทียยม Parrtnership p 

 

คํานํา   เอกสารประการการอบรมการติดตั้งจานดาวเทียมฉบับนีจ้ ดั ทําโดยทีมงานแซทเทลไลท์ ทูยู เพือ่ ประโยชน์ ต่อผู้เข้ าอบรมจะได้เข้ าใจเนือ้ หาได้ ง่ายขึน้ โดยเนือ้ หาบางส่ วนทีมงานได้ นํา บทความทีม่ ผี ู้เผยแพร่ มาดัดแปลง เพือ่ ให้ เนือ้ หามีความถูกต้ องและสอดคล้ องกับการอบรม รวมทั้งรู ปภาพทีน่ ํามาประกอบกับบทความ ด้ วยวิธีการเพียง 3 ขั้นตอนทีท่ มี งานนํามาประยุกต์ ทําให้ ผู้เข้ าอบรมสามารถติดตั้งจานดาวเทียมได้ อย่ างง่ ายดายและทํางานได้ จริงกับดาวเทียมทุก ดวง

ผู้จดั ทําหวังเป็ นอย่ างยิง่ ที่เอกสารฉบับนีจ้ ะเป็ นส่ วนหนึ่งทีท่ าํ ให้ ผู้ทอี่ บรมเข้ าใจในเนือ้ หา และเกิดประโยชน์ อย่ างสู งสุ ด เป็ นช่ างและผู้ประกอบการทีม่ ีความรู้ ความเข้ าใจอย่ างแท้ จริงทั้ง ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ มองภาพครบทุกด้ าน ไม่ เป็ นเพียงช่ างแบบครู พกั ลักจํา สามารถเป็ นผู้ ถ่ ายทอดด้ วยหลักการทีถ่ ูกต้ อง

แซทเทลไลท์ ทูยู

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 2

ทีมงาาน

ร าร SSATEELLITEE 2U รายก (แแซทเทลไไลท์ ทูยู) วันพุพธ เววลา 220.00 น. – 211.00 น. CAT C CHAANNNEL คววามถีถี่ 38224 v 22222 แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 3 3

ภาคเช้ า - ทฤษฏีดาวเทียม ภาคบ่ าย - แยกสถานีลงมือปฏิบัติ

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 4

ทําไมต้ องรู้ ทฤษฏีดาวเทียม - รู้ เขารู้ เรารบ 100 ครั้ง ชนะ 100 ครั้ง หลายคนที่สามารถติดตังจานดาวเที ้ ยมได้ อาจจะเห็นช่างคนอื่นทําก็ทําตามแล้ วเจอสัญญาณก็เข้ าใจว่าตนเองก็ ทําได้ แต่ในความเป็ นจริงกรณีที่ไปต่างพื ้นที่ ไม่มีจดุ อ้ างอิง ไม่มีตวั อย่างให้ ดกู ็ทําไม่ได้ เพราะไม่ร้ ูหลักการที่ ถูกต้ อง 

- ประหยัดเวลาในการติดตั้ง ไม่ต้องลองผิดลองถูกในการหาสัญญาณเมื่อรู้หลักการแล้ วไม่ต้องใช้ เวลา 

- รู้ ว่าอะไรควรทํา อะไรไม่ ควรทํา บางดาวเทียมพื ้นที่ให้ บริ การมาไม่ถงึ บ้ านหรื อที่เรี ยกว่า Footprint เมื่อรู้แล้ วก็ไม่ต้องเสียเวลาไปปรับรับ หรื อ บางดาวเทียมแกนขัวโพราไลน์ ้ ไม่ได้ สง่ มาแบบแนวนอนและแนวตังอย่ ้ าง YAMAL202  ก็ต้องปรับอุปกรณ์รับ สัญญาณให้ ถกู ต้ อง 

- เป็ นผู้ถ่ายทอดทีด่ ี ไม่คาดหวังผู้เข้ าอบรมเป็ นเพียงแค่ช่างติดจานดาวเทียม แต่ต้องงานให้ เป็ นผู้ที่จะนําองค์ความรู้เหล่านี ้ไปต่อยอด ไม่วา่ จะพัฒนาอุปกรณ์ใหม่ๆ หรื อถ่ายทอดให้ บคุ ลกรท่านอื่นๆต่อไป 

 

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 5

ควรรู้ อะไรบ้ าง - ประวัติความเป็ นมาของดาวเทียม - ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) - การส่ งสั ญญาณแบบ KU-Band และ C-Band - ฟุตปริ้นต์ (FootPrint) - ลักษณะของจานรับสั ญญาณดาวเทียม - หัวรับสั ญญาณ (LNB) - การใช้ งานเข็มทิศและ Angel วัดมุม - เครื่องรับสั ญญาณ ( Receiver) - สายนําสั ญญาณ - การกําหนดพืน้ ทีก่ ารติดตั้ง

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 6

ประวั ป ตคิความเป็ นมาดาว น วเทียม เริ่ มจากกาารค้ นพบคลื่นแมม่เหล็กไฟฟ้า โดดย เจมส์ แม็กซ์ซเวลล์ (James C.C Maxwell) เมื่อ สามร้ อยกว่าปี มาแล้ ว ต่อมา ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ ต (Heinrich Rudolf Hertz) นักวิทยาศาสตร์ร์ ชาวเยอรมันเป็ป็ นผู้ทดสอบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟฟ้า เป็ น พลังงานที่ใช้ งานได้ จริ จง

เจมส์ แม็กซ์เวลล์ (Jaames C. Maxwell)) ตอนแแรกเฮิรตซ์ตงใจ ั ้ จอยากจะเป็ นวิศวะกร แต่แล้ ววก็หนั มาสนใจททางด้ านฟิ สกิ ส์์ ปี ค.ศ. 18855 (พ.ศ. 2428) เฮิ เ รตซ์ได้ รับ ชักชววนจากวิทยาลัยเบอร์ ย ลนิ ให้ ร่วมงานวิ ม จยั เกี่ยวกกับคลื่นแม่เหล็ล็กไฟฟ้า ทําให้อีก 2 ปี ต่อมา คค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) ได้ ค้ นพบบบางสิง่ ที่มีควาามสําคัญมากนนัน่ คือ คลื่นวิทยยุ การทดลองขของเฮิรตซ์ได้ พสูสิ จน์วา่ คลื่นวิททยุเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ไม่ใช่คคลื่นเสียง

ไฮน์ริช รูดอ ล์ฟ เฮิรตซ์ (Heeinrich Rudolf Hertz)      

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 7 7

เฮิรตตซ์ (Hertz คําย่ า อคือ Hz) เป็ นหหน่วยวัดของค่าความถี่ โดย 1 Hz คือความถี่ทที่เท่ากับ 1 ครัง้ ต่อวินาที (1/ss) หรื อ : 1 Hz = 1/S ดังนัน้ 70 Hz หมายถึง มีควาามถี่เท่ากับ 70 ครัง้ ต่อ 1 วินาทีที ซึง่ คําว่า Hertz ก็มาจากชื่อของ อ ไฮน์ริช รูดอล์ ด ฟ เฮิรตซ์ (HHeinrich Rudoolf Hertz) เป็ น การใหห้ เกียรติกบั เขานนันเอง ้      

   

หน่ วยยวัดเฮิรตซ์   10 เฮิฮรตซ์

= 1 เดคาเฮิ เ รตซ์ หหรื อ 101Hz มีหน่วยเป็ น daHz d

100 เเฮิรตซ์

= 1 เฮกโตเฮิ เ รตซ์ หหรื อ 102Hz มีหน่วยเป็ น hHz h

1000 เฮิรตซ์

= 1 กิโลเฮิรตซ์ หหรื อ 103Hz มีหน่วนเป็ น kHz k

1,0000,000 เฮิรตซ์

= 1 เมกะเฮิ เ รตซ์ หหรื อ 106Hz มีหน่วยเป็ น MHz M

1000,000,000 เฮิรตซ์ ต

= 1 กิกะเฮิรตซ์ หหรืื อ 109Hz มีหน่วยเป็ น GHz G

1,0000,000,000,0000 เฮิรตซ์ = 1 เทราเฮิรตซ์ ห รืื อ 1012Hz มีหน่วยเป็ น THz T

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 8 8

ลักษณะขอองคลื่นวิทยุไมโคครเวฟ เช่ นเดียวกับลักษณ ณะทั่วไปของคคลื่น คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟจะะมีลักษณะดังต่ตอไปนี ้ • เดินนทางเป็ นเส้ นตรรง • สามมารถหักเหได้ (Refract) • สามมารถสะท้ อนได้ด้ (Reflect) • สามมารถแตกกระจจายได้ (Diffract) • สามมารถถูกลดทอนนเนื่องจากฝน (Attenuate) • สามมารถถูกลดทอนนเนื่องจากชันบ ้ บรรยากาศ

การรถือกําเนิดดาวเเทียม ผู้ริเริ่ มให้ แนวคิ แ ดการสื่อสารดาวเทียม" ออาเธอร์ ซี คลาร์ร์ ก " (ARTHURR C. CLARKE)) เป็ นนักเขียนนนวนิยายและ สารคดีวิทยาศาสตร์์ ผ้ มู ีชื่อเสียงในปปลายคริ สต์ศตววรรษที่ 20 เขาได้ สร้ างจินตนาาการของการสื่ออสารดาวเทียมให้ ม เราได้ ร้ ู ตังแต่ ้ ต่ปี ค.ศ. 1945 หรื ห อตรงกับ พ.ศศ. 2488 โดยเขีขียนบทความเรื่ อง " EXTRA TERRESTRIALL RELAYS" ในนินิตยสาร "WIREELESS WORLLD" ฉบับเดือนตตุลาคม ปี ค.ศ.. 1945 ซึง่ ในบททความได้ กล่าวถึ ว งว่า " ถ้ ามนุษษย์ชาติเรานําเออาสถานีทวน สัญญ ญาณขึ ้นไปลอยในอวกาศ เพื่อใช้ ในการส่งสัญ ญญาณข่าวสารรต่างๆ เพื่อใช้ ในการสื น ่อสารระะหว่างจุดหนึง่ กับอีกจุดหนึง่ ในรูปแบบของภาคพืพื ้นดินสูอ่ วกาศ และจากอวกา ศกลับเข้ ามาสูภาคพื ภ่ ้นดินอีกครั ค ง้ หนึง่ โดยเรี ยยกสถานีทวนสัสัญญาณนี ้ว่า " ดาวเทีทียม " โดยดาวเทียมนันจะลอ ้ ยอยูใ่ นอวกาศ โคจรรอบโลก ในลักษณะการรโคจรเป็ นแบบบวงกลม ที่เรี ยกว่า " Geosstationary Orbbit " ซึง่ ดาวเทียมจะลอยอยูเ่ หนืนือเส้ นศูนย์สตู ร ที่ระดับความมสูงประมาณ 335,786 กิโลเมตตร วัดจากพื ้น โลก ซึง่ วงโคจรนี ้จะต้ต้ องทําให้ ดาวเทีทียมนัน้ โคจรด้ด้ วยความเร็วเท่่ากับที่โลกนันห ้ หมุนรอบตัวเอง เท่ากับ 24 ชัว่ โมง หรื อหนึง่ รอบพพอดี ดังนันเมื ้ ่อเรามองไปยังดาาวเทียม จึงทําใให้ เป็ นภาพลวงงตาซึง่ มองเห็นว่วา ดาวเทียมนันันนลอยอยู ้ ก่ บั ที่ แต่จริ งแล้ วมี การเคคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา

อา เธอร์ ซี คลาร์ ก (AARTHUR C. CLLARKE)

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 9 9

แนวคิดนี ้เอองที่ทําให้ สง่ สัญญาณรายการ ญ รโทรทัศน์ฯและะวิทยุได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูสูงมาก และครออบคลุมพื ้นที่ ได้ อย่างกว้ างขวาง แต่ แ มีการลงทุนที่คอ่ นข้ างตํ่าเพพราะไม่จําเป็ นต้ องสร้ างสถานีทวนสัญญาน ((Repeater) มาากเหมือนการ สื่อสาารภาคพื ้นดินอื่นๆ น ซึง่ ทําให้ สามารถส่งสัญญาาณมายังลูกค้ าโดยตรงอย่ า างทีที่เรี ยกกันว่า DTTH (Direct To Home )

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 10 0

นออกจากนี ้นายอาเธอร์ ซี. คลาคค ยังให้ แนวคิดไไว้ วา่ โลกจะทําการสื า ่อสารผ่านดาวเทียม โด ยทัว่ โลกได้ นนจ ั ้ จําเป็ นต้ องมี การนํนาเอาสถานีทวนนสัญญาณที่เรียกว่ ย าดาวเทียม ไปลอยอยูใ่ นออวกาศเหนือมหหาสมุทรทังสาม ้ มมหาสมุทรหลัลักๆ คือ มหาสสมุทรแอตแลนติติก, มหาสมุทรแปซิฟิก และมหหาสมุทรอินเดีย ซึง่ ดาวเทียมททัง้ 3 จุดนี ้ จะต้ต้ องลอยและโคจรอยูใ่ นวง โคจรเเหนือเส้ นศูนย์สูสตู ร ที่มีชื่อเรี ยกตามสั ก ญญานาามว่า Clarke Orbit O หรื อเรี ยกเป็ นไทยว่า " ดดาวเทียมค้ างฟ้า "

ทําไไมดาวเทียมจึ ย งสามารถลอยคค้ างอยู่ในออวกาศได้ด้

ลลองหลับตาจินตนาการดู ต วา่ เราากําลังยืนอยูบ่ นนยอดเขาสู ง ( ประมาณ 35,8766 ก.ม.) ซึ่ งอยูเ่ หหนือชั้นบรรยากกาศของโลก หากเรราขว้างลูกเทนนินิสไปข้างหน้า จะสังเกตได้วา่าลูกเทนนิสนั้นจะตกลงสู่พ้นื โลกในแนวโค้ โ ง ซึ่ งหากพิจารณ ณาอย่าง ละเอียยด ก็สามารถบอกได้วา่ ลูกเทนนนิสนั้นมีการเคคลื่อนที่อยู่ 2 แนนว คือ - แนวเส้นตรรงตามแรงที่ขว้างออกไป - แนวดิ่งที่ถกกระทํ ู าโดยแรรงดึงดูดของโลลก (กฎของ ไอแแซค นิ วตัน)

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 11 1

่ พ้นื ใ เร็ วขึ้นด้วยคความเร็ วที่มากกกว่าครั้งแรก ก็จะพบว่าตําแหน่น่งที่ลกู เทนนิสจะตกลงสู จ หากเรราขว้างลูกเทนนินิสไปข้างหน้าให้ นั้นจะะไกลออกไปตาามความเร็ วที่เพิ่มขึ้น ฉะนั้นถ้าาหากเราขว้างลูกเทนนิสด้วยความเร็ ว 28,0000 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง (17,000 ไมล์ตต่่อชัว่ โมง) จะทําํ ให้ลูกเทนนิสไม่ตกลงสู่พ้ืนโโลก แต่ลกู เทนนิสจะวิ่งไปตามมแนวโค้งของผิผิวโลกแทนหรื อเราอาจนึกถึง การแกกว่งเชือกที่ผกู ติดกับลูกเทนนิสเป็ ส นวงกลมรออบตัวเรา จะเห็นว่ น าลูกเทนนิสนัน้ นเคลื่อนที่เป็ นนวงกลม และกการที่ลกู เทนนินิสสามารถเคลื่อนที อ ่เป็ นวงกลมมได้ เนื่องจากลูลูกเทนนิสได้ผกติ กู ดกับเชือกเปรี ียบได้กบั แรงดึดึงดูดของโลกทีที่กระทําต่อลูก เทนนินิสและถ้าเชือกขขาดลูกเทนนิ สที่ผกู ติดอยูก่ บั เชืชือกก็จะหลุดอออกไป เช่นเดียวกั ว บการขว้างลูกกเทนนิสที่มีความเร็ ว วมากกว่า 40,800 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง นัน่ ก็คอความเร็ ือ วที่ลูกเทนนิสสามารถถเอาชนะแรงดึงดูดของโลกไดด้นนั่ เอง จากทฤษฎีดงั กล่าวส่สงผลให้ลูกเทนนนิสสามารถโคจจรรอบโลกได้ หรื อใน 1 วินาทีลกู เทนนิสจะะวิง่ ไปได้ไกลถึึง 8 กิโลเมตร น และนี่คือความเร็ วที่จะทําใให้วตั ถุสามารถถลอยอยูใ่ นวง คิดเป็ นนการวิง่ จากกรุรงเทพฯ ถึงสระะบุรีดว้ ยเวลาที่นน้้อยกว่า 13 วินาที โคจรรอบโลกได้

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 12 2

ดาววเทียมดดวงแรกก ในปี พ.ศ. 2500 ประเทศสหภาพโซเวียต (รัสเซีย) เป็ นชาติ ช แรกที่สง่ ดาาวเทียมชื่อว่า " สปุตนิค 1" (SSputnik 1) ไป โคจรใในอวกาศในระะดับตํ่า แล้ วส่งข้ อมูลเกี่ยวกับคความหนาแน่นและอุณภูมิของงบรรยากาศชันนสู ้ งกลับมาสูโ่ ลก ล ด้ วยความถี่ 20.0005 MHz และ 40.005 4 MHz ซึงถื ่ อว่าเป็ นก้ าววแรกแห่งการพัฒ ั นาเทคโนโลยียีทางดาวอวกาาศ และดาวเทียมของโลก ย ทีเดียว

สปุตนิค 1(Sputnik 1)

ปี พ.ศศ. 2501 ประเททศสหรัฐอเมริ กา ได้ สง่ ดาวเทียยมชื่อว่า เอ็กซ์พลอเรอร์ พ 1 (Expplorer I) ได้ สํา เร็จเป็ นประเทศศที่ 2

เออ็กซ์พลอเรอร์ 1 (Explorer ( I)

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 13 3

มาถึงในปี พ.ศ. 25005 ประเทศสหรัรัฐอเมริ กา ได้ สง่งดาวเทียมชื่อว่วา " เทลสตาร์ 1" 1 (Telstar 1) ขึ ้นไปโคจรรอบโลกเป็ นวงรี แต่ยงงไม่ ั อยูใ่ นวงโคจจรที่เรี ยกว่า Geeostationary โดดยใช้ การควบคคุมการโคจรจากกสถานีภาคพื นดิ ้น นที่อยูบ่ นโลกก ดาวเทียม ดวงนีน ้้ถือว่าเป็ นดาวเเทียมดวงแรกของโลกที่ใช้ ในกการสื่อสารอย่างแท้ ง จริ ง และใช้ช้ สง่ รายการโทรรทัศน์รวมลงมาาด้ วย

เทลสตาร์ 1(Teelstar 1)

ต่อมาาอีก 3 ปี คือปี พ.ศ. พ 2508 ได้ มีมกี ารส่งดาวเทียยมที่ชื่อว่า " เอออร์ ลี่เบริ ร์ด " (Early Bird) ขึ ้นไไปโครจรในวงโคจร Geosstationary ซึง่ ถือว่าเป็ นดาวเทีทียมที่อยูใ่ นวงโ คจรแบบค้ างฟ้า และใช้ ในเชิงพาณิ ง ชย์เป็ นดาาวแรกอย่างแท้ท้ จริ ง โดยมี ช่องสัญ ั ญาณการถ่ายทอด า สัญญาาณเกี่ยวกับโทรรทัศน์, เทเล็กซ์, ข่าวสารต่างๆ รวมทังรายการ ้ รโทรทัศน์ ที่รับมาจากด้ าน หนึง่ ขของมหาสมุทรแแอตแลนติก ผ่านดาวเทียมเพื่ออส่งไปส่วนอื่นๆ ของประเทศ

เออร์ ลี่เบริ ร์ด (Early Bird)

หลังจจากที่ดาวเทียมเออร์ ลี่เบิร์ด ปรระสบความสําเเร็็ จแล้ ว องค์การดาวเทียมเพือการสื ่อ ่อสารโทรรคมระหว่างปรระเทศ ( INTELSAT : Internaational Telecoommunicationns Satellite Orgganization ) ก็ได้ สง่ ดาวเทียมมขึ ้นสูว่ งโจรอีกหลายดวง ภายใใต้ ชื่อของอินเทลลแซท (INTELSSAT) โดยมีหมาายเลขเรี ยงลําดัดบก่อนหลังกัน โดยโครจรอยูใ่ ในวงโคจร Geoostationary มี ใช้ ทงง ั ้ งานการให้ บริ การภายในประเ ก เทศ และระหว่าางประเทศรวมกกันไป ประเทศไททยเข้ าร่วมเป็ นสมาชิ ส กองค์การรดาวเทียมเพื่อการสื ก ่อสารโทรคคมระหว่างประะเทศ (INTELSAAT) ลําดับที่ 49 เมืมื่อ พ.ศ. 2509ปีปี พ.ศ. 2539 ประเทศไทยมี ป ดดาวเทียมเป็ นของตัวเองชื่อว่าไทยคม ไ ( Thaiccom ) ซึง่ บริ ษทชิ ัท นวัตร คอมพิพิวเตอร์ แอนด์คอมมู ค นิเคชัน่ เปป็ นผู้ได้ รับสัมปปทาน แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 14 4

หลัลักการทํทางานขอองดาวเทีทียม

ในระบบกาารสื่อสารดาวเทีทียมจะมีการทํ างานง่ายๆ ดังนี ้ สถานีภาคพื ้นดิ ้น นจะส่งสัญญ ญาณขาขึ ้น (Uplink) กําลัง ส่งสูงผ่านจานสายอากาศไปยังจานนสายอากาศแลละเครื่ องรับบนนดาวเทียม ทําการขยายสั ก ญญ ญาณแปลงความมถี่ แล้ วขยาย ให้ กําลังสูง ส่งผ่านจจานสายอากาศเป็ นสัญญาณขขาลง (Downlinnk) มายังจานสสายอากาศรับขของสถานีภาคพืพื ้นดิน สถานี รับจะะทําการขยายสัญ ั ญาณ แล้ วดําเนินกรรมวิธีนนํํ าข้ อมูลต่างๆ ไปใช้ ไ งาน เนื่องจากอุ ง ปกรณ์รับ และส่งสัญญาณใน ดาวเทีทียมนันอยู ้ ่ใกล้ กันมากอาจจะะเกิดการกวนสัญ ญญาณกันได้ จึจงึ มีการออกอุปกรณ์ภาคส่งแลละภาครับในทรรานสปอน เดอร์ ใให้ มทํางานในชช่วงความถี่ที่ตางกั า่ น เช่นการใช้ช้ งานในย่านคววามถี่ C-Band จะใช้ ความถี่ UUplink 6 GHzz และความถี่ Downnlink 4 GHz ซึง่ จะต่างกัน 2 GHz ซึง่ เพียงพพอที่ลดปั ญหาดดังกล่าว

ช่ อองสั ญญาณของดาวเทียยม (Trannspondeer) ดาวเทียมททุกดวงที่ใช้ อยูนีน่ ี ้จะมีช่องสัญญ ญาณซึง่ เรี ยกว่า ทรายสปอนเดดอร์ (Transponnder) ซึง่ มีหลาายๆรูปแบบ เพื่อใช้ช้ กบั การสื่อสารรลักษณะต่างๆกัน ดาวเทียมดดวงหนึง่ ๆ สามาารถจะมีทรายสสปอนเดอร์ ได้ มมากถึง 24 ช่อง หรื ออาจจะ มากกกว่า เพื่อใช้ ในงาานต่างๆ ได้ อย่างครบถ้ า วน โดยยแต่ละช่องสามมารถใช้ ถ่ายทออดสัญญาณโท รทัศน์ได้ มากกว่าหนึง่ ช่อง หรื อสสามารถรับ - ส่งสั ง ญญาณโทรศศัพท์พดู ติดต่อพพร้ อมกันได้ เป็ นจํ น านวนหลายพันคูส่ าย สัญญาณคความถี่ในทุกๆ ทรานสปอนเดอร์ จะมีการจัดขัขวของคลื ้ ่น (Poolarization) เออาไว้ ให้ มีทงขั ั ้ วท ้ ทางแนวตัง้ (Vertiical) และขัวทา ้ างแนวนอน (Hoorizontal) เพื่อใให้ เหมือนกับการขยายช่องสัญญาณ ญ จากย่าานความถี่ที่มีจานวนอั ํ น จํากัดดให้ ได้ ช่องสัญญาณมากขึ ญ ้น ในนการรับสัญญาาณที่สถานีภาคคพื ้นดินนัน้ สามมารถแยกรับได้ด้ ด้วยตนเองว่าจะรั จ บทาง แนวตัตัง้ หรื อแนวนอนน หรื อจะรับทัง้ 2 แนวก็ได้ ซึง่ ดาวเทียมจํานววนมาก จะมีทรานสปอนเดอร์ ร ร์ ที่รับ – ส่งสัญญาณทาง ญ แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 15 5

แนวตังและแนวนอนอย่ ้ างละ 12 ทรานสปอนเดอร์ และมีความถี่ซ้อนกันอยู่ แต่จะไม่เกิดการรบกวนของสัญญาณ (Interference) กันเอง ทรานสปอนเดอร์ ของดาวเทียมจะทํางานที่ความถี่สงู กว่าความถี่ที่ใช้ ในสถานีโทรทัศน์ภาคพื ้นดิน เนื่องจาก ความถี่ที่ใช้ นี ้ อยูใ่ นย่าน SHF (Super High Frequency ) จึงไม่มีผลกระทบจากสภาพของอากาศ หรื อการเกิดซันสปอต (Sunspot) เท่าใดนัก ทําให้ การสื่อสารด้ วยดาวเทียมนี ้ มีความเชื่อถือได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง ความถี่สว่ นใหญ่ที่ใช้ ในกิจการ ส่งสัญญาณโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม เพื่อส่งตรงไปยังที่พกั อาศัย ในย่านเอเซีย จะใช้ ความถี่ยา่ นตังแต่ ้ 3.7 - 4.2 GHz หรื อ มักจะเรี ยกว่า " ความถี่ยา่ น C " (C-Band) และจะใช้ ความถี่ที่สงู กว่า คือตังแต่ ้ 10.95 - 12.75 GHz ในการส่งสัญญาณ รายการโทรทัศน์ตา่ งๆ ลงมาสูท่ ี่พกั อาศัยของประชาชนโดยตรง ช่วงความถี่ดงั กล่าวจะเรี ยกว่า " ความถี่ยา่ น KU-Band

ย่ านความถีส่ ั ญญาณ C-Band , Ku-Band ITU (International Telecommunication Union) ได้ จดั สรรและควบคุมการใช้ ความถี่ในกิจการต่างๆ ทังใน ้ ประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้ เกิดการทับซ้ อน และรบกวนกัน ความถี่ที่ใช้ กบั ดาวเทียมจะใช้ หลักการเรี ยกชื่อ คล้ ายกับที่ใช้ ในเรดาร์ และไมโครเวฟ แต่ความถี่ใช้ งานอาจแตกต่างกันบ้ างตามภารกิจ และวิธีการใช้ ความถี่ เช่น L-band C-band KU-band X-band และ KA –band เป็ นต้ น ความถี่ที่นิยมใช้ กนั มาก คือ ย่าน C-band สัญญาณย่านขาขึ ้น (Uplink) ใช้ ยา่ นความถี่ 6 GHz และสัญญาณขาลง (Downlink) ใช้ ยา่ นความถี่ 4 GHz จึงนิยมเรี ยกว่า 6/4 GHz ความถี่ C-band นี ้ อาจรบกวนกับการสื่อสารผ่านคลื่นไมโครเวฟบนภาคพื ้นดินได้ ง่าย อีกความถี่ที่ใช้ งานมาก คือ KU-bandใช้ ความถี่ขาขึ ้น 12- 14 GHz และความถี่ขาลง 11 – 18 GHz โดยประมาณ ซึง่ นิยมใช้ ในกิจการส่งสัญญาณโทรทัศน์ โดยตรง (Direct Broadcast System: DBS) แต่มีข้อเสียหลัก คือ สัญญาณจะถูกลดทอนกําลังจากเม็ดฝนค่อนข้ างมาก ความถี่ยา่ น X –band (8/7 GHz) ใช้ ในกิจการทหาร ส่วนความถี่ยา่ น KA-band (40/20 GHz) มีแนวโน้ มจะนํามาใช้ กนั มากในอนาคต เพื่อแก้ ปัญหาความแออัดของความถี่ใช้ งาน เช่น โครงการ IP-Star ของบริ ษัทไทยคม เป็ นต้ น

ข้ อดี-ข้ อเสียของระบบ C-Band และ KU-Band ระบบ KU-Band ข้ อดี มีความเข้ มของสัญญาณสูง จึงใช้ จานที่มีขนาดเล็ก การติดตังจึ ้ งง่าย ข้ อเสีย ครอบคลุมพื ้นที่ได้ น้อย และมีปัญหาเวลาฝนตก ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ กบั การส่งทีวีบอกรับสมาชิก เช่น True Vision ของไทย, ASTRO ของมาเลเซีย ระบบ C-Band ข้ อดี ครอบคลุมพื ้นที่ได้ เป็ นทวีป สามารถส่งสัญญาณข้ ามทวีปได้ จึงรับรายการทีวีจากทัว่ โลก โดยไม่เสียค่าใช้ จ่ายราย เดือนได้ และไม่มีข้อจํากัดในเรื่ องภูมิอากาศ แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 16

ข้ อเเสีย สัญญาณบีบีมกว้ างกว่า ทําให้ า สญ ั ญาณออ่อน ดังนันเวลา ้ ารับจึงต้ องใช้ จานขนาดใหญ่ า กกว่า การติดตังจึ ้ จึงยากกว่า

ย่านความถี น ถี่ที่ใช้งานในดา า าวเทียม

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 17 7

ฟุตตปริ้นต์ Footprint

ฟุตปริริ น้ ท์ (Foot Prinnt) คือ ลําของคคลื่นสัญญาณดดาวเทียมที่ครอบคลุมพื ้นโลก ดาวเทียมแต่ละะดวงจะมีฟตุ ปริิน้ ต์แตกต่าง กัน โดดยสัญญาณที่ส่สงมานันจะเข้ ้ มที่สดุ ตรงจุดศูนนย์กลาง และจะะค่อยๆจางลงเมืมื่อห่างออกมา เรื่ อยๆ สําหรับสัญญาณ ณไมโครเวฟที่สงจากดาวเที ง่ ยมมมายังพื ้นโลก เรี ยกว่า บีม(Beeam) เราสามา รถที่จะควบคุมให้ ม บีมปรับ ทิศทาางไปยังพื ้นที่เป้าหมายได้ โดยยระบบการควบบคุมภาคพื ้นดินนัน่ เอง

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 18 8

ระบบการสส่งสัญญาณดาาวเทียมมี 2 ขัวส ้ สัญญาณ คือ แนวนอน แ (Horrrizontal) และแแนวตัง้ (Verticaal) ดังนันเมื ้ ่อมี การรับบสัญญาณทางงภาคพื ้นดิน จึงต้ ง องมีการตังขั ้ วคลื ั ้ ่นด้ วยการตังขั ้ วคลื ้ ่นตัวรับ

ขัวคลื ้ว ่นแนวนอน (HHorrizontal)

ขั ้วคลื่นแนวตั ้ง (Vertical)

จริ งๆแแล้ วยังมีการส่งสั ง ญญาณแบบบวนซ้ ายและวนนขวาอีกชนิดหนึนึ่งมีชื่อเรี ยกว่า Circular polaarization ที่ใช้ ในดาวเที ใ ยม YAMAAL201-202

ขัวคลื ้ว ่นแบบวนซ้ ายและวนขวา ย

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 19 9

ลักกษณะขอองจานดดาวเทียม ในการรับสัญญาณทีวีผา่ นดาวเทียมนัน้ เราจะแบ่งประะเภทของจานดดาวเทียม ได้ ตาามลักษณะของการสะท้ อน ของสัญ ั ญาณจากดาาวเทียมที่สะท้ อนเข้ อ าสูจ่ านได้ สามารถแบ่งออกเป็ อ นได้ 3 ประเภท

จานแบบบ Cassegrain

1 การสะท้ท้ อนสัญญาณ แบบ แ Cassegraain จะเห็นได้ ว่วาสัญญาณขาลลงจากดาวเทียยม ( down linkk ) ที่ถกู ส่งลง มาจะะกระทบหน้ าจาานดาวเทียม รูปทรง ป พาราโบลล่า ไปยังที่จานกก่อน และสัญญาณก็ ญ จะสะท้ อน เข้ าไปยังตัว reflect และ สัญญ ญาณจากตัว refflect ก็จะสะท้ อนเข้ อ าไปยังตัว LNBF อีกที ลักั ษณะโครงสร้ างหน้ า าจานที่มีกการสะท้ อนสัญญาณ ญ แบบ casseegrain นันปั ้ จจุจบนั จานดาวเทีทียมทีมีการรับสสัญญาณเพื่อรับชมทีวีบ้านเรานันไม่ ้ นิยมใช้ หรื อไม่มีใช้ เลยย เนื่องจาก ไม่ สามาารถรับสัญญาณ ณได้ ดีเท่าทีควร

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 20 0

จานแบบ Prime Focus

2 การสะท้ท้ อนสัญญาณ แบบ แ Prime Fo cus จะเห็นได้ด้ วา่ สัญญาณขาาลงจากดาวเทียยม หรื อสัญญาาณดาวลิงค์ ( downn link ) ที่ถกู ส่งลงมาจะกระทบบหน้ าจานดาว เทียม รู ปทรง พาราโบล่ พ า และสัญญาณดาววเทียม ก็จะสะทท้ อนเข้ าไปยัง ตัว LNNBF ทีติดตังอย ้ ยูท่ ี่จดุ รวมโฟกัส ลักษณะการรออกโครงสร้ างหน้ ง าจานที่มีการสะท้ า อนสัญญ ญาณ แบบ prim me focus นัน้ ปั จจุบบันเป็ นที่นิยมเป็ป็ นอย่างมาก สําหรับการออกแบบจานดาวเทีทียมเพื่อรับชมทีทีวี free2air บ้ านเราเองก็เช่นกั น นนิยมการ ออกแแบบหน้ าจานที่มีมการรับสัญญาณสะท้ อนแบบบ prime focuss เนื่องจาก สามมารถรับสัญญาาณได้ ดี รับสัญญาณสะท้ ญ อน มาจาากหน้ าจากตรงๆ ไม่ต้องติดตังตั ง้ ว reflectให้ ยยุุง่ ยาก และยังสามารถ โมดิฟาย ฟ เพื่อติดตัง้ หหัว LNBF ทังแ ้ แบบ c-band และแแบบ ku-band เพื่อให้ รับดาวเทีทียมเพิ่มได้ หลาายดวงอีกด้ วย เช่น จานรับ DUO , TRIO , แและ4หัว

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 21 1

จานแบบ offseet focus

3 การสะท้ท้ อนสัญญาณ แบบ แ offset foccus จะเห็นได้ ว่าสัญญาณขาาลงจากดาวเทียยม ( down linnk ) ที่ถกู ส่งลงง มาจะะกระทบหน้ าจาานดาวเทียม รปทรง รู พาราโบบล่า ในลักษณ ณะการสะท้ อนแแบบ เฉียงๆ และก็จะสะท้ อนเข้ าไปยังตัว LNBFF อีกที ลักษณ ณะโครงสร้ างหน้น้ าจานที่มีการสสะท้ อนสัญญาณ ณ แบบ offset focus นันปั ้ จจจุบนั เป็ นที่นยมจากในระบบ ิย บ ku-baand และการรัรับสัญญาณทีมี่มกี ารสะท้ อนแบบบoffset focuss นัน้ ก็จะนิยมใช้ ม เพื่อรับสัญญ ญาณทีวีผา่ นดาาวเทียมเช่นกัน โดยเฉฉพาะอย่างยิ่ง เคเบิ ้ลทีวีที่เป็ นระบบ น ku-bannd อย่างเช่น true vision thailand และ asttro cable malaaysia , การรับ สัญญ ญาณแบบ offseet fucus ก็เช่นกั น น สามารถ โโมดิฟาย ติดหัวั LBNFเพิ่มเพืพื่อให้ สามารถรับั ดาวได้ หลายดดวงเช่นกัน แต่ต่ ข้ อจําากัดนันดาวเที ้ ยมแต่ละดวงจะต้ องไม่อยูห่ า่ งกกันมาก ข้ อดีของการสั ข ญญาณ ลักษณะ offfset fucus นันมี ้ หลายอย่าง น ญญาณขาลงง ( down link ) ที่มีความถี่สงๆ ู เช่นความถีถี่ เช่นกันั คือสามารถอออกแบบให้ มีจานที่ขนาดเล็ก และเหมาะกันสั ช่วง kku-band ข้ อเสีสียก็มีเช่นกัน คือการloss อ ของ สัญญาณที่ผ่านชั น นบรรยากาศ ้ ศนันมี ้ มากกว่า

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 22 2

แต่สว่ นใหญ ญ่แล้ วในวงการดาวเทียมบ้ านนเรา การติดตังจานเพื งั ้ ่อการรับชมที บ วีผ่านดาาวเทียมตามบ้ าน า ร้ านค้ า หรื อ ทัว่ ไปนัน้ ช่างติดตังง ้ งานดาวเทียม มัมกจะแบ่งประเเภทจานดาวเทียม ออกไปตามมลักษณะ ย่าน ความถี่ที่ใช้ งานน คือ 1.จานC-BBand ( ซีแบนด์ด์ ) ลักษณะเป็ป็ นจานโปร่งๆ ตะแกงดํ ต า เส้ นผ่ผาศูนย์ประมาณ ณ 5ฟุต ถึง 10ฟุต เป็ นที่นิยม เิ ยม รูตะแกรงงจะต้ องมีขนาดดเล็กกว่า 1/122 ของความยาาวคลื่น เช่นถ้ าใช้ ใ รับสัญญาณ ณ มากโครงสร้ างนิยมททํามาจากอลูมเนี ะ องมีขนาดไม่เกิน 2 มิลลิเมตร แลละ C-Band รูตะแกรงจะต้ ต องมีมีขนาดไม่เกิน 6 มิลลิเมตรจึง ย่าน KU-Band รูตะแกรงจะต้ ณได้ ดี จะสะะท้ อนสัญญาณ 22.จานKU-Band ( เคยู-แบนด์์ ) ลักษณะเป็ นนจานทึบใบเล็ก เส้ นผ่าศูนย์ประมาณ ร 2ฟุต ถึ ง 5ฟุต

คววามยาวคคลืน่ คืออะไร ความมยาวคลื่น คือระะยะทางระหว่างส่วนที่ซํ ้ากันขของคลื่น สัญลักษณ์ ก แทนความมยาวคลื่นที่ใช้ กกัั นทัว่ ไปคือ อักษรกรี ก ก แลมบ์์ ดา (λλ).

แกนนนอนในแผนภูมิแทนระยะทาง และแกนตังแท ณหนึง่ ซึง่ กําลังเเปลี่ยนแปลง (ตัวอย่างเช่น ้ ทนค่า ณ เวลาหหนึ่ง ของปริ มาณ สําหรัรับคลื่นเสียง ปริริ มาณที่กําลังเปปลี่ยนแปลงก็คือแรงดันอากาศศ หรื อสําหรับคลื ค ่นแม่เหล็กไฟฟฟ้า ปริ มาณทีกํ่กาํ ลัง เปลี่ยนแปลงก็คือสนนามไฟฟ้าและสสนามแม่เหล็ก) ซึง่ เป็ นฟั งก์ชนของระยะทาง นั ม นธ์แบบผกผัผันกับความถี่ขอองคลื่นนัน้ โดยยความยาวคลืนมี ่น คา่ เท่ากับคววามเร็วของคลืนนั น่ นๆ ้ หาร ความมยาวคลื่น λ สัมพั ด้ วยคความถี่ ถ้ าเราพิพิจารณาคลื่นแมม่เหล็กไฟฟ้าในนสุญญากาศ ความเร็วนันก็ ้ คอความเร็ ือ วแสงนนัน่ เอง ความสัมั พันธ์นี ้ สามาารถเขียนได้ เป็ น

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 23 3

เมื่อ: λ = ความมยาวคลื่น

c = ความมเร็วแสงในสุญญากาศ ญ ซึง่ มีคา่าเท่ากับ 299,7792.458 กิโลเมมตรต่อวินาที (หหรื อประมาณ 300 3 ,000 กิโลเมตรตต่อวินาที)

f = ความถีถี่ของคลื่น เช่นความถี่ C-Bandd 3.7 – 4.2 GHHz λ = 300,000/4,0000,000,000 = 00.000075 ก.ม. ทําให้ห้ เป็ นเมตร 0.0000075x1000 = 0.075 เมตร ทําให้ห้ เป็ นเซนติเมตรร 0.075x100 = 7.5 cm สรุปคความถี่ C-Bandd มีความยาวคคลื่นประมาณ 77.5 cm - รูตะะแกรงจะต้ องมีขนาดเล็ ข กกว่า 1/12 1 ของความมยาวคลื่น ดังนัน้ 7.5/12 = 0.625 0 cm

ุ ญาากาศ ความยาาวคลื่นจะลดลงงด้ วย เมื่อคลื่นแสง (หรื อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใดๆ) เดินทาางในตัวกลางใดที่ไม่ใช่สญ ง าเดิม ความยาวคลื่นแสสงในตัวกลางใดดๆ สามารถ อัตราส่วนเท่ากับดรรรชนีหกั เห n ขอองตัวกลางนัน้ แแต่ความถี่จะยังคงเท่ เขียนไได้ เป็ น

เมื่อ: λ0 คือควาามยาวคลื่นในสสุญญากาศ น ใ่ นตัวกลางใด ก เมื่อเราาอ้ างถึงความยาวคลื่น มักหมายถึงความยาววคลื่นในสุญญากาศเสมอ ไม่วา่ คคลื่นแสงจะเดินทางอยู

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 24 4

โครรงสร้ างจานแบ ง บบพาราโโบลิค

การหหาระยะของงจุดโฟกัส

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 25 5

F//D หรืออั อ ตราส่สวนของงระยะโฟฟกัสต่ อเส้ นผ่ าศู นย์ กลาางของ หน้ าจาน (F//D Ratiio)

 

สําคัญมากหลายคนไม่ เคยรู้ และมองงข้ ามไปเพราะะจะนํามาหาจุดที่จะใช้ กาํ หนนดระยะหัวรับสั บ ญญาณ หรื อ LNB ให้ ได้ ระยะที่ถูกต้ อง เช่ เ น จานรัรับสัญญาณมีเส้ นผ่าศูนย์กลางง 6 ฟุตมีคา่ อัตตราส่วน F/D เทท่ากับ 0.35 จะมีมีระยะจุดโฟกัส เท่ากับ 6 x 00.35 = 2.1 ฟุต หรื อ 664.008 เซนติเมตร ม ทําให้ การติติดตังและยึ ้ ดหัวั LNB  ได้ ถกู ต้ อง เมื่อเวลาติดตังหั ้ ว LNB กั บจานถ้ าเราทรราบค่า F/D  แล้ วจจะทําให้ ง่ายเวลลายึดหัว LNB กับหน้ าจานโดยยให้ ดทู ี่กระบอกก LNB จะมีขีดและตัวเลขบอกกระยะอยู่ เช่นกรณี ก นี ้ มีคา่ F/D เเท่ากับ 0.35 ก็ให้ ใ ยดึ หัว LNB ตรงขีด 35ก็จะะได้ ระยะโฟกัสที่ถกู ต้ องของหน้น้ าจานใบนัน้  

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 26 6

LNB(Low Noiise Blocck downn Conveerter) คืออุปกรณ ณ์ขยายสัญญาณ ณรบกวนตํ่า เป็ป็ นภาคขยายสัญ ั ญาณความถีถี่วิทยุ (RF Ampplifier) ที่มี LN NA : Low  Noisee Amplifier อยู อ ภ่ ายใน จะทําหน้ าที่รับและะขยายบสัญญาาณที่รับมาจากหน้ าจานดาวเทีทียม และควบคคุมระดับ

สัญญ ญาณรบกวน (Noise N ) ให้ มีคา่ น้นอยที่สดุ จากนนันจะทํ ้ าการส่งผ่ ง านภาคแปลงงความถี่ให้ ตํ่าลลง (Down Converter)   เช่นแปปลงความถี่ยา่ น C‐Band จากก 3.7 -4.2 GHHz ให้ เหลือ 9500-1450 MHz หรื ห อ 2050 MHHz จึงจะสามารรถส่งผ่านไป ตามสสายสัญญาณไปปยังเครื่ องรับได้ด้ ตอ่ ไป 

  LNB แบบ C‐Band  C

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 27 7

LNB แบบ C+KU

LNB แบบ KU-Band

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 28 8

การใใช้ งานเข็ข็มทิศและ Anggel วัดมุม เข็มมทิศ

เข็มทิศแบบเล็ล็นซาติก

เข็มทิศแบบบซิลวา

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 29 9

เข็มทิศและกการหามมุม เข็มทิศ (อังกฤษ: magnetic compass) c คืออเครื่ องมือสําหรั า บใช้ หาทิศทาง ศ มีเข็มแม แม่เหล็กที่แกว่ง่ ไกวได้ อิสระะในแนวนอนททอดตัวในแนนวเหนือ-ใต้ ตตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้ าปั ดมีสว่ นแแบ่งสําหรับ หาทิศศทางโดยรอบบ เข็มทิศจึงมีปลายชี ้ไปทาางทิศเหนือเสสมอ (อักษร N หรื อ น) เมื่ออทราบทิศเหนืนือแล้ วก็ยอ่ มหาทิทิศอื่นได้ โดยหันหน้ าไปทาางทิศเหนือ ด้้ านขวามือเป็ นทิศตะวันอออก ด้ านซ้ ายมืมือเป็ นทิศตะวันตก ด้ านหหลังเป็ นทิศใตต้ การบอกทิศทางในแผนที ศ ที่โดยทัว่ ไป คือการบอกเป็ปนทิศที่สําคัญ 4 ทิศ คือทิศเหนื ศ อ ทิศ ใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก น มุมที่นิยมใช้ และเรีรี ยกกันในการใช้ งานเข็มทิศจะมีหน่วยเป็ นองศา อซิซิมสุ (azimuthh) หรื อบางทีที่ก็เรียกว่า แบริ่ง (bearing) ซึง่ ประเทศไทยจะนิยมใช้ อองศา อซิมสุ (azimuth) ( แบบบอเมริกา สส่วน แบริ่ง (bearing) จะ นิยมใใช้ ในประเทศศแถบสแกนดิเนเวีย ประเททศในกลุม่ สแกนดิเนเวีย ไดด้ แก่ ราชอาณ ณาจักรสวีเดนน นอร์ เวย์ และเเดนมาร์ ก

ตัวอักกษรแยกทิศบนเข็ บ มทิศ N,SS,E,W แทนทิทิศ เหนือ ใต้ ออก อ ตก ตามมลําดับ North คือทิศเหนือ Soutth คือทิศใต้ Eastt คือทิศตะะวันออก Wesst คือทิศตะะวันตก แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 30 0

วิธีใชช้ เข็มทิศ 1 1.

วางเข็มทิศบนฝ่ ศ ามือหรื อบนปกสมุ บ ดในแแนวระดับโดยใหห้ เข็มแม่เหล็กแกว่ แ งไปมาอย่างงอิสระ

2 2.

หมุนกรอบบหน้ าปั ดของตลลับเข็มทิศ (Com mpass Housinng) ให้ เลขเลขอองศาตามที่ต้องงการอยูต่ รงกับปลายลู บ กศรชี ้ ทิศทาง

3 3.

หมุนฐานเขข็มทิศจนกว่าเข็ข็มแม่เหล็กสีแดดงภายในตลับเข็ เ มทิศชี ้ตรงกับตั บ วอักษร N ทิศศเหนือ บนกรออบหน้ าปั ด

4 4.

เมื่อลูกศรสีสีแดง ( Direction of travel-arrow) ชี ้ทิศทางไปทางทิศใด ก็แสดงว่าดาวเเทียมที่เราต้ องกการค้ นหาอยู่ ทางทิศทางนัน้

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 31 1

AAngell วัดมุม

เครื่องวัดมุม (Angle)แบบบมาตรฐาน ในกระเปาะเข็มวัดใช้ ด น้ าํ มันเป็ นส่สวนประกอบปประคองเข็มวัด การวัดมีความ เที่ยงตรงสูสง ใต้ฐานของเคครื่ องวัดมุมมีแมม่เหล็กถาวรอยู่ ประโยชน์เพื่อใช้ยดึ ติดกับโครรงสร้างจานดาวเทียมเพื่อวัด องศาจาน หลั ห งจากการใช้ช้งานระวัง อย่าววางใกล้เข็มทิศโดยเด็ โ ดขาด เพรราะแม่เหล็กจะ ทําให้ เข็มทิศไม่ ไ เที่ยงตรง หรื ออาจเสีสี ยไปเลย

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 32 2

เครื่องวัดมุม (Angle)แบบบประหยัด ใช้ววัดั มุมก้ม ฐานมีมีแม่เหล็ก ดูง่ายด้ ย วยหน้าปั ดใหหญ่พิเศษ ประโโยชน์เพื่อใช้ยดึ ติดกับโครงสร้างจานดาวเทียมเพื่อวัดองศาจาน หลังจากการใช้งานระวัง อย่าวางใกล้ล้เข็มทิศโดยเด็ดขาด ด เพราะ แม่เหล็กจะะทําให้ เข็มทิศไม่ ไ เที่ยงตรงเช่นนกัน

การใช้ งานนให้ นํา Angel มุมมไปติดใต้ ฐานนคอจาน หรื อ ด้ านบนตรงกลาางจาน จากนันนให้ ้ ปรับระดับคอจานให้ คื เข็ม ตัววัดชี ้ไปยยังตําแหน่งองศศาที่ต้องการ

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 33 3

ตารางมุมส่ ายและมุมก้ ม กรุ งเทพมหานคร องศา 166.0 E 146.0 E 138.0 E 132.0 E 115.5 E 113.0 E 108.2 E 105.5 E 100.5 E 95.0 E 91.5 E 90.0 E 88.0 E 78.5 E 76.5 E 75.0 E 68.5 E 49.0 E

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

ชื่อดาวเทียม Intelsat 8 ABS 5 Telstar 18 Vinasat 1 ChinaSat 6B Palapa D Telkom 1 AsiaSat 3S AsiaSat 5 NSS 6 Measat 3 Yamal 201 ST 1 Thaicom 5 Apstar 2R ABS 1 Intelsat 20 Yamal 202

มุมส่ าย 96 103 107 111 131 136 150 159 180 202 214 218 223 240 242 244 250 259

มุมก้ ม 75 54 46 40 23 22 18 17 16 17 19 20 21 30 32 33 40 60

หน้า 34

ตารางมุมส่ ายและมุมก้ ม Thaicom 5 ทั่วไทย มุมส่าย

มุมก้ม

จ ังหว ัด

มุมส่าย

มุมก้ม

240

30

39.เพชรบุร ี

239

28

2.กระบี่

249

25

40.เพชรบูรณ์

236

32

3.กาญจนบุร ี

237

29

41.แพร่

232

33

4.กาฬสิน

239

34

42.ภูเก็ต

249

25

5.กําแพงเพชร

233

31

43.มหาสารคาม

239

34

6.ขอนแก่น

238

33

่ งสอน 44.แม่ฮอ

226

31

7.จันทบุร ี

244

31

45.มุกดาหาร

240

35

8.ฉะเชิงเทรา

241

30

46.ยะลา

255

27

9.ชลบุร ี

240

30

47.ยโสธร

241

34

10.ชัยนาท

236

30

48.ร ้อยเอ็ด

239

34

11.ชัยภูม ิ

238

32

49.ระนอง

245

26

12.ชุมพร

244

27

50.ระยอง

242

30

13.เชียงราย

229

33

51.ราชบุร ี

239

29

14.เชียงใหม่

229

31

52.ลพบุร ี

237

30

15.ตรัง

251

26

53.ลําปาง

230

32

16.ตราด

244

31

54.ลําพูน

229

32

17.ตาก

233

30

55.เลย

235

33

18.นครนายก

239

31

56.ศรีสะเกษ

241

34

19.นครปฐม

239

29

57.สกลนคร

238

35

20.นครพนม

238

35

58.สงขลา

253

27

21.นครราชสีมา

240

32

59.สตูล

254

26

22.นครศรี

249

26

60.สมุทรปราการ

240

30

23.นครสวรรค์

236

31

61.สมุทรลงคราม

240

30

24.นนทบุร ี

239

30

62.สมุทรสาคร

240

30

25.นราธิวาส

255

28

63.สระแก ้ว

241

31

26.น่าน

232

33

64.สระบุร ี

238

30

27.หนองคาย

236

34

65.สิงห์บรุ ี

238

30

28.บุรรี ัมย์

241

33

66.สุโขทัย

232

31

29.ปทุมธานี

239

30

67.สุพรรณบุร ี

238

30

30.ประจวบฯ

237

29

68.สุราษฏร์ธานี

247

26

31.ปราจีนบุร ี

240

30

69.สุรน ิ ทร์

241

33

32.ปั ตตานี

255

27

70.หนองบัวลําพู

236

34

33.อยุธยา

240

31

71.อ่างทอง

238

30

34.พะเยา

230

33

72.อํานาจเจริญ

240

35

35.พังงา

248

25

73.อุดรธานี

236

34

36.พัทลุง

252

26

74.อุตรดิตถ์

232

32

37.พิจต ิ ร

235

31

75.อุทัยธานี

236

30

38.พิษณุโลก

234

31

76.อุบลราชธานี

242

35

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

จ ังหว ัด 1.กรุงเทพฯ

หน้า 35

ตารางความถี่ล่อ องศา 166.0 E 146.0 E 138.0 E 132.0 E 115.5 E 113.0 E 108.2 E 105.5 E 100.5 E 95.0 E 91.5 E 90.0 E 88.0 E 78.5 E 76.5 E 75.0 E 68.5 E 49.0 E

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

ชื่อดาวเทียม Intelsat 8 ABS 5 Telstar 18 Vinasat 1 ChinaSat 6B Palapa D Telkom 1 AsiaSat 3S AsiaSat 5 NSS 6 Measat 3a Yamal 201 ST 2 Thaicom 5 Apstar 2R ABS 1 Intelsat 20 Yamal 202

ความถี่ 4060 H 26590 1/2 12301 H 25600 3/4 3692 H 9628 3/4 11008 H 28800 3/4 3840 H 27500 3/4 3934 H 6500 3/4 3797 H 3900 3/4 3760 H 26000 7/8 3760 H 27500 3/4 11635 H 27500 3/4 3705 H 4288 3/4 3645 L 28000 3/4 3671 H 9256 3/4 3803 V 4551 3/4 3747 V 8000 3/4 3887 V 7495 3/4 4054 V 4400 3/4 3743 L 34075 3/4

หน้า 36

ตําแแหน่ งดาาวเทียม สหภาาพโทรคมนาคมมระหว่างประเททศ ( ITU ) ร่วมมกันจัดตังองค์ ้ การโทรคมนาคม ก มทางดาวเทียมมระหว่างประเททศหรื อที่ เรี ยกวว่า “อินเทลแซทท” (INTELSAT : INTERNATIONAL TELLEECOMMUNICAATIONS SATTTELLITE ORGANIZATION ) ขึ ้นที่กกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ก โดยให้ ประเททศสมาชิกเข้ าถือหุ้นดําเนินกาารใช้ ดาวเทียมเเพื่อกิจการโทรคมนาคม พานิชชย์แห่งโลก INTTELSAT ตังคณ ้ ณะกรรมการ IN TERIM COMM MUNICATIONS SATELLITEE COMMITTEEE ( ICSC ) เป็ นผู้จัดการในธุรกิจต่ จ าง ๆ ตามนโโยบายของ ICSSC ได้ แก่ การจัดั สร้ างดาวเทียมการปล่อยดาาวเทียมการกําหนดมาตรฐาน ห า ช่องสัญญาาณดาวเทียม การกําหนดตําแหหน่งดาวเทียมเเป็ นต้ น เช่น ดาาวเทียม สถานีนีภาคพื ้นดินการกําหนดค่าเช่าใช้ Thaiccom 5 อยูท่ ี่ตําแหน่ า ง 78.5 องงศาตะวันออก โดยอ้ างอิงจากกเส้ นลองติจดู (Longitude) แ เป็ นพิกดั ที ่ใช้ บอกตําแหนน่งบนพื ้นโลก โดยวัดไปทางตะะวันออก หรื อตะวั ต นตกจาก ลองติติจูด (Longitudde) หรื อ เส้ นแวง เส้ นสมมุติในแนวเหนืนือใต้ ที่เรี ยกว่า เส้ นไพรม์เมอริริ เดียน (Prime Meridian) ลองงติจดู มีหน่วยเป็ป็ นองศา นับจาาก 0 องศาที่ เส้ นไพพรม์เมอริ เดียนไไปทางตะวันอออก +180 องศาา และไปทางตะะวันตก -180 องศา ลองติจดู แแตกต่างจากละะติจดู ตรงที่ ละติจจูดู มีเส้ นศูนย์สตรเป็ ตู นเส้ นอ้ างอิอิงตามธรรมชาาติ แต่ลองติจดู ไม่ ไ มี จึงต้ องกําหนดเส้ ห นสมมุตติิ ขึ ้นมาอีกเส้ นหนึ ห ง่ สําหรับ อ้ างอิง ในการประชุมเมอริ ม เดียนนานาชาติ () เมื่อ ค.ศ. 1884 จึงได้ กําหนดให้ เส้ นเวลาที่กรี นิซซที่ผา่ นหมูบ่ ้ านทีที่เดียวกัน ป งกฤษษเป็ นเส้ นไพรม์เเมอริ เดียน และะเป็ นลองติจดู 0 องศา ใกล้ ๆกรุงลอนดอน ประเทศอั

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 37 7

ละติจจููด (Latitude) หรื อ เส้ นรุ้ ง เปป็ นพิกดั ที่ใช้ บออกตําแหน่งบนพื ้นโลก ซึง่ ระบุว่าตําแหน่งนันนอยู ้ ต่ รงจุดที่ทามุ ํา มเท่าไรกับ เส้ นศูนย์สตู ร (Equaator) ละติจดู มีค่าตังแต่ ้ 0 องศศาที่เส้ นศูนย์สตรไปจนถึ ตู ง 90 องศาที่บริ เวณ ณขัวโลก ้ (เป็ น 90 องศาเหนือ หรื อใต้ วัดเป็ นมุมจาากเส้ นศูนย์สตู รที ร ่จนถึงแนวดิ่งงที่ขวโลกเหนื ั้ อ หรื อลงไปจนดิงที ่ ่ขวโลกใต้ ั้ ) พื ้นที่ที่มีพิกดั ละะติจดู ต่างกัน จะมีสสภาพภูมิอากาศศ (Climate) แลละกาลอากาศ (weather) ต่างกั ง น เช่น แบ่งเป็ป็ นเขตร้ อน เขตตอบอุน่ เขตหนนาว

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 38 8

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 39 9

สสายนําสั ญญาณ ญ Coaxxial (โคแอคเชียล) ย หรื อ “สายแแกนร่ วม” หรื อ RG (Radio Guide) G หรื อ สาายนําสัญญาณ ณวิทยุ เพื่อป้องงกันการสับสน มันคืออสายชนิดเดียวกั ว นนัน่ เอง สายย RG6 ส่วนใหญ ญ่แล้ วนิยมใช้ ในงานด้ ใ านกล้องวงจรปิ อ ด สายยอากาศทีวี สายยจาน ดาวเทีทียม หรื ออุปกรรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบบหลักๆ จะประกกอบไปด้ วย

11. Conductoor (ตัวนําสัญญาณ) ญ ส่วนใหญ ญ่แล้ วจะเป็ นเหหล็กหุ้มด้ วยทองงแดง ถ้ าหุ้มด้ วยยทองแดง CCSS (Copper Covered Steel)จะบอกเป็ น % ของทองงแดงหุ้มหรื อบาางครัง้ จะใช้ เป็ นทองแดงล้ น วนไไปเลย สาเหตุทีท่สี ว่ นใหญ่ไม่ ใช้ เป็ นแกนนทองแดงล้ วนเพราะ ราคาทอองแดงราคาสูง และกระแสไฟฟฟ้าส่วนใหญ่จะไ ะไหลผ่านตัวนําที่บริ เวณพื ้นที่ ผิวของวัตถุถ 22. Insulator (ฉนวนหุ้ม) ทําหน้ าที่ป้องกันนสัญญาณรบกวน จะใช้ เป็ นโฟฟม หรื อ PE แล้ล้ วหุ้มทับด้ วยเททปอลูมิเนียม 33. Wire Braid Shield (ชิลด์ดหรื อเส้ นถัก) ส่วนใหญ่ทําจากอลู จ มิเนี่ยมแและทองแดง ป้อองกันการแพร่กระจายของ ก สัญญาณรรบกวน และการกระจายของสัสัญญาณออกมมาภายนอก จะบบอกเป็ น % คืออพื ้นที่ความหนนาแน่นที่ในการ ถัก เช่น 600% 90% 95% สูงสุดอยูท่ ี่ 95% % หรื อจํานวนขของเส้ นที่ใช้ ในการถัก เช่น 1112, 120, 124, 144 เส้ นยิ่ง มากก็ยิ่งช่วยในการนํ ว าสัญญาณได้ ญ ดี แลละป้องกันสัญญาณรบกวนจา ญ ากภายนอก ทําใให้ เดินได้ ในระยะที่ไกลขึ ้น และป้องกันั การกวนของสสัญญาณจากภภายนอกได้ ดี 44. Jacket (เปปลือกหุ้มสาย) ทําหน้ าที่ห้ มุ สสายทังหมด ้ ถ้ าใช้ า ภายในจะทํทําด้ วย PVC (PPolyvinylchloride) ส่วน ภายนอกจจะใช้ วสั ดุที่เป็ น PE (Polyethyylene ) ซึง่ มีคณสมบั ณ ุ ติสามารรถป้องกันนํ ้าแลละทนแดด สามมารถใช้ ภายนอกได้

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 40 0

สายนําสัญญาณทุกแบบถูกผลิตตามมาตรฐาน MIL – C -17 ในกิจการทางด้ านทหารของสหรัฐอเมริกา และ JIS C 3501 ของประเทศญี่ปนุ่ ซึง่ บริษัทผู้ผลิตต่างๆ จะนํามาผลิตสายนําสัญญาณยี่ห้อของตนตามมาตรฐานจําพวกนี ้ และกําหนด เบอร์ ของสายออกมา ซึง่ จะบอกคุณลักษณะของสายนําสัญญาณ เช่น มาตรฐาน MIL- C -17 เช่น RG-58 A/U

-

RG ย่อมาจาก Radio Guide ก็คือสายนําสัญญาณวิทยุนนั่ เอง 58 เป็ นเบอร์ ของสาย อักษรตัวแรก อาจมีหรื อไม่มีก็ได้ แสดงการเพิ่มเติมหรื อเปลี่ยนแปลงวัสดุ เช่น เปลือกหุ้ม จํานวนลวดตัวนํา อิมพีแดนซ์เปลี่ยนแปลงเล็กน้ อย การสูญเสียต่างกันเล็กน้ อย /U หมายถึง Utility หรื อ Universal คือการใช้ วานทัว่ ไป

มาตรฐาน JIS C 3501 เบอร์ ของสายนําสัญญาณจะขึ ้นต้ นด้ วยตัวเลข เช่น 3C-2V 5D-FB ตัวเลขตัวแรก คือ ขนาดเส็นผ่าศูนย์กลางภายนอก โดยประมาณ ของไดอิเล็กทริก อักษรหลังตัวเลข คือ ค่าอิมพีแดนซ์ C = 75 โอมห์ D = 50 โอมห์ อักษรหลังขีด แสดงวัสดุที่ทําไดอิเล็กทริก F คือ โฟม ถ้ าเป็ นเลข 2 คือ PE อักษรตัวสุดท้ าย แสดงลักษณะของชิลด์ และเปลือกหุ้มสาย B = ชิลด์ทองแดง + ชิดล์ อะลูมืเนียม + PVC E = ชีลด์ทองแดง + PE L = ชีลด์อะลูมิเนียม + PVC N = ชิลด์ทองแดง + ไนล่อยถัก V = ชีลด์ทองแดง + PVC W = ชิลด์ทองแดงทักสองชัน้ + PVC

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 41

เครื่องรับบสั ญญาาณ Receeiver

คือกลล่องรับสัญญาณ ณดาวเทียม ซึง่ มีคณ ุ ลักษณะทีที่แตกต่างกันไปป เช่น DVB-S, DVB-S2 การเเลือกซื ้อให้ คํานึงถึง คุณสมบัติเป็ นหลัก เช่น รองรับการรถอดรหัสสัญาณ ณภาพแบบใด ที่นิยมกันมากใในตอนนี ้คือ MMpeg2, Mpeg4, H.264 รองรับบระบบ OTA ( Over The Airr) หรื อการอัพเดดรทข้ อมูลจากดาวเทียมหรื อไม่ ไ สามารถรองงรับการการเข้ ารหัสสัญญาณ แบบใใดได้ บ้างเช่น BissKey, B Irdetoo, Conax, Viacccess, ฯลฯ

เครื่ องงรับสัญญาณส่ส่วนใหญ่ในท้ องตลาดแบบราค ง คาถูกจะเป็ นชนินิด Free To Airr หรื อ FTA คือใใช้ รับดูรายการรที่ปล่อยให้ ดู ฟรี ไม่ค่าบริ การใดๆ ยังมีเครื่ องรับที่มีคณ ุ สมบัติที่สสููงขึ ้นอีก เช่นเสีสียบการ์ ดดูรายการที่มีคา่ บริ กการได้ หรื อ สามมารถแชร์ ข้ อมูลลผ่านระบบเน็ตเวิ ต ร์คได้ รวมไปปถึงรองรับระบบบการการบันทึกข้ อมูลหรื ออัดรายการไว้ ด ดยู ้ ออนหลังได้

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 42 2

การกํ ก าหหนดพืนที น้ ่ การติติดตัง้ การกําหนดพื ้นที่ติดตัตงจานดาวเที ้ ยมนั ย น้ เมื่อเราททราบมุมส่ายแลละมุมง้ มของหน้น้ าจานแล้ วนันใ ้ ให้ ทําการมองไปปยังทิศนันๆ ้ ว่ามีสสิิ่งหนึง่ สิง่ ใดบดบังระหว่างหน้ าจานกั า บดาวเทีทียมหรื อไม่

ถ้ าตําาแหน่งที่เราจะตตังหน้ ้ าจานดาววเทียมนันมี ้ สงิ่ กี ดขว้ างบดบังอยู อ ใ่ ห้ หลีกเลี่ยง เพราะจะทําให้ห้ การรับสัญญาารนันเกิ ้ ด ปั ญหหาได้

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 43 3

ภาคผนวก สามหลักการง่ ายๆ ในการติดตัง้ จานดาวเทียม 1. ปรับค่า F/D ของ LNB ให้ สมั พันธ์กบั หน้ าจาน 2. ปรับมุมง้ ม 3. ปรับมุมส่าย EL : ELEVETION มุมง้ ม AZ : AZIMUTH มุมส่าย www.sat2you.com เว็บไซต์แหล่งค้ นคว้ าเกี่ยวกับจานดาวเทียม www.facebook.com/satellite2u แฟนเพจรายการแซทเทลไลท์ ทูยู www.lyngsat.com เว็บไซต์ที่รวบรวมความถี่ดาวเทียมทุกดวง www.satbeams.com เว็บไซต์ที่รวบรวม Footprint ของดาวเทียมแต่ละดวง รายการ SATELLITE 2U ออกอากาศทางดาวเทียม Thaicom5 ความถี่ 3824 V 2222 ทุกวันพุธเวลา 20.00-21.00 น. และวันเสาร์ -อาทิตย์ เวลา 13.00-14.00 น. Sun Outage คือ ปรากฎการณ์ที่เกิดจากดวงอาทิตย์โคจรมาอยูใ่ นแนวเส้ นตรงเดียวกันกับดาวเทียม และ จานรับสัญญาณภาคพื ้นดาวเทียมสัญญาณรบกวนที่สง่ มาจากดวงอาทิตย์ในขณะที่มีการใช้ งานสือ่ สาร ผ่านดาวเทียม ทําให้ คณ ุ ภาพของสัญญาณที่ได้ รับตํ่าลงในช่วงเวลาดังกล่าวแต่ปรากฎการณ์ Sun Outage จะเกิดขึ ้นในช่วงเวลาสัน้ ๆ เท่านัน้ และสามารถพยากรณ์การเกิดขึ ้นได้ ลว่ งหน้ าจึงไม่คอ่ ยมีผลกระทบต่อ ผู้ใช้ งานดาวเทียมมากเท่าใด ซึง่ Sun Outage จะเกิดขึ ้นปี ละ 2 ครัง้ ส่วนวันและเวลาที่เกิดขึ ้นนันขึ ้ ้นอยูก่ บั ตําแหน่งของดาวเทียม และจานรับสัญญาณภาคพื ้นดิน

แซทเทลไลท์ ทูย ู  

หน้า 44

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF