แนวข้อสอบสำหรับทดสอบ สายอำนวยการ ชุด 3 และ 4 จำนวน2003

August 22, 2018 | Author: surinboonaon1 | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download แนวข้อสอบสำหรับทดสอบ สายอำนวยการ ชุด 3 และ 4 จำนวน2003...

Description

ชุด 3 ข้าราชการตํารวจ (วุฒิปริญญาตรี สายอํานวยการ) วิชาภาษาไทย (ข้อ 21 - 40) คําชี้แจง พิจารณาเลือกตอบว่าคําหรือกลุ่มคําใดที่ใช้ไม่รัดกุม หรือไม่ถูกต้องตามหลักภาษา 21. ทุกคนในชาติต้องรู้จักสิทธิหน้าที่ตลอดจนความรับผิดชอบของทุกคนอย่างจริงจังด้วยจิตสํานึก (1) (2) (3) (4) อย่างถูกต้องเหมาะสม 22. เหตุผลของการวิปริตของภูมิอากาศนั้นเชื่อว่ามีผลมาจากการพัฒนาและความก้าวหน้าทางวิทยาการทั่วโลก (1) (2) (3) ( 4) จงหาคําที่อ่านผิดในแต่ละข้อต่อไปนี้ 23. 1) จุติ อ่านว่า จุ-ติ 2) เจตคติ อ่านว่า เจ-ตะ-คะ-ติ 3) โจรกรรม อ่านว่า โจน-ระ-กํา 4) เจตภูต อ่านว่า เจ-ตะ-พูด ใช้คําประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคําถาม 1. เหงื่อหยดสักกี่หยด ทุกหยดหยาดล้วนยากเย็น ปูนโปนกี่เส้นเอ็น จึงแปรรวงมาเปิบกิน น้ําเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ําแรงอันหลั่งริน สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกําซาบฟัน 2. ตอนอาทิตย์เที่ยงวันชาวนายังพรวนดิน เหงื่อหยดบนดินภายใต้ต้นข้าว ใครจะรู้บ้างว่าในจานใบนั้น ข้าวแต่ละเม็ดคือความยากแค้นแสนสาหัส 24. บทประพันธ์ทั้งสองข้อแสดงเจตนาตามข้อใด 1) ให้เห็นใจชาวนา 2) ให้สํานึกถึงบุญคุณชาวนา 3) ให้คิดช่วยเหลือชาวนา 4) ให้เห็นความเหน็ดเหนื่อยของชาวนา 25. ข้อใดเป็นประโยคสมบูรณ์ 1) สภาพของโลกาภิวัตน์ที่มีความเข้มข้นและจะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นจนมีผลกระทบอย่างจริงจังต่อการอุดมศึกษา ไทยในอนาคต 2) ปัจจุบันองค์กรปกป้องท้องถิ่นที่นับว่าสําคัญมากที่สุดของประเทศไทยที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับชุมชนและ ทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุด 3) ดังนั้นการมองดูสภาพแห่งโลกาภิวัตน์ที่จะมีผลต่อการอุดมศึกษาไทยจึงน่าจะเป็นจุดสําคัญในการหล่อหลอมปรัชญา และความหมายของการอุดมศึกษาไทยในอนาคต 4) ถึงแม้ว่าขณะนี้หลายหน่วยงานจะได้ตระหนักถึงความจําเป็นในการปรับเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจให้ ดําเนินควบคู่ไปกับการรักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม

26. รายงานข่าวกีฬาในข้อใดไม่มีการแสดงข้อคิดเห็น 1) ในที่สุดไต้ฝุ่นหญิงไทยก็คว้าเหรียญทองได้ 2) ท่าตีลังกาหน้าเข่าคู้ของเธอเหลือเกินครับ 3) การกระโดดครั้งนี้เธอใช้ท่ายากระดับ 3.2 4) เด็กโรงเรียนนี้ทําลายสถิติถึง 3 รายการ 27. ข้อใดเป็นทั้งคําและประโยค 1) ห้องรับแขก ผ้ากันเปื้อน 2) น้ําดอกไม้ รถไฟฟ้า 3) นักศึกษา เครื่องตัดหญ้า 4) หยาดน้ําค้าง น้ําอัดลม 28. ข้อใดใช้คําไม่ฟุ่มเฟือย 1) ในพระราชพิธีครั้งนี้ประชาชนจะได้ชมขบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่งดงาม 2) บางคืนเราอาจมองเห็นดวงดาวมากมายหลายหลาก ต่างชนิดต่างขนาด 3) ในวันนี้จะมีการแจกรางวัลสุพรรณหงส์ทองคําที่โรงละครแห่งชาติ 4) ชาวชิลีดํารงชีพอย่างยืนยงคงทนด้วยอาชีพประมงในน่านน้ําของตน 29. ข้อใดใช้สํานวนผิด 1) ขับรถเองไม่ได้ก็ลําบากอย่างนี้แหละ ต้องยืมจมูกคนอื่นหายใจอยู่เรื่อย 2) เธอต้องตัดสินใจว่าจะเข้าข้างใคร จะมาทําเหยียบเรือสองแคมไม่ได้ 3) รักกันมานานหลายปีแล้ว ถึงเวลาที่จะตกล่องปล่องชิ้นเสียที 4) ถ้าแก้ปัญหาคราวนี้ไม่ได้ เขาคงตายคางเหลืองแน่นอน เงิน ทองที่จะใช้สอยในค่ากินอยู่ นุ่งห่ม หรือใช้สอยเบ็ดเสร็จทั้งปวง จงเขม็ดแขม่ ใช้แต่เพียงพอที่อนุญาตให้ใช้ อย่าทําใจโตมือโตสุรุ่ยสุร่ายโดยถือว่าตัวเป็นเจ้านายมั่งมีมาก หรือถือว่าพ่อเป็นเจ้าแผ่นดินมีเงินทองถมไป 30. ข้อใดมีความหมายตรงกับลักษณะไม่พึงประสงค์ที่กล่าวไว้ในข้อความนี้มากที่สุด 1) เจ้ายศเจ้าอย่าง 2) สํามะเลเทเมา 3) กินล้างกินผลาญ 4) อีลุ่ยฉุยแฉก 31. คําซ้ําในข้อใดบอกความหมายที่ชัดเจน 1) ฉันว่าวันนั้นเธอใส่เสื้อสีเขียวๆ 2) ตกอยู่แถวๆ นี้แหละทําไมถึงหาไม่ค่อยเจอก็ไม่รู้ 3) ถ้าจะไห้เข้าใจคุณควรอธิบายเป็นประเด็นๆ จึงจะถูก 4) สงครามอ่าวเปอร์เซียทําให้ทหารอิรักตายเป็นพัน ๆ คน เราควรยุติการพัฒนาปัญญาอย่างรวดเร็ว ของ เราเสีย แล้วหันไปสร้างหัวใจและความรักดีกว่า การศึกษามิได้ทํา ให้คนเป็นคนดี เพียงแต่ทําให้คนฉลาดเท่านั้น และมักจะฉลาดในการทําความชั่วร้ายเสียด้วย สัญชาตญาณและความรู้สึก เป็นสิ่งที่น่าไว้วางใจได้มากกว่าปัญญาเสียอีก 32. ข้อใดเป็นสาระสําคัญของข้อความข้างต้น 1) การอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการศึกษา

2) การชี้แจงสถานการณ์การศึกษาปัจจุบัน 3) การจูงใจให้เปลี่ยนหลักการศึกษา 4) การบรรยายสภาพทางเลือกของการศึกษา

33. ข้อความต่อไปนี้จะเรียงลําดับได้อย่างเหมาะสมตามข้อใด (1) ผมงามช่วยดึงดูดความสนใจของเพศตรงข้าม (2) นักโฆษณาก็พยายามชี้ช่องบอกใบ้ให้ทั้งชายหญิงและชายตระหนักว่าความงามของผมเป็นเรื่องใหญ่ (3) กวีที่บรรยายความงามของสตรีไม่เว้นกล่าวถึงความงามของผม (4) ผมช่วยเชิดชูใบหน้า ผมเรียบสวยหรือยุ่งเป็นกระเซิงมองเห็นแต่ไกล 1) 1 4 3 2 2) 2 4 1 3 3) 3 1 2 4 4) 4 2 6 1 34. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา 1) จระเข้ พะวง ย่อมเยาว์ รังสฤษฏ์ 2) ทัณฑฆาต ทีฆายุโก พิสมัย ปล้นสะดม 3) โหระพา ลมหวล อุปโลก ยุงก้นปล่อง 4) ซาละเปา ทิษฐิ ตะงิด กิจจะลักษณะ 35. ข้อใดเป็นประโยคความรวม 1) ฟ้าทลายโจรเป็นพืชสมุนไพรที่นิยมใช้รักษาอาการเจ็บคอ 2) การส่งเสริมการอ่านเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างหนึ่ง 3) มีหลักฐานว่ามนุษย์ยุคหินรู้จักนําทองแดงมาทําอาวุธที่ใช้ล่าสัตว์แล้ว 4) หากเราสามารถนําถุงผ้าหรือตะกร้าไปจ่ายของที่ตลาดก็จะช่วยลดปริมาณขยะได้ 36. ข้อความข้างล่างนี้ผู้เขียนแสดงเจตนารมณ์อย่างไร “แทนที่นักวิชาการจะมัวเถียงกันเรื่องของนกยก ว่าควรจะเปิดกว้างให้คนกลางด้วยหรือไม่นักวิชาการน่าจะไปหาข้อมูลว่าจะทํา อย่างไรจะช่วยให้พรรคฝ่ายเทพมีสิทธิลุ้นแข่งกับพรรคฝ่ายมารได้” 1) ชี้แจง 2) ชี้แนะ 3) ชี้ช่อง 4) ชี้ขาด 37. ข้อใดมีหลายความหมาย 1) เมื่อคืนนี้มีดาวเต็มท้องฟ้า 2) พรุ่งนี้ผมมีนัดกับดาว 3) โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยจักรวาล 4) การจัดงานเลี้ยงที่สนามหน้าบ้านเมื่อคืนนี้มีดาวเต็มไปหมด “เลือกตั้งก็ไม่ไป ใครคดโกง ใครฉ้อราษฎร์บังหลวง ใครมีตําแหน่งก็ไปคารพเขา คุณไปเคารพเขาทําไม กลัว กลัว กลัวคนนั้น กลัวคน นี้ กลัว กลัว อย่างเดียว พอถึงมีอะไรที่เป็นผลประโยชน์ของตัวเองจะเสียไปก็ไม่ยอมกัน” 38. ผู้พูดกล่าวข้อความข้างต้นด้วยน้ําเสียงเช่นใดเด่นชัดที่สุด 1) รําคาญ 2) เบื่อหน่าย

3) ตําหนิ 4) ประชด 39. ประโยคต่อไปนี้ข้อใดใช้สํานวนต่างประเทศ 1) การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนคลับนัดนี้ตํารวจผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 2) ด.ช.กิตติศักดิ์ ค้นพบตัวเองว่ามีฝีมือในการวาดรูปจึงเลือกเรียนที่โรงเรียนเพาะช่าง 3) การบริหารงานบุคคลเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ผู้บริหารทุกระดับจําเป็นต้องเรียนรู้ 4) หนังสือมอบอํานาจจะใช้ได้จนกว่าผู้มีอํานาจจะยกเลิก

40. “ตํารวจ มีหน้าที่รักษาความสงบสุข และความถูกต้องเป็นธรรมในบ้านเมือง การปฏิบัติหน้าที่ทั้งนี้บางทีก็ต้องใช้ความเมตตา อารี และเสียสละอย่างสูงในการช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชนโดยเสมอหน้าแต่บางทีก็ต้อง ใช้ความเข้มงวดเด็ดขาดในการ ควบคุมกําราบทุจริตชนและรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของ กฎหมาย” ข้อความข้างต้นนี้กล่าวถึงเรื่องใดเป็นสําคัญ 1) วิธีการปฏิบัติงาน 2) คุณภาพของงาน 3) ลักษณะของตํารวจ 4) หน้าที่ของตํารวจ ภาค ข. - วิชาระเบียบงานสารบรรณ (ข้อ 41-55) 41. ในเรื่องของข้อบังคับข้อความใดกล่าวผิด 1) ข้อบังคับใช้กระดาษบันทึกข้อความ 2) ข้อบังคับใช้กระดาษตราครุฑ 3) บรรดาข้อความที่ผู้มีอํานาจที่กําหนดให้ใช้ 4) ข้อบังคับต้องอาศัยกฎหมายที่บัญญัติให้กระทํา 42. หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผู้รับจํานวนมาก มีข้อความอย่างเดียวกัน ให้เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว ไว้ที่ใด 1) มุมซองทางขวา 2) หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง 3) หลังเลขทะเบียนหนังสือที่ส่ง 4) บริเวณใดก็ได้ขอให้ผู้รับเห็นชัดเจน 43. หนังสือราชการฉบับใดที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติทันที เมื่อได้รับ 1) หนังสือ ด่วนที่สุด 2) หนังสือ จากโทรเลข 3) หนังสือ สั่งการโดยเฉพาะ 4) หนังสือ แถลงการณ์ลับพิเศษ 44. ในราชการงานสารบรรณ ใช้เครื่องมือสื่อสารต่อไปนี้ คือ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรศัพท์และโทรพิมพ์ในกรณีใด 1) ด่วนมาก 2) ด่วนที่สุด 3) สั่งการด้วยหนังสือไม่ทัน 4) เรื่องลับเฉพาะระหว่างผู้บังคับบัญชา 45. ผู้มายืมและขอรับหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ต้องเป็นข้าราชการที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการใน ตําแหน่งใดขึ้นไป 1) รองอธิบดี 2) หัวหน้าฝ่าย 3) หัวหน้ากอง 4) หัวหน้าแผนก 46. เมื่อรับหนังสือแล้ว จะประทับตรารับลงวันที่ เดือน พ.ศ. จะต้องประทับบริเวณใด 1) มุมบนด้านขวา 2) มุมล่างด้านขวา 3) มุมบนด้านซ้าย 4) มุมล่างด้านซ้าย

47. ก่อนบรรจุซอง เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณกลาง ต้องดําเนินการเช่นไรจึงจะถือว่าถูกต้องตามระบบสารบรรณ 1) ตรวจความเรียบร้อยของหนังสือ 2) ตรวจสิ่งที่ส่งไปด้วยอีกครั้งหนึ่ง 3) ดําเนินการปิดผนึก 4) ถูกทุกข้อ 48. การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จ ให้อยู่ในความรับผิดชอบของใคร 1) เจ้าของส่วนงาน 2) เจ้าหน้าที่สารบรรณกลาง 3) เจ้าของเรื่อง 4) เจ้าหน้าที่สารบรรณหน่วยย่อย 49. ระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 อยากทราบว่า ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 นั้น มีผลใช้บังคับวันที่เท่าไร 1) 1 มิถุนายน 2526 2) 23 กันยายน 2548 3) 24 กันยายน 2548 4) นับถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 50. ทุก ปีปฏิทินให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี ให้สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร อยากทราบว่า หนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี ให้นับจากวันใด 1) นับจากวันที่ได้จัดทําขึ้นที่เก็บ ณ ส่วนราชการใด 2) นับจากวันที่ได้ลงทะเบียนเก็บที่สารบรรณกลางของแต่ละหน่วยงาน 3) นับจากวันที่คณะกรรมการทําลายหนังสือมีมติไม่ทําลาย 4) ไม่มีข้อใดถูก 51. บัญชีส่งมอบหนังสือครบ 20 ปี และบัญชีหนังสือครบ 20 ปีที่ขอเก็บเอง ข้อใดถูกต้อง 1) ต้องมีต้นฉบับ 2) ต้องมีสําเนาคู่ฉบับ 3) ต้องมีต้นฉบับและสําเนาคู่ฉบับ 4) ไม่มีข้อใดถูก 52. ส่วนราชการใดที่มีอํานาจออกหนังสือภายนอก 1) กระทรวง 2) กรม 3) กอง 4) ถูกทุกข้อ 53. ข้อความใดที่ไม่มีในแบบของหนังสือประทับตรา 1) ที่ 2) ถึง 3) สิ่งที่ส่งมาด้วย 4) ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง 54. หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา เมื่อประทับตราเสร็จแล้ว ให้ลงเลขของปีที่ให้เก็บถึง 1) ปีงบประมาณ 2) ปีปฏิทิน 3) ปีพุทธศักราชที่ให้เก็บถึง 4) ปีที่มีเลขลงท้ายด้วย 5 55. การจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี พร้อมทั้งบัญชีส่งมอบหนังสือนั้น ให้จัดส่งหน่วยงานที่มีอํานาจ หน้าที่จัดเก็บภายในกําหนด ระยะเวลาใด 1) ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปีนั้น 2) ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปีถัดไป 3) ภายในวันที่ 30 กันยายน ของปีถัดไป 4) ภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของปีถัดไป ภาค ข. – วิชา พ.ร.ฎ.บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ (ข้อ 71-80) 71. ผู้ดํารงตําแหน่งใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

1) รัฐมนตรี 2) คณะรัฐมนตรี 3) นายกรัฐมนตรี 4) ก.พ.ร. 72. กรณีที่ส่วนราชการกําหนดวิธีการปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจของแต่ละเรื่องให้ผู้ใดเป็นผู้กําหนดแนวทางการดําเนินการ ทั่วไป? 1) ครม. 2) รมต. 3) คณะกรรมการกฎษฎีกา 4) ก.พ.ร. 73. ให้เป็นหน้าที่ของ.........ทีจ่ ะต้องรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เสนอแนะ ต่อ.......เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติให้เหมาะสม 1) ส่วนราชการ , ก.พ.ร. 2) ส่วนราชการ , ครม. 3) ข้าราชการ , ก.พ.ร. 4) ข้าราชการ , ผู้บังคับบัญชา 74. ……..…ต้องจัดให้มีการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ..............กําหนด 1) ส่วนราชการ , ก.พ.ร. 2) ข้าราชการ , ก.พ.ร. 3) ก.พ.ร. , รัฐมนตรี 4) ก.พ.ร. , ครม. 75. ใน กรณีที่กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกําหนดให้ส่วนราชการจัดทําแผนปฏิบัติ เพื่อขอรับงบประมาณให้............และ ............ร่วมกันกําหนดแนวทางการจัด ทําแผน 1) ก.พ.ร. , ส่วนราชการ 2) ก.พ.ร. , ครม. 3) สํานักงบประมาณ , ก.พ.ร. 4) กรมบัญชีกลาง , ก.พ.ร. 76. การ สั่งราชการโดยปกติให้กระทําเป็นลายลักษณ์อักษร แต่ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชามีความจําเป็นที่ไม่อาจสั่งเป็นลายลักษณ์ อักษรใน ขณะนั้นควรทําเช่นใด? 1) จะสั่งราชการด้วยวาจาด้วยก็ได้ แต่ให้ผู้รับคําสั่งนั้นบันทึกคําสั่งด้วยวาจาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร 2) เมื่อได้ปฏิบัติราชการตามคําสั่งดังกล่าวแล้ว ให้บันทึกรายงานให้ผู้สั่งราชการทราบในบันทึกให้อ้างอิงคําสั่งด้วยวาจา ไว้ด้วย 3) ให้บันทึกเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และให้ผู้บังคับบัญชานั้นลงนามรับรอง 4) ข้อ 1) และ 2) ถูก 77. ผู้ใดมีหน้าที่ต้องตรวจสอบว่าการปฏิบัติงานของข้าราชการให้แล้วเสร็จตามเวลาที่มีการกําหนดไว้ในการปฏิบัติหน้าที่? 1) ผู้บังคับบัญชา 2) ก.พ.ร. 3) ครม. 4) รมต. 78. กรณีที่ส่วนราชการได้รับคําร้องเรียน เสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ เป็นหน้าที่ของใครที่จะต้องพิจารณาดําเนินการ? 1) ผู้บังคับบัญชา 2) ข้าราชการ 3) ส่วนราชการนั้น 4) ปลัดกระทรวง 79. การรับฟังข้อร้องเรียน การเปิดเผยข้อมูล เป็นการบริหารราชการแบบใด? 1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2) การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 3) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 4) การอํานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน

80. นอกจากการประเมินผลการปฏิบัติตามแผนของส่วนราชการเองแล้ว ยังต้องจัดให้มีใครเป็นผู้ประเมินอีก? 1) ก.พ.ร. 2) คณะผู้ประเมินอิสระ 3) รมต. 4) ครม. วิชา พ.ร.บ.ตํารวจแห่งชาติฯ (ข้อ 81 - 90) 81. พ.ร.บ. ตํารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ให้ยกเลิกกฎหมายทุกฉบับต่อไปนี้ ยกเว้น 1) พ.ร.บ. เครื่องแบบตํารวจ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2483 2) พ.ร.บ. ว่าด้วย วินัยตํารวจ พุทธศักราช 2477 3) พ.ร.บ. ยศตํารวจ พุทธศักราช 2480 4) ไม่มีข้อใดถูก 82. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง (1) รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ไม่เป็น ก.ต.ช. โดยตําแหน่ง แต่เป็น ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ (2) กรรมการข้าราชการตํารวจจะเป็นกรรมการใน ก.ต.ช. ในขณะเดียวกันไม่ได้ เว้นแต่นายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการ ตํารวจแห่งชาติ (3) การประชุม ก.ต.ช. จะต้องมีกรรมการมาประชุมเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (2) 4) ถูกเฉพาะข้อ (2) และ (3) 83. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 1) ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการตํารวจ อาจมีอดีตข้าราชการตํารวจได้ แต่ต้องพ้นจากความเป็นข้าราชการ ตํารวจไปแล้วเกินกว่า 10 ปี และมีอายุเกิน 65 ปี นอกจากนี้ต้องมีจํานวนไม่เกิน 1 คน 2) ในกรณีที่กรรมการข้าราชการตํารวจไม่น้อยกว่า 6 คน ร้องขอให้เรียกประชุม ประธานกรรมการข้าราชการตํารวจ ต้องเรียกประชุมภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ร้องขอ 3) ในกรณีที่ ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระจะต้องดําเนินการจัดให้มีการเลือก ก.ตร.ผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ ภายใน 60 วันนับจากวันครบวาระ 4) ไม่มีข้อใดถูก 84. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับยศตํารวจ 1) ยศตํารวจมี 14 ยศ ตั้งแต่พลตํารวจเอก ลงไปถึง พลตํารวจ 2) การแต่งตั้งยศตํารวจชั้นประทวนเป็นกรณีพิเศษ ให้ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติเป็นผู้แต่งตั้งตามหลักเกณฑ์ และ วิธีการที่กําหนดในระเบียบสํานักงานตํารวจแห่งชาติ 3) การถอด หรือการอกจากยศตํารวจชั้นสัญญาบัตร ให้เป็นไปตามระเบียบ ก.ตร. 4) ถูกทุกข้อ 85. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 1) ตําแหน่งของข้าราชการตํารวจมี 13 ตําแหน่งตั้งแต่ ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติจนถึงรองผู้บังคับหมู่ 2) การกําหนดจํานวนตําแหน่งข้าราชการตํารวจตั้งแต่ตําแหน่งรองผู้บังคับการ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ หรือ ตําแหน่งเทียบเท่าขึ้นไปในส่วนราชการต่าง ๆ ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช. ก่อน 3) ในกรณีที่จะให้ข้าราชการตํารวจซึ่งดํารงตําแหน่งพนักงานสอบสวนตามมาตรา 44 เช่น พนักงาน

สอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามระเบียบที่ ก.ตร. กําหนดก็สามารถ ทําได้แต่จะต้องได้รับความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี 4) พนักงานสอบสวนผู้ชํานาญการพิเศษแต่งตั้งจากพนักงานสอบสวนผู้ชํานาญการเมื่อดํารงตําแหน่งเป็นระยะเวลาเกิน 3 ปีขึ้น ไป และได้รับเงินเดือนถึงขั้นต่ําของระดับ ส.3 อีกทั้งได้ผ่านการประเมินแล้ว 86. ข้อใดกล่าวถูกต้อง (1) ผู้ช่วยผู้บัญชาการ คือ ตําแหน่งข้าราชการตํารวจ (2) ตําแหน่งผู้บังคับหมู่ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตํารวจยศสิบตํารวจตรีขึ้นไป แต่ไม่สูงกว่าดาบตํารวจ (3) ข้าราชการตํารวจยศ ร.ต.อ. ร.ต.ท. และ ร.ต.ต. ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส.1 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (2) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) และ (3) 3) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (3) 4) ถูกทุกข้อ 87. ในกรณีที่ตําแหน่งข้าราชการตํารวจในส่วนราชการหรือหน่วยงานใดในสํานักงานตํารวจแห่งชาติว่างลงหรือผู้ดํารงตําแหน่งใด ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติสําหรับตําแหน่งใดบ้างที่สามารถสั่งให้ข้าราชการตํารวจซึ่ง เห็นสมควร รักษาราชการ แทนในตําแหน่งนั้นได้? 1) จเรตํารวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ผู้ช่วยบัญชาการตํารวจแห่งชาติ 2) จเรตํารวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ผู้ชว่ ยบัญชาการตํารวจแห่งชาติลงมา 3) ตําแหน่งตั้งแต่จเรตํารวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติหรือตําแหน่งเทียบเท่าลงมา 4) ตําแหน่งจเรตํารวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ผู้ช่วยบัญชาการตํารวจ แห่งชาติ หรือเทียบเท่าลงมา 88. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง (1) การลงโทษกักยาม ได้แก่ การกักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควรตามที่จะกําหนด และให้ทํางานโยธา หรืองานอื่นของทางราชการด้วย แต่ต้องไม่เกิน 6 ชั่วโมง ต่อ 1 วัน (2) ส.ต.ต.หญิง สมศรี ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ดังนี้ ส.ต.ต.หญิง สมศรี ไม่มีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อ ก.ตร. เพราะไม่ใช่โทษทางวินัย (3) การร้องทุกข์อาจร้องทุกข์โดยตรงต่อ ก.ตร. โดยไม่ผ่านผู้บังคับบัญชาก็ได้ 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (3) 4) ไม่มีข้อใดถูก 89. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง (1) ส.ต.ต.หญิงพลอยไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย และเป็นเหตุให้เสียหาย แก่ราชการ ดังนี้เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (2) ส.ต.อ.สมชาย กระทําการอันใดชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ดังนี้ ถือว่าเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง (3) ส.ต.อ.สมศักดิ์ ไม่รักษาความลับของทางราชการเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างมาก ดังนี้ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (2) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) และ (3) 3) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (3) 4) ไม่มีข้อใดถูก 90. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์ 1) ข้าราชตํารวจผู้ใด ถูกสั่งลงโทษให้อุทธรณ์คําสั่งดังกล่าวต่อผู้บังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ

2) การอุทธรณ์ต้องอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันทราบคําสั่ง 3) ระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณ์ ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสองร้อยสี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์เว้นแต่มีเหตุ จําเป็นตามที่กําหนดในระเบียบ ก.ตร. ที่ทําให้การพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้ขยายระยะเวลาได้อีก ไม่เกินสองครั้ง โดยแต่ละครั้งจะต้องไม่เกินหกสิบวัน 4) ไม่มีข้อใดถูก วิชาจริยธรรม (ข้อ 91 - 95) 91. “กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา” เกี่ยวข้องกับหลักธรรมโดยตรง 1) ทุกข์ 2) สมุทัย 3) นิโรธ 4) มรรค 92. “สิ่งที่ช่วยเตือนบุคคลให้รู้สึกตัวในการประพฤติ ปฏิบัติสู่ลู่ทางที่ดีชอบถูกต้อง ไม่เสียหาย ตั้งมั่นอยู่ในคุณงามความดี...” เกี่ยวข้องกับหลักธรรมใดมากที่สุด 1) หิริ 2) โอตตัปปะ 3) สติ 4) สัมปชัญญะ 93. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 1) โฟร์ รู้ว่าถ้าตนเองทําความดีแล้วย่อมมีคนสรรเสริญ แสดงว่าโฟร์มีธรรมะ เรื่องมัตตัญญุตา 2) มด เป็นคนดําริชอบคือ คิดไม่เบียดเบียน ไม่ปองร้ายผู้อื่น แสดงว่ามด มีธรรมะเรื่องสัมมาวายามะ 3) กิ๊บซี่ เป็นคนลังเล สงสัยไม่แน่ใจ ไม่กล้าตกลงปลงใจกระทําสิ่งใดง่ายๆ แสดงว่ากิ๊บซี่เป็นคนที่มีวิจิกิจฉา อยู่ในใจ 4) กิ๊บซ่า เป็นคนที่ไม่ถือตัว วางตนเสมอต้นเสมอปลาย แสดงว่ากิ๊บซ่า ยึดถือธรรมะ เรื่อง อัตถจริยา ไว้ในใจเสมอ 94. ข้อใดต่อไปนี้ สอดคล้องกัน 1) ทิฏฐธัมมิกัตถะ คือ ธรรมะสําหรับผู้ครองเรือน 2) อธิฏฐานธรรม คือ ธรรมะที่เป็นประโยชน์ในปัจจุบัน 3) เวสารัชชกรณธรรม คือ ธรรมะ สําหรับทําความกล้าหาญ 4) สาราณียธรรม คือ ธรรมะ ที่เป็นลักษณะแห่งความดี 95. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 1) ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง คือ ไตรลักษณ์ 3 2) ธรรมสําหรับผู้ครองเรือน คือ ฆราวาสธรรม 4 3) ธรรมสําหรับกษัตริย์เท่านั้น คือ ทศพิธราชธรรม 10 4) อุปายโกศล คือ ความฉลาดในอุบาย วิชากฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมฯ (ข้อ 96 - 100) 96. ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่หน้าที่ของกองบัญชาการศึกษาโดยตรงตาม กฎ ก.ตร. ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของ ตํารวจ พ.ศ. 2551 1) เป็นศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมและพัฒนาคุณธรรมของข้าราชการตํารวจ 2) ทําหน้าที่พิจารณาคําร้องทุกข์ของผู้รับการประเมินที่เห็นว่า ผลการประเมินของตนไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง 3) กําหนดตัวชี้วัดและหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อประกาศเชิดชูเกียรติหน่วยงานและข้าราชการตํารวจที่ประพฤติ ปฏิบัติดีเยี่ยม 4) ไม่มีข้อใดถูก

97. ใน กรณีที่ข้าราชการตํารวจพบว่าผู้บังคับบัญชาของตน ข้าราชการตํารวจ หรือหน่วยงานตํารวจใดละเมิด ฝ่าฝืน หรือไม่ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตํารวจ ให้สามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือหน่วยงานที่ตน สังกัดได้ .......................และหากผู้บังคับบัญชาที่ตนรายงานมิได้ดําเนินการใด ให้สามารถรายงานถึง............................. หรือ..................... 1) ไม่เกินสามลําดับชั้น : จเรตํารวจแห่งชาติ : ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 2) อย่างน้อยสามลําดับชั้น : จเรตํารวจแห่งชาติ : ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 3) ไม่น้อยกว่าสามลําดับชั้น : จเรตํารวจแห่งชาติ : ก.ตร. 4) อย่างน้อยสามลําดับชั้น : ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ : ก.ตร. 98. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คุณธรรม 4 ประการ ตามพระบรมราโชวาทที่ให้ไว้ใช้เป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งในการประพฤติตนและปฏิบัติ หน้าที่ ตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตํารวจ พ.ศ. 2551 โดยตรง 1) ต้องเคารพเอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ 2) การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด 3) การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจ ความดีเท่านั้น 4) การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ และเป็นธรรม 99. ข้าราชการตํารวจต้องยึดถืออุดมคติของตํารวจ 9 ประการ เป็นแนวทางชี้นําการประพฤติตนและปฏิบัติหน้าที่เพื่อบรรลุถึง ปณิธานของการเป็นผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ข้อใดดังต่อไปนี้ ไม่ใช่อุดมคติดังกล่าวโดยตรง (1) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบ (2) ไม่มักมากในลาภผล (3) รักษาความไม่ประมาทเสมอชีวิต 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (3) 4) ถูกทุกข้อ 100. “ข้า ราชการตํารวจต้องภาคภูมิใจในวิชาชีพ กล้ายืนหยัด กระทําในสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม เพื่อเกียรติศักดิ์ และศักดิ์ศรีของ ความเป็นตํารวจ ซึ่งต้องประพฤติปฏิบัติดังนี้…” ข้อความดังกล่าวข้างต้นเกี่ยวข้องกับสิ่งใดโดยตรง 1) คุณธรรมของตํารวจ 2) จริยธรรมของตํารวจ 3) จรรยาบรรณของตํารวจ 4) ถูกทุกข้อ

เฉลย แนวข้อสอบ ชุด 3 (สาย อก.)

21. 3

41. 1

76. 4

96. 2

22. 1

42. 2

77. 1

97. 2

23. 4

43. 1

78. 3

98. 1

24. 4

44. 3

79. 4

99. 1

25. 1

45. 4

80. 2

100.2

26. 3

46. 1

81. 4

27. 1

47. 4

82. 2

28. 3

48. 3

83. 4

29. 4

49. 3

84. 4

30. 4

50. 1

85. 1

31. 3

51. 3

86. 2

32. 3

52. 4

87. 3

33. 3

53. 3

88. 3

34. 2

54. 3

89. 3

35. 4

55. 2

90. 1

36. 2

71. 3

91. 2

37. 4

72. 4

92. 4

38. 2

73. 4

93. 3

39. 2

74. 1

94. 3

40. 1

75. 3

95. 3

ชุด 4 ข้าราชการตํารวจ ผู้มีวุฒิปริญญาตรี สายอํานวยการ) ภาค ก. - วิชาภาษาไทย (ข้อ 21 - 40) 21.

22.

เกี่ยวกับเรื่องทําคุณงามความดี นั่นคือการไม่กระทําชั่วซึ่งก็คือการทําความดีนั่นเอง วิธี การที่จะทําความดีก็คือ การ งดเว้นความชั่ว หากเราไม่หลงผิดที่จะทําความชั่ว เราก็จะมีแต่ความดีนอกจากนั้นถ้าเราอยู่แต่ในภาวะแวดล้อมที่ดี เรา ก็จะห่างไกลจากความชั่ว แต่ถ้าเราไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ชั่วเราก็ไม่มีโอกาสที่จะทําดี ทั้งนี้ทั้งนั้นเราต้องรู้จักว่าอะไรดี อะไรชั่ว ต้องแยกให้ได้ว่าอะไรชั่วอะไรดี 1) การทําดีคือการรู้ว่าอะไรชั่วอะไรดี และไม่หลงผิด 2) การทําดีคือการรู้ว่าอะไรดีอะไรชั่วและไม่กระทําความชั่ว 3) การทําดีคือการหนีห่างจากความชั่ว และอยู่ในภาวะแวดล้อมที่ดี 4) การทําดีคือการไม่กระทําชั่วและอยู่ในภาวะแวดล้อมที่ดี ข้อใดใช้สํานวนต่างประเทศ

23.

1) ในช่วงที่เขายังเป็นวัยรุ่นเขามีเรื่องทะเลาะวิวาทบ่อยๆ 2) เรื่องแปลกๆเหล่านี้หาซื้ออ่านได้ที่ร้านขายหนังสือทั่วไป 3) มีทางเป็นไปได้ว่าจะมีการปรับหลักสูตรวิชาภาษาไทยในอนาคตอันใกล้นี้ 4) กองอุตสาหกรรมในครอบครัวจะจัดฝึกอบรมการทําผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา ข้อความใดเป็นประโยคไม่สมบูรณ์

24.

1) ถนนดินสอสีแดงค่อนข้างขรุขระ มีแอ่งน้ําเป็นบางตอน สัญจรไปมาลําบาก 2) หนังสือที่จะช่วยให้เข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ของเด็กได้มากกว่าที่เคยอ่านมา 3) รถเข็นที่ทําด้วยไม้มีสองล้อจอดคอยรับจ้างขนของอยู่ตรงปากทางเข้าตลาด 4) เขาเอาตระกร้าหวายที่ซื้อมาจากงานแสดงสินค้าขึ้นวางบนตระแกรงท้ายรถ ข้อใดไม่ใช่เป็นการแสดงทรรศนะ 1) 2) 3) 4)

25.

26.

ผู้ใหญ่ในบ้านควรให้ความรักแก่เด็ก และควรเอาใจใส่ให้คําปรึกษาได้ทุกกรณี อย่าลืมว่าลูกต้องได้รับการพัฒนาทั้งทางร่างกาย จิตใจ และความคิดไปพร้อมๆกัน พ่อแม่ยุคใหม่ส่วนใหญ่สนับสนุนให้ลูกเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษเพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ถ้าครอบครัวอบอุ่น ผู้ใหญ่คอยเป็นเพื่อนสนับสนุนเด็กให้ถูกทาง ปัญหาจากเด็กก็คงไม่เกิดขึ้นมากนัก ประโยดใดไม่กํากวม 1) ใครตามหมอมา 2) ฉันบอกแม่ว่าน้ํากําลังจะแห้ง 3) วันนี้เขาลางานเพราะตาเจ็บ 4) เขายกตัวอย่างมากจนน่ารําคาญ คําใดอ่านไม่ถูกต้อง 1) สมรรถภาพ อ่านว่า สะ-มัด-ถะ-พาบ 2) ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ-กา-สะ-นี-ยะ-บัด 3) คมนาคม อ่านว่า คะ-มะ-นา-คม 4) มารยาท อ่านว่า มัน-ระ-ยาด

27.

28.

29.

30.

31.

32.

ข้อใดเป็นคําซ้ํา 1) ฉันไปโรงเรียนทุก ๆ วัน 2) ดินสอ 2 แท่ง ๆ ละ 2 บาท 3) ที่ๆ ฉันจะขายอยู่ลาดพร้าว 4) ชาวนาใส่เสื้อสีดํา ๆ อยู่ในนา ข้อความตอนใดใช้ราชาศัพท์ผิด (1) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินไปทรงประกอบพิธียกช่อฟ้า ณ วัดสีมา ราม (2) หลังจากเสด็จพระราชดําเนินกลับจากการแปรพระราชฐาน ณ พระราชวังไกลกังวล (3) จากนั้นเสด็จออกให้ ลูกเสือชาวบ้านจากทั่วประเทศเฝ้า ฯ (4) และทรงพระราชดําเนินชมนิทรรศการ “หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” 1) ตอนที่ (1) 2) ตอนที่ (2) 3) ตอนที่ (3) 4) ตอนที่ (4) “การอุทิศดวงตาให้…เพื่อนมนุษย์…..ตาบอด….ให้ดวงตาของเขากลับมองเห็นได้อีก….เป็นการทํา คุณประโยชน์…ยิ่งใหญ่อย่างแท้จริง” 1) กับ ซึ่ง โดย ถือ ที่ 2) แก่ คน เพื่อ คิดว่า อัน 3) ต่อ ที่ โดย ถือว่า ซึ่ง 4) แก่ ผู้ เพื่อ นับว่า ที่ กระทรวง การค้าญี่ปุ่นกําลังวางแผนพัฒนาโครงการผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าสําหรับโรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียส์ที่ให้ความ ปลอดภัย โดยมีเป้าหมายส่งขาดประเทศให้แก่กลุ่มอาเซียนที่มีความต้องการใช้กระแสไฟฟ้า เพิ่ม 1) ญี่ปุ่นต้องการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียส์ เพื่อขายให้แก่ประเทศในกลุ่มอาเซียน 2) ญี่ปุ่นต้องการพัฒนาการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียส์ เพื่อเป็นสินค้าส่งออก 3) ประเทศในกลุ่มอาเซียนต้องการซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าสําหรับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียส์ ที่มีความปลอดภัย 4) ญี่ปุ่นต้องการพัฒนาการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าสําหรับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียส์ เพื่อขายให้แก่ ประเทศในกลุ่มอาเซียน ร่างกายของคนในวัยทํางานไม่ต่างอะไรกับรถยนต์ที่แรก ๆ ก็ใช้ได้ดี วิ่งฉิวทุกสภาวะ มีปัญหากวนใจ น้อย นาน เข้าก็เริ่มไม่ได้ดังใจ ชักมีอาการแปลก ๆ ให้ต้องกังวลอยู่บ่อย ๆ จนบางครั้งก็เกือบต้องหามเข้าอู่ไปก็มี สาเหตุใหญ่ก็เพราะอายุการใช้งานมาก ขึ้น และขาดการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ําเสมอ ซึ่งเรามักจะแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าที่เกิดขึ้นเท่านั้น อัน ที่จริงแล้วการแก้ปัญหาที่ถูกต้องที่สุดคือการป้องกันและการดูแลสุขภาพให้ แข็งแรง พร้อมทั้ง ทําจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ ถึงเวลาแล้วหรือยังสําหรับการยกเครื่องร่างกายให้พร้อม เพื่อการทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข้อความข้างต้นมีลักษณะเนื้อหาตามข้อใด 1) ให้ความรู้ 2) ให้กําลังใจ 3) โน้มน้าวใจ 4) จรรโลงใจ คําประพันธ์ต่อไปนี้มีความหมายตรงกับสํานวนใด มองเห็นสิ่งชั่วร้าย กลับบอกว่าดีงาม

เลวทราม ยิ่งแล้

เห็นผิดกลับตีความ

สวนกลับ

บอกว่าชอบแน่แท้

เดือดร้อนเสียคน

1) เห็นขี้ดีกว่าไส้ 2) เห็นดําเห็นแดง 3) เห็นหน้าเห็นหลัง 4) เห็นกงจักรเป็นดอกบัว “ผมรู้สึกดีใจที่นําแม่มารักษาที่นี่ เพราะแม่ได้รับการดูแลจากคุณหมอเป็นอย่างดี ตั้งแต่วันที่แม่เริ่มป่วย จนถึงวันสุดท้ายของชีวิต ผมรู้สึกว่าเงินทองที่เก็บออมไว้ถึงแม้จะหมดไปก็ไม่เคยเสียดาย” 33. จากข้อความนี้ “ผม” ในที่นี้มีคุณธรรมด้านใด น้อยที่สุด 1) ความเสียสละ 2) ความอ่อนน้อมถ่อมตน 3) ความมัธยัสถ์อดออม 4) ความกตัญญูกตเวที 34. กระดาษ ที่ใช้ห่อหรือใส่อาหารโดยเฉพาะกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งนั้นไม่ควรเป็นกระดาษที่มีตัวหนังสือ ทั้งนี้เพราะหมึกพิมพ์นั้นจะมีพวกโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว โครเมียม แคดเมียม เป็นส่วนประกอบ ถ้าหมึกพิมพ์ไปถูก อาหารก็จะติดอาหารไป เรารับประทานเข้าไปจะสะสมในร่างกาย ทําให้เกิดโรคต่างๆได้ จากข้อความสรุปว่าอย่างไร 1) ไม่ควรรับประทานกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งที่ใส่ถุงกระดาษเพราะถุงกระดาษมีน้ําหมึกติดอยู่ 2) ไม่ควรรับประทานอาหารที่เปื้อนหมึก เพราะโลหะหนักที่น้ําหมึกจะเข้าไปสะสมในร่างกาย 3) ไม่ควรใช้กระดาษที่มีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะโลหะหนักที่น้ําหมึกจะเข้าไปสะสมในร่างกาย 4) ไม่ควรใช้กระดาษที่มีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหาร เพราะถุงกระดาษมีน้ําหมึกติดอยู่ 35. สาระสําคัญของข้อความต่อไปนี้กล่าวถึงอะไร เด็กส่วนมากไม่ชอบรับประทานผัก บางคนจะไม่รับประทานเลย ไม่ว่าจะเป็นผักอะไร ถ้าจะอ้างถึงจิตวิทยา ทางสี ผักเป็นอาหารที่มีสีงดงามกว่าอาหารในหมู่อื่น แต่เด็กส่วนใหญ่ยังไม่ชอบผักอยู่นั่นเอง เด็กบางคนถึงกับว่าถ้ามี ผักอยู่ในจานอาหารแม้แต่นิดเดียว เขาจะไม่ยอมรับประทานอาหารนั้น 1) ความสําคัญของอาหารประเภทผัก 2) ธรรมชาติของเด็กในการบริโภคอาหาร 3) สาเหตุที่เด็กไม่ชอบอาหารประเภทผัก 4) เด็กกับอาหารประเภทผัก 36. ข้อใดอ่านผิด 1) ชัยมงคล อ่านว่า ไช-ยะ-มง-คน 2) เฉลิมพระชนมพรรษา อ่านว่า ฉะ-เหลิม- พระ-ชน-มะ-พัน- สา 3) ชนมายุ อ่านว่า ชน-นะ-มา-ยุ 4) เถลิงถวัลยราชสมบัติ อ่านว่า ถะ-เหลิง-ถะ-หวัน-ราด-ชะ-สม- บัด 37. ข้อใดกล่าวผิด 1) ถวายอดิเรก : การถวายพรพิเศษแด่ในหลวง 2) ทักษิณานุปทาน : การทําบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มให้แก่ผู้ตาย 3) สดับปกรณ์ : การแผ่เมตตาให้แก่ผู้ตาย 4) หลั่งทักษิโณทก : การกรวดน้ํา 38. ข้อใดใช้ลักษณะนามต่างกันทุกคํา

39.

1) เต็นท์ มุ้ง เปียโน 3) ลูกกรง ไม้กวาด กําไล ข้อใดสะกดถูกทุกคํา 1) ปลักหักพัง ปรัมปรา ปรามาส

2) เทียน เข็ม เกวียน 4) สลากกินแบ่ง กรรมธรรม์ โฉนด 2) ผลัดวันประกันพรุ่ง ผุดลุกผุดนั่ง ผุบๆโผล่ๆ

40.

3) เกร็ดความรู้ ปรารมภ์ เกล็ดปลา 4) จัตุสดม จตุรัส จัตุรมุข ข้อใดใช้คําถูกต้อง 1) 2) 3) 4)

เราทุกคนมั่นใจต่อมติของส่วนรวม ผู้ส่งออกข้าวต้องจดทะเบียนต่อกรมการค้าต่างประเทศ นิสิตต้องยื่นคําร้องต่อมหาวิทยาลัยหากต้องการเปลี่ยนวิชา ประเทศไทยกําลังหาลู่ทางคว่ําบาตรต่อประเทศอินโดนีเซีย

ภาค ข. - วิชาระเบียบงานสารบรรณ (ข้อ 41-55) 41.

หนังสือ หรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน หรือการก่อหนี้ผูกพันทางการเงินที่ไม่เป็นหลักฐานแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิในทางการเงิน รวมถึงหนังสือหรือเอกสารการเงิน การจ่ายเงิน หรือก่อหนี้ ผูกพันทางการเงินที่หมดความจําเป็นในการใช้เป็นหลักฐานแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิในทาง การเงิน เพราะได้มีหนังสือหรือเอกสารอื่นที่สามารถนํามาใช้อ้างอิงหรือทดแทนหนังสือ หรือเอกสารดังกล่าวแล้ว เมื่อ…................................................... ตรวจสอบแล้วไม่มีปัญหาและไม่มีความจําเป็นต้องใช้ประกอบการตรวจสอบหรือ เพื่อ การใดๆ อีก ให้เก็บ.............................. 1) กระทรวงการคลัง , ไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี 2) กระทรวงการคลัง , ไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี 3) สํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน , ไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี 4) สํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน , ไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปี 42. เมื่อ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและรับฝากหนังสือแล้วจากหน่วยงานแล้ว ให้ลงนามในบัญชี ฝากหนังสือแล้วคืน........................ให้ส่วนราชการผู้ ฝากเก็บไว้เป็นหลักฐาน 1) สําเนา 2) สําเนาคู่ฉบับ 3) ต้นฉบับ 4) ข้อ 2) และ 3) ถูก 43. ถ้า กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร เห็นชอบด้วยในการทําลายหนังสือแล้วให้แจ้งให้ส่วนราชการดําเนินการ ทําลาย หนังสือต่อไปได้ หากกองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ไม่แจ้งให้ทราบอย่างใด ภายในกําหนดเวลา ...............วัน นับแต่วันที่ส่วนราชการนั้นได้ส่งเรื่องให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรให้ถือว่ากองจดหมายเหตุ แห่งชาติ กรมศิลปากร ได้ให้ความเห็นชอบแล้ว และให้ส่วนราชการทําลายหนังสือได้ 1) 30 วัน 2) 60 วัน 3) 90 วัน 4) 120 วัน 44. ถ้า ต้องการให้รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานใดที่ไม่เป็นส่วนราชการใช้รหัสตัวพยัญชนะของส่วนราชการที่ สังกัดตัวเลข 2 ตัวแรกที่ใช้เริ่มจากเลขอะไร 1) ไม่สามารถที่จะกระทําได้ 2) 15

3) 45.

46.

47.

48.

49.

50.

50

4) 51

ส่วน ราชการแห่งหนึ่งมีลักษณะการทํางานเป็นพิเศษจากหน่วยงานอื่นและมีความจําเป็นจะ ต้องปฏิบัติงานสารบรรณ นอกเหนือไปจากที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีที่กําหนดไว้ ส่วนราชการนั้น จะกระทําได้หรือไม่เพียงไร 1) ย่อมกระทําได้เลยเมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการและปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี 2) กระทําได้เมื่อผู้รักษาการตามระเบียบนี้ให้ความเห็นชอบ 3) กระทํามิได้ 4) ถูกเฉพาะข้อ 1) และ 2) ข้อใดมิใช่เป็นความหมายของ “งานสารบรรณ” 1) งานบริหารงานเอกสาร 2) การรับ การส่ง การรักษาเอกสาร 3) การจัดทําร่างระเบียบงานสารบรรณ 4) ไม่มีข้อถูก หนังสือภายนอก คือ 1) หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบติดต่อภายในกระทรวง, ทบวง, กรม หรือจังหวัดเดียวกัน 2) หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบติดต่อระหว่างราชการที่มีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือมีถึงบุคคลภายนอก 3) หนังสือที่ใช้ได้ระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการและระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสําคัญ 4) ไม่มีข้อใดถูก หนังสือ ที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปโดยหัวหน้า ส่วนราชการระดับกองหรือผู้ ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกํากับตรา หนังสือประทับตรานี้ ข้อใดเป็น กรณีที่ห้ามใช้ 1) ใช้ติดต่อระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการเฉพาะกรณีมิใช่เรื่องสําคัญ 2) ใช้ติดต่อระหว่างส่วนราชการระดับกรมกับกระทรวงเฉพาะกรณีมิใช่เรื่องสําคัญ 3) ใช้ติดต่อระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอกเฉพาะกรณีมิใช่เรื่องสําคัญ 4) ใช้ติดต่อระหว่างส่วนราชการต่างกระทรวงเฉพาะกรณีมิใช่เรื่องสําคัญ คําว่า “ประกาศ ณ วันที่............. พ.ศ. ................” ใช้กับหนังสือชนิดใด 1) คําสั่ง 2) ระเบียบ 3) ข่าว 4) ถูกทั้งข้อ 2) และ 3) การรับรองสําเนาถูกต้อง จะต้องให้เจ้าหน้าที่ระดับใดเป็นผู้รับรอง 1) เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 1 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่อง 2) เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่อง 3) เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่อง 4) ถูกทั้ง 1), 2) และ 3)

51.

52.

53.

54.

การจัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแล้ว ส่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดําเนินการในช่อง “การปฏิบัติ” ให้ลงรายการดังนี้ 1) ลงชื่อหน่วยงานที่รับหนังสือนั้น 2) ลงชื่อบุคคลหรือตําแหน่งที่เกี่ยวข้องกับการรับหนังสือนั้น 3) ลงชื่อหน่วยงานที่รับหนังสือ ถ้ามีชื่อบุคคลหรือตําแหน่งที่เกี่ยวข้องให้ลงชื่อหรือตําแหน่งไว้ด้วย 4) ไม่มีข้อใดถูก ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งหนังสือนั้น วิธีการในข้อใดที่ถูกต้อง 1) หนังสือที่ส่งออก จะต้องบรรจุซองทุกเรื่อง 2) หนังสือทุกเรื่องควรส่งทางไปรษณีย์ เพื่อป้องกันการสูญหาย 3) หนังสือลับและเร่งด่วนให้ส่งโดยผู้นําสาร 4) หนังสือที่จะส่งออกจะบรรจุซองหรือไม่ก็ได้แล้วแต่กรณี การจ่าหน้าซอง และต้องระบุชั้นความเร็ว อยากทราบว่าชั้นความเร็วให้ระบุลงที่ส่วนใดของซอง 1) กึ่งกลางซอง 2) ที่เหมาะสม 3) เหนือครุฑ 4) เหนือส่วนราชการที่ออกหนังสือ หนังสือประเภทใด แม้จะมีอายุครบ 20 ปีก็ตาม ไม่ต้องส่งให้กองจดหมายเหตุก็ได้ 1) หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ 2) หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ 3) หนังสือที่เป็นหลักฐานทางวรรณคดี 4) ถูกเฉพาะข้อ 2) และ 3)

55.

เมื่อหนังสือมีอายุครบ 20 ปีแล้ว แต่ส่วนราชการนั้นมีความจําเป็นจะต้องเก็บไว้ที่ส่วนราชการของตน กรณีเช่นนี้จะต้อง ปฏิบัติอย่างไร 1) เก็บไว้เอง และทําบัญชีหนังสือนั้นมอบให้กองจดหมายเหตุ 2) ขออนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ และกองจดหมายเหตุ 3) ตั้งกรรมการขึ้นพิจารณาดําเนินการ 4) ดําเนินการจัดเก็บได้โดยไม่ต้องแจ้งกองจดหมายเหตุ ภาค ข. – วิชา พ.ร.ฎ.บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ (ข้อ 71-80) 71. ให้ส่วนราชการจัดทําบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานใด กําหนด? 1) สํานักงบประมาณ 3) ก.พ.ร.

72.

2) กรมบัญชีกลาง 4) ถูกทุกข้อ

ให้ส่วนราชการคํานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้น ๆ ตาม ระยะเวลาที่............กําหนด 1) สํานักงบประมาณ

2) กรมบัญชีกลาง

3) ก.พ.ร.

4) ถูกทุกข้อ

73. เมื่อส่วนราชการคํานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะตามข้อ 2. แล้ว ให้รายงานแก่...............? 1) สํานักงบประมาณ 74.

75.

76.

77.

78.

2) กรมบัญชีกลาง

3) ก.พ.ร. 4) ถูกทุกข้อ ในกรณีที่ปัญหา อุปสรรคในการดําเนินการเกิดจากระเบียบ ข้อบังคับของส่วนราชการอื่น ต้องทําอย่างไร 1) ต้องแจ้งผลการดําเนินงานให้ส่วนราชการอื่นทราบภายใน 15 วัน 2) แจ้งให้ส่วนราชการทราบตามระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กําหนด 3) แจ้งให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อแก้ไข 4) แจ้งให้ส่วนราชการนั้นทราบเพื่อแก้ไขและแจ้ง ก.พ.ร. ทราบ เมื่อมีการประกาศใช้บังคับแผนการบริหารราชการแผ่นดินที่มีการจัดทําเป็นแผน 4 ปีแล้ว ข้อใดถูก 1) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและสํานักงบประมาณร่วมกันจัดทําแผนนิติบัญญัติเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรี 2) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีร่วมกันพิจารณา จัดทําแผนนิติบัญญัติเสนอให้รัฐมนตรีเห็นชอบ 3) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีร่วมกันพิจารณาจัดทํา แผนนิติบัญญัติเสนอให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 4) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีร่วมกันพิจารณาจัดทํา แผนนิติบัญญัติเสนอให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ส่วนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการโดยจัดทําเป็นแผน 4 ปีและในแต่ละปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทําแผนปฏิบัติ ราชการประจําปี ดังนี้ข้อใดถูก 1) เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการ ประจําปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี 2) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรี ไม่เห็นชอบในแผนปฏิบัติราชการประจําปีนั้นห้ามมิให้สํานักงบ ประมาณจัดสรรงบประมาณให้ 3) ในกรณีที่ส่วนราชการมิได้มีการเสนอแผนปฏิบัติราชการประจําปีเลยนั้น สํานักงบประมาณสามารถใช้ดุลยพินิจในการจัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการได้ 4) แผนปฏิบัติราชการประจําปีนั้นให้เสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ แล้วจึงให้สํานักงบประมาณ จัดสรรงบประมาณให้ การ โอนงบประมาณจากภารกิจเดิมตามที่กําหนดในแผนปฏิบัติราชการไปดําเนินการอย่าง อื่นซึ่งมีผลทําให้ภารกิจเดิมไม่ บรรลุเป้าหมายจะทําได้ก็ต่อเมื่อ 1) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการอนุมัติ 2) รมต.อนุมัติ 3) ครม.อนุมัติ 4) สํานักงบประมาณอนุมัติ หน่วย งานใดจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการ ดําเนินอยู่ โดยคณะรัฐมนตรีจะ กําหนดระยะเวลาและรับรายงานการประเมินดังกล่าว 1) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , สํานักงบประมาณ

2) สํานักเลขาธิการสํานักนายกรัฐมนตรี , สํานักงบประมาณ 3) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี , สํานักงบประมาณ 4) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , สํานักเลขาธิการสํานักนายกรัฐมนตรี 79.

ตามปกติในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจําเป็นต้องได้รับอนุญาต อนุมัติ หรือเห็นชอบจากส่วนราชการอื่นตาม กฎหมาย ให้ส่วนราชการที่มีอํานาจอนุญาต อนุมัติ หรือเห็นชอบ แจ้งผลให้ทราบภายใน.........วัน หรือตามระยะเวลา ที่ได้ประกาศไว้ หากเสร็จไม่ทันภายในระยะเวลาดังกล่าว จะเกิดผลประการใดขึ้น 1) กี่วันก็ได้ตามความเหมาะสม , ให้ถือว่าข้าราชการที่เกี่ยวข้องและหัวหน้าส่วนราชการนั้น ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 2) 15วัน , ให้ถือว่าข้าราชการซึ่งมีหน้าที่และหัวหน้าส่วนราชการนั้นผิดวินัยอย่างร้ายแรง 3) 15วัน , ให้ถือว่าข้าราชการซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องและหัวหน้าส่วนราชการนั้นประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง

4) 90 วัน , ให้ถือว่าข้าราชการซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องนั้นประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 80. ในกรณีที่ส่วนราชการได้รับการเสนอแนะจากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่า กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ถ้าส่วนราชการ ไม่เห็นชอบด้วยกับคําเสนอแนะดังกล่าว จะเสนอเรื่องต่อ............เพื่อพิจารณาวินิจฉัยต่อไป 1) ให้เสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย 2) ให้เสนอเรื่องต่อสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 3) ให้เสนอเรื่องต่อสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4) ให้เสนอเรื่องต่อสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

81.

82.

วิชา พ.ร.บ.ตํารวจแห่งชาติฯ (ข้อ 81 - 90) นายกอล์ฟ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้รับคัดเลือกโดยถูกต้องตามกฎหมาย ให้เป็น ก.ต.ช. ผู้ทรงคุณวุฒิ เช่นเดียวกับ พล.ต.ท.ก้อง อดีตข้าราชการตํารวจ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ได้มีการประชุม ก.ต.ช. ปรากฏว่า พล.ต.ท.ก้องได้เสียชีวิต เพราะถูกเมียน้อยยิงตายก่อนเข้าประชุม เพียง 2 ชั่วโมง และนายกอล์ฟต้องไปงานศพของ พล.ต.ท.ก้องไม่สามารถเข้าประชุมได้จึงได้ทําหนังสือมอบหมายให้ นายกู๋มาเข้าร่วมประชุมแทน กับ ก.ต.ช.อื่นๆอีก 5 คน หลังจากนั้น 15 วัน นายกอล์ฟได้ไปลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบล โคกสูง ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับข้อเท็จจริงข้างต้น 1) การประชุม ก.ต.ช. ไม่ถูกต้องตาม พ.ร.บ.ตํารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 เพราะไม่ครบองค์ประชุม 2) ก.ต.ช.โดยตําแหน่งต้องสรรหาบุคคลมาดํารงตําแหน่ง ก.ต.ช.ผู้ทรงคุณวุฒิแทน พล.ต.ท.ก้อง 3) นายกอล์ฟ ต้องพ้นจากตําแหน่ง ก.ต.ช.ผูท้ รงคุณวุฒิ 4) ไม่มีข้อใดถูก ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ 1) ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิประเภทที่เคยเป็นข้าราชการตํารวจตามมาตรา 30 (2) (ก) มีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คนแต่ต้องพ้นจากการเป็นข้าราชการตํารวจไปแล้วเกินกว่ากว่าหนึ่งปี

2) ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิประเภทที่ไม่เคยเป็นข้าราชการตํารวจมาก่อน ตามมาตรา 30 (2) (ข) อาจมีจํานวนเกิน 6 คนได้ 3 รองผู้บัญชาการสํานักงานผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ก.ตร. โดยตําแหน่ง 4) ข้อ 2) และ 3) ถูก 83.

การ พิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง เงินเพิ่มค่าครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชน์เกื้อกูลอื่นสําหรับ ข้าราชการตํารวจจะต้องดําเนินการอย่างไร 1) ให้ ก.ตร. มีอํานาจหน้าที่รายงานกระทรวงการคลังเพื่อพิจารณา 2) ให้ ก.ตร. มีอํานาจหน้าที่รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา 3) ให้ ก.ตร. มีอํานาจหน้าที่รายงานนายกรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา

85.

4) ให้ ก.ตร. มีอํานาจหน้าที่รายงาน ก.ต.ช. เพื่อพิจารณา ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 1) ตําแหน่งสารวัตรและพนักงานสอบสวนผู้ชํานาญการให้แต่งตั้งจาก ข้าราชการตํารวจยศร้อย ตํารวจเอกขึ้นไปแต่ไม่สูงกว่าพันตํารวจเอก 2) ตําแหน่งผู้บังคับการและพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ จะได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งจาก ข้าราชการตํารวจยศพันตํารวจเอกซึ่งได้รับอัตราเงินเดือนพันตํารวจเอก (พิเศษ) หรือพลตํารวจตรี 3) ตําแหน่งรองผู้บังคับหมู่ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตํารวจยศพลตํารวจ 4) ถูกทุกข้อ ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือน 1) ให้ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตํารวจระดับ ส.๘ ระดับ ส.๗และระดับ ส.๖ เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช.แล้ว 2) การสั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตํารวจตั้งแต่ระดับ ส.๕ ลงมาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ กําหนดในระเบียบ ก.ตร. 3) การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตํารวจ ให้คํานึงถึง คุณภาพและปริมาณงาน ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติหน้าที่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานที่ได้ปฏิบัติมา ตลอดจนการรักษาวินัยและการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการตํารวจตามรายงานของผู้บังคับบัญชา ตามลําดับชั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในกฎ ก.ตร. 4) การเลื่อนเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษเกินสองขั้น ต้องได้รับการอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี เป็นพิเศษเฉพาะราย

86.

ใน กรณีที่ตําแหน่งข้าราชการตํารวจในส่วนราชการหรือหน่วยงานใดในสํานักงานตํารวจ แห่งชาติว่างลงหรือผู้ดํารง

84.

ตําแหน่งใดไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ให้ผู้บังคับ การ หรือตําแหน่งเทียบเท่าสําหรับตําแหน่งใดบ้างที่สามารถสั่งให้ ข้าราชการตํารวจ ซึ่งเห็นสมควรรักษาราชการแทนในตําแหน่งนั้นได้ ? 1)

ตําแหน่งตั้งแต่รองผู้บังคับการ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญหรือตําแหน่งเทียบเท่าลงมาใน ส่วนราชการนั้น

2)

ตําแหน่งตั้งแต่ผู้กํากับการ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิหรือตําแหน่งเทียบเท่าลงมา

ในส่วนราชการนั้น 3)

ตําแหน่งตั้งแต่ผู้กํากับการ พนักงานสอบสวนผู้ชํานาญการหรือตําแหน่งเทียบเท่าลงมา ในส่วนราชการนั้น

4) 87.

88.

89.

90.

ตําแหน่งตั้งแต่ผู้กํากับการ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญหรือตําแหน่งเทียบเท่าลงมา

ในส่วนราชการนั้น ใน กรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้อํานาจหรือหน้าที่ใดเป็น ของปลัดกระทรวง การใช้อํานาจ หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวสําหรับส่วนราชการ หรือหน่วยงานของสํานักงานตํารวจ แห่งชาติให้ถือเป็นอํานาจและหน้าที่ของใคร 1) ผบ.ตร. 2) รอง ผบ.ตร. 3) ผู้บัญชาการที่ได้รับมอบหมายจาก ผบ.ตร. 4) ข้อ 1) และ 3) ถูก ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 1) สิบตํารวจโทก้อง กระทําความผิดฐานร่วมกับพวก 7 คน จับตัว น.ส.เมย์ น.ส.เป้ย และ น.ส.แพน เค้กไปหน่วงเหนี่ยวกักขังไว้หลังจากนั้นได้ร่วมกันข่มขืน บุคคลทั้ง 3 เป็นเวลา 7 วัน จนสําเร็จ ความใคร่คนละ 7 ครั้ง จากนั้นจึงได้ฆ่าบุคคลทั้ง 3 และนําทรัพย์สินไปด้วยทั้งหมด ต่อมาศาลได้มี คําพิพากษาถึงที่สุดให้ประหารชีวิตสิบตํารวจโทก้อง ดังนี้ไม่ถือว่าสิบตํารวจโทก้องกระทํา ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง เพราะเมื่อต้องโทษประหารชีวิตแล้วถือว่าการกระทําผิดเป็นอันระงับไป 2) สิบตํารวจเอกสมศักดิ์ได้ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกิน 15 วัน โดย ไม่มีเหตุอันควร แต่ไม่เกิดความเสียหายแก่ราชการ เพราะมีจ่าสิบตํารวจสมปองปฏิบัติงานแทน ดังนี้ไม่ถือว่าเป็นการทําผิดวินัยอย่างร้ายแรง เพราะไม่เกิดความเสียหายแก่ราชการ 3) พ.ต.ท.สมชาย ปฏิบัติราชการอันมีลักษณะเป็นการกระทําข้าม พ.ต.อ.สมบัติ ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา เหนือตน ดังนี้ การกระทําของ พ.ต.ท.สมชาย อาจเป็นการกระทําผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง 4) ข้อ 2) และ 3) ถูก ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง (1) ส.ต.ต.หญิง สมศรี ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ดังนี้ ส.ต.ต.หญิง สมศรี มีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อ ก.ตร. ได้ แม้ไม่ใช่โทษทางวินัยก็ตาม (2) การร้องทุกข์อาจร้องทุกข์โดยตรงต่อผู้บังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาก็ได้ (3) การลงโทษกักยาม ได้แก่ การกักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควรตามที่จะกําหนด และให้ทํางานโยธา หรืองานอื่นของทางราชการด้วย แต่ต้องไม่เกิน 6 ชั่วโมง ต่อ 1 วัน 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (3) 4) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (3) ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ 1) สิบตํารวจตรีหญิงเจี๊ยบ ถูกผู้บังคับบัญชา คือ พล.ต.ต.แท่ง สั่งลงโทษปลดออกจากราชการดังนี้ ถ้าต้องการอุทธรณ์คําสั่งต้องอุทธรณ์ต่อ ก.ตร. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีคําสั่ง 2) สิบตํารวจเอกขาว ถูกผู้บังคับบัญชาคือ พ.ต.อ.เขียว สั่งกักขัง และให้ไปทํางานโยธาวัน ละ 6 ชั่วโมง จึงมาใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อผู้บังคับบัญชา คือ พ.ต.อ.เขียว

3) หลักเกณฑ์ และวิธีการร้องทุกข์ เหตุแห่งการร้องทุกข์ และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ให้ เป็นไปตามที่กําหนดในระเบียบ ก.ตร. 4) ไม่มีข้อใดถูก วิชาจริยธรรม (ข้อ 91 - 95) 91.

92.

93.

94.

95.

เมย์ (พิช) เป็นผู้รู้แจ้งชัดว่าชีวิตคืออะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง แสดงว่าเมย์ (พิช) เข้าใจหลักธรรมข้อใด 1) ขันธ์ 5 2) ไตรลักษณ์ 3 3) อริยสัจ 4 4) มรรคมีองค์ 8 ธรรมขั้นพื้นฐานที่ช่วยให้จิตใจไม่เศร้าหมองคือธรรมข้อใด 1) กตัญญูกตเวที 2) ขันติ-โสรัจจะ 3) สติ-สัมปชัญญะ 4) หิริ-โอตตัปปะ หลักธรรมใดที่สามารถขจัดความโลภได้มากที่สุด 1) หิริ-โอตตัปปะ 2) ฆราวาสธรรม 4 3) สัปปุริสธรรม 7 4) พรหมวิหาร 4 “สิ่งที่เป็นประหนึ่ง อาภรณ์ ประดับใจ ทําให้ใจงาม และทําให้ได้รับการยกย่องสรรเสริญในที่ทั่วๆ ไป” เกี่ยวข้องกับ หลักธรรมใดมากที่สุด 1) หิริ-โอตตัปปะ 2) ขันติ – โสรัจจะ 3) สติ – สัมปชัญญะ 4) ปุพพการี – กตัญญูกตเวที ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง (1) ความจําได้หมายรู้ เรียกว่า สัญญา (2) ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด (3) ปริสัญญุตา คือ ความเป้นผู้รู้จักชุมนุม 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 3) ถูกเฉพาะข้อ (3)

2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 4) ข้อ (2) และ (3) ถูก วิชากฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมฯ (ข้อ 96 - 100)

96.

ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของกองบัญชาการศึกษาโดยตรงตาม กฎ ก.ตร. ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ ของตํารวจ พ.ศ. 2551 1) ดําเนินการลงมือสร้างเครือข่ายทั้งภายใน และภายนอก สตช.เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทั่วไปปฏิบัติ ตามจริยธรรม และจรรยาบรรณของตํารวจ 2) เป็นศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมและพัฒนาคุณธรรมของข้าราชการตํารวจ 3) กําหนดตัวชี้วัดและหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อประกาศเชิดชูเกียรติหน่วยงานและข้าราชการ ตํารวจที่ประพฤติปฏิบัติดีเยี่ยม

4)

97.

98.

99.

100.

ไม่มีข้อใดถูก ให้__________มีหน้าที่เสนอความเห็นต่อ__________เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมและ จรรยาบรรณของตํารวจให้เหมาะสมกับกาลเวลาและสถานการณ์ 1) กองบัญชาการศึกษา : ก.ตร. 2) จเรตํารวจแห่งชาติ : ก.ตร. 3) สถาบันฝึกอบรมของ สตช. : กองบัญชาการศึกษา 4) กองบัญชาการศึกษา : จเรตํารวจแห่งชาติ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คุณธรรม 4 ประการ ตามพระบรมราโชวาทที่ให้ไว้ใช้เป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งในการประพฤติตนและ ปฏิบัติหน้าที่ ตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตํารวจ พ.ศ. 2551 โดยตรง 1) อดทนต่อความเจ็บใจ ไม่หวั่นไหวต่อความยากลําบาก 2) การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจ ความดีเท่านั้น 3) การรู้จักทําตนให้ละวางจากความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง 4) ไม่มีข้อใดถูก ข้าราชการตํารวจต้องยึดถืออุดมคติของตํารวจ 9 ประการ เป็นแนวทางชี้นําการประพฤติตนและปฏิบัติหน้าที่เพื่อ บรรลุถึงปณิธานของการ เป็นผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ข้อใดดังต่อไปนี้ ไม่ใช่อุดมคติฯ ดังกล่าวโดยตรง (1) ดํารงตนในยุติธรรม (2) เคารพเอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ (3) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (3) 4) ไม่มีข้อใดถูก ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรม และจรรยาบรรณของตํารวจ พ.ศ.2551 (1) มีผลใช้บังคับเมื่อครบ 60 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (2) ข้าราชการตํารวจต้องปฏิบัติตามค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามที่ผู้ตรวจการรัฐสภากําหนด (3) มีที่มาจาก พ.ร.บ.ตํารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาตรา 31 (2) และมาตรา 77 1) ถูกเฉพาะข้อ (1) 2) ถูกเฉพาะข้อ (2) 3) ถูกเฉพาะข้อ (1) และ (2) 3) ไม่มีข้อใดถูก

………………………….

เฉลย !!! แนวข้อสอบชุด 4 (สาย อก.) 21. 4

41. 3

78. 1

96. 4

22. 3

42. 3

79. 3

97. 2

23. 2

43. 2

80. 1

98. 1

24. 3

44. 4

81. 4

99. 3

25. 2

46. 3

82. 2

100.3

26. 4

47. 4

83. 2

27. 1

48. 4

84. 2

28. 4

49. 2

85. 2

29. 4

50. 2

86. 2

30. 4

51. 3

87. 1

31. 3

52. 4

88. 3

32. 4

53. 4

89. 1

33. 2

54. 1

90. 4

34. 3

55. 1

91. 1

35. 4 36. 4

71. 2

92. 2

72. 2

93. 2

73. 4

94. 2

74. 4

95. 2

37. 3 38. 3 39. 3 40. 3

75. 4

45. 2

76. 1 77. 3

View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF