คัมภีร์ตักศิลา (เปรียบเทียบ)

July 17, 2017 | Author: Jatuporn Panusnothai | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download คัมภีร์ตักศิลา (เปรียบเทียบ)...

Description

โดย อาจารย์จตุพร พนัสโณทัย

คัมภีร์ตกั ศิลา

คัมภีร์ตกั ศิลา เปรี ยบเทียบโรคแผนปัจจุบนั  ไข้อีดา-ไข้อีแดง  ไข้รากสาดน้อย  ไข้รากสาดใหญ่  ไข้หด ั  ไข้เหื อด  ไข้งูสวัด  ไข้เริ มน้ าค้าง-ไข้เริ มน้ าข้าว  ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง 

ไข้จบั สัน่  ไข้เลือดออก  ไข้อีสุกอีใส  ไข้ฉี่หนู  โลหิ ตเป็ นพิษ 

ไข้อดี า-ไข้อแี ดง Scarlet fever  เชื้อแบคทีเรี ย เบตา-สเต็ปโตค็อกคัส กลุ่ม เอ Streptococcus pyogenes  ไข้สูง เจ็บคอ ต่อมทอนซิ ลบวมแดงหรื อมีจุดหนอง ลิ้นเป็ นฝ้ า บางครั้งอาจมี อาเจียน  ในวันที่ 2 หลังมีไข้ จะมีผน ื่ แดงเรื่ อ ๆ ขึ้นที่หน้า (ยกเว้นบริ เวณรอบ ๆ ปาก) ใน วันต่อมาผืน่ จะกระจายไปตามลาตัวและแขนขาอย่างรวดเร็ ว บางคนอาจรู ้สึกคัน  ลิ้นอาจมีลก ั ษณะหนาขึ้นและออกเป็ นสี ชมพูคล้ายผลสตรอเบอรี เรี ยกว่า ลิน้ สตรอ เบอรี (strawberry tongue)  ในวันที่ 6 หลังมีไข้ ผืน ่ จะเริ่ มจาง แล้วผิวหนังและลิ้นจะเริ่ มลอก อาการหนังลอก อาจเป็ นอยูน่ าน 2 สัปดาห์ 

ไข้อดี า-ไข้อแี ดง

ไข้อดี า-ไข้อแี ดง

ไข้รากสาดน้อย ไข้ไทฟอยด์ Typhoid fever, Enteric fever  เชื้อแบคทีเรี ย ซัลโมเนลลา ไทฟี Salmonella typhi  มีอาการไข้สูงคงตัวที่ประมาณ 40 °C เหงื่อออกมาก กระเพาะและลาไส้อก ั เสบ ท้องเสี ยไม่มีเลือดปน อาการที่พบไม่บ่อยเช่นจุดผืน่ ราบสี กหุ ลาบหรื อสี แดง  ในสัปดาห์แรกมีอาการไข้สูงขึ้นทีละน้อยร่ วมกับหัวใจเต้นช้า อ่อนเพลีย ปวด ศีรษะ และไอ อาจพบการตกเลือดกาเดา  ในสัปดาห์ที่สองหลังติดเชื้อ ผูป ้ ่ วยมักนอนหมดกาลังร่ วมกับไข้สูงลอยราว 40 °C และหัวใจเต้นช้า มักพบอาการเพ้อ ผูป้ ่ วยมักสงบแต่บางครั้งอาจกระสับกระส่ าย จุดแดงปรากฏในหน้าอกส่ วนล่างและท้อง อาจพบอาการท้องเสี ยได้ในระยะนี้ โดยถ่ายราว 6-8 ครั้งต่อวัน เป็ นสี เขียวกลิ่นคล้ายซุปถัว่ แต่กอ็ าจพบท้องผูกได้บ่อย ม้ามและตับโตและกดเจ็บ 

ไข้รากสาดน้อย ในสัปดาห์ที่สาม จะพบภาวะแทรกซ้อนมากมาย ได้แก่ ตกเลือดในลาไส้ ลาไส้ทะลุบริ เวณปลายของลาไส้เล็กส่ วนปลาย สมองอักเสบ ฝี กระจายทัว่ ถุงน้ าดีอกั เสบ เยือ่ บุหวั ใจอักเสบ และกระดูกอักเสบ  ไข้จะคงสู งมากและแกว่งเล็กน้อยใน 24 ชัว่ โมง ผูป ้ ่ วยมีภาวะขาดน้ าและ ผูป้ ่ วยเพ้อจากพิษไข้  ช่วงท้ายสัปดาห์ที่สามอาการไข้ลดลง ซึ่ งดาเนิ นต่อไปในสัปดาห์ที่สี่และ สัปดาห์สุดท้าย 

ไข้รากสาดน้อย

ไข้รากสาดน้อย

ไข้รากสาดใหญ่ ไข้ไทฟัส Typhus fever  เชื้อแบคทีเรี ย กลุ่มริ กเก็ตเซี ย Rickettsia (Rickettsia prowazekii, Rickettsia typhi, Rickettsia felis)  ปวดศีรษะอย่างรุ นแรง ไข้สูงลอย ไอ มีผน ื่ ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุ นแรง หนาว สัน่ ความดันโลหิ ตตกลง ซึม ไวต่อแสง และเพ้อ ผืน่ จะเริ่ มปรากฏบน หน้าอกประมาณ 5 วันหลังจากมีไข้และกระจายไปตามลาตัวและแขนขา แต่ ไม่ลามถึงใบหน้า ฝ่ ามือและฝ่ าเท้า อาการทัว่ ไปในโรคไข้รากสาดใหญ่ทุก ชนิดคือมีไข้ซ่ ึงอาจสูงถึง 39°C 

ไข้รากสาดใหญ่

ไข้ รากสาด ใหญ่

ไข้หดั Measles/Rubeola  เชื้อไวรัส รู บิโอลา Rubeola virus  มีอาการตัวร้อนขึ้นทันทีทน ั ใด ในระยะแรกมีอาการคล้ายไข้หวัด แต่ผดิ กันตรงที่ จะมีไข้สูงตลอดเวลา กินยาลดไข้ ไข้กไ็ ม่ลด เด็กจะซึม กระสับกระส่ าย ร้องกวน เบื่ออาหาร มีน้ ามูกใสๆ ไอแห้งๆ น้ าตาไหล ไม่สู้แสง หนังตาบวม จะมีอาการถ่าย เหลวบ่อยครั้งเหมือนท้องเดินในระยะก่อนที่จะมีผนื่ หรื ออาจชักจากไข้สูง ผืน่ ของหัดจะขึน้ จากตีนผม ซอกคอก่ อน แล้ วลามไปตามใบหน้ าลาตัวและแขนขา ลักษณะเฉพาะของหัดคือจะมีผนื่ ขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน มักจะขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ เป็ นผืน่ เท่าหัวเข็มหมุดที่ตีนผมก่อนและซอกคอ ผืน่ นี้จะจางหายได้เมื่อดึงรั้ง ผิวหนังให้ตึง เป็ นแผ่นกว้าง รู ปร่ างไม่แน่นอน อาจมีผนื่ คันเล็กน้อย ผืน่ จะไม่จาง หายไปในทันที จะจางหายไปใน 4-7 วัน และจะเหลือให้เห็นเป็ นรอยสี น้ าตาล บางราย 

ไข้หดั

ไข้หดั

ไข้เหือด ไข้หดั เยอรมัน Rubella  เชื้อไวรัส รู เบลลา Rubella virus  มีไข้ต่าๆ ถึงปานกลาง 37.5-38.5°C ร่ วมกับเป็ นผืน ่ เล็กๆ สี ชมพูอ่อนๆ กระจายไป ทัว่ ผืน่ มักจะแยกกันอยูช่ ดั เจน เริ่ มที่หน้าผากชายผม รอบปาก และใบหูก่อนที่อื่น แล้วลงมาที่ลาคอ ลาตัว แขนขา อาจมีอาการคัน ผืน่ มักขึ้นวันเดียวกับที่มีไข้ และ มักจะหายได้เองภายใน 3-6 วัน โดยทัว่ ไปจะจางหายอย่างรวดเร็ ว ไม่ทิ้งรอยดาให้ เห็น บางรายอาจมีผนื่ ขึ้นโดยไม่มีไข้กไ็ ด้ บางรายอาจมีอาการแสบเคืองตา เจ็บคอ เล็กน้อย ปวดเมื่อยตามตัวแต่ไม่มากนัก อาการทัว่ ไปไม่ค่อยรุ นแรง บางรายอาจ ติดเชื้อหัดเยอรมันและไม่มีอาการก็ได้  ผืน ่ แดงเล็กน้อย กระจายอยูท่ วั่ ตัว ตาแดงเล็กน้อย ที่สาคัญซึ่งบ่งชี้ถึงโรคนี้ คือ มี ต่อมน้ าเหลืองโต (คลาได้เป็ นเม็ดตะปุ่ มตะป่ า) ตรงหลังหู หลังคอ ท้ายทอย และ ข้างคอทั้ง 2 ข้าง 

ไข้เหือด

ไข้เหือด

ไข้งูสวัด Herpes zoster  เชื้อไวรัส วีแซดวี varicella-zoster virus  การปวดอย่างมากบริ เวณที่เป็ นงูสวัด เจ็บแสบๆ ร้อนๆ บางคนมีอาการคัน ร่ วมด้วยหรื อเป็ นไข้ได้ บางคนทรมานจากอาการปวดมากจนนอนไม่หลับ เมื่อเป็ นอาการแดง มีผนื่ ขึ้น และบริ เวณที่เป็ นจะมีกลุ่มของตุ่มน้ าในผิวหนัง ต่อมาตุ่มน้ าจะเริ่ มแห้งและตกสะเก็ดจางหายไป ระยะเวลาตั้งแต่เป็ นจน หายไปประมาณ 7-14 วัน 

ไข้งูสวัด

ไข้งูสวัด

โรคอีสุกอีใส Chickenpox  เชื้อไวรัส วีแซดวี varicella-zoster virus  เด็กที่เป็ นจะมีไข้ต่า อ่อนเพลียและเบื่ออาหาร ส่ วนผูใ้ หญ่มก ั จะมีไข้สูง มีอาการ ปวดเมื่อยตามเนื้อตัวคล้ายไข้หวัด ขณะเดียวกันก็จะมีผนื่ ขึ้นพร้อมๆ กับวันที่เริ่ มมี ไข้ หรื อ 1 วันหลังมีไข้ โดยในระยะแรกจะขึ้นเป็ นผืน่ แดงราบก่อน ต่อมาจะ กลายเป็ นตุ่มนูน มีน้ าใสๆ และคัน ต่อมาอีก 2-3 วันก็จะตกสะเก็ด ผืน่ และตุ่ม เหล่านี้จะขึ้นตามไรผมก่อนแล้วกระจายไปตามใบหน้าและลาตัว แผ่นหลัง บาง คนจะมีตุ่มขึ้นในช่องปากทาให้ปากและลิ้นเปื่ อย จะเกิดอาการเจ็บคอ บางคนอาจ ไม่มีไข้ มีเพียงผืน่ และตุ่มขึ้นเท่านั้น ผืน่ จะขึ้นมากที่สุดที่ใบหน้าและลาตัว เด็ก วัยรุ่ นและผูใ้ หญ่มกั จะมีอาการรุ นแรงและมีตุ่มขึ้นมากกว่าเด็ก 

โรค อีสุก อีใส

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว Herpes simplex  เชื้อไวรัส Herpes simplex  ทาให้ผวิ บริ เวณนั้นเกิดตุ่มน้ าพองใสเป็ นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด ซึ่ งเป็ น ช่วงที่สามารถติดต่อไปสู่ผอู ้ ื่นได้ ผูป้ ่ วยจะมีอาการคันหรื อแสบร้อนรอบ ๆ ตุ่มใสนี้ ซึ่งต่อมาจะแตกออกเป็ นแผลตื้น ๆ หลายแผลติดกัน ตกเสก็ด และ หายไปในที่สุด 

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว

ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว

ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง Erysipelas  เชื้อ beta-hemolytic streptococcus group A  เริ่ มด้วยไข้ หนาวสัน ่ ปวดศีรษะ ต่อมามีผนื่ บวมแดง ร้อน กดเจ็บ ซึ่งจะขยายวง กว้างอย่างรวดเร็ ว เมื่อกดบริ เวณผืน่ สี จะจางลง ต่อมน้ าเหลืองบริ เวณใกล้เคียงโต และกดเจ็บ อาจมีตุ่มหนอง ตาแหน่งที่พบคือ หน้า แขน ขา เป็ นตาแหน่งที่พบบ่อย  ผูป ้ ่ วยจะมีไข้สูง ผิวหนังบวมแดงเข้ม ขอบของผืน่ ยกขึ้นชัดเจน และขยายขนาด อย่างรวดเร็ ว เห็นผิวหนังมีลกั ษณะคล้ายเปลือกส้ม ถ้าผืน่ บวมมาก อาจมีตุ่มน้ า ปรากฎบนผืน่ ได้ ถ้าเป็ นไม่มาก เมื่อขอบเขตของผืน่ ขยายมากขึ้น ตรงกลางจะ กลายเป็ นผิวหนังปกติ เห็นเป็ นวงขยายมากขึ้น มักมีการอักเสบของหลอด น้ าเหลือง เห็นเป็ นเส้นสี แดงที่ผวิ หนัง และตรวจพบว่าต่อมน้ าเหลืองมีการอักเสบ  บางรายอาจมีอาการปวดกล้ามเนื้ อ ปวดข้อ คลื่นไส้ และปวดศีรษะ บริ เวณที่พบ บ่อยที่สุดได้แก่ ขาและหน้า นอกจากนั้นยังพบที่ แขน และลาตัวได้ โดยเฉพาะ บริ เวณที่มีแผลผ่าตัดหรื อรอยถล 

ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง

ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง

ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง

ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง

ไข้จบั สัน่ ไข้ป่า ไข้มาลาเรี ย ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็น ไข้ดอกสัก Malaria  เชื้อโปรโตซัว สกุล Plasmodium  การติดต่อสู่ คนโดยการถูกยุงก้นปล่องก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อมาลาเรี ยกัด  หลังจากได้รับเชื้อมาลาเรี ยประมาณ 1-2 สัปดาห์ ผูป ้ ่ วยจะมีอาการนาคล้าย กับเป็ นหวัด คือ มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหารได้ ลักษณะเฉพาะของโรคที่เรี ยกว่า ไข้จบั สัน่ คือ มี อาการหนาวสัน่ ไข้สูง และตามด้วยเหงื่อออก 

ไข้จบั สัน่

ไข้จบั สัน่

ไข้เลือดออก Dengue fever  เชื้อไวรัส แดงกี่ dengue virus  เกิดจากยุงลาย (Aedes aegyti) ตัวเมีย บินไปกัดคนที่ป่วยเป็ นไข้เลือดออก โดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูง เชื้อไวรัสเดงกี่จะเพิม่ จานวนในตัวยุงประมาณ 8-10 วัน เชื้อไวรัสแดงกี่จะไปที่ผนังกระเพาะและต่อมน้ าลายของยุง เมื่อยุงกัดคน ก็จะแพร่ เชื้อสู่คน มักพบในเด็กอายุ 5-10 ปี 

ไข้เลือดออก ระยะไข้ สูง  มีอาการไข้ข้ ึนสู ง 2-7 วัน เบื่ออาหาร อาเจียนออกมามีสีน้ าตาลปนอยู่ ปวดศีรษะ ไข้ข้ ึนสู ง 38-40 °c ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อ วันที่ 2-3 ผูป้ ่ วยมักซึมลงหน้าแดง ตัว แดง อาจมีผนื่ หรื อจุดเลือดออกตามผิวหนัง 60-90% ตรวจพบตับโต การตรวจ Tourniquet test ให้ผลบวก  ระยะวิกฤติ (ระยะช็ อคและเลือดออก)  ไข้ลด (ประมาณวันที่ 3-6 ของโรค) อาการทรุ ดลงเข้าสู่ ภาวะช็อค เริ่ มมีอาการ กระสับกระส่ าย มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเร็ ว ความดันโลหิ ตตก อาเจียนมาก ปวดท้อง  ระยะฟื้ น  อาการทัว่ ไปดีข้ ึน ความดันโลหิ ตและชีพจรกลับเป็ นปกติ ปั สสาวะออกมากขึ้น ตับที่โตจะลดขนาดลงภายใน 1-2 สัปดาห์ เริ่ มรับประทานอาหารได้ มักมีผนื่ แดงที่ ขา ปลายเท้า ป ขี้กากขึ้นมือลายมือ 

ไข้เลือดออก

ไข้เลือดออก

ไข้เลือดออก

ไข้ฉหี่ นู Leptospirosis  เชื้อแบคทีเรี ยรู ปเกลียว (spirochete) ชื่อ เล็บโตสไปร่ า อินเทอโรแกนส์ (Leptospira interrogans) 

ไข้ฉหี่ นู  



โรคเล็ปโตสไปโรซิสแบบไม่ เหลือง (anicteric leptospirosis) แบ่งเป็ น 2 ระยะ ระยะมีเชื้อในเลือด (leptospiremic phase) ระยะนี้มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้หนาวสั่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และปวดกล้ามเนื้อ ซึ่ งในโรคเล็ปโตสไปโรซิ สจะมีลกั ษณะเฉพาะคือ ปวดบริ เวณน่อง หลัง และหน้าท้อง ผูป้ ่ วยส่ วนมากมักมีอาการปวดศีรษะมาก โดยเฉพาะบริ เวณ ด้านหน้าหรื อหลังเบ้าตา อาการอื่นๆที่อาจพบได้ ได้แก่ เจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก ผืน่ สับสน ไอเป็ น เลือด อาการแสดงที่อาจตรวจพบ ได้แก่ เยือ่ บุตาแดง ต่อมน้ าเหลืองโต คอแดง กดเจ็บบริ เวณ กล้ามเนื้อ ตับม้ามโต อาจพบอาการดีซ่านได้เล็กน้อย อาการในระยะนี้จะหายไปได้เองภายใน 1 สัปดาห์ ช่วงที่ไม่มีอาการจะนาน 1-3 วัน ก่อนจะเข้าสู่ ระยะที่สอง ระยะมีเชื้อในปั สสาวะ (leptospiruric phase) ระยะนี้เป็ นผลมาจากปฏิกิริยาทางภูมิคุม้ กันของ ร่ างกาย อาการและอาการแสดงมีความจาเพาะและความรุ นแรงน้อยกว่าในระยะแรก ลักษณะที่ สาคัญของโรคในระยะนี้คือ กว่า 15% ของผูป้ ่ วยจะมีอาการและอาการแสดงของภาวะเยือ่ หุม้ สมองอักเสบแบบไร้เชื้อ (aseptic meningitis) ส่ วนใหญ่พบในเด็ก ซึ่ งอาจหายได้เองภายในเวลา ไม่กี่วนั หรื ออาจคงอยูน่ านเป็ นสัปดาห์ สาหรับภาวะแทรกซ้อนอื่น เช่น ม่านตาอักเสบ จอตา อักเสบ มักเกิดตามหลังอาการเริ่ มแรกของโรคนานหลายเดือน และคงอยูไ่ ด้นานเป็ นปี

ไข้ฉหี่ นู  



  



โรคเล็ปโตสไปโรซิสรุนแรง (severe leptospirosis) โรคเล็ปโตสไปโรซิ สรุ นแรง หรื อกลุ่มอาการเวล (Weil's Syndrome) อาการในระยะเริ่ มแรกไม่ต่าง จากโรคเล็ปโตสไปโรซิ สแบบไม่เหลือง แต่ไม่มีลกั ษณะที่แบ่งออกเป็ นสองระยะชัดเจน มักแสดง อาการรุ นแรงใน 4-9 วันหลังจากเริ่ มมีอาการ ดีซ่าน ที่พบในกลุ่มอาการเวล จะมีลกั ษณะเหลืองมากจนแทบเป็ นสี ส้มเมื่อสังเกตทางผิวหนัง มัก พบตับโตร่ วมกับกดเจ็บ ประมาณ 20% ของผูต้ ิดเชื้อมีอาการม้ามโตร่ วมด้วย มีไม่มากนักที่เสี ยชีวิต จากภาวะตับวาย ไตวายเฉี ยบพลัน อาการทางปอด เช่น ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย จนถึงระบบหายใจล้มเหลว ความผิดปกติทางระบบการแข็งตัวของเลือด มีต้ งั แต่อาการเพียงเล็กน้อย เช่น เลือดกาเดา จ้ าเลือด ตามผิวหนัง ไปจนถึงอาการรุ นแรง เช่น เลือดออกในทางเดินอาหาร เลือดออกในช่องเยือ่ หุม้ สมอง เป็ นต้น อาการอื่นๆ ได้แก่ กล้ามเนื้อลายสลายตัว เม็ดเลือดแดงแตก เยือ่ หุม้ หัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจ อักเสบ ตับอ่อนอักเสบรุ นแรง ภาวะการทางานของอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ เป็ นต้น

ไข้ฉหี่ นู

ไข้ฉหี่ นู

โลหิตเป็ นพิษ Septicemia/Bacteremia  ภาวะที่เชื้อหรื อพิษของแบคทีเรี ยแพร่ กระจายเข้าสู่ กระแสเลือดทัว่ ร่ างกาย มักเป็ นผลแทรกซ้อนของโรคติดเชื้อแบคทีเรี ยที่ไม่ได้ให้ยารักษาอย่าง ถูกต้องตั้งแต่แรก หรื อพบในผูป้ ่ วยที่มีภูมิตา้ นทานโรคต่า  ผูป ้ ่ วยจะมีอาการไข้สูง หนาวสัน่ อาจจับไข้ตลอดเวลาหรื อไข้สูงเป็ นพัก ๆ ซึมกระสับกระส่ าย เบื่ออาหาร ซีด เหลือง (ดีซ่าน) อาจมีจุดแดง จ้ าเขียวขึ้น ตามตัว หรื อมีเลือดออกตามที่ต่าง ๆ ตับและม้ามโต  ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเกิดภาวะช็อก คือ ความดันเลือดตก หายใจหอบและ ปัสสาวะออกน้อย ในที่สุดจะเกิดภาวะไตวาย และตายได้ 

โลหิตเป็ นพิษ โรคติดเชื้อที่อาจทาให้เกิดภาวะโลหิ ตเป็ นพิษ ที่พบได้บ่อย เช่น  โรคติดเชื้อของทางเดินปั สสาวะ  ไข้ไทฟอยด์  ปอดอักเสบ  เยื้อบุหวั ใจอักเสบเรื้ อรัง  เยือ ่ บุช่องท้องอักเสบ  บาดแผลน้ าร้อนลวกรุ นแรง  ปี กมดลูกอักเสบ  โรคติดเชื้อแบคทีเรี ยของผิวหนัง  ถุงน้ าดีอก ั เสบ  ท่อน้ าดีอก ั เสบ 

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF