มาตรฐานอุปกรณ์โลจิสติกส์ (2).pptx
July 8, 2017 | Author: ธีร์วรา บวชชัยภูมิ | Category: N/A
Short Description
งาน ส่ง อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ นางสาวกุลชภรณ์ คงจรูญ รหัส 5421416010 ระบบชั้นวางในคลัง...
Description
มาตรฐานอุปกรณ์ โลจิสติกส์
งาน ส่ง อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
เอกสารอ้ างอิง http://www.ebooks.in.th http://www.jenbunjerd.com
http://www.thailogistics.org http://www.jenbunjerd.com
http://www.umwsiam.com
(สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556) (สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556)
(สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556) 5 ตุลาคม 2556) (สื บค้นวันที่ 5 ตุลาคม 2556)
คู่มอื มาตราฐานโลจิสติกส์ ส.อ.ท. FTI Logistics Standard จัดทาโดย สภาอุตสาหกรรม แห่ งประเทศไทย
1. ระบบชั้นวางในคลังสิ นค้ า ( Racking System ) Racking System คือ ชั้นวางในคลังสิ นค้าดั้งเดิมที่พบเห็นได้ โดยทัว่ ไป ซึ่งมีหลากหลายรู ปแบบ ขึ้นอยูก่ บั ประเภทสิ นค้าที่ตอ้ งจัดเก็บ และ ลักษณะการใช้งาน ประเภทของ Racking System มีหลายประเภท ด้วยกัน เช่น Selective Rack , Flow Rack , Mobile Racking System และอื่นๆ การจัดวางสิ นค้าบน Racking System นั้น จะช่วยให้ง่ายต่อการค้นหามากยิง่ ขึ้น ทั้งยังช่วยให้คลังสิ นค้าดู เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
2. อุปกรณ์ ที่ใช้ สาหรับการขนย้ ายสิ นค้ า ( Moving Equipment ) Moving Equipment คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการขนย้าย สิ นค้า / ชิ้นงานจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยเลือกรู ปแบบของอุปกรณ์น้ นั ต้องเลือกให้เหมาะสมกับสิ นค้า / ชิ้นงานที่ตอ้ งการขนเป็ นสาคัญ โดยคานึงถึง รู ปร่ าง , น้ าหนัก , ลักษณะเฉพาะของธุรกิจ เช่น บางทีจาเป็ นต้องเป็ นสแตน เลตเนื่องจากโดนน้ า , ความชื้น หรื อวงการอาหาร ซึ่งมีมาตรฐานต่าง ๆ มา กาหนดไว้ โดยมาอุปกรณ์เหล่านี้จะเป็ นอุปกรณ์พ้นื ฐานที่พบเห็นตามโรงงาน อุตสาหกรรม และคลังสิ นค้าต่าง ๆ ทัว่ ไป
3. อุปกรณ์ เคลือ่ นย้ ายของเหลว ( Liquid Bulk Equipment ) Liquid Bulk Equipment คือ อุปกรณ์โลจิสติกส์ที่เหมาะกับสิ นค้าที่อยูใ่ น รู ป “ของเหลว” ไม่วา่ จะเป็ นรถขนส่ งผลิตภัณฑ์ที่เป็ นของเหลว เช่น IBC Tank หรื อ Intermediate Bulk Container ซึ่ งมีขนาดการบรรจุที่ปริ มาณ 1,000 ลิตร ใหญ่กว่าถังขนาด 200 ลิตร ซึ่ งมีการออกแบบรู ปทรงมาให้เหมาะกับการขนส่ ง , ลดพื้นที่เสี ยไปจากการขนส่ ง ถัง 200 ลิตร , ลดเรื่ องของเสี ยที่ตกค้างอยูใ่ น IBC Tank และอื่น ๆ สาหรับธุรกิจที่มีการใช้วตั ถุดิบที่เป้ นของเหลวจานวนมาก ๆ นั้น ควรต้องคานึงถึง รู ปแบบการขนส่ ง และการจัดเก็บ เพื่อให้สะดวก และประหยัดมากที่สุด
4. ประตูสาหรับอุตสาหกรรม ( Industrial Door ) Industrial Door คือ อุปกรณ์จาพวกประตูโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ได้ถูกพัฒนา เพื่อ ตอบสนองกระบวนการโลจิสติกส์ในโรงงานอุตสาหกรรมมากยิง่ ขึ้น โดยบางโรงงานที่ได้รับมาตรฐาน GMP หรื อ HACCP นั้น ถูกกาหนดเรื่ องของการรักษาคุณภาพ และมาตรฐานของสิ นค้า หลายที่จึง มีความจาเป็ นที่จะต้องมีประตูอตั โนมัติในโรงงาน เพื่อช่วยป้ องกันในเรื่ องของปลอมเปื้ อนต่าง ๆ ที่มี โอกาสเข้าไปสัมผัสกับคลังสิ นค้า หรื อสายการผลิต โดยประตูที่ได้รับการนิยม ได้แก่ 1) Hi-Speed Door ซึ่ งทางานเปิ ดปิ ดอัตโนมัติดว้ ยความเร็ วสู ง เหมาะอย่างยิง่ สาหรับกรณี ที่ คนเข้าออกบ่อย ๆ หรื อโฟลค์ลิฟท์ผา่ นประตูเข้าออกบ่อย ๆ การใช้ประตูลกั ษณะนี้ จะช่วยให้เกิดความ คล่องตัวในการทางาน เนื่องจากไม่ตอ้ งเสี ยเวลากับการรอเปิ ดและปิ ดประตูทุกครั้งที่เข้า 2) Sectional Door ซึ่ งจะนิยมใช้กนั มากในคลังสิ นค้า บริ เวณหน้าทางออกลานโหลดสิ นค้า ขึ้นรถขนส่ ง / รถบรรทุก เมื่อรถเข้ามา ประตูจะถูกเปิ ดออก เมื่อโหลดสิ นค้าเป็ นที่เรี ยบร้อยไม่ใช้งาน ก็จะปิ ดลงมาปกติ ต่างจากประตูที่เป็ น Hi-Speed Door โดยมากวัสดุทาจากผ้าใบ PVC เกรด พิเศษ ซึ่ งเหมาะกับกรณี ที่ความถี่ในการเปิ ดปิ ดมากกว่า ส่ วนประตู Sectional Door นั้นเป็ นประตู ที่โครงสร้างตัวประตูมีความแข็งแรงมากกว่าแต่ไม่ได้ใช้ความเร็ วในการขึ้นลงประตู
5. อุปกรณ์ ลาเลียง ( Conveyor Equipment ) Conveyor Equipment คือ อุปกรณ์ลาเลียง ที่ทาหน้ าที่ในการลาเลียง สินค้ า หรื อชิ ้นงานจากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ อย่างต่อเนื่อง โดยมากจะพบเห็นใน โรงงานอุตสาหกรรม คลังสินค้ าศูนย์กระจายสินค้ าต่าง ๆ ซึง่ การออกแบบอุปกรณ์ ลาเลียงเหล่านี ้ ต้ องคานึงถึงรูปแบบ และลักษณะของสินค้ า หรื อชิ ้นงานที่ต้องการ ลาเลียง เป็ นสาคัญ อันได้ แก่ รูปร่างของสินค้ า / ชิ ้นงาน , น ้าหนักต่อชิ ้น , ขนาดต่อชิ ้น , จานวนชิ ้นต่อชัว่ โมง , ลักษณะพิเศษอื่น ๆ ที่สาคัญและจาเป็ นต่อการออกแบบทังนี ้ ้ ระบบลาเลียงเหล่านี ้สามารถออกแบบให้ เป็ นอัตโนมัติทงหมด ั้ มีการควบคุมการทางาน ด้ วยระบบ PLC หรื อจะออกแบบในลักษณะที่เป็ นกึง่ อัตโนมัติเช่นกัน ทังนี ้ ้ ต้ องดูความ เหมาะสมเป็ นกรณี ๆ ต่อไป
6. อุปกรณ์ สาหรับเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ าทีอ่ ยู่ในรู ปของ ผง (Dry Bulk Equipment) Dry Bulk Equipment คือ อุปกรณ์โลจิสติกส์สาหรับสิ นค้าที่อยูใ่ นรู ปของผง , เม็ด เช่น ผง แป้ ง , เม็ดพลาสติก เป็ นต้น ซึ่ งเทคโนโลยีโลจิสติกส์ปัจจุบนั ได้ พัฒนารู ปแบบการขนส่ งจากเดิมเป็ นกระสอบ หรื อเป็ นถุง ซึ่ งมี เรื่ องของคนในการจัดการ , และต้นทุนของการบรรจุผลิตภัณฑ์ เป็ นตัวแปร ปั จจุบนั หลาย ๆ แห่งที่ใช้สินค้าจาพวกผง , เม็ด จานวนมาก หันมาเปลี่ยนในรู ปแบบการขนส่ ง จากบรรจุ ผลิตภัณฑ์ ขนาดเล็กมาเป็ น รถ Tank ขนาดใหญ่
ประโยชน์ ของ Dry Bulk Equipment 1. ลดต้ นทุน packaging 2. รวดเร็ วในการขนถ่าย ซึง่ สามารถเป่ าสินค้ าขึ ้นจัดเก็บในระบบ Silo system ได้ โดยใช้ เวลาเพียงไม่กี่นาที 3. เป็ นระบบปิ ด ( Close system ) ตังแต่ ้ ต้นทางถึงปลายทาง ซึง่ ป้องกันการสัมผัสกับสิง่ ปลอมปนปลอมเปื อ้ นที่เกิดขึ ้นระหว่างทาง 4. ลดของเสียที่ตกค้ างอยูใ่ นบรรจุผลิตภัณฑ์ ซึง่ เอาออกไม่หมด 5. ลดจานวนแรงงานที่มาใช้ ในกระบวนการโหลดสินค้ าเข้ าออกจากรถ และกระบวนการนาสินค้ าจากคลังสินค้ าจากคลังสินค้ าวัตถุดิบ เข้ า สายการผลิต เป็ นต้ น
7. หุ่นยนต์ ( Robots ) Robots หรื อที่เรามักเรี ยกว่า หุ่นยนต์ อุปกรณ์ประเภทนี้ อาจถูกตั้งโปรแกรมให้ทางานได้หลาย ๆ แบบ เช่น ใช้เคลื่อนหรื อ หมุนวัสดุในการเชื่อมชิ้นส่ วน การใช้หุ่นยนต์มกั เป็ นการเคลื่อนย้ายที ละชิ้นงานมากกว่าที่จะเป็ นการเคลื่อนย้ายวัสดุจานวนมาก หรื องานที่ ต้องการความแม่นยาสูง เป็ นต้น
8. สะพานเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า ( Dock Leveller ) Dock Leveller คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เหมือนเป็ นสะพานพาด ระหว่างลานโหลดสิ นค้า และพื้นรถบรรทุก เพื่อเพิ่มความสะดวกในการนา สิ นค้าเข้าออกจากรถบรรทุก , ลดช่องว่างระหว่างลานโหลดสิ นค้ากับ รถบรรทุก เป็ นอุปกรณ์มาตรฐานที่พบเห็นได้บ่อยตามคลังสิ นค้า หรื อศูนย์ กระจายสิ นค้าที่ได้มาตรฐานอุปกรณ์น้ ีจะถูกฝังไว้ลานโหลดสิ นค้า ในขณะที่ ไม่ได้ใช้งานจะมีระดับเดียวกันเสมอกับพื้นปกติ แต่เมื่อใช้งานจะถูกยกขึ้น และนาไปพาดกับรถบรรทุกเพิ่มความคล่องตัวให้กบั ผูใ้ ช้งาน ในการนาสิ นค้า ขึ้นลงจากรถบรรทุก
9. ระบบจัดเก็บสิ นค้ าแนวตั้ง ( Hanel Vertical Storage System )
Hanel Vertical Storage System คือ ระบบการจัดเก็บอัตโนมัติสมัยใหม่ ที่ใช้พ้นื ที่ใน แนวสู งเป็ นสาคัญ โดยมีหลักการง่าย ๆ คือ เป็ นระบบที่ให้สินค้า / ชิ้นงานที่จดั เก็บนั้นมาหาผูใ้ ช้งาน โดย ที่ผใู ้ ช้งานไม่ตอ้ งปี น หรื อไปหาสิ นค้าตามช่องที่จดั เก็บ ประโยชน์ ของระบบ Hanel Vertical Storage System 1) ลดพื้นที่การจัดเก็บ โดยระบบนี้ สามารถลดพื้นที่การจัดเก็บเดิมได้กว่า 60% 2) ลดเวลาในการค้นหา 3) สะดวกกับผูใ้ ช้งาน โดยที่ไม่ตอ้ งก้ม ๆ เงย ๆ หรื อปี นป่ าย ขึ้นไปเอาสิ นค้าในชั้นสู งซึ่ งมีโอกาสใน การเกิดอุบตั ิเหตุสูง 4) สามารถเชื่อต่อกับระบบ networking ของแต่ละองค์กรได้ 5) สามารถตรวจเช็ค Inventory โดยง่ายได้จากระบบที่ควบคุมการทางาน 6) เพิ่มระดับความปลอดภัย โดยการปิ ดล็อคที่ตวั ช่องทางสิ นค้า หรื อเพิ่มระบบ Access Code ตั้ง รหัสเฉพาะสาหรับผูใ้ ช้งานที่ได้รับอนุญาตในการใช้งานเท่านั้น
10. รถยกหรือโฟล์ คลิฟท์
รถยก หมายถึง เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่ได้รับการออกแบบเพื่อใช้ในการยก และบรรทุกสิ นค้า ภายใต้เงื่อนไขของรถบรรทุกแห่งอุตสาหกรรมขับเคลื่อน ด้วยเครื่ องยนต์ รวมถึง ชนิดเครื่ องยนต์ดีเซล , ไฟฟ้ า ผ แบตเตอรี่ ) , เบนซิน หรื อแก๊ส ( แก๊สปิ โตเลียมแก๊ส ) โดยหน้าที่ของรถยก ได้แก่ เคลื่อนย้ายและ ขนส่ งที่มีน้ าหนักจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง , เคลื่อนย้ายในคลังสิ นค้า , เคลื่อนย้ายในความแตกต่างด้านความสูงและความกว้างของสิ นค้า
1.) หลักการของรถยกอาศัยจุดการงัด ( Fulcrum ) เป็ นพื้นฐานการทางาน Load Centre คือ จุดศูนย์กลางวัสดุหมายถึงจุดกึ่งกลางระหว่าง วัสดุและพื้นผิวหน้างา และ Load Capacity คือน้ าหนักสู งสุ ดที่งาสามารถ แบกยกรับน้ าหนักภายใต้จุดศูนย์กลางของวัสดุ สองประการสาคัญที่ระบุบนแผ่น ป้ ายคือ - Load Centre = จุดศูนย์กลางวัสดุ หรื อศูนย์กลางของวัสดุ - Load Capacity = น้ าหนักสู งสุ ด
2.) ประเภทของเสากระโดง - แบบ 2 ตอน กาหนดจังหวัดยกอิสระ , ทรรสนะวิสยั กว้ าง ประโยชน์ : ออกแบบเพื่อทัศนะวิสยั กว้ างไกลในการมองเห็น ข้ อจากัด : รถยกแบบเสากระโดงสองตอนกาหนดจังหวะยก อิสระหรื อ ฟรี ลิฟท์ไม่สามารถใช้ งานบรรจุสินค้ าหรื อขนสินค้ าเข้ า-ออกตู้คอน เทนเนอร์ , ยกสินค้ า , วัสดุผ่านทางเข้ า- ออกประตูภายในอาคารที่มีเพดาน ต่า ๆ หรื อสิง่ กีดขวางได้ - แบบ 2 ตอน ฟูล ฟรี ลิฟท์ ( จังหวะยกอิสระเต็มอัตรา ) - แบบ 3 ตอน ฟูล ฟรี ลิฟท์ ( จังหวะยกอิสระเต็มอัตรา )
ประโยชน์ : รถยกแบบเสากระโดงสามตอนจังหวะยกอิสระแบบสามอัตรา หรื อฟรี ลิฟท์สามารถใช้งานบรรจุสินค้าหรื อขนย้ายสิ นค้าในตูค้ อนเทนเนอร์ , เข้ายก สิ นค้า-วัสดุผา่ นทางประตูเข้า-ออกหรื อภายในอาคารที่มีภายในเพดานต่า ๆ หรื อสิ่ ง ที่กีดขวางได้ ข้ อจากัด : ทัศนะวิสัยในการมองเห็นถูกบดบังด้วยกระบอกยกกลาง เสากระโดง คาว่าฟรี ลิฟท์ หมายถึง จังหวะยกอิสระของเสากระโดงฟรี ลิฟท์หรื อ จังหวะยกอิสระของเสากระโดงคือจังหวะงายกสู งจากพื้นขณะเสากระโดงอยูใ่ น ตาแหน่งเดิมหรื อเสากระโดงแบบสามตอนชนิ ดนี้ ให้ประโยชน์การใช้งานภายนอก และภายในตูค้ อนเทนเนอร์ หรื อภายในอาคารที่มีเพดานต่า
3.) กฎและข้ อควรระวัง - ห้ามใช้ความเร็ วหรื อเร่ งเกินพิกดั ควรขับอย่างระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการ ออกรถเร็ ว หรื อหยุดรถโดยกะทันหัน - หลีกเลี่ยงการหยอกล้อ การขาดสติย้งั คิดหรื อหยอกล้อ สนุกสนานขณะ ปฏิบตั ิงานอาจก่อให้เกิดอันตราย - คิดถึงความปลอดภัยเวลาบรรทุก ห้ามจัดวางสิ นค้าในตาแหน่งที่ไม่ เหมาะสมหรื อบรรทุกสิ นค้าสูงเกินไป อาจทาให้เสี ยการลงตัวอัน ก่อให้เกิดความเสี ยหายกับสิ นค้า
กฎและข้ อควรระวัง - ระวังการเหวี่ยงตัวของรถเมื่อบังคับเลี ้ยว ควรมองด้ านหลังเสมอ เพื่อ มัน่ ใจว่าปลอดภัยก่อนทาการเลี ้ยว - ห้ ามบรรทุกน ้าหนักเกิน ห้ ามบรรทุกน ้าหนักเกินอัตราที่กาหนด - ห้ ามบรรทุกผู้โดยสารเป็ นอันขาด ห้ ามอนุญาตให้ ผ้ โู ดยสารร่วมทาง เด็ดขาด ในขณะขับขี่รถโฟล์คลิฟท์ -
กฎและข้ อควรระวัง ควรลดความเร็วขณะขับเข้ าใกล้ มมุ อาคาร ควรลดความเร็วเสมอหรื อหยุด ขณะขับเข้ าใกล้ มมุ อาคาร - ขับถอยหลังเมื่อทัศนะวิสยั ด้ านหน้ าถูกบดบังด้ วยสินค้ า ถ้ าจาเป็ นควรมี ผู้บอกนาทางเสมอ - สังเกตข้ อจากัดทางด้ านความสูงควรสังเกตหรื อจดจาเกี่ยวกับข้ อจากัด ด้ านความสูงของสภาพแวดล้ อมขณะใช้ โฟล์คลิฟท์
กฎและข้ อควรระวัง - ควรใช้ ไฟหน้ าเมื่อแสงสว่างไม่เพียงพอจงแน่ใจเสมอว่าคุณสามารถ มองเห็นได้ ชดั เจน - ดูแลสินค้ าหรื อสิ่งของต่าง ๆ ควรรักษาความสะอาดเรี ยบร้ อยของ สถานที่และเคลื่อนย้ ายสิง่ ของต่าง ๆ ออกจากทางวิ่ง - ระมัดระวังตลอดเวลา ควรระมัดระวังเกี่ยวกับสภาพแวดล้ อมและ อุปสรรคต่าง ๆ ตลอดเวลาขณะขับขี่
4.) รายละเอียดทัว่ ไปของรถยกประเภทเครื่องยนต์ เบนซิน
5.) รายละเอียดทั่วไปของรถยกประเภทเครื่องยนต์ ดเี ซล
6.) ตัวอย่ างของรถยกตามประเภทและขนาด
7.) รถยกไฟฟ้า สาหรับงานคลังสิ นค้ า
8.) อุปกรณ์ เสริมต่ าง ๆ
7.11) ระบบการจัดการคลังสิ นค้ าอัตโนมัติ Automated Storage and Retrieval Systems ( AS/RS ) ( AS/RS ) คือ ระบบอัตโนมัติ ที่เกิดจากการสร้าง และออกแบบระบบให้เข้า กับการดาเนินการแก้ปัญหาคลังสิ นค้า โดยมีเครื่ องจักรที่เป็ นศูนย์กลาง หรื อ Stack Crane ซึ่ งจะคอยจัดการกับสิ นค้าทั้งเข้า และออกในทุกทิศทาง ตัวควบคุมที่จุด ศูนย์กลางคือ RCP และระบบซอฟต์แวร์ รายการสิ นค้า โดยทั้งหมดนี้จะเชื่อมโยงถึงกัน และเข้าใจการทางานของแต่ละจุด ซึ่ งจะทาให้ระบบทางานเป็ นไปอย่างราบรื่ น ตลอดเวลา
นวัตกรรมระบบการทางานอัตโนมัตใิ นคลังและการกระจายสิ นค้ าเป็ นหนึ่งใน พัฒนาการของเทคโนโลยีทางธุรกิจ แก้ ปัญหาระบบการจัดเก็บในแบบดั้งเดิม ที่ยงั คงใช้ หิ้ งหรื อคนในการจัดเก็บและนาของออกมาใช้งาน ซึ่ งเป็ นการกาจัดโอกาสและอนาคต ทางธุรกิจตลอดจนตรรกในการทางานที่มีการแข่งขันในการพัฒนาความรู ้ทางด้าน Logistics & Supply Chain ที่รุนแรง และความต้องการทางธุรกิจขยายตัวจาก เมืองสู่ ประเทศและภูมิภาค สิ นค้าจาเป็ นต้องมีการนาส่ งที่รวดเร็ วจากคลังสู่ จุดขายและ ขยายต่อไปยังจุดอื่น ความซับซ้อนในการรับและรวบรวมสิ นค้าที่จะมีมากขึ้นจนเกิด ความสามารถของมนุษย์ ระบบจัดเก็บและสื บค้นอัตโนมัติ AS/RS สามารถออกแบบ และจัดเก็บสิ นค้า ที่มีน้ าหนักไม่เกิน 50 กิโลกรัม ต่อ 1 ชิ้นงาน และสามารถจัดเก็บได้ มากกว่า 100 ชิ้นงาน โดยสามารถนาสิ นค้าออกมาทางานตามการตอบโต้ของระบบไม่ ว่าจะเป็ นช่วงกลางวันหรื อกลางคืน ในความมืดหรื อสว่าง ( Rosotics ) ซึ่ งถือเป็ นสิ่ ง ที่จาเป็ น เนื่องจากปริ มาณการผลิตที่มากขึ้นในแต่ละวันและเพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้าไป ยังวันอื่น และเป็ นพื้นฐานการพัฒนาทางความรู ้ในด้าน Logistics Equipments ของอุตสาหกรรมไทยในอนาคต
AS/RS เป็ นระบบการจัดการคลังสิ นค้ าอัตโนมัติ ซึ่งเป็ นการพัฒนา กระบวนการนาเข้ า – ออกของสิ นค้ า โดยมีการควบคุมจากระบบคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ ประสานงานกับเครื่ องจักรอัตโนมัติ โดยหลักการแล้ว ระบบ AS/RS นั้นประกอบด้วย 1. SRM ( Storage & Retrieval Machine ) หรื อบางคน เรี ยกว่า Skacker Crane ซึ่ งเป็ นเครื่ องจักรตัวหนึ่ ง ทาหน้าที่เหมือนกับรถยก โฟล์คลิฟท์ นาสิ นค้าเข้าออกจาก Racking System แต่เครื่ องจักรตัวนี้ถกู ควบคุมและสั่งการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ จากศูนย์กลางไม่ได้ใช้คน บังคับโดยตรงที่ตวั เครื่ อง 2. SRM นั้นมีรูปที่เหมาะสมกับสิ นค้าชิ้นเล็ก , สิ นค้าที่วางบนพาเลท และ สิ นค้าที่มีน้ าหนักมากเป็ นพิเศษ เช่น คอลย์เหล็กหนัก 10 ตัน เป็ นต้น 3. Racking System ทาหน้าที่เป็ นชั้นวางสิ นค้า โดยเป็ น Rack ที่ ออกแบบพิเศษเฉพาะสาหรับระบบ AS/RS โดยจะมีความสูง และความถูกต้อง แม่นยามากกว่า Racking System ในคลังสิ นค้าดั้งเดิม
4. Building or Panel เป็ นอาคารสาหรับ AS/RS หรื อผนังที่ปิดตัว Racking System ที่เราเรี ยนกว่า Rack Support ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั การออกแบบอาคาร ตังแต่ ้ ต้น 5. Conveyor System เป็ นระบบสายพานลาเลียงที่ออกแบบมาพิเศษ สาหรับการลาเลียงสินค้ าเข้ า-ออก จากระบบ AS/RS ลาเลียงไปยังจุดต่าง ๆ ที่ ต้ องการ เช่นสินค้ าที่เบิกออกจากระบบ AS/RS แล้ วจะถูกลาเลียงบนสายสะพาน ลาเลียง มายังบริ เวณ หน้ าลานโหลดสินค้ าขาออกไปส่งยังลูกค้ า 6. AGV ( Auto guide vehicle ) or RGV ( Rail Guide Vehicle ) เป็ นยานพาหนะที่ทาหน้ าที่ ในการลาเลียงสินค้ าจากจุดหนึง่ ไปยังอีก จุดหนึง่ เช่นกัน 7. WMS ( Warehouse Management System ) เป็ น ซอฟต์แวร์ ที่มาช่วยบริ หารจัดการระบบคลังสินค้ า
ประโยชน์ ของระบบการจัดคลังสิ นค้ าแบบ AS/RS นั้น สามารถสรุปคร่ าว ๆ ได้ ดงั นี้ 1. ประหยัดพืน้ ที่การจัดเก็บ โดยคลังสิ นค้า AS/RS นั้น สามารถใช้พ้นื ที่แนวสูงได้อย่างเต็มที่ถึง 35 เมตร ( ต่างจากคลังสิ นค้าแบบดั้งเดิม ซึ่งสามารถทาได้สูงสุ ดประมาณ 10 – 12 เมตร ตามความสามารถ ของรถยกที่จะนามาใช้งาน ) 2. ลดจานวนพนักงาน หรื อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลคลังสิ นค้า เนื่องจาก ระบบทางานโดยอัตโนมัติ ผ่านการป้ อน ข้อมูลคาสัง่ บนคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ในการจัดการ มีการใช้เครื่ องจักรเข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรม ต่าง ๆ ทาให้สามารถลดจานวนเจ้าหน้าที่ในคลังสิ นค้า AS/RS นี้ได้มาก 3. เพิม่ ประสิ ทธิภาพของระบบรักษาความปลอดภัย เนื่องจากระบบคลังสิ นค้าอัตโนมัติน้ ีไม่อนุญาตให้คน เข้าไปยังพื้นที่การจัดเก็บสิ นค้า ทาได้ยากต่อการเข้าขโมยสิ นค้า
4. ความถูกต้ องแม่ นยาของข้ อมูล ระบบมีคอมพิวเตอร์ และวอฟต์แวร์ ใน การควบคุมการเข้ า-ออกของสินค้ า ทาให้ เราสามารถตรวจเช็คจานวนสินค้ า ในคลังสินค้ าได้ ตลอดเวลา โดยข้ อมูลที่ได้ นนั ้ จะมีความน่าเชื่อถือกว่า ระบบ ที่จดั การด้ วย Manual 5. ความรวดเร็วในการทางาน การนาสินค้ าเข้ าออกจากคลังสินค้ า AS/RS แต่ละครัง้ จะมีความเร็ วกว่าการนาสินค้ าเข้ า-ออกจากคลังสินค้ า ปกติทวั่ ไปมาก 6. ลดความเสียหายที่เกิดขึน้ จากการจัดเก็บ ระบบถูกออกแบบมาอย่าง มีประสิทธิภาพทาให้ เหมาะกับสินค้ าแต่ละประเภทที่ต้องการจัดเก็บ อันจะ ช่วยลดโอกาสในการเกิดสินค้ าเสียหายจากการจัดการที่ไม่ถกู วิธี หรื อ อุบตั เิ หตุตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ ้นระหว่างการขนย้ าย
บรรณานุกรม http://www.ebooks.in.th http://www.jenbunjerd.com
http://www.thailogistics.org http://www.jenbunjerd.com
http://www.umwsiam.com
(สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556) (สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556)
(สื บค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2556) 5 ตุลาคม 2556) (สื บค้นวันที่ 5 ตุลาคม 2556)
คู่มอื มาตราฐานโลจิสติกส์ ส.อ.ท. FTI Logistics Standard จัดทาโดย สภาอุตสาหกรรม แห่ งประเทศไทย
จัดทาโดย
นางสาวกุลชภรณ์ คงจรู ญ รหัส 5421416010 D2
View more...
Comments