แนวข้อสอบอาญา 2
July 28, 2017 | Author: thiradet_07 | Category: N/A
Short Description
Download แนวข้อสอบอาญา 2...
Description
กฎหมายอาญา 2 ภาคความผิด หน่วยเน้นของกฎหมายอาญา 2 ของเทอมนี้ หน่ วยที่ 2,4,6,7,11,12 แบ่งเนื้ อหาได้เป็ น 3 กล่่ม ดังนี้ กล่ม ่ ที่ 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน (หน่วยที่ 2) และความผิดที่เกี่ยวกับความสงบ ส่ขของประชาชน (หน่วยที่ 4) หัวข้อที่ 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน อย่าลืมดูว่าเจ้าพนักงานหมายถึงบ่คคลใดบ้าง (1) ความผิดที่กระทำาต่อเจ้าพนักงาน มาตรา 136*(แจ้งความเท็จ),137*(ดู หมิ่น),138, 139, 143**, 144**** (ให้สน ิ บนเจ้าพนักงาน ควรดูควบคู่ไปกับ มาตรา 149**** ด้วย) (2) กรณีเจ้าพนักงานกระทำาความผิด มาตรา 147**(ออกข้อสอบเมื่อภาคการ ศึกษาที่แล้ว), 148****, 149****(เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างมาตรา 148 + 149 ให้ด)ี , 157* หัวข้อที่ 2 เรื่องความผิดที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชน (1) ความผิดฐานอั้งยี่ (มาตรา 209**) และความผิดฐานซ่องโจร (มาตรา 210****) ดูแล้วเปรียบเทียบความแตกต่างให้ได้ ความผิดฐานซ่องโจรเพียงแต่ สมคบกันเกิน 5 คน เพื่อกระทำาความผิดตามภาค 2 ของ ปอ. แม้ความผิดนั้นยัง ไม่ได้กระทำาลง ก็เป็ นความผิดฐานซ่องโจรแล้ว (2) ความผิดฐานช่มน่ม ก่อความไม่สงบ หรือความว่่นวายในบ้านเมือง ตาม มาตรา 215***, 216*** (เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างมาตรา 215 และ 216 ให้ด)ี (3) ความผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์ ตามมาตรา 217* (ดูเหต่ฉกรรจ์ มาตรา 218), 219 (การตระเตรียมการวางเพลิงก็ถือว่าเป็ นความผิด รับโทษเท่าการ พยายามวางเพลิง), 220***(ความผิดโดยเจตนา ทำาให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถ่ ซึง ่ เป็ นคนละกรณีกับการวางเพลิงเผาทรัพย์), 224*(ผลธรรมดาเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืน ถึงแก่ความตาย), 225***(ความผิดโดยประมาท) (4) ความผิดฐานปลอมปน ตามมาตรา 236 และมาตรา 237 กล่ม ่ ที่ 2 ความผิดต่อชีวต ิ และร่างกาย (หน่วยที่ 6,7) หัวข้อที่ 1 เรื่องความผิดต่อชีวิต (หน่ วยที่ 6) มาตราที่ควรให้ความสนใจ (1) มาตรา 288 (ฆ่าผู้อ่ ืนโดยเจตนา) (2) มาตรา 289 (เหต่ฉกรรจ์ของมาตรา 288) (3) มาตรา 290 (ทำาร้ายผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย ซึง ่ เป็ นความผิดที่ต้องการผล จึง ไม่มีการพยายามการกระทำาความผิด) (4) มาตรา 291 (ประมาททำาให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย เวลาตอบข้อสอบต้องอ้าง มาตรา 59 วรรค 4 ด้วยเพื่อแสดงให้เห็นว่าเหต่ใดจึงเป็ นประมาท) (5) มาตรา 292-293**** (ย่ยงให้ผู้อ่ ืนฆ่าตนเอง เปรียบเทียบความแตกต่างของ 2 มาตรานี้ ให้ด)ี และดูต่อไปด้วยว่าเมื่อใดถือว่าเป็ นความผิดสำาเร็จ (6) มาตรา 294**** (ช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย และเหต่ยกเว้น โทษ) นอกจากนี้ ควรดูความผิดลห่โทษ มาตรา 374 เพื่อเป็ นการเปรียบเทียบกับมาตรา 288 ด้วย (ไม่ถือว่าเป็ นการกระทำาที่จักต้องทำาเพื่อป้ องกันผลนั้น ตามมาตรา 59 วรรคท้าย) หัวข้อที่ 2 เรื่องความผิดต่อร่างกาย (หน่วยที่ 7) มาตราที่ควรให้ความสนใจ (1) มาตรา 295** ทำาร้ายผู้อ่ ืนเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ (2) มาตรา 296 (เหต่ฉกรรจ์ตามมาตรา 290 + 295), (3) มาตรา 297**** (อันตรายสาหัสทั้ง 8 อน่มาตรา)
(4) มาตรา 299** (ช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้ได้รับอันตรายสาหัส) และดูเหต่ยกเว้น โทษด้วย (5) มาตรา 300**(ประมาทเป็ นเหต่ให้ได้รับอันตรายสาหัสแก่กาย) นอกจากนี้ ให้ดูไปถึงความผิดลห่โทษตามมาตรา 391 เป็ นการใช้กำาลังทำาให้บาด เจ็บโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ และมาตรา 390 เป็ นการกระทำา โดยประมาทเป็ นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ กล่ม ่ ที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ (หน่ วยที่ 11,12) (1) ลักทรัพย์ (มาตรา 334****) เหต่ฉกรรจ์ของการลักทรัพย์ (มาตรา 335*) วิง ่ ราวทรัพย์ (มาตรา 336*** = ลักทรัพย์ + ฉกฉวยซึ่งหน้า) (2) กรรโชกทรัพย์ (มาตรา 337 เปรียบเทียบกับความผิดต่อเสรีภาพตามมาตรา 309 ด้วย) รีดเอาทรัพย์ (มาตรา 338) ชิงทรัพย์ (มาตรา 339 = ลักทรัพย์ + ทันใดนั้นจะใช้กำาลังประท่ษร้าย ซึ่งต้องแยกออกจากความผิดฐานลักทรัพย์ + ทำาร้ายร่างกาย) และปล้นทรัพย์ (มาตรา 340 = ชิงทรัพย์โดยมีตว ั การมากกว่า หรือเท่ากับ 3 คนขึ้นไป) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ฐานต่างๆ ข้างต้นต้องอ่านจนเข้าใจ และสามารถเปรียบ เทียบความผิดแต่ละฐานได้ แต่อย่างไรก็ตาม ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ท่กฐาน ความผิดต้องเข้าใจความผิดฐานลักทรัพย์ (มาตรา 334) เป็ นพื้นฐาน คำาแนะนำาในการตอบข้อสอบอัตนัยกฎหมายอาญา 2 1. ข้อสอบจะถามว่านาย…… กระทำาความผิดฐานใด ตอบฐานความผิดให้ชัดเจน อย่าตอบแบบเหวี่ยงแหหรือแสดงความไม่ม่ันใจในการตอบ เช่น ตอบว่านาย…. มี ความผิดฐานฉ้อโกง หรือผิดฐานยักยอกทรัพย์ อย่างนี้ จะไม่ได้คะแนน อย่าตั้งชื่อ ฐานความผิดขึ้นมาเอง ชื่อฐานความผิดที่ถูกต้องให้ดใู นเอกสารการสอน 2. การอ้างหลักกฎหมาย จะอ้างเป็ นข้อความตามที่ปรากฏใน ปอ. หรือจะแจกแจง องค์ประกอบภายนอกและองค์ประกอบภายใน (เจตนา เจตนาพิเศษ ประมาท) ก็ได้ ไม่ต้องระบ่โทษ และถ้าจำาเลขมาตราไม่ได้ ไม่ต้องใส่ลงไป ถ้าอ้างเลขมาตรา ผิด ก็จะเสียคะแนนอีก 3. บางครั้งการตอบข้อสอบ ก็ต้องอ้างความรู้ตามกฎหมายอาญา 1 ด้วย เช่น นาย….. ไม่มีความผิดฐาน…… เนื่ องจากผู้กระทำาไม่รู้องค์ประกอบภายนอกของ ความผิดฐาน……. จึงถือว่าไม่มีเจตนาตามมาตรา 59 วรรค 3 หรือผู้กระทำาความ ผิดกระทำาการไม่ตลอด หรือกระทำาการไปโดยตลอดแล้ว แต่การกระทำาไม่บรรล่ ผล ถือว่าเป็ นการพยายามกระทำาความผิด ต้องได้รับโทษ 2 ใน 3 ส่วนของความ ผิดที่ได้กระทำาลง ตามมาตรา 80 หรือในกรณีท่ีเป็ นการกระทำาโดยประมาท ก็ ควรอ้างด้วยว่าเป็ นการกระทำาโดยประมาทอย่างไรตามมาตรา 59 วรรค 4 เป็ นต้น 4. นอกจากมาตราที่เน้นให้ข้างต้นแล้ว ควรดูคำาพิพากษาฎีกาในเอกสารการสอ นมากๆ เพราะข้อสอบหลายๆครั้งนำามาจากคำาพิพากษาในเอกสารการสอนนั่นเอง
คำำตอบอำญำ 2 1.น.ส แดงมีอำชีพรับจ้ำงเลี้ยงเด็ก และมีเด็กอยู่ในควำมปกครอง 2 คน วัน
หนึ่ งขณะที่เด็กทั้ง 2 กำำลังนอนหลับ น.ส.แดงได้เสียบปลั๊กกำต้มนำ้ำเพื่อจะ ชงนมให้เด็ก จน น.ส.แดงลืมถอดปลั้กจนเป็ นเหตุให้เพลิงไหม้บ้ำนของ
น.ส.แดง แตู น.ส. แดงชูวยเด็กไว้ได้ทัน และเพลิงก็ยังจะไปลุมลำมไปบ้ำน ของผ้่อ่ ืน แตูดับได้ทัน
ดังนั้ น น.ส. แดงจะผิดอำญำฐำนใดหรือไมู 2.พูอของ น.ส.เอ พำ น.ส.เอ อำยุ 15 ปี ไปฉลองวันเกิดที่ร้ำนอำหำรแหูง
หนึ่ ง และก็มีนำยบีนักธุรกิจหนูุมซึ่งมีภรรยำแล้วมำรูวมงำนด้วย นำยบี พึง พอใจ น.ส.เอ น.ส.เอ ก็พึงพอใจ นำยบีเหมือนกัน วันตูอมำนำยบี จึงได้ โทรศัพท์ นั ดให้ น.ส เอ ให้ออกมำหำที่ร้ำนอำหำรแหูงหนึ่ ง โดยบอกกับ
น.ส.เอ ไว้วูำไมูต้องบอกพูอแมู แล้วนำยบี ก็พำ น.ส เอเข้ำโรงแรมและรูวม ประเวณี กัน โดย น.ส เอ ยินยอม
นำยบี จะมีควำมผิดอำญำฐำนใดหรือไมู
3. นำนพสุ เป็ นผ้่มีควำมสำมำรถในกำรพ่ดปลุกระดมมวลชน และได้แจ้ง
ขูำว/โฆษณำ แกูประชำชนทัว่ ไปวูำวันพรูุงนี้ จะอภิปรำยโจมตีกำรทำำงำนของ นำยไพรัชซึ่งเป็ นประธำนรัฐวิสำหกิจ วูำ ทุจริตตูอตูอหน้ำที่ ตกเย็นวันนั้ น
นำยพสุได้ขูมขู่ให้นำยไพรัชนำำเงินมำจูำยให้ตนเอง จำำนวน 50,000 บำท ถ้ำ
หำกไมูนำำมำให้จะอภิปรำยโจมตี ในวันรูุงขึ้น ซึ่งนำยไพรัชก็ตกลงยินยอมวูำ จะจูำยให้ พอวันรูุงขึ้น นำยไพรัฐจึงกลับใจไมูยอมจูำยให้ นำยพสุ
ดังนั้ น นำยพสุจะมีควำมผิดทำงอำญำฐำนใดหรือไมู อยูำงไร(ให้ตอบเฉพำะ ควำมผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ) ———————————— 1. ทำำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมำท 2.พรำกผ้่เยำว์ ม. 319 3.พยำยำมรีดทัพย์
41232 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด Criminal Law II : Offenses หน่วยที่ 1 ความผิดเกีย ่ วกับความมัน ่ คงแห่งราชอาณาจักร 1. พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัช ทายาท และผู้ สำา เร็จ ราชการแทนพระองค์ อ ยู่ ใ น ฐานะซึ่ ง มี ค วามสำา คั ญ ยิ่ ง ต่ อ ความมั่ น คงของประเทศชาติ กฎหมายจึ ง ต้ อ งให้ ค วาม ค้่มครองเป็ นพิเศษเหนือกว่าบ่คคลทั่วไป 2. รัฐมีความจำา เป็ นที่จะต้องบัญญัติเอาผิดแก่การกระทำาใดๆ อันเป็ นการค่กคามต่อ ความมั่นคงปลอด ภัยของรัฐ ไม่ว่าการค่กคามนั้นจะมาจากภายในประเทศ เช่น การกบฏ หรือมาจากภายนอกประเทศ เช่น การทำาให้เอกราชของรัฐสูญสิ้นหรือเสื่อมไป ทั้งนี้ ก็เพื่อ ค้่มครองสวัสดิภาพของรัฐเอง 3. กฎหมายจำา ต้อ งให้ ค วามค้่ม ครองเป็ นพิ เ ศษแก่ ป ระม่ ข ของรั ฐ ต่ า งประเทศ ซึ่ ง มี สั ม พั น ธไมตรี กั บ ไทยและแก่ ผู้ แ ทนรั ฐ ต่ า งประเทศที่ มาประจำา ในราชสำา นั ก เพื่ อให้ สัมพันธไมตรีกับมิตรประเทศดำาเนิ นไปโดยราบรื่น 1.1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาทและผู้สำาเร็จ ราชการแทนพระองค์ 1. ความผิ ดที่ กระทำา ต่อ ชีวิ ต ร่า งกาย เสรี ภ าพของพระมหากษัต ริ ย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์ กฎหมายเอาผิดตั้งแต่การกระทำาในขั้นตระ เตรียมการและถ้าพยายามกระทำาความผิดก็ลงโทษเท่ากับความผิดสำา เร็จ นอกจากนั้นผู้ สนับสน่นการกระทำาความผิดเช่นว่านั้น กฎหมายก็ลงโทษเท่าตัวการผู้ลงมือกระทำา 2. การหมิ่น ประมาท ดูห มิ่ น แสดงความอาฆาตมาดร้า ยพระมหากษัต ริ ย์ พระ ราชินี รัชทายาท และผ้ส ู ำาเร็จราชการแทนพระองค์ ก็เป็ นความผิด 3. พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์เป็ นผู้ ที่อยู่ในถานะอันมีความสำา คัญยิ่งต่อประเทศชาติ กฎหมายจึงให้ความค้่มครองเป็ นพิเศษ แตกต่างจากการให้ความค้ม ่ ครองบ่คคลทั่วไป
1.1.1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์
แดงและดำาคบคิดกันจะลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ จึงไปปรึกษาเขียวของ ยืมรถยนต์และอาว่ธปื นเพื่อ ใช้กระทำา ผิด จากนั้ นแดงและดำา ก็ขับรถไปจอดบริเวณวัดที่ ทราบว่าพระมหากษัตริย์จะเสด็จมาทรงประกอบพิธีกรรมทางศาสนา แต่แดงและดำา ถูก เจ้าหน้าที่จับก่มตัวเสียก่อนเช่นนี้ แดง ดำา และเขียว มีความผิดหรือไม่ การที่แดงและดำา คบคิ ดกันกระทำา ผิด และหาอาว่ธปื นมาไว้น้ั นเป็ นการเตรียม เพื่อปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ซึ่งมาตรา 107 วรรคท้ายบัญญัติเป็ นความผิด แดงและ ดำาจึงผิดฐานตระเตรียมเพื่อปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ สำาหรับเขียวซึ่งให้ยืมรถยนต์และอาว่ธปื นเพื่อกระทำาผิด การกระทำาของเขียวจึง เป็ นการช่วยเหลือในการที่แดงและดำากระทำาผิด เขียวเป็ นผู้สนับสน่นการตระเตรียมเพื่อ ปลงพระชนม์พระมหากษัต ริย์ ซึ่ งมาตรา 111 ผู้สนั บสน่นในกรณี น้ี ต้อ งระวางโทษเช่น เดียวกับตัวการ
1.1.2 ความผิดต่อพระราชินี รัชทายาท และผู้สำาเร็จราชการแทน พระองค์ ไก่ เป็ นผู้สำา เร็จราชการแทนพระองค์ ได้ไปหาซื้อของที่ศูนย์การค้า ขณะที่เดิน ซื้อของอยู่ ไก่เสียหลัก เซไปปะทะเป็ ดล้มลง เป็ ดโกรธและพูดตะคอกไก่ว่า ให้ระวังตัวให้ดี เดีย ๋ วจะเจ็บตัว นายตำา รวจซึ่งติดตามคอยให้ความอารักขาแก่ไก่ จึงจับก่มเป็ ด ในข้อหา แสดงความอาฆาตมาดร้ายผู้สำา เร็จราชการแทนพระองค์ เป็ ดมีความผิดตามที่กล่าวหา หรือไม่ คำา พูดของเป็ ดต่อไก่ท่ีว่า “ให้ระวังตัวให้ดี เดีย ๋ วจะเจ็บตัว” นั้นเป็ นการขู่เข็ญไก่ ด้วยประสงค์ร้ายว่าจะทำา อันตรายต่อร่างกายของไก่ ถือได้ว่าเป็ นการแสดงความอาฆาต มาดร้า ยต่อ ไก่ ซึ่งเป็ นผู้สำา เร็จราชการแทนพระองค์ ตามบทบัญ ญัติใ นมาตรา 112 แต่ เป็ ดจะมีความผิดหรือไม่ต้องพิจารณาจากเจตนาของเป็ ดอีกชั้นหนึ่ งกล่าวคือ (1) ถ้าเป็ ดรู้ว่าไก่ เป็ นผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์ เป็ ดก็ผิดตามมาตรา 112 (2) ถ้ า หากเป็ ดไม่ รู้ ว่ า ไก่ เป็ นผู้ สำา เร็ จ ราชการแทนพระองค์ เป็ ดไม่ ผิ ด ตาม มาตรา 112 แต่อาจมีความผิดตามมาตรา 392 และมาตรา 397 ซึ่งเป็ นความผิดลห่โทษ ประมวลกฎหมายอาญาให้ ค วามค้่ ม ครองต่ อ องค์ พ ระมหากษัต ริ ย์ พระราชิ นี รั ช ทายาท ผู้ สำา เร็ จ ราชการแทนพระองค์ แตกต่ า งจากให้ ค วามค้่ ม ครองบ่ ค คลทั่ ว ไป อย่างไร ประมวลกฎหมายอาญาให้ความค้่มครองแตกต่างกันดังนี้ (1) กำาหนดโทษไว้หนักกว่าความผิดอย่างเดียวกันกับที่กระทำาต่อบ่คคลทั่วไป (2) ในความผิดต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ถ้ากระทำาต่อพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำา เร็จราชการแทนพระองค์ แม้จะอยู่ใ นชั้นเตรียมการก็ผิด แต่ถ้า ตระ เตรียมกระทำาการต่อบ่คคลทั่วไปยังไม่เป็ นความผิด (3) การพยายามกระทำา ความผิ ด ในข้อ (2) ถ้ า กระทำา ต่ อ พระมหากษัต ริ ย์ พระ ราชินี รัชทายาท ผู้สำา เร็จราชการแทนพระองค์ กฎหมายลงโทษเท่า ความผิดสำา เร็จ แต่ ถ้าพยายามกระทำาต่อบ่คคลทั่วไป ลงโทษเพียงสองในสามของโทษสำาหรับความผิดนั้น (4) ผู้ ส นั บ สน่ น ความผิ ด ในข้ อ (2) ที่ ก ระทำา ต่ อ พระมหากษัต ริ ย์ ฯลฯ ต้ อ งโทษ เท่ากับตัวการผู้ลงมือกระทำา แต่ถ้าสนับสน่นความผิดที่กระทำาต่อบ่คคลทั่วไปคงต้องโทษ เพียงสองในสามของโทษสำาหรับความ ผิดนั้น (5) การแสดงความอาฆาตมาดร้ายต่อพระมหากษัตริย์น้ัน ฯลฯ เป็ นความผิด แต่ ถ้ากระทำาต่อบ่คคลทั่วไปไม่ผิด แต่อาจจะมีความผิดตามมาตรา 392 และมาตรา 397 1.2 ความผิดต่อความมัน ่ คงของรัฐภายในราชอาณาจักร
1. กบฏต้ อ งเป็ นการกระทำา เพื่ อเปลี่ ยนแปลงรั ฐ ธรรมนู ญ หรื อ ล้ ม อำา นาจ นิ ติบัญญัติ บริหารหรือ ต่ลาการ หรือแบ่งแยกราชอาณาจักร เป็ นต้น และแม้เพียงสมคบ กับเพื่อนเป็ นกบฏก็เป็ นความผิดแล้ว 2. การย่ยงหรือจัดให้มีการหย่ดงาน ปิ ดงาน หรือไม่ยอมค้าขาย กฎหมายเอาผิด ทั้งผู้ย่ยงหรือ ผู้จัดให้มีการกระทำา นั้ นๆ รวมทั้งผู้ท่ีเข้า ร่วมหรือ เข้า ช่วยการหย่ด งาน ปิ ด งาน หรือ ไม่ยอมค้าขาย และผู้ท่ีบังคับให้ผู้อ่ ืนเข้าร่วมหรือเข้าช่วยการหย่ดงาน ปิ ดงาน หรือไม่ยอมค้าขาย 3. การกระทำา ต่อธงหรือเครื่องหมายอันมีความหมายถึงประเทศไทย ด้วยความ ม่่งหมายจ่ดูถูกเหยียดหยามประเทศไทย กฎหมายถือเป็ นความผิด
1.2.1 ความผิดฐานเป็ นกบฏ
เก่งกับพวกลักพาตัวนายกรัฐมนตรีไปควบค่มไว้ และขู่ให้นายกรัฐมนตรีลาออก จากตำาแหน่ ง นายกรัฐมนตรีเป็ นหัวหน้ารัฐบาล ถ้านายกรัฐมนตรีลาออกจากตำาแหน่ ง รัฐบาล ช่ดนั้นก็ย่อมสิ้นส่ดลง ฉะนั้นการขู่ใ ห้นายกรัฐมนตรีลาออก จึงเป็ นการที่ม่งหมายจะล้ม ล้างรัฐบาลย่อมผิดฐานเป็ นกบฏ เก่งกับพวกถืออาว่ธสงครามครบมือบ่กเข้าไปในสภานิ ติบัญญัติ ขณะสมาชิกสภา กำาลังประช่มพิจารณาร่างกฎหมาย บังคับให้สมาชิกเลิกประช่ม แล้วค่มตัวไว้ สภานิ ติ บั ญ ญั ติ ย่ อ มเป็ นผู้ ใ ช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ต ามรั ฐ ธรรมนู ญ การบั ง คั บ ให้ สมาชิกสภานิ ติบัญญัติเลิกประช่มเป็ นการกระทำา ที่ทำา ให้สภานิ ติบัญญัติไม่อาจใช้อำา นาจ ได้ ผ้ก ู ระทำาผิดฐานเป็ นกบฏ เก่ ง กั บ พวกบั ง คั บ ให้ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ย่ บ สภาจั ง หวั ด และให้ มี ก าร เลือกตั้งใหม่ สภาจั ง หวั ด มิ ใ ช่ ผู้ ใ ช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ต ามรั ฐ ธรรมนูญ การขู่ บั ง คั บ ให้ ย่ บ สภา จังหวัด จึงมิใช่เป็ นการกระทำาที่ม่งล้มล้างอำานาจนิ ติบัญญัติไม่ผิดฐานเป็ นกบฏ เก่ ง กั บ พวกเข้ า ปิ ดล้ อ มศาลจั ง หวั ด น่ าน บั ง คั บ ให้ ศ าลดำา เนิ นการพิ จ ารณา พิพากษาคดี และกักตัวผู้พิพากษาท่กคนไว้ ศาลจังหวัดน่ านเป็ นเพียงหน่ วยงานหนึ่ งของอำานาจต่ลาการ การบังคับมิให้ศาล จังหวัดน่ านพิจารณาพิพากษาคดี มิใช่เป็ นการล้ม ล้า งหรือทำา ให้ใช้อำา นาจต่ลาการไม่ได้ เพราะเป็ นการกระทำาต่อศาลใดศาลหนึ่ งโดยเฉพาะ ไม่ผิดฐานเป็ นกบฏ
มาตรา 113 เมื่อผู้ใดใช้กำาลังประท่ษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประท่ษร้ายเพื่อ (1) ล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ (2) ล้มล้างอำานาจนิ ติบัญญัติ อำานาจบริหาร หรืออำานาจต่ลาการแห่งรัฐธรรมนูญหรือให้ ใช้อำานาจดังกล่าวแล้วไม่ได้ หรือ (3) แบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำานาจปกครองในส่วนหนึ่ งส่วนใดแห่งราชอาณาจักร ผู้น้ันกระทำาความผิดฐานเป็ นกบฏ ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต 1.2.2 ยุยงทหารหรือตำารวจใหูหนี ราชการ
ฟ้ า เป็ นพลตำา รวจ ชัก ชวนตำา รวจด้ ว ยกั น ทำา การเรี ย กร้อ งเป็ นหนั ง สื อ ต่ อ กรม ตำารวจให้จัดสวัสดิการที่อยู่อาศัยให้ เมื่อถูกปฏิเสธ ฟ้ าชักชวนให้พลตำารวจหย่ดปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ ให้วินิจฉัยการกระทำาของฟ้ า ว่ามีความผิดหรือไม่ การที่ฟ้า ชักชวนพลตำา รวจทำา หนังสือ เรียกร้องด้า นสวัสดิการนั้ น ฟ้ าไม่มีความ ผิด ทางอาญา เพราะเป็ นการกระทำา ไปโดยสงบ มิใ ช่ ย่ ใ ห้ พ ลตำา รวจกำา เริ บ แต่ เ มื่ อกรม ตำารวจปฏิเสธแล้ว ฟ้ ากับชักชวนพลตำารวจให้หย่ดปฏิบัติหน้าที่ฟ้าย่อมมีความผิดฐานย่ให้ ตำารวจไม่กระทำาตามหน้าที่ มาตรา 115 ผู้ ใ ดย่ ย งทหารหรื อ ตำา รวจให้ ห นี ร าชการ ให้ ล ะเลย ไม่ ก ระทำา การตาม หน้าที่ หรือให้ก่อการกำาเริบ ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินห้าปี ถ้ าความผิ ด นั้ น ได้ กระทำา ลงโดยม่่ งหมายจะบ่ อ นให้ วินั ย และสมรรถภาพของกรมกอง ทหารหรือตำารวจเสื่อมทรามลง ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี 1.2.3 กระทำาใหูปรากฏแก่ประชาชนเพื่อใหูล่วงละเมิดกฎหมาย
แดงทำา ใบปลิวซึ่งมีข้อความส่งเสริม สนั บสน่นลัทธิคอมมิวนิ สต์ว่า เป็ นลัทธิการ ปกครองที่ถูกต้องย่ติธรรมและวิจารณ์รัฐบาลว่าใช้กฎหมายป้ องกันและปราบปรามการก ระทำา อั น เป็ นคอมมิ ว นิ ส ต์ ไ ปในทางกดขี่ ข่ ม เหงประชาชนผู้ บ ริ ส่ ท ธิ ์ และเรี ย กร้ อ งให้ ประชาชนใช้กำาลังบีบบังคับรัฐบาลให้ยกเลิกกฎหมายดังกล่าว แล้วแดงนำาใบปลิวนั้นแจก จ่ายแก่ประชาชนทั่วไป การกระทำาของแดงเป็ นความผิดหรือไม่ การกระทำา ของแดงเป็ นการกระทำา ให้ปรากฏแก่ประชาชนด้วยหนังสือ โดยม่่ง หมายจะให้มีการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายของแผ่นดิน เนื่ องจากเรียกร้องให้ประชาชนใช้ กำาลังบีบบังคับให้รัฐบาลยกเลิกกฎหมาย จึงมีความผิดตามมาตรา 116 มาตรา 116 ผู้ใดกระทำาให้ปรากฏแก่ประชาชนด้วยวาจา หนังสือ หรือวิธีอ่ ืนใดอันมิใช่ เป็ นการกระทำาภายในความม่่งหมายแห่งรัฐธรรมนูญ หรือมิใช่เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือติชมโดย ส่จริต (1) เพื่ อให้ เกิ ดการเปลี่ย นแปลงในกฎหมายแผ่ น ดิ น หรื อ รั ฐบาล โดยใช้ กำา ลั งข่ ม ขื นใจ หรือใช้กำาลังประท่ษร้าย
(2) เพื่ อให้ เกิ ด ความปั่ นป่ วน หรื อ กระด้ างกระเดื่ องในหมู่ ป ระชาชน ถึ ง ขนาดที่ จ ะก่ อ ความไม่สงบขึ้นในราชอาณาจักร หรือ (3) เพื่อให้ประชาชนล่วงละเมิดกฎหมายแผ่นดิน ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี 1.2.4 ยุยงหรือจัดใหูเกิดการหยุดงาน ปิดงาน ไม่ยอมคูาขาย
สหภาพแรงงานกรรมกรในโรงงานทอผ้าไม่พอใจรัฐบาลที่อน่ญาตให้มีการสั่งผ้า จากต่างประเทศเข้ามาจำาหน่ ายได้อย่างเสรี เพราะทำาให้โรงงานทอผ้าหลายแห่งต้องเลิก กิจการไป สหภาพฯ จึงให้กรรมกรช่มน่มประท้วงรัฐบาล ให้รัฐบาลยกเลิกการอน่ญาตสั่ง ผ้า เข้า มาจากต่า งประเทศ แต่ กรรมกรโรงงานทอผ้า ของขาวไม่ยอมหย่ ดงานไปช่ม น่ม ประท้วงด้วย ขาวจึงขู่ว่าจะเลิกจ้างผู้ท่ีไม่ไปร่วมประท้วง ขาวมีความผิดหรือไม่ การช่มน่มประท้วงของ สหภาพฯ มีความม่่งหมายในอันที่จะบีบบังคับรัฐบาลให้ ยกเลิกคำา สั่งอน่ญาตให้ส่ังผ้าจากต่างประเทศ ขาวย่อมทราบถึงความม่่งหมายนี้ ของ สห ภาพฯ การที่ขาวขู่จะเลิกจ้างกรรมกรในโรงงานของตนที่ไม่ยอมหย่ดงานไปประท้วงร่วม กับ สหภาพฯ เป็ นการทำา ให้กรรมกรหวาดกลัว โดยม่่งจะให้กรรมกรเข้าร่วมในการหย่ด งานประท้วงด้วย ขาวผิดตามมาตรา 117 วรรคท้าย มาตรา 117 ผู้ ใ ดย่ ย งหรือ จั ด ให้ เ กิ ด การร่ ว มกั น หย่ ด งาน การร่ ว ม กั น ปิ ดงานงดจ้ า ง หรือการร่วมกันไม่ยอมค้าขายหรือติดต่อทางธ่รกิจ กับบ่คคลใด ๆ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน กฎหมายแผ่นดิน เพื่อ บังคับรัฐบาลหรือเพื่อข่มขู่ประชาชน ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี หรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ใดทราบความม่่งหมายดังกล่าวและเข้ามีส่วนหรือเข้าช่วยในการ ร่วมกันหย่ดงาน การ ร่วมกันปิ ดงานงดจ้างหรือการร่วมกันไม่ยอมค้า ขายหรือติดต่อทางธ่รกิจกับบ่ คคลใด ๆ นั้ น ต้อง ระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ ใ ดทราบความม่่ ง หมายดั ง กล่ า ว และใช้ กำา ลั ง ประท่ ษ ร้ า ย ขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะใช้ กำา ลั ง ประท่ษร้ายหรือทำาให้หวาดกลัวด้วยประการใด ๆ เพื่อ ให้บ่คคลเข้ามีส่วนหรือเข้าช่วยในการร่วม กั น หย่ ด งาน การร่ ว มกั น ปิ ดงานงดจ้ า งหรื อ การร่ ว มกั น ไม่ ย อมค้ า ขายหรื อ ติ ด ต่ อ ทางธ่ ร กิ จ กั บ บ่คคลใด ๆ นั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 1.2.5 กระทำาต่อธงหรือเครื่องหมายแห่งรัฐ
ดำา เข้า ไปปั สสาวะในที่ มื ด โดยไม่ ท ราบว่ า ที่ ต รงนั้ น มี ธ งไตรรงค์ เ ก็ บ อยู่ ดำา จึ ง ปั สสาวะรดธงไตรรงค์ พอดียามรักษาการณ์มาพบเข้าจึงจับก่มดำาส่งตำารวจ ดำาจะมีความ ผิดหรือไม่ ไม่ ผิ ด เพราะไม่ รู้ ว่ า ตั ว เองปั สสาวะรดธงไตรรงค์ จึ ง ขาดเจตนาในการกระ ทำาความผิด 1.3 ความผิดต่อความมัน ่ คงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
1. การกระทำา ใดๆ ซึ่ ง จะเป็ นอั น ตรายต่ อ ความมั่ น คงปลอดภั ย ของประเทศจาก ภายนอก ได้แก่การกระทำาให้เอกราชของประเทศเสื่อมไป ทำา การเพื่อประโยชน์ของต่าง ประเทศ ทำา การรบต่อ ประเทศ อ่ปการะแก่ข้า ศึ ก กระทำา ให้ไ ด้ม าซึ่ งความลั บ ให้ผู้อ่ ืนรู้ ความลับ ทำา แก่เอกสารอันเกี่ยวกับส่วนได้ส่วนเสียของรัฐ ทำา การที่ได้รับมอบหมายโดย ท่จริต ทำาให้เกิดเหต่ร้ายจากภายนอก กฎหมายถือว่าเป็ นความผิดอาญา 2. การกระทำา ดั งกล่า วแม้จ ะอยู่เ พีย งขั้ นตระเตรียม หรือ พยายามกระทำา กฎหมาย ลงโทษเท่าความผิดสำาเร็จ และผู้สนับสน่นก็ลงโทษเท่าตัวการ 1.3.1 กระทำาเพื่อใหูเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป
รัฐ บาลไทยยอมรั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางทหารจากต่ า งประเทศ และยิ น ยอมให้ ประเทศดั ง กล่ า วตั้ ง ฐานทั พ ในประเทศไทยได้ โดยตกลงว่ า ถ้ า ทหารของประเทศนั้ น กระทำา ความผิดใดๆ ในประเทศไทยก็ไม่ต้องขึ้นศาลไทย ให้วินิจฉัยว่า คณะรัฐมนตรีต้อง รับผิดทางอาญาในการกระทำานี้ หรือไม่ การกระทำา ในกรณี น้ี เ ป็ นการกระทำา ของรั ฐ มิใ ช่ ข องบ่ ค คลใดบ่ ค คลหนึ่ ง เป็ น เรื่องที่รัฐยินยอมรับความช่วยเหลือและยอมรับข้อผูกพันโดยใจสมัครเอง แม้ข้อผูกพันนั้น จะทำา ให้ศาลไม่มีอำานาจพิจารณาพิพากษาคดีท่ีทหารต่างชาติกระทำา ผิดก็ตาม แต่เมื่อรัฐ ยินยอมเช่นนั้ น ไม่ถือ ว่า เป็ นการกระทำา ให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป คณะรัฐมนตรีซึ่ง เป็ นผู้บริหารประเทศไม่มีความผิดทางอาญาแต่ประการใด มาตรา 119 ในกรณี ผิ ด สั ญ ญาประกั น ต่ อ ศาล ศาลมี อำา นาจสั่ ง บั ง คั บ ตามสั ญ ญา ประกันหรือตามที่ศาลเห็นสมควรโดยมิต้องฟ้อง เมื่อ ศาลสั่ งประการใดแล้ว ฝ่ ายที่ถูกบังคั บตาม สัญญาประกันหรือ พนักงานอัยการมีอำานาจอ่ทธรณ์ได้ คำาวินิจฉัยของศาลอ่ทธรณ์ให้ เป็ นที่ส่ด"
1.3.2 คบคิดกับบุคคลซึง ่ กระทำาการเพื่อประโยชน์ของรัฐต่างประเทศ
หว่า คนญวนอพยพอยู่ท่ีจังหวัดสกลนคร ปรึกษาหารือกับเจ้าหน้าที่สถานทูตของ ตนเรื่องไทยจะส่งคนญวนอพยพกลับประเทศเวียดนาม โดยเสนอความเห็นว่า เวียดนาม ควรต่อต้านการกระทำา ของไทย อย่ายอมรับพวกตนกลับประเทศ หว่า จะมีความผิดหรือ ไม่ การที่ หว่า ปรึกษาหารือกับเจ้าหน้าที่สถานทูตเวียดนามให้ต่อต้านการที่ไทยจะ ส่ งคนญวนอพยพกลั บประเทศนั้ นเป็ นการกระทำา ที่ม่ง จะให้ เ กิ ด การดำา เนิ น การอั น เป็ น ปฏิปักษ์ต่อประเทศไทย แม้หว่าจะเป็ นคนญวนหว่าก็มีความผิดตามมาตรา 120 เพราะผู้ ที่หว่าปรึกษาหารือนั้นคือเจ้าหน้าที่ทูตเวียดนาม ซึ่งเป็ นผู้ท่ีต้องกระทำาการเพื่อประโยชน์ แก่ประเทศเวียดนามอยู่แล้ว มาตรา 120 ผู้ใดคบคิดกับบ่คคล ซึ่งกระทำาการเพื่อ ประโยชน์ ของรัฐต่างประเทศ ด้วย ความประสงค์ท่ีจะก่อให้เกิดการดำา เนิ น การรบต่ อรั ฐ หรื อทางอื่นที่เป็ นปรปั กษ์ต่อรั ฐ ต้ องระวาง โทษจำาค่กตลอดชีวิต หรือ จำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึงยี่สิบปี 1.3.3 คนไทยทำาการรบต่อประเทศ
กบเกิดที่จังหวัดอ่บลราชธานี พ่อแม่ของกบเป็ นชาวเวียดนามซึ่งอพยพมาตั้งหลัก แหล่งอยู่ใ นประเทศไทย กบได้เ ข้า ร่วมกับกองกำา ลังทหารต่า งชาติท่ีต้ังประชิดชายแดน ไทยด้านตะวันตก แต่ไม่มีการสู้รบกับฝ่ ายไทยแต่อย่างใด และประเทศที่กบเข้าร่วมนั้นก็ ไม่มีสงครามกับไทย วันหนึ่ งกบนำา นายทหารกล่่ม หนึ่ งร่กลำ้าเข้า มาในดินแดนไทย และ เกิดปะทะกับกองกำาลังตำารวจตระเวนชายแดน ซึ่งพยายามผลักดันกองกำาลังดังกล่าวออก จากเขตไทย กบถูกจับเป็ นเชลย กบมีความผิดฐานทำาการรบต่อประเทศหรือไม่ แม้กบจะเป็ นคนไทย เพราะมีสัญชาติไทยเนื่ องจากเกิดในประเทศไทย แต่ขณะที่ กบปะทะกับตำารวจนั้นประเทศไทยมิได้ทำาการสู้รบกับประเทศใดจึงไม่ถือว่ากบได้ทำาการสู้ รบกับประเทศไทย กบไม่ผิดฐาน ทำาการรบต่อประเทศแต่อาจมีความผิดฐานพยายามฆ่า เจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่ ตามมาตรา 289 มาตรา 121 คนไทยคนใดกระทำาการรบต่อประเทศ หรือเข้าร่วมเป็ นข้าศึกของประเทศ ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต 1.3.4 อุปการะแก่การรบของขูาศึก
แดงเป็ นคนไทย ทำา หน้า ที่ เ ป็ นโฆษกให้ แ ก่ พ รรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แ ห่ ง ประเทศไทย แดงอ่านบทความทางวิทย่กระจายเสียงโจมตีรัฐบาลไทยไปในทางเสียหายเป็ นประจำา ต่อ มาแดงถูกจับก่มตัวและถูกฟ้ องในข้อหากระทำาการเพื่ออ่ปการะแก่การรบหรือตระเตรียม การรบของข้าศึกตามมาตรา 122 แดงผิดตามที่ถูกกล่าวหาหรือไม่ แม้พ รรคคอมมิ วนิ สต์ แห่ งประเทศไทยจะทำา การต่อ สู้กั บรั ฐ บาลไทยด้ ว ยกำา ลั ง อาว่ธก็ตาม แต่พรรคคอมมิวนิ สต์มิได้เป็ นกระเทศคู่สงครามกับประเทศไทย การกระทำา ของแดงแม้จะเป็ นการอ่ปการะในการรบ แต่มิใช่อ่ปการะแก่ข้าศึกของประเทศ แดงไม่ผิด ตามมาตรา 122 มาตรา 122 ผู้ ใ ดกระทำา การใด ๆ เพื่ ออ่ ป การะแก่ ก ารดำา เนิ น การรบหรื อ การตระ เตรียมการรบของข้าศึก ต้องระวางโทษจำาค่ก ตั้งแต่ห้าปี ถึงสิบห้าปี ถ้าการอ่ปการะนั้นเป็ นการ (1) ทำาให้ป้อม ค่าย สนามบิน ยานรบ ยานพาหนะ ทางคมนาคม สิ่งที่ใช้ในการสื่อสาร ย่ทธภัณฑ์ เสบียงอาหาร อู่เรืออาคาร หรือสิ่ง อื่นใดสำาหรับใช้เพื่อการสงครามใช้การไม่ได้หรือตก ไปอยู่ในเงื้อมมือ ของข้าศึก (2) ย่ยงทหารให้ละเลยไม่กระทำาการตามหน้าที่ ก่อการกำาเริบ หนี ราชการหรือละเมิด วินัย (3) กระทำาจารกรรม นำาหรือแนะทางให้ข้าศึก หรือ (4) กระทำาโดยประการอื่นใดให้ข้าศึกได้เปรียบในการรบ ผู้กระทำา ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต 1.3.5 กระทำาใหูไดูมาซึง ่ ความลับ
จอห์นเป็ นนักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกันเดินทางมาทำาข่าวในประเทศไทย จอห์นอ ยากทราบแผนป้ องกันประเทศด้านตะวันออกของไทยในกรณี ท่ีมีข้าศึกร่กราน เพื่อนำา ไป เขียนบทความในหนังสือพิมพ์ จอห์นจึงติดต่อขอซื้อสำาเนาของแผนที่น้ันจากข้าราชการผู้ หนึ่ งแต่ถูกปฏิเสธ จอห์นมีความผิดแล้วหรือไม่ แผนป้ องกันประเทศนั้นย่อมเป็ นเอกสารที่ต้องปกปิ ดเป็ นความลับ เฉพาะเกี่ยว กั บความปลอดภัย ของประเทศ การที่ จอห์น ติด สิน บนข้ า ราชการให้เ อาแผนที่ น้ั น มาให้ เป็ นการกระทำา เพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสารปกปิ ดไว้เป็ นความลับสำา หรับความปลอดภัยของ
ประเทศตามมาตรา 123 แม้จอห์นจะมิใช่คนไทย และกระทำาเพียงแต่พูดขอซื้อยังไม่ได้สิ่ง ที่ต้อ งการก็ตาม จอห์นมีความผิดตามมาตรานี้ แล้ว เพราะมาตรานี้ ผู้กระทำา จะเป็ นใคร ก็ได้ และจะได้มาซึ่งความลับนั้นหรือไม่ ก็ไม่สำาคัญ มาตรา 123 ผู้ ใ ดกระทำา การใด ๆ เพื่ อให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ข้ อ ความ เอกสารหรื อ สิ่ ง ใด ๆ อั น ปกปิ ดไว้เป็ นความลับสำาหรับความปลอดภัย ของประเทศ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี 1.3.6 กระทำาใหูผู้อ่ ืนล่วงรู้หรือไดูไปซึง ่ ความลับ
ร.อ. ขาว ไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดของกองทัพภาคที่ 4 ที่ใช้กำา ลังทหารเข้า ปราบปรามผู้ก่อการ ร้ายคอมมิวนิ สต์ ร.อ. ขาวจึงเอาแผนปฏิบัติการย่ทธโจมตีค่ายใหญ่ ของผู้ก่อการร้ายม้วนส่งทางไปรษณี ย์ ไปยังหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ ง ให้วินิจฉัยการกระทำา ของ ร.อ. ขาว ในกรณีน้ี แผนปฏิบัติการย่ทธของกองทัพภาคที่ 4 ย่อมเป็ นเอกสารลับอันเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของประเทศ การที่ ร.อ. ขาวส่งแผนนั้นไปยังหนังสือพิมพ์ จึงเป็ นการกระทำาเพื่อ ให้ผู้อ่ น ื รู้ความลับ แม้ยังไม่มผ ี ู้ใดจะได้รู้ถึงแผนนั้น ร.อ. ขาวก็ผิดตามมาตรา 124 มาตรา 124 ผู้ใดกระทำาการใด ๆ เพื่อให้ผู้อ่ ืนล่วงรู้หรือได้ไป ซึ่งข้อความ เอกสารหรือ สิ่งใด ๆ อันปกปิ ดไว้เป็ นความลับสำาหรับ ความปลอดภัยของประเทศต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่เกิน สิบปี ถ้าความผิดนั้ นได้กระทำาในระหว่างประเทศอยู่ในการรบหรือการสงครามผู้กระทำา ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงสิบห้าปี ถ้าความผิดดังกล่าวมาในสองวรรคก่อน ได้กระทำาเพื่อให้รัฐต่างประเทศได้รับประโยชน์ ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือ จำาค่กตลอดชีวิต 1.3.7 กระทำาแก่เอกสารอันเกีย ่ วกับส่วนไดูเสียของรัฐ
เขียวไม่พอใจการดำา เนิ นนโยบายต่า งประเทศของรัฐบาลไทย ที่นำา ประเทศไป ผูกพันกับสหรัฐ อเมริกามากเกินไป จึงเขียนบทความลงหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ งวิจารณ์การ ดำา เนิ นนโยบายต่างประเทศของรัฐบาล และตอนหนึ่ งของบทความกล่า วว่า รัฐบาลไทย และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ตกลงให้สหรัฐอเมริกามาตั้งฐานพักที่อู่ตะเภาได้อีก โดยอ้าง ว่าข้อมูลนี้ ได้มาจากเอกสารของกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศจึง แจ้งความต่อตำารวจให้ดำาเนิ นคดีกับเขียวในข้อหาปลอมเอกสารอันเกี่ยวกับส่วนได้เสียของ รัฐในการระหว่างประเทศให้วินิจฉัยมูลกรณีน้ี เอกสารที่เขียวทำาขึ้น คือ บทความที่เขียนไปลงหนังสือพิมพ์เป็ นบทความที่เขียว เขียนขึ้นเอง เป็ นบทความของเขียว มิได้ทำาให้ผู้อ่ น ื หลงเชื่อว่าเป็ นเอกสารของผู้อ่ ืน จึงมิใช่ การปลอมเอกสาร ส่วนที่อ้างว่าเอาข้อมูลมาจากเอกสารของกระทรวงการต่างประเทศ ก็ มิใช่ปลอมเอกสารขึ้น อาจจะเป็ นเพียงการเขียนเพื่อให้อ่านดูแล้วน่ าเชื่อถือเท่านั้น เขียว ไม่มีความผิดตามที่ถูกกล่าวหา มาตรา 125 ผู้ ใ ดปลอม ทำา เที ย มขึ้ น กั ก ไว้ ซ่ อ นเร้ น ปิ ดบั ง ยั ก ย้ า ย ทำา ให้ เ สี ย หาย ทำาลาย หรือทำาให้สูญหายหรือไร้ประโยชน์ ซึ่งเอกสารหรือแบบใด ๆ อันเกี่ยวกับส่วนได้เสียของรัฐ ในการ ระหว่างประเทศต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี 1.3.8 กระทำากิจการทีไ ่ ดูรับมอบหมายโดยทุจริต
เสือเป็ นข้าราชการกระทรวงพาณิ ชย์ รัฐบาลมอบหมายให้ไปเจรจาขายนำ้าตาล ทรายให้แก่รัฐบาลไนจีเรียในราคาตันละ 500 เหรียญสหรัฐ ขณะเดียวกันประเทศผู้ผลิต นำ้าตาลทรายอื่นก็ส่งตัวแทนไปเจรจาขายนำ้าตาลทรายให้แก่ไนจีเรียเหมือนกัน จึงต้องมี การแข่งขันในการเสนอขายนำ้าตาลทรายแก่ไนจีเรีย เสือตัดสินใจเสนอขายในราคาตันละ 450 เหรียญสหรัฐ ส่วนประเทศอื่นๆ เสนอขายในราคาตันละกว่า 500 เหรียญสหรัฐ ทั้ง สิ้น ไนจีเ รียจึงตกลงซื้อ นำ้ าตาลทรายของไทย ซึ่ง ความจริ งหากเสือ เสนอขายในราคาที่ รัฐบาลกำาหนดให้ไป ไนจีเรียก็คงซื้อเพราะเป็ นราคาตำ่าส่ด เสือจึงถูกกล่าวหาว่า ไม่ปฏิบัติ การตามที่ได้รับมอบหมายโดยท่จริต อันเป็ นความผิดตามมาตรา 126 เสือจะมีความผิด หรือไม่ ไม่ผิดเพราะเสือมิได้กระทำาโดยท่จริต การที่เสือเสนอขายนำ้าตาลทรายแก่รัฐบาล ไนจีเรียในราคาตันละ 450 เหรียญสหรัฐ แม้จะปฏิบัติไม่ตรงตามที่รัฐบาลกำาหนด ซึง ่ ก็ไม่ เป็ นการปฏิบัติตามที่ได้รับมอบหมายอย่างหนึ่ งเหมือนกัน แต่เสือกระทำาไปโดยส่จริตเพื่อ ให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ มาตรา 126 ผู้ ใ ดได้ รับ มอบหมายจากรั ฐ บาลให้ ก ระทำา กิ จ การของรั ฐ กั บ รั ฐ บาลต่ า ง ประเทศ ถ้าและโดยท่จริตไม่ปฏิบัติการตาม ที่ได้รับมอบหมาย ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึง สิบปี
1.3.9 กระทำาใหูเกิดเหตุรา ู ยแก่ประเทศจากภายนอก
นกประสงค์จะให้ธนาคารโลกระงับการให้กู้ยืม เงินแก่ รัฐ บาลไทยนำา มาพั ฒนา แหล่ ง นำ้ าในภาคอี ส าน จึ ง เขี ย นจดหมายถึ ง ประธานกรรมการธนาคารโลกอ้ า งว่ า โครงการพั ฒ นาแหล่ ง นำ้ าเป็ นโครงการที่ ไ ม่ เ หมาะสมและมี ค วามเสี่ ย งสู ง มาก เพราะ เวี ย ดนามอาจจะบ่ ก ประเทศไทยเมื่ อไรก็ ไ ด้ ธนาคารจึ ง ควรระงั บ การให้ เ งิ น กู้ สำา หรั บ โครงการดังกล่าวเสีย นกมีความผิดหรือไม่ นกกระทำา โดยม่่ ง จะให้ ธ นาคารโลกระงั บ การให้ กู้ เ งิ น แก่ ป ระเทศไทย การที่ ธนาคารโลกระงับการให้กู้ยืมเงิน ย่อมทำาให้เกิดเหต่ร้ายในทางเศรษฐกิจของประเทศขึ้น ได้ และเหต่ร้ายนี้ มาจากภายนอกประเทศ นกมีความผิดตามมาตรา 127 มาตรา 127 ผู้ ใ ดกระทำา การใด ๆ เพื่ อให้ เ กิ ด เหต่ ร้ ายแก่ ป ระเทศ จากภายนอก ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี ถ้าเหต่ร้ายเกิดขึ้น ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิตหรือ จำาค่กตลอดชีวิต หรือจำาค่ก ตั้งแต่สองปี ถึงยี่สิบปี 1.3.10 ตระเตรียม พยายามกระทำาและเป็ นผู้สนับสนุน
แดงต้องการได้แผนป้ องกันประเทศของกองทัพไทย เพื่อนำาไปขายแก่นักข่าวต่าง ประเทศ แดงจึงไปขอยืมกล้องถ่ายรูปจากดำาโดยบอกความประสงค์ให้ดำา รู้ว่า จะนำา ไปใช้ ถ่ายแผนป้ องกันประเทศของกองทัพไทยและบอกว่าเมื่องานเสร็จแล้วก็จะเอากล้องมาคืน และแบ่งรายได้ให้ด้วย ดำาจึงให้แดงยืมกล้องถ่ายรูปและให้ฟิล์มไปด้วย 1 ม้วน แดงกับดำา มีความผิดอย่างไรบ้าง การกระทำาของแดงที่ไปยืมกล้องถ่ายรูปของดำามา ถือว่าเป็ นการเตรียมการกระ ทำาเพื่อให้ได้มาซึ่งความลับอันปกปิ ดไว้สำาหรับความปลอดภัยของประเทศ การตระเตรียม การในกรณี น้ี ถื อ เป็ นการกระทำา ที่ ร้ า ย แรงเพราะเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ของรั ฐ เอง กฎหมายจึงลงโทษผู้กระทำาเท่าความผิดสำาเร็จ ตามมาตรา 128 สำาหรับดำาที่ให้แดงยืมกล้องถ่ายรูปเพื่อไปถ่ายเอกสารลับดังกล่าว ถือว่าเป็ นการ ช่วยเหลือในการกระทำาความผิดของแดง ดำาจึงเป็ นผู้สนับสน่น ซึ่งการสนับสน่นในกรณีน้ี กฎหมายลงโทษเท่ากับตัวการ ตามมาตรา 129
มาตรา 129 ผู้ใดเป็ นผู้สนั บสน่นในการกระทำา ความผิดใด ๆ ใน หมวดนี้ ต้องระวางโทษ เช่นเดียวกับตัวการในความผิดนั้น 1.4 ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ
1. กฎหมายอาญาให้ความค้่มครองเป็ นพิเศษแก่กษัตริย์ ราชินี ราชสามี รัชทายาท และประม่ข ของรัฐต่า งประเทศ การประท่ษร้า ยต่อ ชี วิต ร่า งกาย เสรีภ าพของบ่ คคลดั ง กล่าว กฎหมายลงโทษหนักกว่าปกติ 2. กฎหมายอาญาให้ความค้่ม ครองเกียรติยศ ชื่อ เสียงของกษัตริย์ ราชินี ราชสามี รัชทายาท และประม่ขของรัฐต่างประเทศไว้เป็ นพิเศษเช่นกัน และจะลงโทษผู้กระทำา การ ดูหมิ่น หมิ่นประมาทบ่คคลดังกล่าวหนักกว่าปกติ 3. ธงหรือเครื่องหมายแห่งรัฐต่างประเทศซึ่งมีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทย ได้ รั บความค้่ม ครองจากกฎหมายไทย การกระทำา ใดๆ ต่อ ธงหรือ เครื่องหมายแห่ ง รั ฐ เพื่ อ เหยียดหยามรัฐนั้น กฎหมายถือเป็ นความผิด 1.4.1 ประทุษรูายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพของประมุขหรือผู้แทนรัฐต่าง ประเทศ การฆ่าคือ การทำาให้บ่คคลอื่นซึ่งมีชีวิตอยู่ถึงแก่ความตายไม่ว่าจะกระทำาด้วย ประการใดๆ เช่น ยิง ตี ฟั น แทง วางยาพิษ เป็ นต้น และความตายต้องเป็ นผลที่เกิดขึ้น จากการกระทำานั้น ส่วนการพยายามฆ่า คือ ลงมือกระทำาแล้วแต่กระทำาไปไม่ตลอด หรือ กระทำาไปตลอดแล้วแต่การกระทำาไม่บรรล่ผล คือบ่คคลที่ถูกฆ่าไม่ตายเพราะเหต่ใดๆก็ แล้วแต่ตามหลักในมาตรา 80
มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระทำาความผิดแต่กระทำาไปไม่ตลอด หรือกระทำาไปตลอดแล้วแต่ การกระทำานั้นไม่บรรล่ผล ผู้น้ันพยายาม กระทำาความผิด ผู้ ใ ดพยายามกระทำา ความผิ ด ผู้น้ั น ต้ อ งระวางโทษสองในสามส่ ว นของโทษที่ กฎหมาย กำาหนดไว้สำาหรับความผิดนั้น
แดงคิดจะลอบสังหารผู้นำาของประเทศใดประเทศหนึ่ ง เพื่อให้ตนเองมีช่ ือตกเป็ น ข่ า วไปทั่ ว โลก แดงทราบว่ า ประธานาธิ บ ดี ป ระเทศสิ ง คโปร์ เ ดิ น ทางมาพั ก ผ่ อ นใน ประเทศไทย และพั ก ที่ โ รงแรงแห่ ง หนึ่ ง แดงจึ ง เอาปื นพกเหน็ บ ไว้ ท่ี ส ะเอว แล้ ว ไปที่
โรงแรมแห่งนั้น เพื่อหาโอกาสยิงประธานาธิบดี แต่แดงมีพิร่ธทำาให้เจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยสงสัย จึงจับและค้นตัวแดงพบอาว่ธปื นดังกล่าว แดงมีความผิดหรือไม่ การกระทำา ของแดงยังอยู่ในขั้นเตรียมการเท่า นั้น แดงยังมิได้ลงมือ กระทำา การ แต่อย่างใด การเตรียมสังหารประม่ขแห่งรัฐต่างประเทศกฎหมายมิได้บัญญัติว่าเป็ นความ ผิด ฉะนั้ น แดงจึงไม่มีความผิด แต่อาจผิดฐานพกพาอาว่ธปื นหรือมีอาว่ธปื นไว้ใ นครอบ ครองโดยไม่ได้รับอน่ญาต มาตรา 130 ผู้ใดทำาร้ายร่างกายหรือประท่ษร้ายต่อเสรีภาพของ ราชาธิบดี ราชินี ราช สามี รัชทายาทหรือประม่ขแห่งรัฐต่างประเทศ ซึ่งมีสัมพันธไมตรี ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบห้าปี ผู้ใดพยายามกระทำาการเช่นว่านั้น ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน มาตรา 131 ผ้ใู ดทำาร้ายร่างกาย หรือประท่ษร้ายต่อเสรีภาพของ ผู้แทนรัฐต่างประเทศ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มาสู่พระราชสำานักต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสิบปี ผู้ใดพยายามกระทำาการเช่นว่านั้น ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน มาตรา 132 ผู้ใ ดฆ่ าหรื อ พยายามฆ่ าบ่ คคลหนึ่ งบ่ คคลใด ดั งระบ่ ไว้ ใน มาตรา 130 หรือ มาตรา 131 ต้องระวางโทษประหารชีวิตหรือ จำาค่กตลอดชีวิต 1.4.2 หมิน ่ ประมาท ด้หมิน ่ ประมุขหรือผู้แทนรัฐต่างประเทศ
ศรีเ ขียนบทความลงหนั งสือ พิม พ์วิ พากษ์วิ จารณ์รัฐ บาลประเทศหนึ่ ง และตอน หนึ่ ง กล่ า วว่ า สม อ่ ป ทู ต ต่ า งประเทศของประเทศนั้ น ซึ่ ง ประจำา ประเทศไทยเป็ นกุ่ ย จง วินิจฉัยการกระทำาของศรี การกล่าวว่าบ่คคลใดบ่คคลหนึ่ งเป็ นกุ่ย ย่อมเป็ นการดูถูกเหยียดหยามผู้น้ัน จึง เป็ นการดูหมิ่นผู้อ่ ืน สมเป็ นอ่ปทูตต่างประเทศซึ่งประจำา ประเทศไทย สมจึงเป็ นผู้แทนรัฐ ต่างประเทศที่ได้รับแต่งตั้งให้มาประจำาพระราชสำานัก การกระทำาของศรีจึงผิดฐานดูหมิ่น ผู้แทนรัฐต่างประเทศตามมาตรา 134 มาตรา 134 ผู้ใ ดหมิ่ นประมาท ดู ห มิ่ นหรื อ แสดงความอาฆาต มาดร้ ายผู้ แ ทนรั ฐต่ าง ประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มาสู่พระราชสำานัก ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปี หรือปรับ ตั้งแต่หนึ่ งพัน บาท ถึงหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 1.4.3 กระทำาต่อธงหรือเครื่องหมายแห่งรัฐต่างประเทศ
ศรชอบธงชาติ ข องอั ง กฤษเพราะรู้ สึ ก ว่ า สี สั น สวยงาม จึ ง จ้ า งช่ า งทำา ธงชาติ อังกฤษผืนหนึ่ ง แล้วศรนำาธงนั้นไปขึงไว้ในห้องนำ้าเป็ นเครื่องประดับ ศรมีความผิดหรือไม่ การที่ศรเอาธงชาติอังกฤษไปขึงในห้องนำ้า แต่ศรก็ทำา ด้วยความม่่งหมายให้เป็ น เครื่อ งประดั บเพราะศรชอบสีสั นของธงชาติ มิ ไ ด้ มี ค วามม่่ ง หมายเหยี ย ดหยามประเทศ อังกฤษ ศรไม่มีความผิด มาตรา 135 ผู้ใดกระทำา การใด ๆ ต่อธงหรือเครื่องหมายอื่นใด อันมีความหมายถึ งรั ฐ ต่างประเทศซึ่งมีสัมพันธไมตรี เพื่อเหยียดหยาม รัฐนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสองปี หรือปรับ ไม่เกินสี่พันบาท
แบบประเมินผลตนเอง หน่วยที่ 1
1. การกระทำาความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรได้แก่ หาซื้อปื นมาเก็บไว้เพื่อ ใช้ยิงพระมหากษัตริย์ 2. การกระทำาที่ยังไม่เป็ นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรได้แก่ พกพาอาว่ธ ปื นเพื่อจะยิงนายกรัฐมนตรี 3. การตระเตรียมที่มีโทษเท่ากับความผิดสำาเร็จได้แก่ ตระเตรียมการทำาร้ายร่างกายผู้สำาเร็จ ราชการแทนพระองค์ 4. กบฏเป็ นการกระทำาด้วยมูลเหต่ชัดจูง เพื่อแบ่งแยกราชอาณาจักร 5. การกล่าวปราศรัยต่อสาธารณะชนทั่วไป ผู้ปราศรัยอาจมีความผิดในกรณี เมื่อพูดโดยมี ความประสงค์ท่ีจะให้ประชาชนฝ่ าฝื นกฎหมาย 6. การชักชวนให้ผู้อ่ ืนร่วมกันหย่ดงาน หรือร่วมกันปิ ดงานงดจ้าง ผู้กระทำาการชักชวนอาจมี ความผิดได้ถ้ากระทำาเพื่อความม่่งหมายในการบีบบังคับรัฐบาล 7. การกระทำาใดๆแก่ธงชาติ ผู้กระทำามีความผิดเมื่อมีเหต่จูงใจ เพื่อการเหยียดหยามประเทศ 8. ระหว่างไทยประกาศสงครามกับประเทศหนึ่ ง การกระทำา ที่ไม่ถือว่าเป็ นการอ่ปการะแก่ ข้าศึกของประเทศได้ แ ก่ เข้าร่ ว มกั บพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แ ห่ งประเทศไทยทำา การสู้ รบแก่ ฝ่ ายบ้ าน เมือง
9. บ่คคลที่ไม่ได้รับความค้่มครองเป็ นพิเศษจากกฎหมายอาญาของไทยได้แก่ นายกรัฐมนตรี ของประเทศสิงค์โปร์ (พระสวามีของกษัตริย์แห่งต่างประเทศ จักรพรรดิแห่งญี่ป่่น ประธานาธิบดี ของอินโดนี เชีย และพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย ได้รับความค้่มครองเป็ นพิเศษ) 10. บ่คคลในคณะทู ต ที่ม าประจำา ราชสำา นั ก ซึ่ง ได้รั บ ความค้่ ม ครองเป็ นพิเ ศษ จากกฎหมาย อาญาของไทยได้แก่ อ่ปทูต (ทูตวัฒนธรรม ทูตพาณิชย์ ทูตทหาร และกงส่ล ไม่ได้รับการค้่มครอง) 11. ผู้ กระทำา มี ความผิด เกี่ ยวกับ ความมั่ นคงแห่ งราชอาณาจัก รได้ แ ก่ แดงกั บดำา ยื มปื นของ เพื่อนมาเตรียมไว้เพื่อกระทำาการปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ 12. การกระทำา ที่ แ ดงจะมี ค วามผิ ด ฐานเป็ นกบฏได้ แ ก่ การที่ แ ดงใช้ ปื นจี้ บั ง คั บ ให้ น ายก รัฐมนตรีลาออกจากตำาแหน่ งเพราะต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ 13. การพูดในที่ประช่ม ซึ่งผู้พูดไม่ต้องรับผิดทางอาญาได้แก่กรณี ชักชวนมิให้ประชาชนเลิก ให้ความร่วมมือกับตำารวจในการปราบปรามอาชญากรรม 14. แดงชั ก ชวนเพื่ อนกรรมกรนั ด หย่ ด งานเพื่ อความประสงค์ ให้ รั ฐ บาลปลดปล่ อ ยผู้ นำา กรรมกรที่ถูกตำารวจจับก่มตัว จะมีความผิด 15. ดำา แดง เขียว ขาว ไม่พอใจนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทย ดำา เอาไปเผาไฟ แดง ปัสสาวะรด เขียวกระทืบ ขาวฉีกทิ้ง การกระทำาทั้งหมดท่กคนมีความผิด
หน่วยที่ 2 ความผิดเกีย ่ วกับการปกครอง 1. เจ้าพนักงานเป็ นบ่คคลที่มีความสำา คัญยิ่งต่อการบริหารงานของรัฐ รัฐจึงต้อ งให้ ความค้ม ่ ครองแก่เจ้าพนักงานไว้เป็ นพิเศษ โดยบัญญัติลงโทษผู้ท่ีดูหมิ่น ต่อสู้ขัดขวางหรือ ให้สินบนแก่เจ้าพนักงาน 2. โดยที่เจ้าหน้าที่น้ันกฎหมายให้อำานาจในอันที่จะปฏิบัติการตามหน้าที่ รัฐจึงจำาเป็ น ต้องควบค่ม การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน มิให้ใช้อำานาจไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร โดย บัญญัติลงโทษเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่โดยท่จริตหรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ 2.1 ความผิดต่อเจูาพนักงาน 1. ในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย เจ้าพนักงานย่อมได้รับความค้่มครองเป็ นพิเศษ จากการกระทำาของบ่คคลอื่น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การดู หมิ่ น การแจ้ ง ความเท็ จ การต่ อ สู้ ขั ด ขวาง หรื อ การข่ ม ขื น ใจเจ้ า พนั ก งาน ย่ อ มมี ความผิด 2. ในกรณี ท่ีเจ้าพนักงานได้ทำา การรักษาตรา เครื่องหมาย ทรัพย์สิน หรือเอกสารใด เพื่ อประโยชน์ข องราชการ หากผู้ ใ ดกระทำา ให้ สิ่ ง ของดั ง กล่ า ว เสี ย หายหรื อ สู ญ หาย ทำาลายลงผู้กระทำาย่อมมีความผิด 3. การให้สินบนแก่เจ้าพนักงานให้กระทำา การหรือไม่กระทำา การในหน้าที่ซึ่งเป็ นค่ณ หรือเป็ นโทษแก่บ่คคลใดๆ ผ้ก ู ระทำาย่อมมีความผิด 4. การแสดงตนหรือการกระทำา เป็ นเจ้าพนักงานโดยตนเองไม่ได้เป็ นเจ้าพนักงานผู้มี อำานาจกระทำาการนั้น กฎหมายถือเป็ นความผิด 2.1.1 ความผิดทีก ่ ระทำาต่อเจูาพนักงาน
แดงเสพส่ราเมามายจนครองสติไม่ได้ เดินโซเซไปตามถนน ส.ต.ต. ดำามาพบเข้า จึงจับก่มแดง แต่แดงกลับพูดกับ ส.ต.ต. ดำาว่า “ค่ณแกล้งจับผม” แดงผิดหรือไม่ คำา กล่ า วของแดงในลั ก ษณะเช่ น นี้ ถื อ ว่ า เป็ นการดู ห มิ่ น เจ้ า พนั ก งานซึ่ ง ปฏิ บั ติ หน้าที่ แดงผิดตามมาตรา 136 ดำา เป็ นปลัดอำา เภอ ถูกสอบสวนทางวินัยข้อหารับสินบนโดยมีดีนายอำา เภอเป็ น ประธานกรรมการสอบสวน แดงไปให้ ก ารต่ อ คณะกรรมการสอบสวนว่ า ได้ ท ราบจาก ราษฎรหลายคนว่า ถูกดำาเรียกเอาเงินเวลามาติดต่อราชการ แต่แดงไม่ยืนยันว่าเรื่องนี้ จะ เท็จหรือจริง แดงผิดฐานแจ้งความเท็จหรือไม่ แดงไม่ ทราบว่า ข้อ ความที่ใ ห้ การต่อ คณะกรรมการสอบสวนเป็ นความเท็ จ จึ ง ขาดเจตนาในการทำาความผิด ตำา รวจสื บ ทราบว่ า ดำา กั บ พวกรั ก รอบเล่ น การพนั น อยู่ ท่ี บ้ า นหลั ง หนึ่ ง จึ ง ไป ทำา การจั บ ก่ ม ขณะตำา รวจเข้ า จั บ ก่ ม ดำา กั บ พวกนั้ น ดำา รี บ ดั บ ไฟฟ้ าเพราะกลั ว จะถู ก จั บ ทำา ให้บ้า นมืดไม่สะดวกแก่ตำา รวจในการจับก่ม และพวกของดำา บางคนก็ สามารถอาศั ย
ความมืดหลบหนี การจับก่มไปได้ แต่ดำา หนี ไม่พ้น ถูกตำา รวจตั้งข้อหาว่า ต่อสู้ขัดขวางเจ้า พนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ จงวินิจฉัยกรณีน้ี ดำา ดับไฟเพราะกลัวถูกจับ เป็ นกระทำา เพียงเพื่อให้ตนเองสามารถหลบหนี ก าร จับก่มของตำา รวจได้ฉะนั้น เจตนาในการกระทำา ของดำา จึงมิใช่เจตาที่จะต่อ สู้ขัดขวางเจ้า พนักงาน เมื่อดำาไม่มีเจตนาเช่นนี้ ก็ยังไม่ผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ความผิดฐานต่อส้ข ู ัดขวางเจ้าพนักงานตามมาตรา 138 กับความผิดฐานข่มขืน ใจ เจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ตามมาตรา 139 นั้น มีความแตกต่างกัน อย่างไร ความผิดในสองมาตรานี้มีความแตกต่างที่สำาคัญคือมาตรา 138 เป็ นการต่อสู้ขัด ขวางเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่โดยชอบด้วยกฎหมาย แต่มาตรา 139 เป็ นการ บังคับข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการ ตามหน้าที่ เช่นตำารวจจะจับก่มผู้รา ้ ยตามหน้าที่ แต่มีผม ู้ าดึงแขนตำารวจไว้ เป็ นเหต่ให้ คนร้ายหนี ไปได้ เป็ นการขัดขวางเจ้าพนักงานตามมาตรา 138 วรรค 2 แต่ถ้าทำาร้ายและ ขู่บังคับไม่ให้ตำารวจจับ แม้ตำารวจจะไม่กลัว และจับผู้รา ้ ยได้ ก็เป็ นพยายามกระทำาความ ผิดตามมาตรา 139 มาตรา 136 ผู้ใดดูหมิ่นเจ้าพนักงานซึ่งกระทำาการตามหน้าที่หรือ เพราะได้กระทำาการ ตามหน้าที่ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 137 ผู้ ใ ดแจ้ ง ข้ อ ความอั น เป็ นเท็ จ แก่ เ จ้ า พนั ก งานซึ่ ง อาจ ทำา ให้ ผู้ อ่ ื นหรื อ ประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้ง ปรับ มาตรา 138 ผู้ ใ ดต่ อ สู้ ห รื อ ขั ด ขวางเจ้ า พนั ก งานหรื อ ผู้ ซึ่ ง ต้ อ งช่ ว ยเจ้ า พนั ก งานตาม กฎหมาย ในการปฏิบัติ การตามหน้าที่ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพัน บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าการต่ อ สู้ ห รื อ ขั ดขวางนั้ น ได้ กระทำา โดยใช้ กำา ลั งประท่ ษร้ า ยหรื อ ขู่ เ ข็ ญ ว่ าจะใช้ กำา ลั ง ประท่ษร้าย ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกิน สองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 139 ผู้ใดข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้น การปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้ กำาลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประท่ษร้าย ต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินแปดพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.1.2 ความผิดทีก ่ ระทำาต่อตา เครื่องหมาย ทรัพย์สิน หรือเอกสารอัน เจูาพนักงานไดูทำาหรือรักษาไวู เจ้าพนักงานป่ าไม้ประทับตราเลขประจำาต้นไม้เพื่อแสดงให้ผู้รับสัมปทานทำาป่ า ไม้ทราบว่า ได้อน่ญาตให้ตัดฟั นต้นไม้น้ันได้ แก้วไม่ตอ ้ งการให้ผู้รับสัมปทานตัดไม้ตน ้ นั้น จึงใช้ขวานถากตราที่ประทับไว้น้ันออกเสีย แก้วจะมีความผิดฐานทำาลายตราที่เจ้า พนักงานประทับไว้ในการปฏิบัติการตามหน้าที่หรือไม่ ตราเลขประจำาต้นไม้ท่ีเจ้าพนักงานป่ าไม้ประทับไว้น้ันเป็ นตราประทับเพื่อรักษา ต้นไม้น้ันไว้ เพื่อให้ผู้รับสัมปทานตัดได้ การทำาลายตรานั้น จึงเป็ นความผิดตามมาตรา 141 แก้วใช้ปืนยิงฟ้ าตาย ตำารวจจับแก้วและสั่งให้สิงเก็บปื นของกลางไว้ แต่สิงกับเอา ปื นนั้นไปวางทิ้งไว้หน้าบ้านซึ่งมีคนเดินผ่านไปมา ทำาให้ปืนหายไป สิงจะมีความผิดหรือไม่ ปื นนั้นเป็ นปื นของกลางที่จะต้องใช้เป็ นพยานหลักฐานในคดีอาญา และเจ้า พนักงานสั่งให้สิงรักษาไว้ การที่สิงเอาปื นไปวางทิ้งไว้หน้าบ้านทำาให้ปืนของกลางหายไป ย่อมเป็ นความผิดตามมาตรา 142
มาตรา 141 ผู้ ใ ดถอน ทำา ให้ เ สี ย หาย ทำา ลายหรื อ ทำา ให้ ไ ร้ ป ระโยชน์ ซึ่ ง ตราหรื อ เครื่องหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับหรือหมายไว้ท่ีสิ่งใด ๆ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเป็ น หลักฐานในการยึดอายัด หรือรักษาสิ่งนั้ น ๆ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน สี่ พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ จำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 142 ผู้ ใ ดทำา ให้ เ สี ย หายทำา ลาย ซ่ อ นเร้ น เอาไปเสี ย หรื อ ทำา ให้ สู ญ หายหรื อ ไร้ ประโยชน์ซึ่งทรั พย์ สิน หรื อเอกสารใดๆอั นเจ้ าพนั กงานได้ยึ ดรั กษาไว้ หรื อ สั่ งให้ ส่ งเพื่ อเป็ นพยาน หลักฐานหรือเพื่อบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ไม่ว่าเจ้าพนักงานจะรักษา ทรัพย์ หรือเอกสาร นั้นไว้เองหรือสั่งให้ผู้น้ันหรือผู้อ่ ืนส่งหรือรักษาไว้ก็ตามต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่ เกินหกพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.1.3 การแสดงตนเป็ นเจูาพนักงาน
แก้วถูกจับก่มในข้อหาปล้นทรัพย์ ดำา จึงไปพบเขียวบิดาของแก้วบอกว่าตนสนิ ท สนมกั บ ภรรยาของนายอำา เภอสามารถจะวิ่ ง เต้ น กั บ ภรรยาของนายอำา เภอ ให้ พู ด กั บ
พนักงานสอบสวนเพื่อ ล้ม คดีได้และเรียกเงินจากนายเขียว 10,000 บาท เป็ นค่าวิ่งเต้น ดำามีความผิดฐานเรียกทรัพย์สินเพื่อจูงใจเจ้าพนักงานหรือไม่ ไม่ผิดเพราะผู้ท่ีจะถูกจูงใจนั้นมิใช่เจ้าพนักงาน แดงให้สินบนกับเจ้าหน้าที่สหประชาชาติ ซึง ่ ประจำาอยู่ท่ีศูนย์อพยพชาวเวียดนาม จังหวัดสงขลา เพื่อให้ส่ังซื้ออาหารของแดงในราคาแพง แดงจะมีความผิดฐานให้สินบน เจ้าพนักงานหรือไม่ เจ้าพนักงานนั้ นจะต้อ งเป็ นเจ้า พนั กงานที่รัฐบาลไทยแต่งตั้งให้ไปปฏิบัติหน้า ที่ ราชการของรัฐบาลไทย เจ้า หน้า ที่สหประชาชาติประจำา ศูนย์ อ พยพจึง มิใ ช่เ จ้า พนั กงาน แดงไม่ผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงาน จ่ า สิ บ ตำา รวจขาว จั บ ก่ ม เขี ย วขณะกำา ลั ง ขายเฮโรอี น ส่ ง ให้ พ นั ก งานสอบสวน ดำาเนิ นการสอบสวนแล้วบิดาของเขียวจึงไปพบจ่าสิบตำารวจขาวขอปล่อยตัวเขียวโดยจะให้ เงินจำานวนหนึ่ ง บิดาของนายเขียวจะมีความผิดฐานให้สินบนหรือไม่ จ่าสิบตำารวจขาวจับก่มเขียวส่งให้เจ้าพนักงานสอบสวนไปแล้ว การจะดำาเนิ นการ สอบสวนหรือจัดการอย่างใดต่อ ไปกับเขียวเป็ นอำา นาจหน้าที่ของพนั กงานสอบสวน มิใช่ อำานาจหน้าที่ของจ่าสิบตำารวจขาวแล้ว บิดาของเขียวจึงไม่ผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงาน มาตรา 144 ผู้ใดให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใดแก่เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภา จังหวัดหรือสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อจูงใจให้กระทำาการ ไม่กระทำา การ หรือ ประวิงการกระทำา อั นมิ ชอบด้ วยหน้าที่ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิ นห้ าปี หรื อ ปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.1.4 การแสดงตนเป็ นเจูาพนักงาน
แสนบอกส้มว่าเป็ นตำารวจ ขอค้นบ้านของส้มแล้วแสนก็เข้าไปในบ้านของส้มเอา ปื นขู่ส้ ม บั งคั บให้ส่ งทรัพ ย์ใ ห้ เมื่อ ได้ ทรั พย์ แล้ ว แสนก็ หลบหนี ไ ป แสนจะมีค วามผิ ด ฐาน แสดงตนเป็ นเจ้าพนักงานหรือไม่ ไม่ผิด เพราะแสนยังไม่ได้กระทำาการเป็ นเจ้าพนักงานด้วย
มาตรา 146 ผู้ใดไม่มีสิทธิท่ีจะสวมเครื่องแบบหรือประดับเครื่อง หมายของเจ้าพนักงาน สมาชิ กสภานิ ติ บัญ ญั ติแ ห่ ง รั ฐ สมาชิ ก สภาจั งหวั ด หรื อ สมาชิ กสภาเทศบาล หรื อ ไม่ มี สิ ทธิ ใ ช้ ย ศ ตำาแหน่ ง เครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือสิ่งที่หมายถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์ กระทำาการเช่นนั้นเพื่อให้ บ่คคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพั บาทหรือทั้งจำา ทั้งปรับ
2.2 ความผิดต่อตำาแหน่งหนูาทีร ่ าชการทีก ่ ระทำาโดยทุจริต 1. เจ้าพนักงานจะต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนด้วยความซื่อสัตย์ส่จริต และย่ติธรรม หาก เบียดบังเอาทรัพย์ท่ีตนได้มาหรือถือไว้เพื่อจัดการตามหน้าที่ กฎหมายถือเป็ นความผิด 2. ในกรณี ท่ีเ จ้า พนั กงานใช้อำา นาจในตำา แหน่ งโดยมิช อบข่ม ขื นใจ หรือ จู งใจเพื่อให้ บ่ ค คลอื่ นมอบให้ ห รื อ หามาให้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ อ่ ื นใดแก่ ต นเองหรื อ ผู้ อ่ ื น กฎหมายถือเป็ นความผิดแม้ยังมิได้มอบทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนแก่กันก็เป็ นความผิด สำาเร็จแล้ว 3. เจ้าพนักงานเรียกรับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์อ่ ืนใดสำา หรับตนเอง หรือผ้อ ู ่ ืนโดยมิชอบ เพื่อกระทำาการหรือไม่กระทำาการอย่างใดในตำาแหน่ งของตนไม่วา ่ การ นั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ย่อมมีความผิดแม้ยังมิได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนดัง กล่าว กฎหมายก็ถือเป็ นความผิดสำาเร็จแล้ว 4. ในบางกรณี ความผิดสำา เร็จเมื่อผู้น้ันได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงาน และได้กระทำา การหรือไม่กระทำาการในตำาแหน่ งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนใดซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนจะได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงานในตำาแหน่ งนั้น 5. เจ้าพนักงานผู้ใดที่อาศัยตำา แหน่ งหน้าที่ท่ีตนมีเกี่ยวกับทรัพย์อันใดอันหนึ่ ง หาผล ประโยชน์อ่ ืนนอกเหนือจากการเอาทรัพย์น้ัน ย่อมมีความผิด 6. เจ้ า พนั ก งานผู้ ใ ดมี ห น้ า ที่ จั ด การหรื อ ดู แ ลกิ จ การใด หากได้ เ ข้ า มี ส่ ว นได้ เ สี ย ประโยชน์ สำาหรับตนเองหรือผู้อ่ ืนเนื่ องด้วยกิจการนั้น ย่อมมีความผิด 7. เจ้ า พนั ก งานซึ่ ง มี ห น้ า ที่ จ่ า ยทรั พ ย์ ถ้ า ได้ จ่ า ยทรั พ ย์ น้ั น เกิ น กว่ า ที่ ค วรจ่ า ยเพื่ อ ประโยชน์ของตนเองหรือผู้อ่ น ื กฎหมายถือเป็ นความผิด 8. เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เรียกเก็บ หรือตรวจสอบภาษีอากร ค่าธรรมเนี ยมหรือเงิน อื่นใด รวมทั้งเจ้าพนักงานที่ไม่มีหน้าที่ดังกล่าว แต่ได้แสดงตนว่ามีหน้าที่เช่นว่านั้น หาก ไม่เรียกเก็บเพื่อไม่ให้ผู้เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมต้องเสีย หรือเรียกเก็บน้อยไปกว่า ที่เขาพึงจะต้องเสีย ย่อมมีความผิด
9. เจ้า พนั กงานผู้มีห น้า ที่กำา หนดราคาทรัพย์สินหรือ สินค้า เพื่อเรียกเก็บภาษีอ ากร หรื อ ค่ า ธรรมเนี ย มตามกฎหมาย ถ้ า ได้ ก ระทำา เพื่ อให้ ผู้ มี ห น้ า ที่ เ สี ย ภาษี อ ากรหรื อ ค่ า ธรรมเนี ยมนั้นไม่ต้องเสียหรือเสียน้อยไปกว่าที่พึงจะต้องเสีย ย่อมมีความผิด 10. เจ้าพนักงานผ้ม ู ีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย หากได้กระทำาการใดเพื่อไม่ให้ มีการเสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมหรือเสียน้อยไปกว่าที่จะต้องเสียย่อมมีความผิด 11. เจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติห รือ ละเว้นการปฏิบัติหน้า ที่ข องตนโดยมิชอบ เพื่อ ให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใด หรือโดยท่จริต ย่อมมีความผิด 2.2.1 เจูาพนักงานยักยอก
แดงรับราชการในตำา แหน่ งผู้ช่วยพยาบาล ดำา เป็ นลูกจ้างรายวัน ทำา งานในโรง พยาบาลเดียวกัน แดงมีหน้าที่จำาหน่ ายยาแก่คนไข้ ดำามีหน้าที่เก็บรักษาเงินค่าจำาหน่ ายไว้ เพื่อ ส่งให้แก่เจ้าหน้าที่การเงินด้วย แดงและดำา ขายยาได้เงินทั้งสิ้น 30,000 บาท แต่ได้ ร่วมกันทำาสำาเนาใบเสร็จรับเงินว่าขายได้เงิน 20,000 บาท และนำาเงินจำานวนนี้ ส่งแก่เจ้า หน้าที่การเงิน ส่วนเงินค่าขายยาอีก 10,000 บาท แดงและดำาแบ่งกันคนละครึ่ง แดงและ ดำามีความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกหรือไม่ แดงรับราชการในตำา แหน่ งผู้ช่วยพยาบาลจึงเป็ นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย แต่ แดงไม่ มี ห น้ า ที่ เ ก็ บ รั ก ษาเงิ น จึ ง ไม่ ผิ ด ตามาตรา 147 เพราะความผิ ด ตามมาตรานี้ ผู้ กระทำา ความผิดต้อ งมีห น้า ที่จัดการหรือ รักษาเงินนั้ น เมื่อ ไม่มีหน้า ที่เช่นนี้ ก็ไม่ผิด (แต่ แดงผิดฐานยักยอกตามมาตรา 352)
มาตรา 147 ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ซื้อ ทำา จัดการ หรือ รักษาทรัพย์ใด เบียดบัง ทรัพย์น้ั นเป็ นของตน หรือเป็ นของผู้อ่ ืนโดยท่จริต หรือโดยท่จริตยอมให้ผู้อ่ ืนเอาทรัพย์สินนั้ นเสีย ต้องระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสี่หมื่น บาท มาตรา 352 ผ้ใู ดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็ นของผู้อ่ ืน หรือซึ่งผู้อ่ ืน เป็ นเจ้าของรวมอยู่ดว ้ ย เบียดบังเอาทรัพย์น้ันเป็ นของตนหรือบ่คคล ที่สามโดยท่จริต ผู้น้ันกระทำาความผิดฐานยักยอก ต้อง ระวางโทษ จำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าทรัพย์น้ันได้ตกมาอยู่ในความครอบครองของผู้กระทำาความผิด เพราะผู้อ่ ืนส่งมอบให้ โดยสำา คัญ ผิ ด ไปด้ ว ยประการใดหรื อ เป็ นทรั พ ย์ สิ น หายซึ่ ง ผู้ กระทำา ความผิ ด เก็ บได้ ผู้ ก ระทำา ต้ อ ง ระวางโทษแต่เพียงกึ่งหนึ่ ง 2.2.2 ใชูอำานาจในตำาแหน่งข่มขืนใจเอาทรัพย์
ดำา ผู้ใหญ่บ้านและแก้วกับเขียว ราษฎร แกล้งจับแดงหาว่าลักโค และพูดว่าถ้า ไม่อยากรำาบากก็หาเงินมาให้ 500 บาท จะปล่อยตัวไป แดงปฏิเสธและไม่ยอมให้เงินตาม ที่ถูกเรียก ดังนี้ ดำา แก้ว เขียว จะมีความผิดหรือไม่ ดำา ผิด ฐานเจ้าพนักงานใช้อำานาจในตำาแหน่ งโดยมิชอบ ตามมาตรา 148 เพราะ เป็ นการแกล้งจับ โดยไม่ปรากฏว่า ได้มีการกระทำา ผิด แม้แดงจะไม่ยอมให้เงินตามที่ถูก เรียกเก็บก็เป็ นความผิดสำาเร็จแล้ว แม้แก้วกับเขียวจะร่วมกับดำา แกล้งจับแดง แต่แก้วและเขียวเป็ นราษฎรจึงไม่อาจ เป็ นตัวการร่ว มกระทำา ผิด ตามมาตรา 148 ได้ แก้วและเขีย วจึ งผิ ดฐานเป็ นผู้ส นั บ สน่ น ตามมาตรา 86
มาตรา 148 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อำานาจในตำา แหน่ งโดย มิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจ เพื่ อให้บ่ ค คลใดมอบให้ ห รื อ หามาให้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์อ่ ื นใดแก่ ต นเองหรื อ ผู้ อ่ ื น ต้ อ ง ระวางโทษ จำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสี่หมื่น บาท หรือประหารชีวิต มาตรา 86 ผู้ใดกระทำาด้วยประการใด ๆ อันเป็ นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกใน การที่ผู้อ่ ืนกระทำาความผิด ก่อนหรือขณะกระทำาความผิด แม้ผู้กระทำาความผิดจะมิได้รู้ถึงการช่วย เหลือหรือให้ความสะดวกนั้ นก็ตาม ผู้น้ัน เป็ นผู้สนั บสน่นการกระทำาความผิด ต้องระวางโทษสอง ในสามส่วนของโทษที่กำาหนดไว้สำาหรับความผิดที่ สนับสน่นนั้น 2.2.3 เรียก รับ หรือยอมจะรับสินบน
ความผิดตามมาตรา 148 และมาตรา 149 มีขอ ้ แตกต่างกันอย่างไร มาตรา 148 เป็ นเรื่องเริ่มต้นด้วยการใช้อำา นาจในตำา แหน่ งโดยมิชอบก่อน แล้ว เรียกทรัพย์ เช่น ผ้ถ ู ูกจับมิได้กระทำาผิด แต่แกล้งจับเขา แล้วเรียกทรัพย์สินหรือประโยชน์ มาตรา 149 เป็ นเรื่องของการใช้อำานาจในตำาแหน่ งโดยชอบ แล้วเรียกเอาทรัพย์ เช่น ผู้ถูกจับเป็ นผู้กระทำาผิดจริง และผู้จับก็จับตามอำานาจหน้าที่โดยชอบแล้วเรียกทรัพย์ หรือประโยชน์เพื่อปล่อยตัว
มาตรา 148 จำา กั ด เฉพาะการเรี ย กทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ ส่ ว นมาตรา 149 รวมถึงการรับหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ด้วย
มาตรา 149 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนั กงาน สมาชิ กสภานิ ติบัญ ญัติแ ห่ งรั ฐ สมาชิ กสภาจั งหวั ด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับหรือยอมจะ รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ ืนใดสำาหรับตนเองหรือ ผู้อ่ ืนโดยมิชอบ หรือกระทำาการหรือไม่กระทำาการอย่างใด ในตำาแหน่ งไม่ว่าการนั้ น จะชอบหรือมิ ชอบด้วยหน้าที่ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำา ค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สอง พันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือ ประหารชีวิต 2.2.4 เรียกสินบนก่อนรับตำาแหน่ง
นายดาบตำารวจแดงสอบได้เลื่อนยศตำารวจเป็ นชั้นสัญญาบัตร แต่ยังไม่ได้รับการ แต่งตั้ง ได้เรียกเงินจากขาวโดยพูดว่า เมื่อตนได้รับการแต่งตั้งเป็ นพนักงานสอบสวนแล้ว ตนจะช่วยเหลือขาวในเรื่องคดี ขาวจึงมอบเงินจำานวนหนึ่ งให้ไป ต่อมานายดาบตำารวจแดง ได้รับการแต่งตั้งเป็ นพนักงานสอบสวน และได้กระทำา ตามที่พูด ถามว่า ร.ต.ต. แดง (ยศ ใหม่) มีความผิดหรือไม่ อย่างไร ร.ต.ต. แดง เป็ นเจ้าพนักงานซึ่งมีอำานาจในการสอบสวน ได้เรียกเงินจากขาวไว้ ก่อนที่ตนจะได้รับแต่งตั้งเป็ นพนักงานสอบสวน เพื่อจะช่วยเหลือขาวในเรื่องคดี ความผิด ย่ อ มเกิ ด ขึ้ น สำา เร็ จ แล้ ว เมื่ อได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ มี อำา นาจสอบสวนและได้ ก ระทำา การหรื อ ไม่ กระทำา การในตำา แหน่ ง เพื่อช่วยเหลือให้ขาวไม่ต้องถูกดำา เนิ นคดี ร.ต.ต. แดง จึงมีความ ผิดตามมาตรา 150 มาตรา 150 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนั กงาน กระทำา การหรือไม่กระทำา การ อย่ างใดในตำา แหน่ ง โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนใดซึ่งตน ได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้ง เป็ นเจ้าพนั กงาน ในตำา แหน่ งนั้ น ต้ องระวางโทษจำา ค่ กตั้ งแต่ ห้ าปี ถึ งยี่ สิ บ ปี หรื อ จำา ค่ ก ตลอดชีวิ ต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 2.2.5 ใชูอำานาจในตำาแหน่งโดยทุจริต
ความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกตามมาตรา 147 แตกต่างจากความผิดฐานเจ้า พนักงานใช้อำานาจในตำาแหน่ งโดยท่จริต ตามมาตรา 151 อย่างไร ความผิ ด ตามมาตรา 147 เป็ นการเบี ยดบัง เอาตั ว ทรั พ ย์ ท่ี ซ้ ื อ ทำา จั ด การหรือ รักษานั้นเป็ นของตนเองหรือของผู้อ่ ืน ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือยักยอกทรัพย์ในหน้าที่ นั่นเอง ความผิดตามมาตรา 151 มิใ ช่เรื่อ งยักยอกหรือเบียดบังตัวทรัพ ย์ใ นหน้า ที่ของ ตน หากเป็ นการอาศัยตำาแหน่ งหน้าที่ท่ีตนมีเกี่ยวกับทรัพย์อันใดอันหนึ่ ง หาประโยชน์อ่ ืน นอกเหนือจากการเอาทรัพย์น้ัน มาตรา 151 ผู้ ใ ดเป็ นเจ้ า พนั ก งานมี ห น้ า ที่ ซ้ ื อ ทำา จั ด การหรื อ รั ก ษาทรั พ ย์ ใ ด ๆ ใช้ อำานาจในตำาแหน่ งโดยท่จริต อันเป็ นการ เสียหายแก่รัฐ เทศบาล ส่ขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์น้ัน ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และ ปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่น บาท 2.2.6 เขูามีส่วนไดูเสียในกิจการในหนูาที่
แสวงเป็ นอาจารย์ ป ระจำา โรงเรี ย นแห่ ง หนึ่ ง ได้ ม อบหมายให้ เ ป็ นผู้ จั ด ซื้ อวั ส ด่ อ่ปกรณ์สำาหรับใช้ในห้องประช่มโรงเรือน แสวงถือโอกาสไปซื้อของจากร้านค้าของภริยา ของตน โดยคิดว่าซื้อของร้านไหนๆ ก็ราคาเหมือนกัน และยังจะได้ช่วยเหลือภริยาของตน ด้วย ในกรณีดังกล่าว แสวงมีความผิดหรือไม่ อย่างไร กรณี ต ามข้ อ เท็ จ จริ ง แสวงเป็ นเจ้ า พนั ก งานผู้ มี ห น้า ที่ จั ด การซื้ อวั ส ด่ อ่ ป กรณ์ สำา หรับใช้ในห้องประช่มของโรงเรียน การที่แสวงถือโอกาสซื้อของจากร้านค้าของภริยา ของตนโดยม่่ ง หวั ง จะช่ ว ยเหลื อ ภริ ย า จึ ง เป็ นการเข้ า มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เพื่ อประโยชน์ สำาหรับตนเองหรือผ้อ ู ่ ืน เนื่องด้วยกิจการนั้น แสวงจึงมีความผิดตามมาตรา 152 มาตรา 152 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแล กิจการใด เข้ามีส่วนได้เสีย เพื่อประโยชน์สำาหรับตนเองหรือผู้อ่ ืน อันเนื่ องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึง สิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท 2.2.7 จ่ายทรัพย์เกินกว่าทีค ่ วรจ่าย
ดำาเป็ นข้าราชการได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าหน้าที่รับประมูลซื้อเครื่องพิมพ์ดีดสำา หรับ ใช้ในราชการ แดงเข้าประมูลขายเครื่องพิมพ์ดีดด้วย และตกลงกับดำาว่าถ้าประมูลได้จะให้ ดำา ไปทัศนาจรทวีปย่โรปกับบริษท ั นำาเที่ยวโดยจะออกค่าใช้จ่ายให้ท่กอย่าง ดำา จึงจัดการ ช่วยให้แดงประมูลขายเครื่องพิมพ์ดีดได้ แต่ภายหลังจากนั้นแดงก็เพิกเฉยไม่ดำาเนิ นการให้ ดำาไปทัศนาจรตามที่สัญญาไว้ให้วินิจฉัยการกระทำาของดำาว่าผิดหรือไม่
ดำา ผิดตามมาตรา 152 เพราะดำา มีหน้าที่จัดการดูแลการกระมูลซื้อ เครื่อ งพิมพ์ ดีด แต่เข้ามีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อประโยชน์สำาหรับตนเองในกิจการนั้น 2.2.8 เรียกเก็บหรือไม่เรียกเก็บภาษีอากรโดยทุจริต
ความผิดตามมาตรา 154 แตกต่างจากความผิดตามมาตรา 147 อย่างไร ข้อแตกต่า งของมาตรา 154 และมาตรา 147 อยู่ท่ีเจ้าพนักงานผู้มีหน้า ที่เรียก เก็บหรือตรวจสอบภาษีอากรค่าธรรมเนี ยมหรือเงินอื่นใดตามมาตรา 154 นั้นได้เรียกเก็บ เกิ น จำา นวน ที่ ต้ อ งเสี ย ตามกฎหมายแล้ ว เอาส่ ว นที่ เ กิ น เป็ นประโยชน์ส่ ว นตน รวมทั้ ง กระทำา การหรือไม่กระทำา การอย่างใดเพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมมิ ต้องเสียหรือเสียน้อยไปกว่าที่จะต้องเสีย แต่มาตรา 147 เป็ นกรณีเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ เรียกเก็บนั้น ได้เรียกเก็บตามอัตรา ในกฎหมาย แล้วเอาเงินที่เรียกเก็บนั้นไป จึงมีความ ผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกตามมาตรา 147 ไม่ใช่มาตรา 154 มาตรา 154 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่หรือแสดงว่าตนมีหน้าที่ เรียกเก็บหรือตรวจ สอบภาษีอากร ค่าธรรมเนี ยมหรือเงินอื่นใด โดย ท่จริตเรียกเก็บหรือละเว้นไม่เรียกเก็บภาษีอากร ค่าธรรมเนี ย มหรื อ เงิ น นั้ น หรื อ กระทำา การหรื อ ไม่ ก ระทำา การอย่ า งใดเพื่ อให้ ผู้ มี ห น้า ที่ เ สี ย ภาษี อากร หรือค่าธรรมเนี ยมนั้นมิต้องเสีย หรือเสียน้อยไปกว่าที่ จะต้องเสีย ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอด ชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 2.2.9 กำาหนดราคาทรัพย์สินหรือสินคูาโดยทุจริต
แห้ ว ต้อ งการจะเสี ย ภาษี ท่ี ดิ น ของตน จึ ง ไปถามกำา นั น ห้ า ว ขอให้ ช่ ว ยกำา หนด ราคาที่ดินเพื่อเสียภาษี ซึ่งกำา นันห้าว ก็ตีราคาที่ดินและกำา หนดจำา นวนเงินเสียภาษีท่ีดิน ให้แห้ว แต่เมื่อ แห้วไปถึงที่ว่ า การอำา เภอ กลับ ปรากฏว่ า ราคาที่ ดิน ที่กำา หนดนั้ น ตำ่ากว่ า ที่ทางอำาเภอกำาหนดไว้ จงวินิจฉัยความรับผิดของห้าว ห้าว มีฐานะเป็ นเจ้าพนักงาน แต่ไม่มีหน้าที่กำา หนดราคาที่ดินเพื่อเรียกเก็บภาษี อากร จึงไม่มีความผิดฐานใดแม้จะได้กำา หนดราคาที่ดินให้ แห้ว ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษี เสีย น้อ ยไปกว่า ที่ต้อ งเสีย แต่คำา พูดดังกล่า วเป็ นเพียงคำา แนะนำา ซึ่ง ไม่มีผ ลทางกฎหมายแต่ อย่างใด 2.2.10 ตรวจสอบบัญชีโดยทุจริต
แดงเป็ นพนักงานเทศบาล มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีท่ีเกี่ยวกับการเสียภาษีอ ากร เมื่อตรวจพบว่าผู้ใดมิได้เสียภาษีก็จะต้องแนะนำาให้ย่ ืนแบบประเมินต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ต่อไป แดงตรวจพบว่าดำายังมิได้เสียภาษีโรงเรือนจึงบอกดำาว่า ถ้าดำาไม่ต้องการจะมีเรื่อง ย่่งยากก็ต้องเอาเงินให้ตน 1,000 บาท ดำาก็ยอมให้เงินแก่แดงไป แดงจึงไม่รายงานเรื่อง นี้ ต่อเจ้าหน้าที่ให้เรียกเก็บภาษีจากดำา แดงจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ แดงเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีท่ีเกี่ยวกับการเสียภาษีอากร ละเว้น ไม่รายงานเรื่องที่ดำายังมิได้เสียภาษีโรงเรือนต่อเจ้าหน้าที่ โดยเรียกเก็บค่าตอบแทนจาก ดำา จึงเป็ นการละเว้นไม่กระทำาการตามกฎหมาย โดยมีเจตนาท่จริตเพื่อมิให้ดำา ผู้มีหน้าที่ ต้องเสียภาษีไม่ต้องเสียภาษี แดงมีความผิดตามมาตรา 156 มาตรา 156 ผู้ ใ ดเป็ นเจ้ าพนั กงาน มี ห น้ าที่ ตรวจสอบบั ญ ชี ตาม กฎหมาย โดยท่ จ ริ ต แนะนำา หรือกระทำาการหรือไม่กระทำาการ อย่างใด เพื่อให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลง รายการเท็จ ในบัญชี แก้ไขบัญชีหรือซ่อนเร้นหรือทำา หลักฐานในการลงบัญชีอันจะเป็ นผลให้การ เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมนั้นมิต้องเสีย หรือเสียน้อยกว่าที่จะต้องเสียต้องระวางโทษจำา ค่ก ตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือ จำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 2.2.11 การปฏิบัติหรือละเวูนการปฏิบัติหนูาทีโ ่ ดยมิชอบหรือโดยทุจริต
อธิบายความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติหน้า ที่โดยมิชอบ หรือโดยท่จริต ความผิดตามมาตรา 157 จะต้องเป็ นการปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติซึ่งอยู่ใน หน้าที่ของเจ้าพนักงานนั้นเองโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใ ดหรือโดย ท่จริต ถ้าเป็ นการกระทำานอกหน้าที่ไม่ผิดมาตรานี้ แดงเป็ นพั ศ ดี เ รื อ นจำา ดำา เป็ นผู้ ค่ ม ดำา ค่ ม นั ก โทษไปทำา งานนอกเรื อ นจำา แล้ ว นั กโทษหลบหนี ไป ดำา จึงรายงานให้แดงทราบ แดงให้ ปกปิ ดไว้ ก่อ นเพื่อติด ตามตั ว เมื่อ ติดตามไม่ได้ แดงและดำา ก็ปกปิ ดเรื่อ งไว้ไม่รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำา ตามระเบียบ แดงและดำาจะมีความผิดหรือไม่
การที่แดงและดำา ซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาการ เรือนจำาตามระเบียบในกรณีมีนักโทษหลบหนี แต่กลับปกปิ ดเรื่องนี้ ไว้ ถือว่าแดงและดำา มี ความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามมาตรา 157 ร.ต.ท. เหลื อ งเป็ นพนั ก งานสอบสวน ทำา การสอบสวนเขี ย วผู้ ต้ อ งหาคดี ป ล้ น ทรัพย์ ร.ต.ท. เหลืองพยายามพูดโน้มน้าวให้เขียวรับสารภาพ ร.ต.ท. เหลืองอารมณ์เสีย จึงใช้ก้นบ่หรี่ท่ียังมีไฟอยู่ จี้ท่ีแขนของเขียว ดังนี้ การกระทำา ของ ร.ต.ท. เหลืองจะมีความ ผิดตามมาตรา 157 หรือไม่ การที่ ร.ต.ท. เหลืองใช้ก้นบ่หรี่ท่ียังมีไฟอยู่จ้ีท่ีแขนของเขียวเพื่อให้เขียวยอมรับ สารภาพ ถือเป็ นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายต่อเขียว จึงมีความ ผิดตามมาตรา 157
มาตรา 157 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้ เกิด ความเสี ย หายแก่ ผู้ ห นึ่ ง ผู้ ใ ด หรื อ ปฏิ บั ติ หรื อ ละเว้ น การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยท่ จ ริ ต ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่ หนึ่ งปี ถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาทหรือ ทั้งจำาทั้งปรับ
2.3 ความผิดต่อตำาแหน่งหนูาทีร ่ าชการแต่ไม่ถึงกับกระทำาโดยทุจริต 1. เจ้ า พนั ก งานผู้ มี ห น้า ที่ รั ก ษาทรั พ ย์ ห รื อ เอกสารใด หากมี เ จตนาทำา ให้ เ สี ย หาย ทำา ลาย ซ่อนเร้นเอาไปเสีย ทำา ให้สูญเสียหรือทำา ให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์หรือเอกสารดัง กล่าว ย่อมมีความผิดแม้ไม่มเี จตนาท่จริต 2. เจ้ า พนั ก งานผู้ มี ห น้า ที่ ดู แ ล รั ก ษาทรั พ ย์ ห รื อ เอกสารที่ มี ต ราหรื อ เครื่ องหมาย ประทับหรือหมายไว้เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึดหรือหลักฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนั้ น ถ้าได้กระทำา ให้ตราหรือเครื่องหมายดังกล่าวเสียหายไม่ว่าจะกระทำา เองหรือยินยอมให้ผู้ อื่นกระทำา กฎหมายถือเป็ นความผิด 3. เจ้าพนักงานผู้มีหน้ารักษาหรือใช้ดวงตราหรือรอยตราของราชการหรือของผู้อ่ ืน ถ้าได้ใช้ดวงตราหรือรอยตรานั้นจนอาจทำาให้ผอ ู้ ่ ืนหรือประชาชนเสียหาย กฎหมายถือเป็ น ความผิด 4. กรณี เ จ้ า พนั ก งานปลอมเอกสารโดยอาศั ย โอกาสที่ ต นมีห น้า ที่ ก ฎหมายถื อ เป็ น ความผิด 5. เจ้าพนักงานมีหน้าที่ทำาเอกสาร รับเอกสารหรือกรอกข้อความในเอกสาร ถ้าได้ทำา เอกสารเท็จ กฎหมายถือเป็ นความผิด 6. ในบางกรณี กฎหมายม่่ ง ค้่ ม ครองรั ก ษาประโยชน์ข องเอกชนหรื อ ผู้ ท่ี ใ ช้ บ ริ ก าร ไปรษณีย์ โทรเลข หรือโทรศัพท์ โดยบัญญัติห้ามพนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับกิจการดัง กล่ า วเปิ ดเผยข้ อ ความหรื อ ทำา ให้ จ ดหมายหรื อ สิ่ ง อื่ นที่ ส่ ง ทางไปรษณี ย์ โทรเลข หรื อ โทรศัพท์เสียหายหรือสูญหาย 7. ในบางกรณี กฎหมายม่่งค้่มครองรักษาประโยชน์ของทางราชการโดยบัญญัติห้าม เจ้าพนักงานที่รู้หรืออาจรู้ความลับของทางราชการ กระทำาการใดๆ ให้ผู้อ่ ืนล่วงรู้ความลับ นั้น 8. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎหมายหรื อ คำา สั่ ง โดยชอบด้ ว ยกฎหมาย หากเจ้ า พนักงานป้ องกันหรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวย่อมมีความผิด 9. เจ้าพนักงานละทิ้งงานหรือกระทำาให้งานหย่ดหรือเสียหาย หรือกระทำาให้เกิดการ เปลี่ ย นแปลงในกฎหมายแผ่ น ดิ น หรือ เพื่ อบั ง คั บ รั ฐ บาล หรื อ เพื่ อข่ม ขู่ ป ระชาชนย่ อ มมี ความผิด 2.3.1 ทำาใหูเสียหายซึง ่ ทรัพย์หรือเอกสาร
ดำา เป็ นลู ก จ้ า งกรมสรรพกร ทำา หน้า ที่ ย ามรั ก ษาการณ์ ดำา ไม่ พ อใจที่ ถู ก อธิ บ ดี ตำาหนิ จึงแอบใช้มีดกรีดตัวถังรถประจำาตำาแหน่ งอธิบดี ทำาให้ตัวถังรถมีรอยขีดหลายแห่ง ดำาผิดตามมาตรา 158 หรือไม่ ดำา เป็ นลูกจ้า งประจำา จึงมิใช่เจ้าพนักงาน ไม่อาจกระทำา ผิดตามมาตรา 158 ได้ แต่ดำาก็มีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ตามมาตรา 358 มาตรา 358 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ ของผู้อ่ ื นหรื อ ผู้อ่ ื นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ ด้ ว ย ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานทำา ให้ เ สี ย ทรั พ ย์ ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.3.2 ทำาใหูเสียหายซึง ่ ตราหรือเครื่องหมาย
แดงเป็ นอาจารย์ประจำาโรงเรียนแห่งหนึ่ ง ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่ดูแลรักษา ข้อ สอบของโรงเรี ยน ซึ่ง ถูก เก็ บไว้ใ นตู้ ท่ีไ ด้รั บการประทับ ตราและลงชื่อกำา กับ ไว้ ท่ีบ าน
ประตูตู้ เพื่อป้ องกันมิให้ผู้ใดเปิ ดตู้ออกก่อนถึงวันเวลาสอบไล่ ดำา ซึ่งเป็ นเพื่อนรักของแดง อยากให้ลูกของตนสอบไล่ได้ จึงไปขอร้องแดงให้เปิ ดตู้เก็บข้อสอบเพื่อจะดูข้อสอบบางวิชา แดงยินดีให้ดำาเปิ ดตู้ดูข้อสอบได้ การกระทำาของแดงจะเป็ นความผิดตามมาตรา 159 หรือ ไม่อย่างไร แดงเป็ นเจ้าพนักงานผู้ดูแลรักษาเอกสารของทางราชการ เมื่อแดงยินยอมให้ดำา เปิ ดตู้ดูข้อ สอบของโรงเรียน จึงเป็ นการกระทำา อันมิชอบด้วยหน้า ที่โดยการทำา ลายตรา หรือ เครื่อ งหมายที่ไ ด้ป ระทับ หรื อ หมายไว้ ท่ี ท รั พ ย์ เ พื่ อเป็ นหลั ก ฐานในการรั ก ษาสิ่ ง นั้ น แดงจึงมีความผิดตามมาตรา 159
มาตรา 159 ผู้ใ ดเป็ นเจ้ าพนั กงาน มี ห น้าที่ ดู แ ล รั กษาทรั พย์ หรื อ เอกสารใด กระทำา การอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยถอน ทำาให้ เสียหายทำาลายหรือทำาให้ไร้ประโยชน์ หรือโดยยินยอมให้ ผู้อ่ ืนกระทำา เช่นนั้น ซึ่งตราหรือเครื่องหมาย อันเจ้าพนั กงานได้ประทับหรือหมาย ไว้ท่ีทรัพย์หรือ เอกสารนั้นในการปฏิบัติตามหน้าที่ เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนั้น ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.3.3 ใชูดวงตราหรือรอยตราโดยมิชอบ
แดงมีตำา แหน่ งเป็ นผู้ช่วยป่ าไม้จังหวัด แดงประทับตราประจำา ตัวของตนเองและ ประทับตราค่า ภาคหลวงอันเป็ นตราของทางราชการ ซึ่งแดงมีหน้า ที่รักษาและใช้ตาม อำานาจหน้าที่ท่ีไม้ของกลางซึ่งเป็ นไม้ท่ีไม่ได้รับอน่ญาตให้ตัดและฝ่ าฝื นระเบียบของกรม ป่ าไม้ โดยมิได้ประทับตราประจำา ตัวพร้อมเลขเรียงลำา ดับท่อนภาคหลวงของไม้ท่อนที่ตัด ทอนจากตอนั้ น และเลขปี พ.ศ. ที่ ป ระทั บ ตรา ไว้ ท่ี ห น้า ตั ด ของตอไม้ ท่ ก ตอ ให้ วิ นิ จ ฉัย ความรับผิดของแดงกรณีตามปั ญหานี้ แดงจะอ้างว่าตนได้กระทำา ไปโดยส่จริตหรือกระทำา ไปด้วยความสำาคัญผิดได้หรือไม่ แดงมีฐานะเป็ นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รักษาหรือใช้ดวงตราหรือรอยตราของทาง ราชการ และได้ใช้ดวงตราหรือรอยตรานั้นโดยมิชอบทำา ให้กรมป่ าไม้เสียหาย จึงมีความ ผิดตามมาตรา 160 เพราะการที่แดงประทับตราฝ่ าฝื นระเบียบดังกล่าวของกรมป่ าไม้ท่ี วางไว้เพื่อป้ องกันการลักลอบตัดไม้อ่ ืนแล้วนำา มาสวยรอยอ้างว่าเป็ นไม้ท่ีเจ้าพนักงานได้ ตรวจสอบคัดเลือ กอน่ญ าตให้ตัดนั้ น เป็ นการกระทำา โดยมิชอบด้ วยหน้า ที่ แดงย่อ มเล็ง เห็ น ผลเสี ย หายของการกระทำา นั้ น และก็ ไ ด้ เ กิ ด ความเสี ย หายขึ้ น แล้ ว แดงจะอ้ า งว่ า กระทำา ไปโดยส่ จ ริ ต หรื อ กระทำา ไปด้ ว ยความสำา คั ญ ผิ ด หาได้ ไม่ ต้ อ งถื อ ว่ า แดงมี เ จตนา กระทำาความผิด มาตรา 160 ผู้ ใ ดเป็ นเจ้ า พนั ก งาน มี ห น้ า ที่ รั ก ษาหรื อ ใช้ ด วงตรา หรื อ รอยตราของ ราชการหรือ ของผู้อ่ ืน กระทำา การอั น มิ ชอบด้ ว ยหน้าที่ โดยใช้ ดวงตราหรื อ รอยตรานั้ น หรือ โดย ยินยอมให้ผอ ู้ ่ ืนกระทำาเช่นนั้น ซึ่งอาจทำาให้ผู้อ่ ืนหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.3.4 ปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสทีม ่ ีหนูาที่
แดงเป็ นพนั ก งานเทศบาล มี ห น้ า ที่ อ อกใบอน่ ญ าตก่ อ สร้ า งอาคาร ดำา ยื่ นขอ อน่ญาตปลูกสร้างอาคารโดยไม่เว้นระยะห่างแนวเขตที่ดิน 50 ซ.ม. แดงออกใบอน่ญาต ให้ดำา ปลูกสร้า งได้ ตามคำา ขอ และดำา รับ ใบอน่ญ าตไปแล้ว ต่อ มามีผู้ ร้อ งเรี ยนเรื่องนี้ ขึ้น กล่ า วหาว่ า แดงกระทำา โดยท่ จ ริ ต แดงจึ ง เรี ย กใบอน่ ญ าตนั้ น คื น ไปจากดำา แล้ ว ทำา ใบ อน่ญาตขึ้นใหม่ท้ังฉบับ ไม่อน่ญาตให้ดำา ปลูกสร้า งโดยไม่เว้นระยะห่า งแนวเขตที่ดิน 50 ซ.ม. เอกสารใบอน่ญาตนี้ ลงเลขที่ และวันเดือนปี ตรงกับเอกสารใบอน่ญาตเดิม แล้วเอา ใบอน่ญาตเดิมออกจากแฟ้ มเรื่องเอาใบอน่ญาตใหม่เก็บไว้แทน แดงผิดฐานเจ้าพนักงาน ปลอมเอกสารตามมาตรา 161 หรือไม่ เป็ นการปลอมแปลงเอกสารตาม มาตรา 161 เพราะแม้เอกสารฉบับแรกจะเป็ น ของแดงทำา ขึ้นเอง ตาม อำา นาจหน้าที่ท่ีจะออกเอกสารนั้นได้ก็ตาม แต่เอกสารนี้ ไปอยู่ใน ความครอบครองของดำาแล้ว การที่แดงเรียกเอาเอกสารกลับคืนมาและทำาเอกสารขึ้นใหม่ ทั้งฉบับเนื่ องจากแดงหมดอำานาจที่จะแก้ไขเอกสารนั้นแล้ว มาตรา 161 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนั กงานมีหน้าที่ทำาเอกสารกรอกข้อความลงในเอกสาร หรือ ดูแลรักษาเอกสารกระ ทำาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ัน ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท 2.3.5 รับรองหรือกรอกขูอความลงในเอกสารอันเป็ นเท็จ
ร.ต.ท. ขาว จับก่มเขียว ที่บ้า นของเขียว แล้วไปทำา บันทึกจับก่ม ที่สถานี ตำา รวจ โดยเขียนว่าบันทึกนั้นได้ทำา ขึ้นที่บ้านเขียว ซึ่งเป็ นความเท็จ เพราะความจริงทำา ที่สถานี
ตำา รวจ ส่ ว นข้ อ ความอื่น ในบั น ทึ ก ถู ก ต้ อ งตรงตามความเป็ นจริ ง นอกจากสถานที่ ท่ี ทำา บันทึกเท่านั้น ร.ต.ท. ขาว ผิดฐานกรอกข้อความเท็จตามมาตรา 162 หรือไม่ การที่ ร.ต.ท. ขาวทำา บั น ทึ ก การจั บ ก่ ม ที่ ส ถานี ตำา รวจ แม้ ร ะบ่ ว่ า ทำา ที่ บ้ า นซึ่ ง จับก่มเขียวก็ตาม แต่ข้อความอื่นตรงกับความจริง เพียงเท่านี้ ยังไม่ถือได้ว่า ร.ต.ท. ขาว กรอกข้อความเท็จลงในเอกสารอันเป็ นความผิดตามมาตรา 162
มาตรา 162 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนั กงาน มีหน้าที่ทำา เอกสาร รับเอกสาร หรือกรอกข้อความ ลงในเอกสาร กระทำาการดังต่อไปนี้ ในการปฏิบัติการ ตามหน้าที่ (1) รับรองเป็ นหลักฐานว่าตนได้กระทำาการอย่างใดขึ้นหรือว่าการอย่างใดได้กระทำาต่อหน้า ตนอันเป็ นความเท็จ (2) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่งข้อความอันมิได้มี การแจ้ง (3) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่งตนมีหน้าที่ต้องรับจด หรือจด เปลี่ยนแปลงเช่นว่านั้น หรือ (4) รับรองเป็ นหลักฐานซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกสารนั้นม่่งพิสูจน์ ความจริงอันเป็ นความเท็จ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 2.3.6 พนักงานไปรษณี ยโ ์ ทรเลข หรือโทรศัพท์กระทำามิชอบ
สมศักดิเ์ ป็ นพนักงานขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย มีหน้าที่ควบค่มการ ติดต่อสายโทร ศัพท์ได้แอบดักฟั ง และบันทึกเทปเสียงการสนทนาของประธานบริษท ั ร่่ง กิจกับประธานบริษท ั รวยกิจทั้งนี้ เนื่ องจากทราบว่าบริษท ั ทั้งสองกำา ลังแข่งขันกันทางการ ค้ากับบริษท ั จนกิจสมศักดิไ์ ด้เสนอเทปเสียงดังกล่าวต่อ ประธานบริษท ั จนกิจเพื่อแลกกับ เงินจำา นวนหนึ่ ง เมื่อเป็ นที่ตกลงกันแล้ว สมศักดิไ์ ด้นำา เทปเสียงมาเปิ ดให้ประธานบริษท ั จนกิจฟั งแต่ปรากฏว่าการสนทนาในเทปเสียงนั้นเป็ นเรื่องทั่วๆไปไม่ใช่เรื่องทางการค้าที่ กำา ลังแข่งขันกันอยู่ ประธานบริษท ั จนกิจจึงไม่ยอมรับเทปเสียงนั้นและไม่ยอมจ่ายเงินให้ สมศักดิ ์ ให้วินิจฉัยความรับผิดของสมศักดิ ์ กรณี ตามข้อเท็จจริงถือ ว่า สมศักดิม ์ ีฐานะเป็ นเจ้า พนั กงานผู้มีหน้า ที่ใ นการต่อ สายโทรศัพท์การที่สมศักดิแ ์ อบบันทึกเทปเสียงการสนทนาระหว่างประธานบริษท ั ร่่งกิจ กับประธานบริษท ั รวยกิจ แล้วนำา ไปเปิ ดให้ประธานบริษท ั จนกิจฟั ง ถือว่าเป็ นการกระทำา อันมิชอบด้วยหน้าที่ แม้สมศักดิจ์ ะไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนและไม่ได้ทำาให้ผู้ใดเสียหาย ก็ตาม สมศักดิก ์ ็ต้องรับผิดตามมาตรา 163 มาตรา 163 ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ในการไปรษณีย์โทรเลข หรือโทรศัพท์ กระทำา การอันมิชอบด้วยหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) เปิ ด หรือยอมให้ผู้อ่ ืนเปิ ด จดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่งทาง ไปรษณีย์โทรเลขหรือโทรศัพท์ กระทำาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ดังต่อไปนี้ (2) ทำา ให้ เสี ย หาย ทำา ลาย ทำา ให้ สู ญ หาย หรื อ ยอมให้ ผู้ อ่ ื นทำา ให้ เ สี ย หาย ทำา ลายหรื อ ทำาให้สูญหาย ซึ่งจดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์ หรือโทรเลข (3) กักส่งให้ผิดทางหรือส่งให้แก่บ่คคลซึ่งรู้ว่ามิใช่เป็ นผู้ควรรับซึ่งจดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่ง ทางไปรษณีย์หรือโทรเลข หรือ (4) เปิ ดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณีย์ ทางโทรเลขหรือทาง โทรศัพท์ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2.3.7 กระทำาใหูผู้อ่ ืนล่วงรู้ความลับในราชการ
นายชมเป็ นข้า ราชการประจำา ศาลากลางจั ง หวั ด ทำา งานในตำา แหน่ ง พนั ก งาน พิมพ์ดีด ผู้บังคับ บัญชามีคำา สั่งให้พิมพ์ดีดหนังสือราชการส่งถึงหน่ วยงานต้นสังกัดโดยมี ข้อความรายงานการดำา เนิ นงานทั่วไปของหน่ วยงานเสนอต่อผู้บังคับบัญ ชาระดับเหนื อ หนังสือดังกล่าวถูกส่งออกโดยมีตราประทับไว้ท่ีหัวกระดาษ และที่ซองใส่หนังสือว่า “ลับ” นายชมได้เล่าเรื่องเนื้ อความในหนังสือนั้นให้นายเชยฟั ง โดยไม่รู้ว่าหนังสือฉบับดังกล่าว เป็ นหนังสือลับ นายชมจะมีความผิดตามมาตรา 164 หรือไม่ นายชมเป็ นข้ า ราชการจึ ง มี ฐ านะเป็ นเจ้ า พนั ก งาน ได้ รู้ ค วามลั บ ในหนั ง สื อ ราชการ เนื่ องจากเป็ นผู้ พิ ม พ์ ห นั ง สื อ ดั ง กล่ า ว การที่ น ายชมได้ เ ล่ า เรื่ องเนื้ อความใน หนังสือราชการอันเป็ นความลับให้นายเชยฟั ง นายชมไม่ได้มีเจตนาและไม่รู้ด้วยว่าสิ่งที่ ตนกระทำา ให้ผู้อ่ ืนล่วงรู้น้ันเป็ นความลับทางราชการ นายชมจึงไม่มีความผิดตามมาตรา 164 มาตรา 164 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน รู้หรืออาจรู้ความลับในราชการ กระทำาโดยประการ ใด ๆ อันมิชอบด้วยหน้าที่ให้ผู้อ่ ืนล่วงรู้ความลับนั้ น ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิน ห้าปี หรือปรับไม่ เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ 2.3.8 ปู องกันหรือขัดขวางมิใหูการเป็ นไปตามกฎหมาย
คนร้ายกระชากสร้อยคอเจ้าทรัพย์ในตลาด เจ้าทรัพย์จึงร้องขอให้พลตำา รวจขาว ซึ่ ง อยู่ ณ ที่ น้ั น ช่ ว ยจั บ คนร้ า ย พลตำา รวจขาวไม่ จั บ และบอกให้ ค นร้ า ยหลบหนี ไ ป พล ตำารวจขาวจะมีความผิดฐานใด พลตำา รวจขาว เป็ นเจ้าพนักงานซึ่งมีหน้าที่จับก่มผู้กระทำา ผิดกฎหมาย แต่ไม่จับ คนร้ายกับบอกให้คนร้ายหลบหนี ไป จึงเป็ นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิ ชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าทรัพย์ เป็ นความผิดตามมาตรา 157 ไม่ใช่ความผิด ตามมาตรา 165 เนื่ องจากว่ า แม้ พ ลตำา รวจขาวจะมี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารให้ เ ป็ นไปตาม กฎหมายแต่ละเว้นไม่ปฏิบัติ ก็ไม่ถือว่าเป็ นการป้ องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็ นไปตาม กฎหมาย มาตรา 165 ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็ นไป ตามกฎหมายหรือคำาสั่ง ซึ่งได้ส่ังเพื่อบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ป้องกันหรือ ขัดขวางมิให้ การเป็ นไปตามกฎหมาย หรือคำาสั่งนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือ ทั้งจำาทั้งปรับ
ละทิ้งงานหรือกระทำาเพื่อใหูงานหยุดชะงักหรือเสียหาย ข้าราชการในกองหนึ่ งไม่พอใจผู้อำา นวยการกองที่ทำา งานเอาแต่ใ จตัวเองไม่ฟัง ความเห็นผู้อ่ ืน ใครทำา งานไม่ถูกใจก็ตำา หนิ ติเตียนอย่า งร่นแรง ทำา ให้บรรดาข้า ราชการ อึดอัดใจในการทำา งานมาก ข้า ราชการจำา นวน 20 คน ในกองจึง หย่ ดงานเข้ า พบอธิบ ดี เพื่ อขอให้ พิ จ ารณาย้ า ยผู้ อำา นวยการกองผู้ น้ั น ข้ า ราชการดั ง กล่ า วจะมี ค วามผิ ด ตาม มาตรา 166 หรือไม่ ไม่ผิด เพราะไม่ได้กระทำาโดยมีความม่่งหมายที่จะให้งานหย่ดชะงักหรือเสียหาย แต่กระทำาเพื่อให้มีการย้ายผู้บังคับบัญชาของตน 2.3.9
มาตรา 166 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงานละทิ้งงานหรือกระทำาการอย่าง ใด ๆ เพื่อให้งานหย่ด ชะงักหรือเสียหาย โดยร่วมกระทำาการเช่นนั้น ด้วยกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกินห้าปี หรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าความผิดนั้น ได้กระทำาลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมาย แผ่นดิน เพื่อบังคับ รัฐบาลหรือเพื่อข่มขู่ประชาชน ผู้กระทำาต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่น บาท
แบบประเมินผลตนเอง หน่วยที่ 2
1. บ่คคลที่มิใช่เจ้าพนั กงานตามความหมายของกฎหมายอาญา ได้แ ก่ สมาชิกสภาผู้ แทน ราษฎร (ทหาร ผ้ใู หญ่บ้าน พนักงานเทศบาล ครูอาจารย์ ถือว่าเป็ นเจ้าพนักงาน) 2. คำากล่าวที่จะถือว่าเป็ นการดูหมิ่นเจ้าพนักงานได้แก่ ด่าเจ้าพนักงานว่าหมา 3. ความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงาน ผู้กระทำา ความผิดต้องกระทำา โดยมีเจตนาพิเศษ เช่น เพื่อจูงใจให้กระทำาการ ไม่กระทำาการหรือประวิงการกระทำาอันมิชอบด้วยหน้าที่ 4. ผู้ไม่มีสิทธิแต่งเครื่องแบบตำา รวจ ถ้าแต่งเครื่องแบบดังกล่าวอาจมีความผิดในกรณี แต่ง เพื่อหลอกบ่คคลอื่นให้เชื่อว่าตนเป็ นตำารวจ 5. แดงเป็ นข้ าราชการได้ รับมอบหมายจากผู้ บังคั บบั ญ ชาให้ ทำา หน้า ที่ ซ้ ื อตลั บ เทป สำา หรั บ บันทึกรายการวิทย่เพื่อใช้ในราชการ แดงอน่ญาตให้ดำาเอาตลับเทปที่ซ้ ือมาไปใช้ส่วนตัว 10 ม้วน แดงมีความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกตามมาตรา 147
มาตรา 147 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ซื้อ ทำา จัดการ หรือ รักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ัน เป็ นของตน หรือเป็ นของผู้อ่ ืนโดยท่จริต หรือโดยท่จริตยอมให้ผู้อ่ ืนเอาทรัพย์สินนั้นเสีย ต้องระวาง โทษจำาค่ก ตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สบ ิ ปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท
6. ความผิดฐานเจ้าพนักงานใช้อำา นาจในตำา แหน่ งข่มขืนใจเอาทรัพย์ตามมาตรา 148 เช่น กรณี ตำารวจจราจรแกล้งจับผู้ท่ีมิได้ขับรถฝ่ าฝื นกฎจราจรแล้วเรียกเอาทรัพย์แต่เขาไม่ยอมให้ มาตรา 148 ผู้ ใดเป็ นเจ้ า พนั ก งาน ใช้ อำา นาจในตำา แหน่ ง โดย มิ ชอบ ข่ ม ขื น ใจหรื อ จู ง ใจเพื่ อให้ บ่คคลใดมอบให้หรือหามาให้ ซึ่ง ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนใดแก่ตนเองหรือผู้อ่ ืน ต้องระวางโทษ จำาค่กตั้งแต่ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหารชีวิต
7. พลตำารวจจับคนร้ายลักกระบือ เมื่อถึงสถานี ตำารวจก็ชกผู้ต้องหา เนื่องจากโมโหที่ผู้ต้องหา ปฏิเสธความรับผิด พลตำารวจผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามมาตรา 157 หรือไม่ เพราะเหต่ใด ไม่ผิดเพราะการทำาร้ายมิได้อยู่ในหน้าที่ของพลตำารวจ
มาตรา 157 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความ เสียหายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยท่จริต ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ หนึ่ งปี ถึง สิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาทหรือ ทั้งจำาทั้งปรับ
8. ขาวเป็ นข้าราชการระดับ 3 มาทำาหน้าที่อยู่เวรยามที่ทำางานตามคำาสั่ง กลางดึกขาวนอน ไม่หลับเพราะรำาคาญเสียงนาฬิกาของที่ทำางานที่รบกวนประสาทอยู่ตลอดเวลา ขาวจึงเอานาฬิกา นั้นไปโยนทิ้งในสระ ขาวจะมีความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานทำาให้ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย ตามมาตรา 158 หรือไม่ คำาตอบ ผิด เพราะขาวต้องมีหน้าที่ปกครองทรัพย์น้ันในขณะอยู่เวรยาม
มาตรา 158 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน ทำาให้เสียหาย ทำาลายซ่อน เร้น เอาไปเสีย หรือทำาให้สูญหาย หรือทำาให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ หรือเอกสารใดเป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรือรักษาไว้ หรือ ยินยอมให้ผู้ อื่นกระทำาเช่นนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท
9. การกระทำาที่พนักงานไปรษณีย์ไม่มีความผิด คือการกระทำาดังต่อไปนี้ คือ เปิ ดจดหมายที่ มิได้ปิดผนึ กส่งทางไปรษณีย์ออกอ่านข้อความ และ ส่งจดหมายของผู้อ่ ืนผิดทางโดยความสะเพร่า 10. ศึกษาธิการอำาเภอลงชื่อรับรองว่า สามีภรรยาได้จดทะเบียนหย่าต่อหน้าตน ซึ่งเป็ นความ เท็จ ไม่ถือว่าเป็ นความผิดฐานเจ้าพนักงานทำาเอกสารเท็จ ตามมาตรา 162 11. บ่คคลที่ไม่มีฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตามกฎหมายอาญาคือ ลูกจ้างประจำาของราชการ 12. ตำารวจจับแดงฐานขับรถผิดกฎจราจร แดงด่าว่าตำารวจว่า “ห่วยมาก” การกระทำาดังกล่าว เป็ นความผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงาน 13. เหลืองเป็ นข้าราชการแผนกสรรพกรอำา เภอมีหน้าที่รับเงิน ค่าภาษี เขียวเอาเงินค่าภาษี ฝากเหลืองไว้โดยจะมายื่นแบบรายการในวันหลัง เหลืองกลับเบียดบังเอาเงินภาษีท่ีรับฝากไว้เสีย เหลืองผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกหรือไม่ เพราะเหต่ใด คำาตอบคือ ไม่ผิด เพราะมิได้กระทำาการใน หน้าที่ แต่เป็ นการรับฝากเป็ นส่วนตัว 14. พลตำารวจจับนางแดงฐานเป็ นเจ้ามือสลากกินรวบแล้วเข้าไปกระทำา มิดีมิร้ายต่อนางแดง ในทางชู้สาว พลตำารวจผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามมาตรา 157 หรือไม่ เพราะ เหต่ใด คำาตอบคือ ไม่ผิด เพราะการกระทำาดังกล่าวมิได้อยู่ในหน้าที่ของตำารวจ 15. เขียวเป็ นพนักงานของการรถไฟแห่งประเทศไทย มีหน้าที่รับส่งถ่งไปรษณีย์อันเป็ นกิจการ ส่วนหนึ่ งของการรถไฟ เขียวได้เปิ ดถ่งไปรษณีย์ออกและนำาจดหมายในถ่งนั้นไปเผาเสีย ดังนี้ เขียว จะมีค วามผิ ด ตามมาตรา 163 หรื อ ไม่ เพราะเหต่ ใ ด คำา ตอบ ไม่ ผิ ด เพราะไม่ ได้ มี ห น้า ที่ ใ นการ ไปรษณีย์
หน่วยที่ 3 ความผิดเกีย ่ วกับการยุติธรรม 1. เจ้าพนักงานในการย่ติธรรมเป็ นเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ ในการอำา นวยความ ย่ติธรรมให้แก่ประ ชาชน การกระทำา ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการย่ติธรรม ผู้กระทำา ผิดจะต้องรับโทษต่างหากจากการกระทำาผิดต่อเจ้าพนักงานอื่น 2. เจ้าพนักงานในการย่ติธรรมเป็ นเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ ในการอำา นวยความ ย่ติธรรมให้แก่ประชาชน การที่เจ้าพนักงานในการย่ติธรรมปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจึงต้อง รับโทษหนักขึ้นกว่าเจ้าพนักงานอื่น 3.1 ความผิดต่อเจูาพนักงานในการยุติธรรม (1) 1. ในการให้สินบนเจ้าพนักงานในการย่ติธรรม ผู้กระทำา ความผิดจะต้องระวางโทษ หนักกว่าการให้สินบนเจ้าพนักงานอื่น 2. ประชาชนต้องให้ความร่วมมือในการผด่งไว้ซึ่งความย่ติธรรม การขัดขืนคำา บังคับ หมาย คำาสั่งของเจ้าพนักงานในการย่ติธรรมย่อมทำาให้เจ้าพนักงานในการย่ติธรรมไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ด้วยดี 3. การแสดงข้อเท็จจริงต่อเจ้าพนักงานในการย่ติธรรมเป็ นสิ่งสำา คัญอย่างยิ่งในอันที่ เจ้าพนักงานในการย่ติธรรมจะปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้องและเที่ยงธรรม ผู้กระทำา การ อันเป็ นเท็จต่อเจ้าพนักงานในการย่ติธรรม จึงมีความผิดและต้องได้รับโทษ 3.1.1 ใหูสินบนเจูาพนักงานในการยุติธรรม
เหลืองกระทำาความผิดอาญาเรื่องหนึ่ ง ซึ่งมีพยานหลักฐานพอที่พนักงานอัยการ จะสั่งฟ้ องได้ แต่เหลืองเสนอให้เงินจำานวนหนึ่ งแก่พนักงานอัยการผู้น้ันเพื่อสั่งไม่ฟ้อง ดังนี้ เหลืองจะมีความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงานในการย่ติธรรมหรือไม่ การที่เหลือ งเสนอให้เ งินจำา นวนหนึ่ งแก่พ นั ก งานอั ยการเพื่อให้ส่ั งไม่ฟ้ อง ทั้ง ที่ พยานหลักฐานสามารถสั่งฟ้ องได้เป็ นการขอให้ทรัพย์สินแก่พนักงานอัยการ เพื่อจูงใจให้ พนักงานอัยการกระทำาการคือการสั่งไม่ฟ้องคดีอันเป็ นการไม่ชอบด้วยหน้าที่ การกระทำา ของเหลืองเป็ นความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงานในการย่ติธรรม
มาตรา 167 ผู้ใดให้ ขอให้หรือรับว่าให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนใด แก่เจ้าพนักงานใน ตำาแหน่ งต่ลาการ พนักงานอัยการผู้ว่าคดี หรือพนักงานสอบสวน เพื่อจูงใจให้กระทำาการไม่กระทำา การหรือ ประวิงการกระทำาใดอันมิชอบด้วยหน้าที่ต้องระวางโทษ จำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 3.1.2 ขัดขืนคำาบังคับ หมาย คำาสัง ่ ของเจูาพนักงานในการยุติธรรม
เขียวถูกกล่าวหาจากพนักงานสอบสวนว่า กระทำาความผิดฐานลักทรัพย์ และได้ รับการประกันตัวไปในชั้นสอบสวน พนั กงานสอบสวนประสงค์จะสอบปากคำา เขีย วเพิ่ม เติม จึงได้อ อกหมายเรีย กไปยั งเขีย วให้ม าพบ เขีย วได้รั บหมายเรี ยกแล้ วไม่ย อมมาพบ พนักงานสอบสวน โดยไม่มีขอ ้ แก้ตัวอันควร เขียวจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ เขี ย วตกเป็ นผู้ ต้ อ งหาของพนั ก งานสอบสวน เมื่ อเขี ย วขั ด ขื น หมายเรี ย กของ พนักงานสอบสวน ปวอ. มาตรา 66(3) บัญญัติทางแก้ไขไว้แล้ว โดยให้พนักงานสอบสวน มีอำานาจออกหมายจับได้ซึ่งเป็ นการลงโทษอยู่แล้ว เขียวจึงไม่มีความผิดตามมาตรา 168 อีก พระภิกษ่แดงมาเบิกความเป็ นพยานโจทก์แก่ศาล และตอบคำาซักถามของทนาย โจทก์จนจบแล้ว เมื่อทนายจำา เลยถามค้าน พระภิกษ่แดงกลับไม่ยอมตอบคำา ถามซึ่งศาล ขอให้ตอบ ดังนี้ พระภิกษ่แดงจะมีความผิดตาม ปอ. มาตรา 171 หรือไม่ ตาม ปวพ. มาตรา 115 กำา หนดสิทธิพระภิกษ่ในพ่ทธศาสนา จะไม่ตอบคำา ถาม ใด ๆ ก็ได้ ดังนั้น การที่พระภิกษ่แดงไม่ยอมตอบคำา ถามค้านของทนายจำา เลยจึงชอบที่จะ กระทำา ได้ ตาม ปวพ. มาตรา 115 การกระทำา ของพระภิก ษ่แ ดงจึง ไม่ เป็ นความผิ ดตาม ปอ. มาตรา 171 มาตรา 168 ผู้ ใ ดขั ด ขื น คำา บั ง คั บ ตามกฎหมายของพนั ก งานอั ย การ ผู้ ว่ า คดี หรื อ พนักงานสอบสวน ซึ่งให้มาเพื่อให้ถ้อยคำา ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้า ร้อยบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 171 ผู้ใดขัดขืนคำาสั่งของศาลให้สาบาน ปฏิญาณให้ถ้อยคำา หรือเบิกความ ต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 3.1.3 การกระทำาอันเป็ นเท็จต่อเจูาพนักงานในการยุติธรรม
ทองได้ย่ ืนฟ้ องเทียนเป็ นจำาเลยต่อศาลแพ่งว่า เทียนเช่าที่ดินของทองปลูกบ้านอยู่ โดยสัญญาเช่าได้สิ้นอาย่ลงแล้วขอให้เทียนและบริวารออกจากที่ดินและรื้อบ้านไป เทียน ยื่นคำาให้การรับว่าเป็ นความจริงดังฟ้ อง ขอเวลารื้อบ้านภายใน 10 วัน แต่ความจริงที่ดิน เป็ นของมารดาทอง จอนเช่าที่ดินจากมารดาทองปลูกบ้านอยู่ โดยเทียนไม่เคยเกี่ยวข้อง ด้วย การฟ้ องเท็จและให้การเท็จดังกล่า วทำา ให้จอนเสียหาย เพราะถูกหาว่าเป็ นบริวาร ของเทียนและขัดขืนไม่ยอมออกไปจากบ้านตามคำาพิพากษา ดังนี้ การที่ทองฟ้ องเทียนดัง กล่าวจะเป็ นความผิดฐานฟ้ องเท็จหรือไม่ การฟ้ องเท็จนั้น ตาม ปอ. มาตรา 175 ต้องเป็ นการฟ้ องเท็จในคดีอาญาการฟ้ อง เท็จในคดีแพ่งไม่มีกฎหมายบัญญัติว่าเป็ นความผิดทางอาญาแต่อย่างใด ทองจึงไม่มีความ ผิดฐานฟ้ องเท็จ จันทร์มีสาเหต่โกรธเคืองกับอังคาร จันทร์แกล้งฟ้ อ งอังคารต่อศาลว่าลักทรัพย์ และศาลสั่งประทับรับฟ้ องระหว่างสืบพยานจำา เลย จันทร์ถอนฟ้ องโดยแถลงความจริงว่า อังคารมิได้กระทำาผิดตามข้อกล่าวหา ดังนี้ ศาลจะลงโทษจันทร์ฐานฟ้ องเท็จอย่างไร การกระทำาของจันทร์เป็ นการเอาความอันเป็ นเท็จฟ้ องอังคารต่อศาล จันทร์จึงมี ความผิ ดตาม ปอ. แต่ การที่จั นทร์ถ อนฟ้ องก่อ นสื บพยานจำา เลยโดยแถลงว่ า ความจริ ง อังคารมิได้กระทำาผิดตามข้อกล่าวหาเป็ นการล่แก่โทษต่อศาล และขอถอนฟ้ องก่อนมีคำา พิพากษา จันทร์ ย่อ มได้ รับผลตามมาตรา 176 ซึ่งศาลอาจใช้ด่ ลพิ นิจ ลงโทษจั นทร์น้อ ย กว่าที่มาตรา 175 กำาหนดไว้เพียงใดก็ได้ ดำาเป็ นพยานรู้เห็นในขณะที่แดงยืมเงินจากเขียว เมื่อเขียวมาฟ้ องแดงเรียกเงินกู้ ที่ยืมคืน และอ้างดำาเป็ นพยาน ดำากลับเบิกความว่า ดำาไม่เห็นแดงยืมเงินจากเขียว ในที่ส่ด ศาลพิพากษายกฟ้ อง เขียวจึงมาฟ้ องดำาว่าเบิกความเท็จในคดีดังกล่าว ดำา ต่อสู้ว่า การจะ เป็ นความผิดฐานเบิกความเท็จได้ จะต้องเป็ นการเบิกความเท็จในคดีอาญาเท่านั้น ดังนั้น ข้อกล่าวอ้างของดำาฟั งขึ้นหรือไม่ ดำา มีความผิดฐานเบิกความเท็ จ เพราะการที่ ดำา รู้เห็ นในขณะแดงยื ม เงิน ถือ ว่า เป็ นข้อสำา คัญในคดี แม้คดีท่ีดำา เบิกความจะเป็ นคดีแพ่งดำา ก็มีความผิดฐานเบิกความเท็จ ตาม ปอ. มาตรา 177 ซึ่งบัญญัติความผิดฐานเบิกความเท็จทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา ต่าง จากกับ การฟ้ องเท็ จ ตามมาตรา 175 ซึ่งจะต้ อ งเป็ นการฟ้ องเท็ จ เฉพาะความผิ ดอาญา เท่านั้น มาตรา 175 ผู้ใดเอาความอันเป็ นเท็จฟ้ องผู้อ่ ืนต่อศาลว่ากระทำา ความผิดอาญา หรือว่า กระทำาความผิดอาญาแรงกว่าที่เป็ นจริง ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่น บาท
มาตรา 176 ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 175 แล้วล่แก่โทษ ต่อศาลและขอถอน ฟ้ องหรือ แก้ ฟ้องก่ อ นมี คำา พิ พากษา ให้ ศ าลลงโทษ น้อ ยกว่ า ที่ ก ฎหมายกำา หนดไว้ ห รื อ ศาลจะไม่ ลงโทษเลยก็ได้ มาตรา 177 ผู้ใดเบิกความอันเป็ นเท็จในการพิจารณาคดีต่อศาล ถ้าความเท็จนั้ นเป็ น ข้อสำาคัญในคดี ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ า ความผิ ด ดั ง กล่ า วในวรรคแรก ได้ ก ระทำา ในการพิ จ ารณา คดี อ าญา ผู้ ก ระทำา ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท
3.2 ความผิดต่อเจูาพนักงานในการยุติธรรม (2) 1. พยานหลัก ฐานหรือ ทรั พ ย์ สิ น แห่ ง คำา พิ พ ากษาหรื อ คำา สั่ ง จำา เป็ นต้ อ งได้ รั บ ความ ค้่มครอง ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาพิพากษา และบังคับคดีแพ่งและคดีอาญา 2. เมื่อศาลวินิจฉัยว่าจำาเลยมีความผิดและลงโทษจำาเลย จำาเลยจะต้องได้รับโทษตาม คำาพิพากษาของศาล การกระทำาให้ผู้ต้องโทษไม่ได้รับโทษตามคำาพิพากษา จึงเป็ นเรื่องที่ รัฐต้องลงโทษแก่ผู้กระทำา 3. วิธีการเพื่อความปลอดภัย นอกจากจะเป็ นการค้่มครองบ่คคลนั้นแล้ว ยังค้่มครอง สาธารณชนอีกด้วย การฝ่ าฝื นวิธีการเพื่อความปลอดภัยจึงเป็ นเรื่องที่รัฐจะต้องลงโทษ 4. ศาลหรือผู้พิพากษาปฏิบัติหน้าที่ในการอำา นวยความย่ติธรรม ในพระปรมาภิไธย ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การดูหมิน ่ ศาลหรือผู้พิพากษา กฎหมายจึงเอาโทษหนัก กว่าดูหมิ่นเจ้าพนักงานอื่น 3.2.1 ทำาลายทรัพย์สินในคดีหรือเอกสารของผู้อ่ ืน
โจทก์ฟ้องจำาเลยเรียกหนี้ ตามสัญญาต่อศาล จำาเลยทำาสัญญาประนี ประนอมยอม ความโดยขอผ่อนชำาระต่อโจทก์ ต่อมาจำา เลยสมคบกับพวกขายเรือนของจำา เลยให้บ่คคล อื่นไปเสีย จนโจทก์ไม่อาจยึดเรือนมาขายทอดตลาดเพื่อชำาระหนี้ ตามคำาพิพากษาได้ ดังนี้ จำาเลยจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ การที่จำาเลยสมคบกับพวกขายเรือนของจำาเลยให้บ่คคลอื่นไป จนโจทก์ไม่อาจยึด เรือนขายทอดตลาดเพื่อชำาระหนี้ ตามคำาพิพากษาได้ ถือว่าการกระทำาของจำา เลยเป็ นการ ทำา ให้ทรัพย์ซึ่งน่ า จะถูกยึดสูญ หายไป การกระทำา ของจำา เลยย่อมเป็ นความผิดตาม ปอ. มาตรา 187 จน กู้ยืมเงิน มี ไป 1,000 บาท จนเขียนในกระดาษแผ่นหนึ่ งความว่า กู้ยืมเงินมี ไป 1,000 บาท รั บ เงิ น ไปครบแล้ ว ลงลายมื อ ชื่ อจนไว้ แล้ ว มอบให้ มี ไ ป ต่ อ มาจนพบ หนั งสื อ ฉบับ นี้ ใ นลิ้น ชัก โตุะ ทำา งานของมีซึ่ง ทำา งานอยู่แ ห่ง เดี ยวกัน จน แอบใช้น้ ำ ายาลบ หมึกลบข้อความและชื่อของตนในหนังสือดังกล่าวออกหมดสิ้น ดังนี้ จนมีความผิดฐานใด หรือไม่ การที่จนลบข้อความและชื่อของตนในกระดาษดังกล่าวออกเป็ นการทำาให้สัญญา กู้ยืมเงินเสียหายและไร้ประโยชน์ต่อนายมี การกระทำาของนายจนจึงมีความผิดตาม ปอ. มาตรา 188 มาตรา 187 ผู้ใ ดเพื่อจะมิให้ การเป็ นไปตามคำา พิ พากษาหรือ คำา สั่ งของศาล ทำา ให้เสี ย หาย ทำาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำาให้สูญหาย หรือไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ท่ีถูกยึดหรืออายัด หรือที่ตนรู้ว่าน่ าจะถูกยึด หรืออายัด ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 188 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือ ทำาให้สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารใดของผู้อ่ ืน ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ ืนหรือ ประชาชนต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท 3.2.2 การกระทำาเพื่อมิใหูตูองโทษ
วอนไปเยี่ยมวันผู้ต้องหา ซึง ่ ถูกค่มตัวระหว่างสอบสวนอยู่ท่ีสถานี ตำารวจแห่งหนึ่ ง ขณะเจ้าหน้าที่ตำา รวจเผลอวอนแอบส่งใบเลื่อยให้วัน วันใช้ใบเลื่อยนั้นเลื่อยลูกกรงเหล็ก ห้องขังหลบหนี ไปได้ ดังนี้ วอนมีความผิดฐานใดหรือไม่ การกระทำา ของวอน มิ ใ ช่ เ ป็ นการกระทำา ให้ วั น หล่ ด พ้ น จากการค่ ม ขั ง ตาม บทบัญญัติแห่งมาตรา 191 แต่เป็ นการสนับสน่นให้นายวันผู้ถูกค่มขังหลบหนี ไประหว่าง ค่มขังอยู่ตามอำานาจของพนักงานสอบสวน จึงเป็ นความผิดตาม ปอ. มาตรา 190 , 86 มาตรา 190 ผู้ ใ ดหลบหนีไประหว่ า งที่ ถู ก ค่ ม ขั ง ตามอำา นาจของศาล ของพนั ก งาน อัยการ ของพนักงานสอบสวน หรือของเจ้าพนักงานผู้มีอำานาจสืบสวนคดีอาญา ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
ถ้าความผิดดังกล่าวมาในวรรคแรกได้กระทำา โดยแหกที่ค่มขัง โดยใช้กำา ลังประท่ษร้าย หรือโดยขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประท่ษร้าย หรือโดยร่วมกระทำาความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าความผิดตาม มาตรานี้ ได้กระทำาโดยมีหรือใช้อาว่ธปื น หรือวัตถ่ระเบิดผู้กระทำา ต้อง ระวางโทษหนักกว่าโทษที่กฎหมายบัญญัติ ไว้ในสองวรรคก่อนกึ่งหนึ่ ง 3.2.3 ฝ่ าฝืนวิธีการเพื่อความปลอดภัย
เหลื อ งกระทำา ความผิ ด อาญาเรื่ องหนึ่ ง ศาลไม่ พิ พ ากษาลงโทษเพราะเห็ น ว่ า เหลืองกระทำาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะ มีจิตบกพร่อง แต่เห็นว่าหากปล่อยเหลืองไปจะไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจึงสั่งให้ค่ม ตัวเหลือ งไว้ใ นสถานพยาบาล ในระหว่างที่ถูกค่มตัวอยู่น้ั น เหลือ งหลบหนี ไปจากสถาน พยาบาลดังนี้ เหลืองจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ วิ ธี ก ารที่ ศ าลสั่ ง ให้ ค่ ม ตั ว เหลื อ งไว้ ใ นสถานพยาบาล เป็ นวิ ธี ก ารใช้ วิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภั ย แก่ ป ระชาชน ตามปอ.มาตรา 48 มิใ ช่ ต ามปอ. มาตรา 49 ซึ่ง เป็ นการ กระทำา ความผิดเกี่ยวเนื่ องกับการเสพส่ ราเป็ นอาจิณ หรือ ติ ดยาเสพติด ให้ โทษ ซึ่งหาก ศาลใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยโดยค่มตัวไว้ในสถานพยาบาลตามมาตรา 49 แล้ว และ ผู้ถูกค่มตัวหลบหนี จากสถานพยาบาล ผู้หลบหนี จะมีความผิดตามปอ. มาตรา 195 ดังนั้น การหลบหนี ของเหลืองจากสถานพยาบาล ผู้หลบหนี จึงมีความผิดตาม ปอ.มาตรา 195 ดังนั้นการหลบหนีของเหลืองจากสถานพยาบาลจึงไม่มีความผิด เพราะเหลืองมิได้ถูกคุม ตัวไว้ตามมาตรา 49 มาตรา 48 ถ้าศาลเห็นว่า การปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่ อง โรคจิต หรือจิตฟั่ นเฟื อนซึ่งไม่ ต้องรับโทษหรือได้รับการลดโทษตาม มาตรา 65 จะเป็ นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะสั่ง ให้ส่งไปค่มตัวไว้ ในสถานพยาบาลก็ได้ และคำาสั่งนี้ ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้ มาตรา 49 ในกรณีท่ีศาลพิพากษาลงโทษจำา ค่ก หรือพิพากษาว่า มีความผิดแต่รอการ กำาหนดโทษ หรือรอการลงโทษบ่คคลใด ถ้าศาล เห็นว่าบ่คคลนั้นได้กระทำาความผิดเกี่ยวเนื่ องกับ การเสพส่ราเป็ น อาจิณ หรือการเป็ นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ศาลจะกำาหนดในคำาพิพากษา ว่าบ่คคล นั้ นจะต้องไม่เสพส่รา ยาเสพติด ให้ โทษ อย่ างหนึ่ งอย่างใด หรือทั้ งสองอย่ างภายในระยะเวลาไม่ เกินสองปี นับแต่วันพ้นโทษหรือ วันปล่อยตัวเพราะรอการกำาหนดโทษ หรือรอการลงโทษก็ได้ ในกรณีท่ีบ่คคลดังกล่าวในวรรคแรกไม่ปฏิบัติตามที่ศาลกำา หนด ศาลจะสั่งให้ส่งไปค่มตัว ไว้ในสถานพยาบาลเป็ นเวลาไม่เกินสองปี ก็ได้ 3.2.4 กีดกันหรือขัดขวางการขายทอดตลาด
ในระหว่างการขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามคำาพิพากษาคดีหนึ่ ง เขียว ญาติลูกหนี้ ตามคำาพิพากษาได้ขู่เข็ญผู้เข้าสู้ราคามิให้สู้ราคา หากเข้าสู้ราคาจะทำาร้าย จน ไม่มีบ่คคลใดกล้าสู้ราคา และในที่ส่ดเจ้าพนักงานบังคับคดีต้องเลื่อนการขายทอดตลาดไป ดังนี้ เขียวจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ การกระทำาของเขียว เป็ นความผิดตามปอ. มาตรา 197 เพราะการที่เขียวขู่เข็ญ ผู้ เ ข้ า สู้ ร าคามิ ใ ห้ สู้ ร าคา หากเข้ า สู้ ร าคาจะถู ก ทำา ร้ า ย เป็ นการขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะใช้ กำา ลั ง ประท่ษร้าย เพื่อกีดกันหรือขัดขวางการขายทอดตลาดแล้ว มาตรา 197 ผู้ใดใช้กำาลังประท่ษร้าย ขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประท่ษร้ายให้ประโยชน์ หรือ รั บว่ าจะให้ ป ระโยชน์ เพื่ อกี ด กั น หรื อ ขั ด ขวางการขาย ทอดตลาดของเจ้ า พนั ก งานเนื่ องจากคำา พิพากษาหรือคำาสั่งของศาลต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือ ทั้ง จำาทั้งปรับ 3.2.5 ด้หมิน ่ ศาลหรือผู้พิพากษา
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำาเลยแพ้คดี จำาเลยอ่ทธรณ์โดยกล่าวในอ่ทธรณ์ว่า ศาล ตัดสินไม่ต้องด้วยความย่ติธรรม ดังนี้ การกระทำาของจำาเลยเป็ นความผิดฐานดูหมิ่นศาล หรือผู้พิพากษาหรือไม่ จำาเลยไม่มีความผิดฐานดูหมิ่นศาล หรือผู้พิพากษา เพราะเป็ นการอ่ทธรณ์ ฎีกา ภายในขอบเขตของการดำา เนิ น คดี แ ละวิ พ ากษ์วิ จ ารณ์ด้ ว ยความเป็ นธรรมต้ อ งด้ ว ยข้ อ ยกเว้นตามบทบัญญัติความผิดฐานหมิน ่ ประมาท แดงส่ ง เสี ย งเอะอะและท่ บ โตุ ะ เก้ า อี้ ใ นระหว่ า งการพิ จ ารณาคดี เ รื่ องหนึ่ ง เจ้ า พนักงานศาลเข้าห้ามปรามกลับไม่ยอมเชื่อฟั ง จนศาลต้องเลื่อนการพิจารณาไป และได้ ไต่สวนในเรื่องที่แดงประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณศาลโดยลงโทษจำา ค่กฐานละเมิด อำานาจศาล 1 เดือน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ดังนี้ แดงจะมีความผิด ฐานขัดขวางการพิจารณาคดีของศาลอีกหรือไม่
การกระทำา ของแดงเป็ นความผิดต่อกฎหมาย 2 ฉบับคือ ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่งและตามประมวลกฎหมายอาญา แม้ศาลจะลงโทษแดงฐานละเมิด อำานาจศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งไปแล้ว ก็ไม่ลบล้างความผิดฐาน ขัดขวางการพิจารณาคดีของศาล ตาม ปอ.มาตรา 198 มาตรา 198 ผู้ ใ ดดู ห มิ่ น ศาลหรื อ ผู้ พิ พ ากษาในการพิ จ ารณาหรื อ พิ พ ากษาคดี หรื อ กระทำาการขัดขวางการพิจารณาหรือพิพากษาของ ศาลต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 3.2.6 ซ่อนเรูนศพ
แดงฆ่ า พี่ เ ขยตายในบ้ า นพั ก แล้ ว ตั ด ศี ร ษะพี่ เขยนำา ไปทิ้ ง ไว้ อี ก ที่ หนึ่ ง ดั ง นี้ นอกจากแดงจะมีความผิดฐานฆ่าผู้อ่ ืนแล้ว แดงจะมีความผิดฐานใดอีก การที่แดงตัดศีรษะซึ่งเป็ นส่วนหนึ่ งของศพพี่เขย แล้วนำาไปทิ้งไว้ท่ีแห่งหนึ่ ง ถือว่า แดงได้ย้า ยส่วนของศพเพื่อ ปิ ดบังเหต่แห่งการตาย การกระทำา ของแดงจึงเป็ นความผิด ตาม ปอ. มาตรา 199 อีกฐานหนึ่ งนอกจากความผิดฐานฆ่าผ้อ ู ่ ืน มาตรา 199 ผู้ใดลอบฝั ง ซ่อนเร้น ย้ายหรือทำา ลายศพหรือส่วน ของศพเพื่อปิ ดบังการ เกิด การตายหรือเหต่แห่งการตาย ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
3.3 ความผิดต่อเจูาพนักงานในการยุติธรรม (3) 1. เจ้าพนักงานในงานย่ติธรรมมีหน้าที่อำานวยความย่ติธรรมให้แก่ประชาชน การที่ เจ้ า พนั ก งานในการย่ ติ ธ รรมปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมิ ช อบ จะต้ อ งได้ รั บ โทษหนั ก กว่ า เจ้ า พนักงานอื่น 2. การบั ง คั บ คดี ต ามคำา พิ พ ากษาหรื อ คำา สั่ ง ศาล เป็ นกระบวนสำา คั ญ ที่ จ ะทำา ให้ คำา พิพากษาหรือคำาสั่งมีผลใช้บังคับ ดังนั้น การกระทำาในลักษณะที่ไม่อาจให้คำาพิพากษาหรือ คำาสั่งศาลมีผลใช้บังคับได้ ย่อมเป็ นความผิดและมีโทษ 3.3.1 เจูาพนักงานในการยุติธรรมช่วยบุคคลมิใหูตูองโทษ
ในระหว่างการสอบสวนคดีอาญาเรื่องหนึ่ ง ร้อยตำารวจเอกขาวได้จดคำาพยานผิด ไปจากที่พยานให้ถ้อยคำาเพื่อมีเจตนาจะช่วยผู้ต้อหามิให้รับโทษ แต่ต่อมาเมื่อผู้ต้องหาถูก ฟ้ องเป็ นจำา เลย พยานปากนั้ น ได้ เ บิ ก ความต่ อ ศาลและศาลได้ ล งโทษจำา เลยโดยอาศั ย พยานดังกล่าว ดังนี้ ร้อยตำารวจเอกขาวจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ การที่ร้อยตำารวจเอกขาวซึ่งเป็ นพนักงานสอบสวนจดคำาพยานผิดไปจากที่พยาน ให้ถ้อยคำา ก็เพื่อมีเจตนาช่วยผู้ต้องหามิให้ต้องรับโทษ การกระทำาของร้อยตำา รวจเอกขาว จึ ง เป็ นความผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 200 แม้ ต่ อ มาศาลจะเชื่ อคำา พยานปากนั้ น และนำา ไป ลงโทษจำาเลยซึ่งไม่สมประโยชน์ของร้อยตำารวจเอกขาวก็ตาม การกระทำาของร้อยตำารวจ เอกขาวก็ยังเป็ นความผิดอาญาอยู่ มาตรา 200 ผู้ ใ ดเป็ นเจ้ า พนั ก งานในตำา แหน่งพนั ก งานอั ย การ ผู้ ว่ า คดี พนั ก งาน สอบสวนหรื อ เจ้ า พนั ก งานผู้ มี อำา นาจสื บ สวนคดี อ าญา หรื อ จั ด การให้ เ ป็ นไปตามหมายอาญา กระทำาการหรือไม่กระทำาการ อย่างใด ๆ ในตำาแหน่ งอันการมิชอบ เพื่อจะช่วยบ่คคลหนึ่ งบ่คคลใด มิให้ต้องโทษหรือให้รับโทษน้อยลงต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หกเดือน ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่ ง พันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถ้าการกระทำาหรือไม่กระทำานั้นเป็ นการเพื่อ จะแกล้งให้บ่คคลหนึ่ ง บ่คคลใดต้องรับโทษ รับโทษหนั กขึ้ น หรือ ต้ อ งถู กบั ง คั บ ตามวิ ธี การ เพื่ อความปลอดภั ย ผู้ กระทำา ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตลอดชีวิตหรือ จำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 3.3.2 เจูาพนักงานในงานยุติธรรมเรียกรับ หรือยอมรับสินบน
ร้อยตำารวจเอกแดง เรียกเงินจำานวนหนึ่ งจากญาติของผู้ตอ ้ งหาในความผิดอาญา เรื่องหนึ่ ง เพื่อทำาความเห็นสั่งไม่ฟ้องซึ่งจากพยานหลักฐานในคดี ร้อยตำารวจเอกแดงต้อง มีความเห็นสั่งไม่ฟ้องอยู่แล้ว ดังนี้ ร้อยตำารวจเอกแดงจะมีความผิดตามปอ. มาตรา 201 หรือไม่ ร้อยตำา รวจเอกแดง มีความผิดตาม ปอ. มาตรา 201 แม้ตามพยานหลักฐานใน คดี ร้อยตำารวจเอกแดงจะต้องทำาความเห็นสั่งไม่ฟ้อง ซึ่งเป็ นการกระทำา ที่ชอบด้วยหน้าที่ ก็ตาม เพราะการเรียกเงินจากญาติผู้ตอ ้ งหาเป็ นการกระทำาโดยมิชอบ มาตรา 201 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนั กงานในตำา แหน่ งต่ล าการพนั กงาน อัยการ ผู้ว่ าคดี หรือ พนักงานสอบสวน เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ ืนใดสำา หรับตนเองหรือ ผู้อ่ ื น โดยมิชอบเพื่อกระทำาการหรือไม่กระทำาการอย่างใดในตำาแหน่ ง ไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วย
หน้าที่ ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่สองพันบาทถึง สี่หมื่นบาทหรือประหารชีวิต 3.3.3 เจูาพนักงานในงานยุติธรรมเรียกสินบนก่อนรับตำาแหน่ง
ดำา เป็ นพนั ก งานอั ย การ ต่ อ มาดำา ทราบว่ า ตนจะย้ า ยไปดำา รงตำา แหน่ ง อั ย การ จังหวัดแห่งหนึ่ ง ขณะยังไม่ได้ย้ายไปประจำา ต่างจังหวัด ได้เรียกเงินจำา นวนหนึ่ งจากญาติ ของผู้ต้องหาซึ่งกระทำา ความผิดโดยสัญญาว่าเมื่อ ย้ายไปเป็ นอัยการจังหวัดแล้วจะสั่งไม่ ฟ้ องผู้ต้องหานั้น และเมื่อดำา ย้ายไปเป็ นอัยการจังหวัดได้มีคำา สั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา ดังนี้ ดำา จะมีความผิดตามปอ. มาตรา 202 หรือไม่ การที่ดำา เรียกเงินจำา นวนหนึ่ งจากญาติของผู้ต้องหาก่อนที่จะย้า ยไปเป็ นอัยการ จังหวัด และเมื่อย้ายไปมิได้มีคำาสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหานั้น เป็ นการเรียกทรัพย์สินก่อนที่ดำา ได้ รั บ ตำา แหน่ ง และการคำา สั่ ง ไม่ ฟ้ องก็ โ ดย เห็ น แก่ ท รั พ ย์ สิ น ที่ ดำา ได้ เ รี ย กไว้ ก่ อ นจะได้ รั บ ตำาแหน่ ง การกระทำาของดำาจึงเป็ นความผิดตามปอ. มาตรา 202 มาตรา 202 ผู้ใ ดเป็ นเจ้ าพนั กงานในตำา แหน่ งต่ ล าการพนั ก งาน อัย การผู้ ว่ าคดี หรื อ พนักงานสอบสวน กระทำาการหรือไม่กระทำาการ อย่างใด ๆ ในตำาแหน่ ง โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อ่ ื นใด ซึ่ง ตนได้เรีย ก รับ หรือ ยอมจะรั บไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่ งตั้ งในตำา แหน่ ง นั้ น ต้อ ง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำาค่กตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหารชีวิต 3.3.4 เจูาพนักงานปู องกันหรือขัดขวางมิใหูการเป็ นไปตามคำาพิพากษา หรือคำาสัง่ เขียวเป็ นเจ้าพนักงานบังคับคดี มีหน้าที่ยึดทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามคำา พิพากษา เขียวได้บอกให้ลูกหนี้ ยักย้า ยทรัพย์ไปเสียก่อ นวันยึดทรัพย์ ดังนี้ เขียวจะมีความผิดตาม ปอ.มาตรา 203 หรือไม่ เขี ย วเป็ นเจ้ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี มี ห น้ า ที่ ยึ ด ทรั พ ย์ สิ น ของลู ก หนี้ เพื่ อขายทอด ตลาด แต่เขียวกลับบอกให้ลูกหนี้ ตามคำา พิพากษายักย้า ยทรัพย์ไปเสี ยก่อ นวันยึดทรัพย์ การกระทำาของเขียวจึงเป็ นการป้ องกันและขัดขวางมิให้การเป็ นไปตามคำา พิพากษา และ คำาสั่งของศาล เป็ นความผิดตามปอ.มาตรา 203 มาตรา 203 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็ นไป ตามคำาพิพากษาหรือคำา สั่งของศาล ป้ องกันหรือขัด ขวางมิให้การเป็ น ไปตามคำาพิพากษาหรือคำาสั่งนั้ น ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 3.3.5 เจูาพนักงานทำาใหูผถ ู้ ้กคุมขังหลุดพูนจากการคุมขัง
ดำา เป็ นเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์พาผู้ต้องขังออกจากเรือนจำา ไปเยี่ยมบ้านโดยพลการ และพากลับเข้าเรือนจำาในตอนเย็นวันเดียวกันนั้นเอง ดังนี้ ดำา จะมีความผิดฐานทำา ให้ผู้ท่ี อยู่ระหว่างค่มขังพ้นจากการค่มขังไปหรือไม่ การที่ดำาพาผู้ต้องหาออกจากเรือนจำาไปเยี่ยมบ้านโดยพลการ ถือได้ว่าดำาทำาให้ผู้ ถูกค่มขังหล่ดพ้นจากการค่มขังแล้ว แม้ดำา จะไปด้วยและพากลับเข้าเรือนจำาในเย็นวันนั้น เองก็ตาม เพราะการหล่ดพ้นอาจเป็ นการหล่ดพ้นไปเลยหรือเป็ นการชั่วคราวก็ได้ มาตรา 204 ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีตำาแหน่ งหน้าที่ควบค่มดูแล ดูแลผู้ท่ีต้องค่มขังตาม อำา นาจของศาล ของพนั กงานสอบสวน หรือของเจ้าพนั กงานผู้มี อำา นาจสื บสวนคดี อาญา กระทำา ด้ว ยประการใด ๆ ให้ ผู้ ท่ี อ ยู่ ใ นระหว่ า งค่ ม ขั งนั้ น หล่ ด พ้ น จากการค่ ม ขั ง ไป ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถ้าผู้ท่ีหล่ดพ้นจากการค่มขังไปนั้ นเป็ นบ่คคลที่ต้องคำา พิพากษาของศาลหนึ่ งศาลใด ให้ ลงโทษประหารชีวิต จำาค่กตลอดชีวิตหรือจำาค่ก ตั้งแต่สิบห้าปี ขึ้นไป หรือมีจำานวนตั้งแต่สามคนขึ้น ไป ผู้กระทำาต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ส่ีพันบาทถึง สองหมื่นบาท 3.3.6 เจูาพนักงานทำาใหูผถ ู้ ้กคุมขังหลุดพูนจากการคุมขังโดยประมาท
แดงเป็ นเจ้า หน้า ที่ ร าชทั ณฑ์ ใ ช้ใ ห้ เขีย วผู้ ต้อ งขั ง ล้ า งรถจั ก รยานยนต์ ใ กล้ ป ระตู เรือนจำา ระหว่างล้างอยู่น้ันเขียวสบโอกาสเห็นแดงเผลอ จึงขับรถจักรยานยนต์ออกจาก ประตูเรือนจำาไป ดังนี้ แดงจะมีความผิดฐานใด การที่แดงใช้ให้เขียวผู้ต้องขังล้างรถจักรยานยนต์ใกล้ประตูเรือนจำา จนเขียวขับ รถจักรยานยนต์หลบหนี ไปได้น้ัน เป็ นการกระทำา โดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งหาก เป็ นเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์อ่ ืนแล้วจะไม่ทำาอย่างนั้น การกระทำาของแดงจึงเป็ นการกระทำาให้ ผู้ถูกค่มขังหล่ดพ้นจากการค่มขังโดยประมาท เป็ นความผิดตามปอ. มาตรา 205 มาตรา 205 ถ้าการกระทำา ดั งกล่าวใน มาตรา 204 เป็ นการกระทำา โดยประมาท ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน สี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
ถ้ า ผู้ ท่ี ห ล่ ด พ้ น จากการค่ ม ขั ง ไปด้ ว ยการกระทำา โดยประมาทนั้ น เป็ น บ่ ค คลที่ ต้ อ งคำา พิพากษาของศาลหนึ่ งศาลใดให้ลงโทษประหารชีวิต จำาค่กตลอดชีวิตหรือจำาค่กตั้งแต่สิบห้าปี ขึ้นไป หรือมีจำานวนตั้งแต่ สามคนขึ้นไป ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกินหก พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าผู้กระทำาความผิดจัดให้ได้ตัวผู้ท่ีหล่ดพ้นจากการค่มขังคืนมาภายในสามเดือนให้งดการ ลงโทษแก่ผู้กระทำาความผิดนั้น
แบบประเมินผลตนเอง หน่วยที่ 3
1. สินบนหมายความว่า ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ น ื ใด 2. สมศักดิเ์ ป็ นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนแห่งหนึ่ งเสนอต่อพนักงานอัยการว่า หากสั่งไม่ฟ้องคดีท่ี
น้องชายสมศักดิต ์ กเป็ นผู้ต้องหา จะรับบ่ตรของพนั กงานอั ยการคนนั้ นเข้าเรี ยนในโรงเรีย นที่ สม ศักดิเ์ ป็ นอาจารย์ใหญ่ ดังนี้ สมศักดิจ์ ะมีความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงานในการย่ติธรรมหรือไม่ สมศักดิม ์ ีความผิด เพราะการรับว่าจะให้บ่ตรของพนักงานอัยการเข้าโรงเรียนเป็ นการรับว่าจะให้ ประโยชน์อ่ ืนใดแล้ว 3. พนั ก งานสอบสวนมี ห มายเรี ย กให้ ผู้ ต้อ งหามาพบเพื่ อสอบถามคำา ให้ ก ารเพิ่ ม เติ ม แต่ ผู้ ต้องหาไม่ มาพบโดยไม่ มีข้ อแก้ตัวอั นสมควร ดังนี้ ผู้ ต้อ งหาจะมี ความผิ ด ฐานขั ด ขืน คำา บั ง คั บของ พนักงานสอบสวนหรือไม่ คำาตอบ ไม่มีความผิดเพราะหากผู้ต้องหาไม่มาตามหมายเรียก โดยไม่มี ข้อแก้ตัวอันควร ปวอ.มาตรา 66(3) ได้บัญญัติทางแก้เอาไว้แล้วคือให้พนักงานสอบสวนมีอำานาจ ออกหมายจับ 4. การที่จะเป็ นความผิดฐานแจ้งความเท็จนั้นจะต้องมีสาระสำาคัญคือ เป็ นการแจ้งความเท็จ เกี่ยวกับความผิดอาญา 5. ความผิดฐานเบิกความเท็จเป็ นความผิดที่กระทำา ต่อศาลในการพิจารณาคดีแพ่งและคดี อาญา และ ความเท็จนั้นต้องเป็ นข้อสำาคัญในคดี 6. มารดาที่ให้ท่ีพักแก่บ่ตรซึ่งหลบหนี การจับก่มของเจ้าพนั กงานตำา รวจในคดีลักทรัพย์ ดัง นั้น มารดาจะมีความ ผิดและต้องรับโทษหรือไม่ คำาตอบ มารดามีความผิดฐานช่วยผู้กระทำาผิดเพื่อ มิให้ถูกจับก่มแต่ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ 7. การที่มีผู้ส่งเสียงเอะอะในระหว่างการพิจารณาคดีของศาล จะเป็ นความผิดฐานขัดขวาง การพิจารณาของศาลหรือไม่ คำาตอบ อาจเป็ นความผิดหากการส่งเสียงเอะอะนั้นทำาให้ศาลไม่อาจ พิจารณาคดีต่อไปได้ จนต้องเลื่อนการพิจารณาคดีออกไป 8. พนักงานอัยการตรวจสำานวนคดีอาญาเรื่องหนึ่ งแล้วเห็นว่าควรสั่งไม่ฟ้องเพราะพยานหลัก ฐานอ่ อ น แต่ พ นั ก งานอั ย การผู้ น้ั น กลั บ ไปเรี ย กเงิ น จากญาติ ข องผู้ ต้ อ งหาเพื่ อสั่ ง ไม่ ฟ้ องดั ง นี้ พนั ก งานอั ย การจะมี ค วามผิ ด หรื อ ไม่ คำา ตอบ มี ค วามผิ ด เพราะเป็ นการเรี ย กเอาทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ ตนเองเพื่อสั่งไม่ฟ้องแม้ตามพยานหลักฐานจะไม่พอฟ้ องผู้ต้องหาก็ตาม 9. ก่อนเจ้าพนักงานบังคับคดีจะไปยึดทรัพย์ลูกหนี้ ตามคำาพิพากษา เจ้าพนักงานบังคับคดีอีก คนหนึ่ งบอกให้ลูก หนี้ ตามคำาพิพากษาย้ายทรัพย์สินออกไปจากบ้าน ดังนี้ เจ้าพนักงานบังคับคดีจะ มีความผิดทางอาญาหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดเพราะเจ้าพนักงานบังคับคดีมีหน้าที่ปฏิบัติการให้ เป็ นไปตามคำาพิพากษาของศาล การบอกให้ลูกหนี้ ยักย้ายทรัพย์ไป จึงเป็ นการป้ องกันหรือขัดขวาง มิให้การเป็ นไปตามคำาพิพากษาหรือคำาสั่งศาล 10. เจ้ า หน้า ที่ ร าชทั ณ ฑ์ ก ระทำา โดยประมาททำา ให้ ผู้ ต้อ งขั ง หล่ ด พ้ น จากการค่ ม ขั ง ไป แต่ ไ ด้ พยายามติดตามจับก่มมาได้ภายในกำาหนด 3 เดือน ดังนี้ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์จะมีความผิดอย่างไร หรือไม่ คำาตอบ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ยังมีความผิดอยู่แต่กฎหมายให้งดการลงโทษ 11. สมศักดิต์ กเป็ นผู้ต้องหาคดีอาญาเรื่องหนึ่ ง สมพงษ์น้องชายของสมศักดิไ์ ปพบพนั กงาน สอบสวนเสนอแก่พนักงานสอบสวนว่าหากมีความเห็นไม่ฟ้องจะพาพนักงานสอบสวนไปเที่ยวต่าง ประเทศ ดั งนี้ สมพงษ์จ ะมี ความผิ ด ฐานให้ สิ น บนเจ้ าพนั กงานในการย่ ติธ รรมหรื อ ไม่ คำา ตอบ มี ความผิ ด ฐานให้ สิ น บนเจ้ า พนั ก งานในการย่ ติ ธ รรม แม้ เ ป็ นเพี ย งข้ อ เสนอว่ า จะพาไปเที่ ย วต่ า ง ประเทศก็ตาม 12. ผู้ต้องหาไม่ยอมมาตามหมายเรียกของพนักงานสอบสวนซึ่งเรียกมาเพื่อให้ถ้อยคำาในฐานะ พยาน โดยไม่มี ข้อ แก้ ตัว อันสมควร ดั งนี้ ผู้ ต้อ งหาจะมี ความผิ ด ฐานขั ด ขื น คำา บั งคั บของพนั กงาน สอบสวนหรือไม่ คำาตอบ เป็ นการเรียกผู้ต้องกามาให้ถ้อยคำาในฐานะพยาน การที่ผู้ต้องหาไม่ยอม มาพบพนั ก งานสอบสวนโดยไม่ มี ข้ อ แก้ ตั ว อั น สมควร จึ ง เป็ นความผิ ด ฐานขั ด ขื น คำา บั ง คั บ ของ พนักงานสอบสวน 13. ข้อที่ไม่ถือว่าเป็ นความผิดฐานแจ้งความเท็จคือ แจ้งความเท็จเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง 14. ผู้ท่ีกระทำาความผิดฐานเบิกความเท็จอาจไม่ต้องรับโทษกรณี ล่แก่โทษและกลับแจ้งความ จริงต่อศาลก่อนจบคำาเบิกความ
15. มารดาให้ ท่ี พำา นั ก แก่ ส มพงษ์บ่ ต รชายซึ่ ง หลบหนี การจั บ ก่ ม ของเจ้ า พนั ก งานตำา รวจ เนื่ องจากสมพงษ์ถูก กล่ าวหาว่ าพกพาอาว่ ธ มี ด ไปในที่ ส าธารณะ ดั ง นี้ มารดาจะมี ค วามผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 189 หรือไม่ คำาตอบ ไม่ผิดเพราะสมพงษ์ยังมิได้ถูกเจ้าพนักงานตำารวจจับก่ม 16. ในกรณี ก ล่ า วในอ่ ท าหรณ์โ ดยส่ จ ริ ต ว่ า ศาลตั ด สิ น ไม่ ต้อ งด้ ว ยความย่ ติ ธ รรม ไม่ ถื อ ว่ า เป็ นการดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาคดี
หน่วยที่ 4 ความผิดเกีย ่ วกับศาสนา ความสงบสุขของ ประชาชนและการคูา 1. ศาสนาเป็ นสถาบันที่สำาคัญของสังคม กฎหมายจึงต้องให้ความค้่มครองแก่ศาสนา และให้ความค้่มครองโดยเท่าเทียมกันท่กศาสนา แต่การค้่มครองนี้ เป็ นการค้่ม ครองแก่ ตัวสถาบัน มิใช่ค้่มครองตัวบ่คคลโดยเฉพาะ 2. ความสงบส่ขของประชาชนย่อมเป็ นสิ่งสำา คัญ กฎหมายจึงลงโทษการกระทำา อัน เป็ นภัยค่กคามต่อความสงบส่ขนี้ 3. ความปลอดภั ย ในชี วิ ต ร่ า งกายและทรั พ ย์ สิ น เป็ นสิ่ ง ที่ รั ฐ ต้ อ งให้ ค วามค้่ ม ครอง ฉะนั้นการก่อให้เกิดอัคคีภัย และการละเมิด ที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่ประชาชนจึงเป็ นความ ผิด 4. ความปลอดภัยของประชาชน ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในสาธารณูปโภคเป็ นสิ่งที่ รัฐให้ความค้่มครอง กฎหมายจึงบัญญัติให้การกระทำา ที่น่าจะเป็ นอันตรายต่อสิ่งดังกล่าว เป็ นความผิด 5. การหลอกลวงหรือเอาเปรียบกันในทางการค้าโดยวิธีการที่มิชอบจะต้องได้รับโทษ ทางอาญา 4.1 ความผิดเกีย ่ วกับศาสนา
1. การกระทำา เหยียดหยามศาสนา ต้อ งเป็ นการกระทำา แก่วัตถ่หรือ สถานอันเป็ นที่ เคารพในศาสนาไม่ว่าจะเป็ นศาสนาใด แต่ไม่รวมถึงการกระทำา ต่อตัวบ่คคล แม้จะเป็ นที่ เคารพของ ศาสนิ กชนก็ตาม 2. การก่อ ให้เ กิ ด ความว่่ น วายขึ้ นในที่ ป ระช่ม ศาสนิ กชนประช่ ม กั น มนั ส การ หรื อ การกระทำาพิธีกรรมทางศาสนาจึงเป็ นความผิด ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ท่ีไปประช่มกันจะมีปฏิกิริยา ว่่นวายหรือไม่ก็ตาม 3. การแต่งกายหรือใช้เครื่องหมายที่แสดงว่าเป็ นภิกษ่ สามเณร นักพรต หรือนักบวช โดยไม่มีสิทธิเป็ นความผิดถ้ากระทำาเพื่อให้ผอ ู้ ่ ืนเชื่อว่าตนเป็ นบ่คคลเช่นนั้น 4.1.1 การกระทำาเหยียดหยามศาสนา
ฟ้ านักทัศนาจรจากอังกฤษมาท่องเที่ยวในเมืองไทย และซื้อพระพ่ทธรูปจากร้าน ของเก่าโดยคิดว่าเป็ นวัตถ่โบราณ เมื่อกลับถึงโรงแรมที่พักก็เอาพระพ่ทธรูปวางไว้กับพื้น ห้อง และเอาเสื้อผ้าใช้แล้วปิ ดทับ ฟ้ ามีความผิดฐานกระทำา การเหยียดหยามศาสนาหรือ ไม่ ฟ้ าไม่ผิดฐานกระทำาการเหยียดหยามศาสนา เพราะแม้พฤติการณ์ในการกระทำา จะเป็ นการกระทำา อั น เป็ นการเหยี ย ดหยามศาสนาพ่ ท ธ แต่ ฟ้ าก็ ไ ม่ เ จตนากระทำา ผิ ด เนื่ องจากไม่รู้ข้อ เท็ จจริง อัน เป็ นองค์ป ระ กอบของความผิ ด ตามมาตรา 59 วรรค 3 ว่ า พระพ่ทธรูปนั้นเป็ นวัตถ่อันเป็ นที่เคารพในศาสนาพ่ทธ โดยเข้าใจว่า เป็ นโบราณวัตถ่ชิ้น หนึ่ งเท่านั้น 4.1.2 ก่อใหูเกิดความวุ่นวายในทีป ่ ระชุมศาสนิ กชน
ขณะพ่ทธศาสนิ กชนหลายคนนั่งฟั งเทศน์ทางวิทย่โทรทัศน์ในบ้าน แดงแกล้งร้อง ตะโกนว่า ไฟไหม้ ทำาให้ผู้ท่ีน่ังฟั งเทศน์ตกใจวิ่งหนี กันช่ลม่น แดงจะผิดฐานก่อให้เกิดความ ว่่นวายในการประช่มศาสนิ กชนตามมาตรา 207 หรือไม่ กรณี จะเป็ นอย่างไร ถ้าแดงกระทำา เช่นนั้นในขณะที่ผู้อ่ ืนนั่งฟั งเทศน์อยู่บนศาลา พักร้อนในวัด โดยฟั งจากลำาโพงที่ต่อจากเครื่องขยายเสียงในโบสถ์ท่ีพระกำาลังเทศน์อยู่ ความผิดตามมาตรา 207 นั้น ต้องประทำา ลงในที่ประช่มศาสนิ กชนเวลาประช่ม กันมนัสการ หรือกระทำาพิธีกรรมตามศาสนาโดยชอบด้วยกฎหมาย
กรณีแรก แดงจึงไม่มีความผิดตามมาตรา 207 เพราะแม้การกระทำาของแดงจะ เป็ นการก่อให้เกิดความว่่นวายขึ้นก็ตามแต่ก็มิได้ทำาขึ้นในเวลาที่ ศาสนิ กชนประช่มกันทำา พิธีกรรมทางศาสนา แต่กรณีหลังแดงผิดตามมาตรา 207 นี้ เพราะได้ก่อความว่่นวายใน ที่ประช่มศาสนิ กชนในเวลาประช่มกันฟั งเทศน์อันเป็ นพิธีกรรมทางศาสนาแม้จะเป็ นการ นั่งฟั งเทศน์บนศาลาพักร้อนในวัดก็ตาม มาตรา 207 ผู้ ใ ดก่ อ ให้ เ กิ ด การว่่ น วายขึ้ น ในที่ ป ระช่ ม ศาสนิกชน เวลาประช่ ม กั น นมัสการ หรือกระทำาพิธีกรรมตามศาสนาใด ๆ โดย ชอบด้วยกฎหมาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกิน หนึ่ งปี หรือปรับไม่เกิน สองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.1.3 แต่งกายหรือใชูเครื่องหมายในศาสนาโดยมิชอบ
นายโธมัสช่างภาพนิ ตยสารแฟชั่นได้ว่า จ้า งนางสาวโยโกุะใส่ช่ดว่า ยนำ้ า และให้ กอดกั บ พระภิ ก ษ่ ใ นพ่ ท ธศาสนารู ป หนึ่ ง แล้ ว ถ่ า ยภาพไปลงนิ ต ยสารดั ง กล่ า วโดยนาย โธมั สรู้ ว่า พระภิ กษ่ เ ป็ นที่ เ คารพในศาสนาพ่ ทธ นายโธมั สจะมี ความผิด ฐานกระทำา การ เหยียดหยามศาสนาตามมาตรา 206 หรือไม่ นายโธมัสไม่ผิดตามมาตรา 206 เพราะแม้การกระทำาของนายโธมัสจะเป็ นการ กระทำาอันเป็ นการเหยียดหยามศาสนาพ่ทธก็ตาม แต่นายโธมัสก็ได้กระทำาต่อพระภิกษ่ซึ่ง เป็ นบ่คคลไม่ใช่วัตถ่หรือสถานที่อันเป็ นที่เคารพในศาสนาพ่ทธ มาตรา 206 ผู้ ใ ดกระทำา ด้ ว ยประการใด ๆ แก่ วั ต ถ่ ห รื อ สถานอั น เป็ นที่ เคารพในทาง ศาสนาของหมู่ชนใด อันเป็ นการเหยียดหยามศาสนานั้น ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.2 ความผิดเกีย ่ วกับความสงบสุขของประชาชน
1. อั้งยี่ได้แก่คณะบ่คคลซึ่งปกปิ ดวิธีดำาเนิ นการและมีความม่่งหมายเพื่อการอันมิชอบ ด้วยกฎหมาย เมื่อบ่คคลเป็ นสมาชิกของอั้งยี่ก็มีความผิดโดยไม่จำา ต้องมีการกระทำา ตาม ความม่่งหมายนั้นแล้ว และจะต้องรับโทษหนักขึ้นถ้ามีตำาแหน่ งหน้าที่ในอั้งยี่ 2. การสมคบกันในความผิดฐานซ่องโจรนั้น จะต้องมีการประช่มหารือระหว่างผู้ร่วม กระทำา ผิดด้วยกัน และต้อ งมีการตกลงในการที่จ ะกระทำา ความผิด ที่บั ญ ญั ติใ นประมวล กฎหมายอาญาภาค 2 ที่มีโทษจำา ค่ กอย่ า งสูง ตั้ง แต่ห นึ่ ง ปี ขึ้ นไป มิใ ช่เพี ยงแต่ ม าประช่ม หารือกันโดยมิได้มีการตกลงหรือตกลงกันไม่ได้ 3. ผู้เข้าร่วมประช่มในที่ประช่มอั้งยี่หรือซ่องโจร มีความผิดฐานเป็ นอั้งยี่หรือซ่องโจร ด้วย แม้ว่าจะไม่ได้เป็ นสมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจรก็ตาม 4. ผู้ท่ีช่วยเหลืออ่ปการะอั้งยี่หรือซ่องโจรโดยให้ทรัพย์หรือโดยประการอื่น จัดหาที่ ประช่มหรือที่พำานักช่วยจำาหน่ ายทรัพย์หรือชักชวนผู้อ่ ืนให้เข้าเป็ นสมาชิกอั้งยี่ หรือพรรค พวกซ่องโจร แม้จะไม่ใช่สมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจรก็ตาม ก็ต้องวางโทษในอัตรา เดียวกันกับสมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจร 5. สมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจรอาจต้องรับโทษในความผิดที่สมาชิกอั้งยี่ หรือ พรรคพวกซ่องโจรคนอื่นกระทำาไปตามความม่่งหมายของอั้งยี่หรือซ่องโจร แม้ว่าตนจะไม่ ได้เป็ นผู้กระทำาผิดหรือร่วมกระทำาผิดนั้นก็ตาม 6. การจัดหาที่พำา นักที่ซ่อนเร้น หรือที่ประช่มให้แก่ผู้กระทำาผิดที่บัญญัติไว้ในภาค 2 ของประมวลกฎหมายอาญา ถ้าทำาเป็ นปกติธ่ระ ก็เป็ นความผิดอาญา 7. การมั่วส่มจะเป็ นความผิดต่อเมื่อได้ใช้กำา ลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญ หรือทำา ให้เกิด ความว่่นวายในบ้านเมืองขึ้นแล้ว ลำาพังแต่การมั่วส่มเพื่อกระทำาผิด ยังไม่เป็ นความผิด แต่ ถ้าเจ้าพนักงานสั่งให้เลิกแล้ว ไม่ยอมเลิกก็เป็ นความผิด แต่ต้องสั่งก่อนผู้ท่ีม่ัวส่มจะลงมือ ใช้กำา ลังประท่ษร้าย ขู่เข็ญว่าจะใช้กำา ลังประท่ษร้าย หรือกระทำา การอย่างใดให้เกิดความ ว่่นวายขึ้นในบ้านเมือง 4.2.1 ความผิดฐานเป็ นอัง ้ ยี่
ดำาได้รวบรวมผู้ท่ีอาศัยอย่ใู นหมู่บา ้ นจัดสรรเดียวกันจำานวนรวม 20 คน ตั้งเป็ นก ล่่มรักษาความปลอดภัยประจำา หมู่บ้าน เพื่อสอดส่องดูแลความปลอดภัย และแจ้งเหต่ลัก ทรั พ ย์ ท่ี เ กิ ด ในบริ เ วณหมู่ บ้ า นจั ด สรรนั้ นให้ ท างการได้ ท ราบโดยกล่่ ม รั ก ษาความ ปลอดภัยนั้นได้ปกปิ ดวิธีดำา เนิ นการและเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดำา เนิ นการนั้นจากผู้ท่ี อยู่อาศัยในหมู่บ้านนั้น ดำาและพวกมีความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ตามมาตรา 209 หรือไม่ การเป็ นสมาชิกของคณะบ่คคลซึ่งปกปิ ดวิธีการดำาเนิ นการ อันเป็ นความผิดฐาน อั้ ง ยี่ ต ามมาตรา 209 นั้ น ต้อ งเป็ นคณะบ่ ค คลที่ มี ค วามม่่ ง หมายเพื่อการอั น มิ ช อบด้ ว ย กฎหมาย
แม้ดำา และพวกจะเป็ นสมาชิ กของกล่่ ม รั กษาความปลอดภั ย ประจำา หมู่ บ้ า น ซึ่ง เป็ นคณะบ่คคลที่ปกปิ ดวิ ธีดำา เนิ นการก็ตาม แต่ดำา และพวกก็ไม่มีความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ ตามมาตรา 209 เนื่ องจากกล่่ ม บ่ คคลดั งกล่ า วมีค วามม่่ งหมายเพื่อสอดส่ อ งดู แ ลความ ปลอดภัยและแจ้งเหต่ลักทรัพย์ใ ห้ทางการทราบ ซึ่งเป็ นความม่่งหมายเพื่อการอั นชอบ ด้วยกฎหมาย 4.2.2 ความผิดฐานเป็ นซ่องโจร
เปรียบเทียบความแตกต่างของความผิดฐานเป็ นอั้งยี่และฐานเป็ นซ่องโจร (1) ความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ผิดเมื่อเข้าเป็ นสมาชิกของอั้งยี่ แต่ซ่องโจรผิดเมื่อตกลง กระทำาความผิด (2) ความผิดฐานเป็ นอั้งยี่น้ันต้องมีผู้กระทำาความผิดอย่างน้อย 2 คน แต่ซ่องโจร จะต้องมีผู้กระทำาผิดอย่างน้อย 5 คน (3) ความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ คณะบ่คคลต้องตั้งขึ้นอย่างถาวร แต่ซ่องโจรไม่จำาเป็ น ต้องเป็ นการถาวร อาจตั้งขึ้นเพื่อกระทำาผิดครั้งหนึ่ งคราวเดียวแล้วเลิกไปก็ได้ (4) ความผิดฐานเป็ นอั้งยี่น้ันคณะบ่คคลต้องมีความม่่งหมายเพื่อกระทำาการอันมิ ชอบด้วยกฎหมายใดๆก็ได้ และจะมีโทษหนั กเบาแค่ไหนก็ได้ แต่ซ่อ งโจรต้อ งมีความม่่ง หมายเพื่อกระทำา ความผิดในภาค 2 ของประมวลกฎหมายอาญาเท่านั้น และจะต้องเป็ น ความผิดซึ่งมีกำาหนดโทษจำาค่กอย่างสูงตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป (5) ความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ การที่ต้องรับโทษหนักขึ้นนั้นพิจารณาจากตัวบ่คคลว่า เป็ นผู้มีตำา แหน่ งหน้า ที่ในอั้งยี่ห รือ ไม่ (มาตรา 209 วรรคท้า ย) แต่ซ่อ งโจรนั้ นพิจารณา จากความร้ายแรงของโทษที่บัญญัติไว้สำาหรับความผิดที่ม่งหมายกระทำาเป็ นหลัก (มาตรา 210 วรรคท้าย)
มาตรา 209 ผู้ ใ ดเป็ นสมาชิ ก ของคณะบ่ ค คลซึ่ ง ปกปิ ดวิ ธี ดำา เนิ น การ และมี ค วามม่่ ง หมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย ผู้น้ันกระทำาความ ผิดฐานเป็ นอั้งยี่ ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่ เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถ้าผู้กระทำาความผิดเป็ นหัวหน้า ผู้จัดการหรือผู้มีตำาแหน่ งหน้าที่ ในคณะบ่คคลนั้น ผู้น้ัน ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี และปรับไม่ เกินสองหมื่นบาท มาตรา 210 ผู้ ใ ดสมคบกั น ตั้ งแต่ ห้ า คนขึ้ น ไปเพื่ อกระทำา ความผิ ด อย่ า งหนึ่ ง อย่ างใด ตามที่บัญญัติไว้ในภาค 2 นี้ และความผิดนั้ นมีกำาหนดโทษจำา ค่ กอย่างสูงตั้ งแต่หนึ่ งปี ขึ้นไป ผู้น้ั น กระทำาความผิดฐาน เป็ นซ่องโจร ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่น บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าเป็ นการสมคบเพื่อกระทำาความผิดที่มีระวางโทษถึงประหารชีวิต จำาค่กตลอดชีวิตหรือ จำาค่กอย่างสูงตั้งแต่สิบปี ขึ้นไป ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ส่ีพันบาทถึง สองหมื่นบาท
4.2.3 ประชุมกับอัง ้ ยีห ่ รือซ่องโจร
ดำา ได้เดินพลัดหลงเข้าไปในห้องซึ่งสมาชิกอั้งยี่กำา ลังประช่มอยู่ ดำา จึงค่อ ยๆย่อ ง ออกจากห้องดังกล่าว ดำามีความผิดฐานประช่มกับอั้งยี่ตามมาตรา 211 หรือไม่ แม้ ดำา จะได้ อ ยู่ ใ นที่ ป ระช่ ม อั้ ง ยี่ ก็ ต าม แต่ ดำา มิ ไ ด้ ก ระทำา ผิ ด ตามมาตรา 211 เนื่ องจากเดินพลัดหลงเข้าไปโดยไม่รู้ว่าเป็ นที่ประช่มอั้งยี่ ดำา ไม่มีเจตนากระทำา ความผิด ตามมาตรานี้ มาตรา 211 ผู้ใดประช่มในที่ประช่มอั้งยี่หรือซ่องโจร ผู้น้ั นกระทำา ความผิ ดฐานเป็ น อั้ ง ยี่ ห รื อ ซ่ อ งโจร เว้ น แต่ ผู้ น้ั น จะแสดงไว้ ว่ า ได้ ป ระช่ ม โดยไม่ รู้ ว่ า เป็ นการประช่ ม ของอั้ ง ยี่ ห รื อ ซ่องโจร 4.2.4 อุปการะอัง ้ ยีแ ่ ละซ่องโจร
อั้งยี่เอาทองคำาที่ได้มาจากการกรรโชกทรัพย์ผู้อ่ ืน มาให้ดำาช่วยขาย ดำารับเอาไว้ แต่ยังไม่ได้ขาย ต่อมาตำา รวจได้ปราบปรามอั้งยี่คณะนั้นจนต้องเลิกไป ภายหลังจากอั้งยี่ ล้มไปแล้ว ดำา จึงได้เอาทองคำา ที่รับไว้ไปขาย ดำา จะมีความผิดฐานช่วยจำา หน่ า ยทรัพย์ใ ห้ อั้งยี่หรือไม่ การที่ดำาช่วยขายทองคำาที่อ้ังยี่ได้มาจากการกระทำาความผิดฐานกรรโชกนั้น ดำา ย่อมีความผิด ตาม ปอ.มาตรา 212(4) ฐานช่วยจำา หน่ า ยทรัพย์ท่ีอ้ังยี่ได้มาโดยการกระ ทำาความผิด แม้เป็ นการช่วยจำาหน่ ายทรัพย์ภายหลังที่อ้ังยี่เลิกไปแล้วก็ตาม มาตรา 212 ผ้ใู ด (1) จัดหาที่ประช่มหรือที่พำานักให้แก่อ้ังยี่หรือซ่องโจร (2) ชักชวนบ่คคลให้เข้าเป็ นสมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจร (3) อ่ปการะอั้งยี่หรือซ่องโจรโดยให้ทรัพย์ หรือโดยประการอื่น หรือ
(4) ช่วยจำาหน่ ายทรัพย์ท่ีอ้ังยี่หรือซ่องโจรได้มาโดยการกระทำา ความผิด ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำาความผิดฐานเป็ นอั้งยี่หรือ ซ่องโจรแล้วแต่กรณี 4.2.5 สมาชิกอัง ้ ยีห ่ รือซ่องโจรกระทำาผิด
ดำา ฟ้ า และผู้อ่ ืนอีก 7 คน สมคบกันวางแผนไปปล้นร้านค้าทองคำา แต่เมื่อถึงวัน นัดปรากฏว่าทำาการปล้นไม่ได้เพราะมีตำารวจมาเฝ้ าร้าน ร่่งขึ้นมีการประช่มวางแผนปล้น ใหม่ แต่ในการประช่มคราวนี้ ดำาและ ฟ้ าไม่ได้เข้าประช่มด้วย เพราะติดธ่ระอื่น และพรรค พวกได้ทำาการปล้นสำาเร็จ ดำาและฟ้ า ต้องรับผิดเพียงใด ดำาและฟ้ า สมคบกับผู้อ่ ืนอีก 7 คน เพื่อปล้นทรัพย์ซึ่งเป็ นความผิดตาม ปอ. ภาค 2 และมี กำา หนดโทษจำา ค่ ก อย่ า งสู ง ตั้ ง แต่ 10 ปี ขึ้ น ไป ดำา และฟ้ าจึ ง ผิ ด ฐานเป็ นซ่ อ งโจร ตาม ปอ.มาตรา 210 วรรค 2 แม้จะมิได้มีการลงมือปล้นทรัพย์ในการสมคบกันครั้งแรก ก็ตาม แต่ดำาและฟ้ าไม่ได้รวมประช่มวางแผนปล้นครั้งหลัง เมื่อพรรคพวกซ่องโจรอื่นไป ปล้นทรัพย์สำาเร็จตามแผนการที่ประช่มครั้งหลัง อันเป็ นสมคบกันคนละคราวคนละวาระ ดำา และฟ้ าซึ่งไม่ได้ร่วมประช่มหรือสมคบในแผนการวางแผนปล้นครั้งหลัง จึงไม่ต้องรับ ผิดฐานปล้นทรัพย์ท่ีตนไม่ได้ร่วมกระทำาด้วย กรณีไม่เข้า ปอ. มาตรา 213 4.2.6 ประพฤติต นเป็ นปกติธุระจัด หาที่พำา นัก ที่ซ่อนเรูน หรือที่ป ระชุม แก่ผู้กระทำาความผิด เข้มได้ฆ่าผู้อ่ ืนแล้วหนี มาขอหลบซ่อนตัวที่บ้านแข็ง แข็งสงสารเพราะเห็นว่าเข้ม ฆ่า คนโดยบั นดาลโทสะจึ งยอมให้ เ ข้ม ซ่อ นตัวอยู่ 2 วัน แข็ งมี ความผิด ตามมาตรา 214 หรือไม่อย่างไร แข็งไม่มีความผิดตามมาตรา 214 เนื่ องจากแม้แข็งจะเป็ นผู้จัดหาที่พำา นักหรือที่ ซ่อนเร้นให้แก่เข้ม ซึ่งตนรู้ว่าเป็ นผู้กระทำาผิดฐานฆ่าผู้อ่ ืนตามที่บัญญัติไว้ในภาค 2 ก็ตาม แต่แข็งก็ไม่ได้ประพฤติตนดังกล่าวเป็ นปกติธ่ระ มาตรา 214 ผู้ใดประพฤติตนเป็ นปกติธ่ระเป็ นผู้จัดหาที่พำานั กที่ ซ่อนเร้นหรือที่ประช่ม ให้บ่คคลซึ่งตนรู้ว่าเป็ นผู้กระทำาความผิดที่บัญญัติ ไว้ในภาค 2 นี้ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดนั้น เป็ นการกระทำาเพื่อช่วยบิดา มารดา บ่ตร สามีหรือภริยาของ ผู้กระทำา ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ 4.2.7 มัว ่ สุมทำาใหูเกิดความวุ่นวายในบูานเมือง
กรรมกรก่อสร้าง 12 คน และกรรมกรรถไฟ 11 คน เข้าไปนั่งกินอาหารในร้าน แห่งหนึ่ ง โดยแยกนั่งคนละโตุะ กรรมกรก่อสร้างคนหนึ่ งเกิดทะเลาะกับกรรมกรรถไฟคน หนึ่ ง แล้วต่อสู้ชกต่อยกัน กรรมกรทั้งสองฝ่ ายจึงเข้าช่วยเพื่อนของตน เกิดช่ลม่นต่อสู้กัน ทำาให้เกิดความว่่นวายในร้านอาหาร กรรมกร 23 คนนั้น ผิดฐานมั่วส่มก่อความว่่นวายใน บ้านเมืองตามมาตรา 215 หรือไม่ กรรมกรทั้ง 23 คนนั้นไม่ผิดตามมาตรา 215 เพราะแม้ในการช่ลม่นต่อสู้กันนั้น จะมีการใช้กำาลังประท่ษร้าย แต่การช่ลม่นต่อสู้น้ันได้เกิดในลักษณะต่างคนต่างทำา แต่ละ ฝ่ ายมิได้ตกลงที่จะร่วมกระทำา กันมาก่อ น แต่อ าจผิดฐานเข้า ร่ วมในการช่ลม่ นต่อ สู้ต าม มาตรา 299 ถ้ามีบ่คคลได้รับอันตรายสาหัส หรือมีความผิดลห่โทษตามมาตรา 372 มาตรา 215 ผู้ใดมั่วส่มกันตั้งแต่สิบคนขึ้นไป ใช้กำา ลังประท่ ษร้ าย ขู่เข็ญว่ าจะใช้ กำา ลัง ประท่ษร้ายหรือกระทำาการอย่างหนึ่ งอย่างใดให้เกิด การว่่นวายขึ้นในบ้านเมือง ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าผู้กระทำา ความผิดคนหนึ่ งคนใดมีอาว่ธ บรรดาผู้ท่ีกระทำา ความ ผิดต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าผู้ กระทำา ความผิ ด เป็ นหั ว หน้า หรื อ เป็ นผู้ มี หน้าที่ ส่ั งการในการ กระทำา ความผิ ด นั้ น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.3 ความผิดเกีย ่ วกับการก่อใหูเกิดภยันตรายต่อประชาชน (1)
1. การวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นการเผาทรัพย์ของผู้อ่ ืนโดยเจตนา ไม่ใช่เผาทรัพย์สิน ของตนเองหรื อ ที่ ต นเองเป็ นเจ้ า ของรวมอยู่ ด้ ว ย หรื อ เผาทรั พ ย์ ไ ม่ มี เ จ้ า ของ กฎหมาย บัญญัตใิ ห้ผู้กระทำาผิดต้องรับโทษหนักขึ้น ในกรณีวางเพลิงเผาทรัพย์บางประเภท อนึ่ งแม้ เพียงตระเตรียมการวางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อ่ ืน ก็ต้อ งระวางโทษเช่นเดียวกันกับความผิด ฐานพยายามวางเพลิง
2. การทำาให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถ่หรือทรัพย์ของตนเองหรือทรัพย์ไม่มีเจ้าของ ก็เป็ น ความผิดได้ ถ้าการกระทำานั้นน่ าจะเป็ นอันตรายแก่บ่คคลอื่น หรือทรัพย์ของผ้่อ่ ืน 3. การทำา ให้เกิดระเบิดจะเป็ นความผิดก็ต่อเมื่อมีลักษณะน่ าจะเป็ นอันตรายแก่ผู้อ่ ืน หรือทรัพย์ของผ้อ ู ่ ืน 4. ผู้วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อ่ ืน หรือทำาให้เกิดระเบิดต้องรับโทษหนักขึ้น ถ้ากระทำาให้ผู้ อื่น ตายหรือ รั บอั น ตรายสาหั ส ผู้ว างเพลิ ง เผาทรั พ ย์ หรือ ทำา ให้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ วั ต ถ่ หรื อ ทำาให้เกิดระเบิด ต้องระวางโทษน้อยลง ถ้ากระทำา ต่อทรัพย์ท่ีมีราคาน้อยหรือการกระทำา นั้นไม่น่าจะเป็ นอันตรายแก่ผอ ู้ ่ ืน 5. การกระทำาให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท จะเป็ นความผิดเมื่อเป็ นเหต่ให้ทรัพย์ของ ผ้อ ู ่ ืนเสียหายหรือน่ าจะเป็ นอันตรายแก่ชีวิตของผู้อ่ ืน 4.3.1 วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อ่ ืน
แดงโกรธดำา และต้องการแกล้งดำา จึงแก้เชือกผูกเรือ ยนต์ท่ีจอดไว้แล้วนำา ไปจ่ด ไฟเผาปล่อยให้ลอยไปตามนำ้า ไฟไหม้หลังคาเรือเล็กน้อย พอมีฝนตกหนักไฟเลยดับ แดง มีความผิดหรือไม่ การที่ แดงจ่ ด ไฟเผาเรือ ยนต์ ข องดำา เป็ นการวางเพลิ ง เผาทรั พ ย์ ข องผู้ อ่ ื น เมื่ อ หลังคาเรือยนต์น้ันติดไฟล่กไหม้แม้เพียงเล็กน้อ ย ก็เป็ นความผิดสำา เร็จ แดงมีความผิด ฐานวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อ่ ืนตามมาตรา 217 อนึ่ งถ้ า เรื อ ยนต์ ดั ง กล่ า วนั้ นมี ร ะวางตั้ งแต่ 5 ตั น ขึ้ น ไปและใช้ ใ นการขนส่ ง สาธารณะ แดงย่อมมีความผิดตามมาตรา 218 ซึ่งเป็ นบทบัญญัติให้แดงต้องรับโทษหนัก ขึ้น
มาตรา 217 ผู้ใดวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อ่ ืน ต้องระวางโทษจำา ค่ ก ตั้ งแต่ห กเดือ นถึ ง เจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท มาตรา 218 ผ้ใู ดวางเพลิงเผาทรัพย์ดังต่อไปนี้ (1) โรงเรือน เรือ หรือแพที่คนอยู่อาศัย (2) โรงเรือน เรือ หรือแพอันเป็ นที่เก็บหรือที่ทำาสินค้า (3) โรงมหรสพหรือสถานที่ประช่ม (4) โรงเรือนอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เป็ นสาธารณสถาน หรือเป็ นที่สำา หรับ ประกอบพิธีกรรมตามศาสนา (5) สถานี รถไฟ ท่าอากาศยานหรือที่จอดรถหรือเรือสาธารณะ (6) เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ อันมีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไปอากาศยาน หรือรถไฟที่ใช้ใน การขนส่งสาธารณะ ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำาค่กตลอดชีวิต หรือจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี 4.3.2 กระทำาใหูเกิดเพลิงไหมูวัตถุ
แดงจ่ดไฟเผาเรียวไผ่ท่ีโคนกอไผ่ ขณะที่ลมพัดแรง ที่ท่ีแดงจ่ดไฟมีป่าไผ่ติดต่อ กันเป็ นพืด 20 กอ แห้งบ้างสดบ้าง และใกล้ๆ กันนั้น ก็มีบ้านเรือนเกษตรกรอยู่หลายหลัง มีคนมาห้ามไม่ให้แดงจ่ดไฟ แต่แดงก็ไม่เชื่อไฟไหม้กิไผ่ และลูกไฟถูกลมพัดแรงไปตกบน หลังคาแฝกบ้า นเรือ นของผู้อ่ ืน ไหม้บ้า นเรือ นของผู้อ่ ืน ไหม้ บ้า นเรือ นไปหลายหลัง ให้ วินิจฉัยว่าแดงมีความผิดตามมาตรา 220 หรือไม่ การที่แดงจ่ดไฟเผาเรียวไผ่น้ัน เป็ นการกระทำาให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถ่ใดๆ เมื่อ ได้ทำา ขณะที่ลมแรงและ ณ ที่ท่ีน้ันมีป่าไผ่ติดต่อกันเป็ นพืด โดยมีบ้า นเรือนเกษตรกรอยู่ ใกล้ๆหลายหลัง จึงเป็ นเหต่การณ์ทำา ให้เกิดเพลิงไหม้ในลักษณะที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่ ทรัพย์ของผู้อ่ ืน แดงจึงมีความผิดตามมาตรา 220 วรรคแรก และเมื่อการกระทำาดังกล่าว เป็ นผลให้บ้านอันเป็ นโรงเรือนที่คนอยู่อาศัยตามมาตรา 218(1) เกิดเพลิงไหม้ แดงจึงผิด ตามมาตรา 220 วรรคท้าย ซึ่งเป็ นบทบัญญัตใิ ห้แดงต้องรับโทษหนักขึ้น มาตรา 220 ผู้ใดกระทำาให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถ่ใด ๆ แม้เป็ นของ ตนเอง จนน่ าจะเป็ น อันตรายแก่บ่คคลอื่น หรือทรัพย์ของผู้อ่ ืน ต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่ ง หมื่นสี่พันบาท ถ้ าการกระทำา ความผิ ดดั งกล่ าวในวรรคแรก เป็ นเหต่ ให้ เกิ ดเพลิ ง ไหม้แ ก่ทรัพย์ ตามที่ ระบ่ไว้ใน มาตรา 218 ผู้กระทำาต้องระวางโทษ ดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 218 4.3.3 กระทำาใหูเกิดการระเบิด
ดำา โมโหแดงที่เ กี่ยวพาราสีแฟนของตน จึงได้นำา ระเบิดขวดขว้า งเข้า ไปในบ้า น ของแดง เป็ นเหต่ให้ห้องรับแขกในบ้านของแดงเสียหาย ดำามีความผิดหรือไม่ อย่างไร
ดำา ขว้ า งระเบิ ด ขวดเข้ า ไปในบ้ า นของแดง เป็ นเหต่ ใ ห้ เ กิ ด ระเบิ ด จนน่ า จะเป็ น อันตรายแก่ทรัพย์สินของแดง ดำาจึงมีความผิดตามมาตรา 221 เนื่ องจากการกระทำา ดังกล่า วของดำา เป็ นเหต่ให้ห้อ งรับแขกในบ้า นของแดง ซึ่ง เป็ นโรงเรือนที่คนอาศัยอยู่ตามมาตรา 218(1) เสียหายแม้เพียงบางส่วน ดำาจึงต้องระวาง โทษตามมาตรา 218 ตาม ปอ.มาตรา 222 มาตรา 221 ผู้ใดกระทำาให้เกิดระเบิดจนน่ าจะเป็ นอันตรายแก่บ่คคล อื่นหรือทรัพย์ของ ผู้อ่ ืน ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่ เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท มาตรา 222 ผู้ใดกระทำาให้เกิดระเบิดจนเป็ นเหต่ให้เกิดอันตราย แก่ทรัพย์ดังกล่าวใน มาตรา 217 หรือ มาตรา 218 ต้องระวางโทษ ดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ 4.3.4 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษนูอยลงหรือหนักขึ้น
แดงวางเพลิ ง เผารถยนต์ ข องขาว เขี ย วเอานำ้ าเข้ า ไปช่ ว ยดั ง เพลิ ง พอดี กั บ ถั ง นำ้ามันในรถระเบิดขึ้น เขียวถูกไฟลวกตามร่างกายอาการสาหัส ต้องเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลและถึงแก่กรรมเพราะทนพิษบาดแผลไม่ไหวในเวลาต่อมา ถามว่า จะลงโทษ แดงตามมาตรา 224 วรรคแรกได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด มาตรา 224 วรรคแรกเป็ นบทบั ญ ญั ติ ใ ห้ ผู้ ก ระทำา ความผิ ด ตามมาตรา 217, 218, และ มาตรา 222 ต้อ งรับโทษหนั กขึ้นเนื่ องจากผลของการกระทำา ดัง นั้ น ผลของ การกระทำาดังกล่าวต้องเป็ นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้ ตาม มาตรา 63 ความตายของเขียวมิใช่ผลซึ่งตามปกติย่อมเกิดจากการวางเพลิงเผารถยนต์ แต่ เกิดจากการที่เขียวเข้าไปช่วยดังเพลิง ความตายจึงมิใ ช่ผ ลธรรมดาของการกระทำา ของ แดง จึงลงโทษแดงตามมาตรา 224 ไม่ไดู มาตรา 63 ถ้าผลของการกระทำาความผิดใดทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของ การกระทำาความผิดนั้นต้องเป็ นผลที่ตามธรรมดา ย่อมเกิดขึ้นได้ มาตรา 224 ถ้าการกระทำา ความผิด ดังกล่าวใน มาตรา 217 มาตรา 218 มาตรา 221 หรือ มาตรา 222 เป็ นเหต่ให้บ่คคลอื่นถึงแก่ความตายผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต ถ้ าเป็ นเหต่ ใ ห้ บ่ค คลอื่ นรั บอั น ตรายสาหั ส ผู้ กระทำา ต้ อ งระวางโทษประหารชี วิ ต จำา ค่ ก ตลอดชีวิต หรือจำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึงยี่สิบปี 4.3.5 กระทำาใหูเกิดเพลิงไหมูโดยประมาท
ฟ้ าเจียวนำ้ามันหมูในกระทะ แต่ใช้ไฟแรงเกินไป ไฟจึงล่กนำ้ามันในกระทะล่กลาม ไหม้เสื้อผ้าของฟ้ าเป็ นอันตราย และแฝกม่งหลังคาบ้านเสียหาย บ้านของฟ้ าก็อยู่ใกล้ชิด กับบ้านผู้อ่ ืนอีกหลายหลัง แต่เพื่อบ้านช่วยกันดับไฟทันไฟจึงไม่ล่กลามไปไหม้บ้า นผู้อ่ ืน การกระทำาของฟ้ าจะเป็ นความผิดตาม มาตรา 225 หรือไม่ ไม่มีเจตนาที่จะทำาให้เกิดเพลิงไหม้ แต่ฟ้าไม่ระมัดระวังให้ดีในการเจียวนำ้ามันจึง เกิดเพลิงไหม้ ถือว่าฟ้ าประมาททำา ให้เกิดเพลิงไหม้ แต่เพลิงไหม้น้ี ไม่น่า จะเป็ นอันตราย แก่ชีวิตผ้อ ู ่ ืนคงมีแต่ฟ้าที่ได้รับอันตราย และไม่เป็ นเหต่ให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์ของผู้ อื่น เพียงแต่น่าจะเกิดอันตรายแก่ทรัพย์ของผู้อ่ ืนเท่านั้น จึงยังไม่เป็ นความผิดตามมาตรา 225 มาตรา 225 ผู้ใดกระทำา ให้เกิดเพลิงไหม้ โดยประมาท และเป็ นเหต่ ให้ทรัพย์ข องผู้อ่ ืน เสียหาย หรือการกระทำาโดยประมาทนั้นน่ าจะเป็ นอันตรายแก่ชีวิตของบ่คคลอื่น ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินเจ็ดปี หรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
ความผิดเกีย ่ วกับการก่อใหูเกิดภยันตรายต่อประชาชน (2) 1. การกระทำา ใดๆ แก่โรงเรียน อู่เรือ ที่จอดรถหรือเรือ สาธารณะ ฯลฯ หรือ กระทำา เพื่อให้เกิดอ่ทกภัยหรือเพื่อให้เกิดขัดข้องแก่การใช้น้ ำาซึ่งเป็ นสาธารณูปโภค หรือไม่ปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการอันพึงกระทำาในการออกแบบ ควบค่มหรือทำาการก่อสร้าง ฯลฯ อาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง ถ้าได้กระทำาในลักษณะน่ าจะเป็ นอันตรายแก่บ่คคลอื่นแล้ว ก็เป็ น ความผิด 2. การกระทำา อันน่ า จะเป็ นเหต่ใ ห้เ กิด อัน ตรายแก่ ก ารจราจร ไม่ ว่ า กระทำา ต่ อ ทาง สาธารณะ ที่ขึ้นลงของอากาศยาน ทางรถไฟหรือทางรถราง หรือสิ่งซึ่งเป็ นสัญญาณเพื่อ ความปลอดภัยในการจราจร ก็เป็ นความผิด 3. การกระทำาแก่ยานพาหนะบางอย่าง เช่น เรือเดินทะเล อากาศยาน รถไฟหรือรถ ราง ฯลฯ หรือการใช้ยานพาหนะรับจ้างขนส่งคนโดยสาร ถ้ามีลักษณะน่ าจะเป็ นอันตราย แก่บ่คคล ก็เป็ นความผิด 4.4
4. การกระทำาแก่สิ่งที่ใช้ในการผลิต ในการส่งพลังไฟฟ้ า หรือส่งนำ้านั้น เป็ นความผิด ถ้าเป็ นเหต่ให้ประชาชนขาดความสะดวก หรือน่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน การกระทำา ให้การสื่อ สารขัดข้อ งนั้ น จะเป็ นความผิดก็ต่อ เมื่อเป็ นการสื่อสารสาธารณะ เท่านั้น 5. การปลอมอาหาร ยา หรือเครื่องอ่ปโภคบริโภคและการเอาของที่มีพิษหรือสิ่งที่น่า จะเป็ นอันตรายแก่ส่ขภาพเจือลงในอาหาร หรือในนำ้า แม้ยังไม่เกิดอันตรายแก่บ่คคลอื่น ก็ อาจเป็ นความผิด 6. ผู้กระทำา ความผิด ตามมาตรา 226 ถึงมาตรา 237 ต้อ งรับ โทษหนั ก ขึ้น ถ้า เป็ น เหต่ให้ผอ ู้ ่ ืนตายหรือได้รับอันตรายสาหัส 7. การกระทำา ตามมาตรา 226 ถึ ง มาตรา 237 แม้ ไ ด้ ก ระทำา โดยประมาท ก็ เ ป็ น ความผิด ถ้าใกล้จะเป็ นอันตรายแก่ชีวิตของบ่คคลอื่น มาตรา 226 ผู้ ใ ดกระทำา ด้ ว ยประการใด ๆ แก่ โ รงเรื อ น อู่ เ รื อ ที่ จอดรถหรื อ เรื อ สาธารณ ท่่นทอดจอดเรือ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร เครื่องกลสายไฟฟ้ า หรือสิ่งที่ทำาไว้เพื่อป้องกัน อันตรายแก่บ่คคลหรือ ทรัพย์จนน่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่บ่คคลอื่น ต้องระวางโทษ จำาค่กไม่ เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 227 ผ้ใู ดเป็ นผู้มีวช ิ าชีพในการออกแบบ ควบค่มหรือ ทำาการก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือรื้อถอน อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างใด ๆ ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ หรือวิธีการอันพึงกระทำา การ นั้น โดย ประการที่น่าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่บ่คคลอื่น ต้องระวางโทษ จำาค่กไม่เกินห้าปี หรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.4.1 การกระทำาอันน่าจะเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์
เขียวปิ ดกั้นทำานบเพื่อให้น้ ำาไหลเข้าสู่นาของตน ตั่งใจว่าเมื่อได้น้ ำาทำานาพอแล้วก็ จะเปิ ดทำานบ แต่เกิดฝนตกหนักมาก ทำาให้เกิดนำ้าท่วมเหนื อทำานบอย่างรวดเร็ว เพราะไม่ สามารถไหลผ่า นทำา นบได้ ส่กรในเล้า ของผู้อ่ ืนจมนำ้ าตายหลายตัวให้วินิจฉัยว่า เขียวผิด ตามมาตรา 228 หรือไม่ การกระทำาตามมาตรา 228 นั้น ผ้ก ู ระทำาต้องมีเจตนาพิเศษ เพื่อให้เกิดอ่ทกภัย การที่เขียวปิ ดทำานบเพื่อชักนำ้าเข้านาของตนเองนั้น แม้จะเป็ นการกระทำาใดๆ ให้ เกิดอ่ทกภัยนำ้าท่วมเป็ นเหต่ให้ส่กรของผ้อ ู ่ ืนตายก็ตาม เขียวก็ไม่ผิดตามมาตรานี้ เนื่องจาก ไม่มีเจตนาพิเศษเพื่อให้เกิดอ่ทกภัยนำ้าท่วมแต่อย่างใด มาตรา 228 ผู้ ใ ดกระทำา การด้ ว ยประการใด ๆ เพื่ อให้ เ กิ ด อ่ ท กภั ย หรื อ เพื่ อให้ เ กิ ด ขัดข้องแต่การใช้น้ ำา ซึ่งเป็ นสาธารณูปโภคถ้าการ กระทำานั้ นน่ าจะเป็ นอันตรายแก่บ่คคลอื่น หรือ ทรัพย์ของผู้อ่ ืนต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาผิดดังกล่าวในวรรคแรก เป็ นเหต่ให้เกิดอันตราย แก่บ่คคลอื่นหรือทรัพย์ ของผู้อ่ ืน ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่ก ตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งพันบาทถึงหนึ่ ง หมื่นสี่พันบาท 4.4.2 กากระทำาอันน่าจะเป็ นเหตุใหูเกิดอันตรายแก่การจราจร
เหลือ งเห็นรถไฟแล่นตามรางมาในระยะไกล จึงเอาไม้กระดานเก่าผ่แล้วบางๆ วางขวางทางรถไฟเพื่อให้รถไฟทับ เหลืองจะมีความผิดตามมาตรา 230 หรือไม่ การกระทำา ความผิ ด ตามมาตรา 230 นั้ น ต้อ งมี ลั ก ษณะน่ า จะเป็ นเหต่ ใ ห้ เ กิ ด อันตรายแก่การเดินรถไฟ หรือรถราง แม้เหลืองจะเอาไว้กระดานเก่าผ่แล้วบางๆ 1 แผ่น อันเป็ นสิ่งใดๆ วางกีดขวาง ทางรถไฟก็ตาม เหลืองก็ไม่ผิดตามมาตรานี้ เพราะการกระทำาดังกล่าวไม่น่าจะเป็ นเหต่ให้ เกิดอันตรายแก่การเดินรถไฟ มาตรา 230 ผู้ใดเอาสิ่งใด ๆ กีดขวางทางรถไฟหรือทางรถรางทำา ให้รางรถไฟหรือราง รถรางหล่ดหลวมหรือเคลื่อนจากที่หรือกระทำาแก่เครื่องสัญญาณจนน่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตราย แก่การเดินรถไฟ หรือรถรางต้องระวางโทษจำา ค่ กตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรั บตั้ งแต่ หนึ่ งพัน บาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 4.4.3 การกระทำาแก่ยานพาหนะหรือใชูยานพาหนะรับจูางขนส่งคน
โดยสาร ดำา เอาเรื อ ยนต์ ไ ปรั บ จ้ า งบรรท่ ก ผลไม้ จนเต็ ม ทั้ ง ลำา เรือ และต้ อ งบรรท่ ก ไว้ บ น หลังคาเรือด้วย ไม่มีท่ีจะรับคนโดยสารได้ จนทำา ให้เรือเพียบอย่า งหนักและในเรือ ก็มีดำา คนเดียว แม้ดำาจะเห็นว่าเรือบรรท่กจนเพียบผิดธรรมดาอย่างนั้นก็ตาม แต่ดำา ก็คงขับเรือ เพื่อเอาของไปส่ง ดำาจะมีความผิดตามมาตรา 233 หรือไม่
ความผิดตามมาตรา 233 ต้องเป็ นการใช้ยานพาหนะรับจ้า งขนส่งคนโดยสาร และต้องมีลักษณะหรือการบรรท่กจนน่ าจะเป็ นอันตรายแก่บ่คคลในยานพาหนะซึ่งหมาย ถึงคนโดยสารที่ขนส่งมาในยานพาหนะนั้น ดำาไม่ผิดตามมาตรานี้ เพราะดำาเอาเรือยนต์ไปรับจ้างบรรท่กผลไม้ไม่ใช่ขนส่งคน โดยสารและแม้ดำา จะบรรท่กของจนเพียบหนัก การบรรท่กนั้นก็น่าจะเป็ นอันตรายแก่ดำา เพียงคนเดียว ไม่ได้เป็ นอันตรายแก่คนโดยสาร มาตรา 233 ผู้ใดใช้ยานพาหนะรับจ้างขนส่งคนโดยสารเมื่อ ยานพาหนะนั้น มีลักษณะ หรือมีการบรรท่กจนน่ าจะเป็ นอันตราย แก่บ่คคลในยานพาหนะนั้ น ต้ องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิน หนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.4.4 การกระทำาใหูเกิดความขัดขูองในกิจการสาธารณ้ปโภค
ดำา โกรธแดง และต้ อ งการจะแกล้ ง แดง จึ ง แอบตั ด สายโทรศั พ ท์ เ ข้ า บ้ า นแดง ทำาให้แดงไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ ดำามีความผิดตามมาตรา 235 หรือไม่ ความผิดตามมาตรา 235 จะต้องเป็ นการกระทำาใดๆให้การสื่อสารสาธารณเกิด ขัดข้อง คือต้องทำาให้ประชาชนทั่วไปได้รับความสะดวกในการสื่อสารสาธารณะ ดำา ไม่ผิด ตามมาตรา 235 เพราะแม้การตัด สายโทรศัพ ท์เ ข้า บ้า นแดงจะทำา ให้ การสื่อ สารขัดข้อง แดงไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ก็ตาม แต่ก็ไม่ใช่การสื่อสารสาธารณะ เนื่องจากคงมีแต่แดงเจ้าของโทรศัพท์ท่ีไม่ได้รับความสะดวกเท่านั้น มาตรา 235 ผู้ใดกระทำา การด้ว ยประการใด ๆ ให้ การสื่ อสารสาธารณ ทางไปรษณี ย์ ทางโทรเลข ทางโทรศัพท์หรือทางวิทย่ขัดข้องต้อง ระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกพันบาท หรือทั้งจำา ทั้งปรับ 4.4.5 การปลอมปนอาหารหรือเจือของมีพิษในอาหาร
ดำา เป็ นคนใช้ทำา งานบ้าน ดำา ไม่พอใจนายจ้างที่ชอบด่ด่าและใช้ให้ทำา งานแทบไม่ ต้องพักผ่อน ดำาขอลาออกกลับบ้านนายจ้างก็ไม่ยอม วันหนึ่ งดำาจึงลอบเอายาเบื่อมาใส่ลง ไปในแกงที่ปร่งให้นายจ้า งกินเพื่อ จะได้หนี อ อกจากบ้า นไป พอนายจ้า งกินก็มีอาการวิง เวียนศีรษะ เป็ นลมไป ดำาจะมีความผิดหรือไม่ ดำา ผิด ตาม ปอ.มาตรา 236 เพราะการเอายาเบื่อมาใส่ ล งในแกงนั้ น เป็ นการ ปลอมปนอาหารเพื่อให้บ่คคลอื่นคือนายจ้างกิน เมื่อการปลอมปนนั้นน่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิด อันตรายแก่ส่ขภาพของผ้อ ู ่ ืน นั่นคือนายจ้างมีอาการวิงเวียนศีรษะเป็ นลมไป ดำาจึงผิดตาม มาตรานี้ แต่ดำาไม่ผิดตามมาตรา 237 เนื่ องจากเป็ นอาหารที่จัดให้นายจ้างกินโดยเฉพาะ ไม่ใช่เพื่อให้ประชาชนทั่วไปบริโภค
มาตรา 236 ผู้ ใ ดปลอมปนอาหาร ยาหรื อ เครื่ องอ่ ป โภคบริ โ ภค อื่ นใดเพื่ อบ่ ค คลอื่ น เสพย์ห รือ ใช้ และการปลอมปนนั้ น น่ าจะเป็ นเหต่ ให้เกิ ด อั น ตรายแก่ ส่ ข ภาพ หรื อ จำา หน่ าย หรื อ เสนอขายสิ่งเช่นว่านั้น เพื่อบ่คคลเสพย์หรือใช้ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกิน หกพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 237 ผู้ ใ ดเอาของที่ มี พิ ษ หรื อ สิ่ ง อื่ นที่ น่ า จะเป็ นอั น ตรายแก่ ส่ ข ภาพเจื อ ลงใน อาหาร หรื อในนำ้ าซึ่ งอยู่ใ นบ่ อ สระหรื อ ที่ ขั งนำ้ าใด ๆ และอาหารหรื อ นำ้ านั้ น ได้ มี อ ยู่ ห รื อ จั ด ไว้ เพื่ อ ประชาชนบริโภค ต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งพันบาทถึ งสอง หมื่นบาท 4.4.6 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
ฟ้ าวางเพลิ ง เผาบ้ า นม่ ว ง เป็ นเหต่ ใ ห้ ม่ ว งถึ ง แก่ ค วามตาย ฟ้ าต้ อ งรั บ ผิ ด ตาม มาตรา 238 หรือไม่ อย่างไร มาตรา 238 บัญญัตใิ ห้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้นเฉพาะเมื่อได้กระทำาความผิด ตามมาตรา 226 ถึงมาตรา 237 เท่านั้น ฟ้ าไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 238 เพราะการวางเพลิงเผาบ้านของผู้อ่ ืนไม่ได้เป็ น ความผิดตามมาตรา 226 ถึงมาตรา 237 แต่เป็ นความผิดตามมาตรา 218 ซึ่งฟ้ าต้องรับ โทษหนักขึ้นตามมาตรา 224 เนื่ องจากเป็ นเหต่ให้ม่วงถึงแก่ความตาย
มาตรา 238 ถ้าการกระทำา ความผิ ดตาม มาตรา 226 ถึง มาตรา 237 เป็ นเหต่ใ ห้ บ่คคลอื่ นถึ งแก่ ความตาย ผู้ กระทำา ต้ องระวางโทษจำา ค่ ก ตลอดชี วิ ตหรื อ จำา ค่ กตั้ งแต่ ห้ าปี ถึ งยี่ สิ บ ปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าเป็ นเหต่ให้บ่คคลอื่นรับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษ จำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบ ปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท 4.4.7 กรณี กระทำาโดยประมาท
ขณะเขียวทำา อาหารกลางวันส่งให้โรงเรียนแห่งหนึ่ ง เขียวได้หยิบเครื่องเทศที่มี สารพิษปนอยู่ในอาหารดังกล่าวโดยประมาท นักเรียนในโรงเรียนดังกล่าวได้ทานอาหาร ที่เขียวทำาไปแล้วมีอาการอาเจียนท่กคน เขียวมีความผิดฐานปลอมปนอาหารโดยประมาท หรือไม่ แม้เขียวจะได้ใส่สารพิษลงในอาหารดังกล่าวโดยประมาท แต่เขียวก็ไม่มีความผิด ฐานปลอมปนอาหารโดยประมาทตามมาตรา 239 เพราะนักเรียนมีอาการเพียงอาเจียน การกระทำาของเขียวดังกล่าวไม่ได้ใกล้จะเป็ นอันตรายแก่ชีวิตของนักเรียน มาตรา 239 ถ้าการกระทำาดังกล่าวใน มาตรา 226 ถึง มาตรา 237 เป็ นการกระทำา โดยประมาท และใกล้จะเป็ นอันตรายแต่ชีวิต ของบ่คคลอื่น ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกิน หนึ่ งปี หรือปรับ ไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.5 ความผิดเกีย ่ วกับการคูา
1. การใช้ หรือมีไว้เพื่อใช้ซึ่งเครื่องชั่งตวงวัด เครื่องตวงหรือเครื่องวัดที่ผิดอัตรา จะ เป็ นความผิดก็ต่อเมื่อกระทำา เพื่อเปรียบเทียบในการค้า แต่การมีเครื่องเช่นว่านั้นไว้เพื่อ ขายก็ผิดเช่นกัน แม้ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่ากระทำาเพื่อเอาเปรียบในการค้า 2. การขายของโดยหลอกลวงนั้นต้องเป็ นการหลอกลวงให้หลงเชื่อในแหล่งกำา เนิ ด สภาพ ค่ณภาพหรือปริมาณของที่ขายเท่านั้น และต้องไม่ถึงขนาดเป็ นความผิดฐานฉ้อโกง 3. การเอาเปรี ยบในทางการค้ า อาจทำา โดยหลอกลวงให้ ป ระชาชนหลงเชื่อว่ า เป็ น สินค้าหรือการค้าหรือสถานการค้าของผู้อ่ ืนหรือโดยไขข่าวแพร่หลายข้อความเท็จเพื่อให้ เสียความเชื่อถือในกิจการ 4. การปลอมหรือเลียนเครื่อ งหมายการค้าของผู้อ่ ืนนั้น จะเป็ นความผิดได้ก็ต่อ เมื่อ เป็ นเครื่องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียนแล้ว 5. การนำาเข้ามาในราชอาณาจักร จำา หน่ ายหรือเสนอจำา หน่ ายสินค้าที่มีช่ ือ รูป รอย ประดิษฐ์ หรือข้อ ความในทางการค้า หรือ เครื่องหมายการค้า ที่ปลอมหรือ เลีย นมา เป็ น ความผิดอาญา 4.5.1 ความผิดเกีย ่ วกับเครื่องชัง่ เครื่องตวง และเครื่องวัดทีผ ่ ิดอัตรา
ส่ธรรมแก้ไขเครื่องชั่งให้ผิดอัตราเพื่อนำา ไปเอาเปรียบทางการค้า แต่ปรากฏว่า เมื่อนำาไปชั่งขายสิ่งของในวันเดียวกันกลับเสียเปรียบเพราะเครื่องชั่งทำางานผิดพลาด เช่น นี้ ส่ธรรมมีความผิดหรือไม่ การที่ ส่ ธ รรมแก้ ไ ขเครื่ องชั่ ง ให้ ผิ ด อั ต รา และมี เ ครื่ องชั่ ง นั้ น ไว้ เ พื่ อเอาเปรี ย บ ทางการค้า ย่อมมีความผิดฐานมีไว้เพื่อใช้ตามมาตรา 270 แล้ว ต่อมาในวันเดียวกันส่ธรรมนำา เครื่อ งชั่งที่ผิดอัตราดังกล่า วไปใช้เพื่อเอาเปรียบ ทางการค้ า ย่อ มเป็ นความผิ ด ฐานใช้ เ ครื่ องชั่ ง ที่ ผิ ด อั ต ราเพื่ อเอาเปรี ย บในการค้ า ตาม มาตรานี้ แม้ตามความเป็ นจริงส่ธรรมจะเอาเปรียบก็ตาม เพราะกฎหมายบัญญัติว่า “เพื่อ เอาเปรียบทางการค้า” จึงไม่จำาเป็ นต้องมีผลได้เปรียบ ความผิดก็สำาเร็จ การมีไว้เ พื่อ ใช้และใช้เ ครื่อ งชั่งดังกล่า วในวันเดียวกัน ถือ ว่า จำา เลยมีเจตนาอัน เดี ย วกั น จึ ง เป็ นความผิ ด กรรมเดี ย วผิ ด ต่ อ กฎหมายหลายบท ลงโทษหนั ก ตามมาตรา 270
มาตรา 270 ผู้ใดใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ซึ่งเครื่องชั่ง เครื่องตวง หรือเครื่องวัด ที่ผิดอัตราเพื่อ เอาเปรียบในการค้าหรือมีเครื่องเช่นว่านั้นไว้เพื่อขายต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่ เกินหกพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.5.2 ความผิดเกีย ่ วกับการขายของหลอกลวง
ดำา ช่า งตัดเสื้อ ผ้า ต้อ งการจะซื้อ ด้า ย 1 หลอดไปเย็บผ้า จึงได้ไปที่ร้า นแดง แดง บอกดำา ว่าด้า ยยาว 200 หลาราคา 30 บาท ซึ่งความจริงแล้วด้า ยยาว 100 หลา ราคา เพียง 18 บาท ดำา ดูหลอดด้ายแล้วก็รู้ว่ายาวไม่ถึง 200 หลา แต่ก็ได้ซ้ ือด้ายหลอดนั้นไป เนื่องจากต้องรีบไปเย็บเสื้อผ้าให้ลูกค้า แดงมีความผิดตามมาตรา 271 หรือไม่ แดงไม่ผิดฐานฉ้อโกง เพราะดำาซื้อด้ายหลอดนั้นไป เพราะต้องการด้ายนั้นไปรีบ เย็บเสื้อผ้าให้ลูกค้า โดยไม่คำานึ งว่าด้ายหลอดนั้นจะมีความยาวถึง 200 หลาตามที่หลอก ลวงหรือไม่ การที่แดงได้เงินค่าซื้อด้ายไปจากดำาจึงไม่ใช่เป็ นการที่แดงได้ไปซึ่งทรัพย์สิน จากดำาผู้ถูกหลอกลวงโดยการหลอกลวงนั้น แดงมีความผิดตามมาตรา 271 เพราะการที่แดงซึ่งเป็ นผู้ขายของได้บอกดำา ว่า ด้ายยาว 200 หลา ซึ่งความจริงด้ายยาวเพียง 100 หลา เป็ นการขายของโดยหลอกลวง
ดำา ผู้ซ้ ือในเรื่องปริมาณแห่งของที่ขายอันเป็ นเท็จและการกระทำา นั้นไม่เป็ นความผิดฐาน ฉ้อโกง แต่ดำาได้ซ้ ือด้ายหลอดนั้นไปไม่ใช่เพราะหลงเชื่อในการหลอกลวงของแดง แดงจึง มีความผิดเพียงฐานพยายามขายของโดยหลอกลวงตามมาตรา 271 มาตรา 271 ผู้ ใ ดขายของโดยหลอกลวงด้ ว ยประการใด ๆ ให้ ผู้ ซ้ ื อหลงเชื่ อในแหล่ ง กำาเนิ ด สภาพ ค่ณภาพหรือปริมาณแห่งของนั้น อันเป็ นเท็จถ้าการกระทำานั้ นไม่เป็ นความผิดฐาน ฉ้อโกง ต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.5.3 การหลอกลวงหรือไขข่าวเกีย ่ วกับการคูา
บัญญัติผลิตดินสอดำา ขายโดยมีเครื่องหมายการค้าเป็ นรูปวงกลม ดินสอดำา ของ บัญญัตม ิ ีสามสีคือ แดง ดำา และขาว ความยาว 6 นิ้ ว ประกอบก็ผลิตดินสอขายบ้าง มีรูป แบบและลั กษณะเป็ นอย่ า งเดี ย วกั บ ของบั ญ ญั ติ แต่ ป ระกอบใช้เ ครื่ องหมายการค้า ของ ตนเอง กรณีเช่นนี้ ประกอบมีความผิดตามมาตรา 272(1) หรือไม่ ประกอบไม่มีค วามผิ ดตามมาตรา 272(1) เพราะมาตรา 272(1) ไม่ห้า มการ ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี รู ป แบบหรื อ ลั ก ษณะซำ้ ากั บ สิ น ค้ า ของผู้ อ่ ื น แต่ ใ ช้ รู ป หรื อ รอยประดิ ษ ฐ์ ทางการค้าต่างกัน มาตรา 272 ผ้ใู ด (1) เอาชื่อ รู ป รอยประดิ ษฐ์ ห รื อ ข้อ ความใด ๆ ในการประกอบ การค้ าของผู้ อ่ ื นมาใช้ หรือทำาให้ปรากฏที่สินค้า หีบ ห่อ วัตถ่ท่ีใช้ ห้่มห่อ แจ้งความรายการแสดงราคา จดหมายเกี่ยวกับ การค้าหรือ สิ่งอื่นทำานองเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นสินค้าหรือ การค้าของผู้อ่ ืนนั้น (2) เลียนป้าย หรือสิ่งอื่นทำา นองเดียวกันจนประชาชนน่ าจะ หลงเชื่อว่าสถานที่การค้ า ของตนเป็ นสถานที่การค้าของผู้อ่ ืนที่ต้ังอยู่ ใกล้เคียง (3) ไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความเท็จ เพื่ อให้เสีย ความเชื่อ ถื อในสถานที่การค้ าสิ น ค้า อ่ตสาหกรรม หรือพาณิชย์การของผู้หนึ่ งผู้ใด โดยม่่งประโยชน์แก่การค้าของตน ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ความผิดตาม มาตรานี้ เป็ นความผิดอันยอมความได้ 4.5.4 การปลอมและเลียนเครื่องหมายการคูา
วินัยจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตราดาวสีแดงใช้กับเสื้อยืดและกางเกงที่วินัย จำา หน่ า ย ปกรณ์ใ ช้ รู ป ดาวสี ส้ ม เป็ นเครื่ องหมายการค้ า ของตนสำา หรั บ สิ น ค้ า ประเภท เดียวกัน ปกรณ์มีความผิดอย่างไรหรือไม่ การที่ ปกรณ์ ใ ช้ รู ป ดาวสี ส้ ม เป็ นเครื่ องหมายการค้ า ของตน ซึ่ ง มี ลั ก ษณะ คล้ า ยคลึ ง อย่ า งยิ่ ง กั บ เครื่ อง หมายการค้ า ตราดาวสี แ ดงของวิ นั ย จึ ง เป็ นการเลี ย น เครื่องหมายการค้าของผู้อ่ ืน เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นเครื่องหมายการค้าของผู้อ่ ืน ทั้ งวิ นั ยก็ ไ ด้ จ ดทะ เ บี ย น เ ค รื่ อ งห ม า ยก า ร ค้ า ข อ ง ต น แล้ ว ปก ร ณ์ จึ ง ผิ ด ฐ า น เ ลี ย น เครื่องหมายการค้าของผ้อ ู ่ ืนตามมาตรา 274 มาตรา 274 ผ้ใู ดเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อ่ ืน ซึ่งได้จดทะเบียนแล้ว ไม่ว่าจะได้จด ทะเบียนภายในหรือนอกราชอาณาจักร เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นเครื่องหมายการค้าของผู้ อื่นนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 4.5.5 การนำาเขูาหรือจำาหน่ายสินคูาทีเ่ ป็ นความผิดเกีย ่ วกับการคูา
นายโยชิกะผลิตเครื่องรับวิทย่โดยปลอมเครื่องหมายการค้า ที่ได้จดทะเบียนแล้ว ในประเทศญี่ป่่ นของบริ ษัท ไฟฟ้ าที่ มี ช่ ื อเสี ย งของประเทศญี่ ป่่ น และส่ ง ขายไปทั่ ว โดยตั้ ง แหล่งผลิตที่ประเทศญี่ป่่น นายส่ธีทราบข่าวจึงสั่งเครื่อ งรับวิทย่ดังกล่า วจากนายโยชิกะ เข้ามาจำาหน่ ายในประเทศไทย เช่นนี้ นายส่ธีมีความผิดอย่างไรหรือไม่ นายส่ธีมีความผิดฐานนำาเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้า ปลอม ตามมาตรา 275 เนื่ องจากนายส่ธีได้ส่ังเข้า มาจำา หน่ า ยในประเทศไทย โดยรู้อ ยู่ แล้วว่าเป็ นเครื่องรับวิทย่ท่ีมีเครื่องหมายการค้าของผู้อ่ ืนที่ได้จดทะเบียนแล้ว ซึ่งนายโยชิ กะได้ ทำา ปลอมขึ้ น ทั้ ง นี้ แ ม้ เ ครื่ องหมายการค้ า นั้ น จะได้ จ ดทะเบี ย นนอกราชอาณาจั ก ร ก็ตาม มาตรา 275 ผู้ใดนำาเข้าในราชอาณาจักร จำาหน่ ายหรือเสนอ จำาหน่ ายซึ่งสินค้าอันเป็ น สินค้าที่มีช่ ือ รูป รอยประดิษฐ์หรือข้อความใดๆ ดังบัญญั ติไว้ใ น มาตรา 272 (1) หรือสินค้าอัน เป็ นสิ น ค้ า ที่ มี เครื่ องหมายการค้ า ปลอมหรื อ เลี ย นเครื่ องหมายการค้ า ของผู้ อ่ ื นตาม ความใน มาตรา 273 หรือ มาตรา 274 ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติ ไว้ใน มาตรา นั้น ๆ แบบประเมินผลตนเอง หน่ วยที่ 4
1. การกระทำา อันเป็ นการเหยียดหยามศาสนาจะต้องกระทำา ต่อ วัตถ่หรือสถานที่อันเป็ นที่ เคารพในทางศาสนา 2. การกระทำาที่ไม่อาจเป็ นความผิดฐานกระทำาการเหยียดหยามศาสนา เช่น แดงเอามือลูบ หัวสามเณรในเชิงยั่วเย้า 3. ผู้ท่ีเป็ นสมาชิกของคณะบ่คคลซึ่งปกปิ ดวิธีดำา เนิ นการ และมีความม่่งหมายเพื่อการอันมิ ชอบด้วยกฎหมาย จะมีความผิดฐานเป็ นอั้งยี่ 4. การที่บ่คคลไม่ต่ ำากว่า 5 คน ปรึกษาหารือ และตกลงจะไปลักทรัพย์ผู้อ่ ืนจะเป็ นความผิด หรือไม่ฐานใด เป็ นความผิดฐานซ่องโจร 5. ตำารวจสั่งให้นักเรียน 20 คน ที่ม่ัวส่มอยู่ในอาคารเรียนและจะยกพวกไปวิวาทกับนักเรียน อีกกล่่มหนึ่ ง เลิกการช่มน่มมั่วส่ม นักเรียนจะไม่มีความผิดในกรณีท่ี สลายตัวไปด้วยความไม่พอใจ อย่างยิ่ง 6. ความผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์ กฎหมายจำากัดว่าทรัพย์น้ัน จะต้องเป็ นของผู้อ่ ืน 7. การกระทำา ต่อไปนี้ ผู้กระทำา ไม่มีความผิดคือ จะเผากระท่อมร้างของผู้อ่ ืนที่ไม่มีราคา และ ตั้งโดเดี่ยวอยู่กลางท่่ง จึงเอานำ้ามันเบนซินใส่ขวดไปไว้ในกระท่อม จะเผาตอนกลางคืน 8. การกระทำาให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท ผู้กระทำาต้องรับผิดในกรณีท่ีทำาให้ทรัพย์ของผู้อ่ ืน เสียหาย 9. การกระทำาที่ผู้กระทำาไม่มีความผิดทางอาญา คือ เอากิ่งไม้วางขวางทางรถไฟให้รถไฟทับ 10. การกระทำาที่ผู้กระทำาไม่มีความผิดทางอาญาเช่นกรณี เอาก้อนอิฐ 2-3 ก้อน วางขวางทาง รถไฟให้รถทับ 11. การหลอกลวงให้ผู้ซ้ ือหลงเชื่อในเรื่อง......ไม่เป็ นการขายของโดยหลอกลวงตามมาตรา 271 ความนิ ยมของผู้ซ้ ือในสินค้านั้น 12. การปลอมหรื อ การเลี ย นเครื่ องหมายการค้ า ที่ เป็ นความผิ ด ฐานปลอมหรื อ เลี ย น เครื่องหมายการค้าตาม ปอ.มาตรา 273 และ มาตรา 274 คือ เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียน แล้วไม่ว่าในหรือนอกราชอาณาจักร 13. การกระทำา ที่ จ ะเรี ย กว่ า ผิ ด ฐานเป็ นซ่ อ งโจรได้ แ ก่ บ่ ค คลไม่ ต่ ำ ากว่ า 5 คน ตกลงจะไป ทำาร้ายผู้อ่ ืนเพื่อแก้แค้น 14. การเผารถยนต์ของตนเองที่ให้ผู้อ่ ืนเอาไปใช้ ผู้กระทำามีความผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์ผู้ อื่น 15. การตระเตรียมการเผาทรัพย์ท่ีผู้กระทำายังไม่มีความผิดได้แก่ ตระเตรียมเผาเรือลำาเล็กๆ ของผ้อ ู ่ ืนราคาไม่ถึง 200 บาท ซึ่งจอดอยู่ท่ีท่านำ้าในยามวิกาล 16. เกิดไฟฟ้ าลัดวงจรในบ้านตอนกลางคืน เพราะสายไฟเก่า ทำาให้ไฟไหม้บ้านเสียหายหลาย หลัง เขียวเจ้าของบ้านไม่ต้องรับผิดในกรณีน้ี 17. สนิ ท ซื้อปากกาลูกลื่นจากร้านค้าของส่ธีมาขายเพราะร้านของสนิ ทเป็ นร้านขายเครื่อง เขียน โดยสนิ ทไม่ทราบว่าปากกาลูกลื่นของส่ธีเป็ นปากการลูกลื่นที่ทำาปลอมเครื่องหมายการค้าไว้ แล้ว เช่นนี้ สนิ ทมีความผิดฐานจำาหน่ ายสินค้าที่ปลอมเครื่องหมายการค้าหรือไม่ อย่างไร คำาตอบ ไม่มีความผิดเพราะขาดเจตนา 18. ดำาต้องการซื้อนาฬิกาเรือนหนึ่ ง แดงเสนอขายนาฬิกาให้ดำา โดยบอกให้แดงต้องขายให้ใน ราคาที่แพงกว่าปกติเล็ กน้อย เนื่ องมาจากเป็ นยี่ห้อที่เศรษฐีชาวอเมริกันใส่กันมาก ซึ่ งเป็ นความ เท็จ ดำาหลงเชื่อจึงซื้อนาฬิกานั้ น แดงมีความผิดหรือไม่ คำาตอบ ไม่ผิดฐานขายของโดยหลอกลวง เพราะไม่ได้หลอกลวงในเรื่องแหล่งกำาเนิ ด สภาพ ค่ณภาพ หรือปริมาณของที่จะขาย
หน่วยที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง 1. เงิ น ตราเป็ นวั ต ถ่ ก ลางเพื่ อการแลกเปลี่ ย นและชำา ระหนี้ โดยทั่ ว ไป จึ ง มี ค วาม จำาเป็ นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องสร้างความเชื่อถือให้กับเงินตราที่รัฐบาลออกใช้ โดยการลงโทษ ผู้กระทำาการอย่างใดๆ ให้ประชาชนเกิดความไม่เชื่อถือในเงินตรานั้น นอกจากนี้ พันธบัตร รัฐบาลก็เป็ นเครื่องมือ สำา คัญที่รัฐจะหารายได้เพื่อ จ่นเจือ การใช้จ่า ยของประเทศ ถ้าผู้ใด ทำา ให้ ประชาชนต้ อ งเสื่ อมความเชื่ อถือ ในพั น ธบั ต รรั ฐ บาล รัฐ ก็ จำา ต้ อ งลงโทษผู้ น้ั น เช่ น เดียวกัน 2. นอกจากเงินตราอันเป็ นวัตถ่กลางของการแลกเปลี่ยนและชำาระหนี้ โดยทั่วไปแล้ว ดวงตรา รอยตราต่างๆ ของรัฐ หรือของหน่ วยงานของรัฐ พระปรมาภิไธย แสตมป์ ท่ีออก ใช้ และตั๋วที่จำา หน่ า ยให้แก่ประชาชนทั่วไป ก็เป็ นสิ่งที่รัฐจำา ต้อ งมีม าตรการลงโทษแก่ผู้ กระทำาให้ความเชื่อถือในสิ่งดังกล่าวต้องลดน้อยถอยลงไปเช่นกัน
3. เอกสาร คือหลักฐานแห่งความหมาย ซึ่งบ่คคลให้ความเชื่อถือ และยอมรับนับถือ ให้เป็ นพยาน หลักฐานที่ดีท่ีส่ด รัฐจึงต้องลงโทษผู้ท่ีทำา การปลอมหรือกระทำา อย่างอื่นให้ เอกสารเสื่อมความเชื่อถือลงไป 5.1 ความผิดเกีย ่ วกับเงินตรา
1. การปลอมเงินตรา พันธบัตรรัฐบาล หรือใบสำาคัญสำาหรับปรับดอกเบี้ยพันธบัตร เป็ นความผิดฐานปลอมเงินตรา มีโทษหนักถึงจำาค่กตลอดชีวิต 2. การแปลงเงินตรา พันธบัตรรัฐบาล หรือใบสำาคัญสำาหรับดอกเบี้ยพันธบัตรเป็ น ความผิดฐานแปลงเงินตรา ต้องรับโทษหนักใกล้เคียงกัน 3. การกระทำาบางประการที่เกี่ยวข้องกับเงินตรา พันธบัตรรัฐบาลหรือใบสำาคัญ สำาหรับดอกเบี้ยพันธบัตร ซึง ่ ปลอมหรือแปลง ก็ต้องรับโทษเช่นเดียวกัน 4. การกระทำาความผิดเกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรรัฐบาลต่างประเทศ หรือใบสำาคัญสำาหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลต่างประเทศ ต้องรับโทษกึ่งหนึ่ ง 5. การทำาให้น้ ำาหนักเหรียญลดลงและทำาวัตถ่ให้คล้ายเงินตรา ก็มีความผิดและต้อง รับโทษตามควรแก่กรณี 5.1.1 ความผิดฐานปลอมเงินตรา
การทำาปลอมเงินตรา กับการทำาปลอมเอกสารมีขอ ้ แตกต่างที่สำาคัญอย่างไร ประการแรก การทำา ปลอมเงิ น ตราจะต้ อ งมี เ งิ น ตราแท้ จ ริ ง ใช้ ห ม่ นเวี ย นอยู่ ใ น ขณะนั้ น และผู้ทำา ปลอมได้ ทำา ขึ้นเพื่อให้ เสมือ นเงิน ตรานั้ น แต่ การปลอมเอกสารนั้ นไม่ จำา เป็ นต้อ งมีเ อกสารแท้จริงอยู่แต่อ ย่า งใด ผู้ปลอมอาจทำา เอกสารปลอมขึ้นใหม่ท้ังหมด ก็ได้ ประการที่สอง การทำาปลอมเงินตรานั้นเป็ นความเสียหายต่อรัฐและประชาชนอยู่ใน ตัว ไม่จำาต้องพิสูจน์ถึงความเสียหายหรือความน่าจะเสียหายอีกแต่อย่างใด ส่วนการปลอม เอกสารนั้นจะเป็ นความผิดต่อเมื่อน่ าจะเสียหายต่อผ้อ ู ่ ืนหรือประชาชน 5.1.2 ความผิดฐานแปลงเงินตรา
การนำาเอาเหรียญกษาปณ์ท่ีเจาะรูมาอ่ดให้ไม่มีรอ ่ งรอยเพื่อให้สามารถนำาออกมา ใช้ได้ตามเดิมมีความผิดฐานแปลงเงินตามมาตรา 241 หรือไม่ ไม่ผิด เพราะไม่เป็ นการแปลงเงินตรา เพื่อให้ผู้อ่ ืนเชื่อว่ามีมูลค่าสูงกว่าจริงตาม มาตรา 241 หากเป็ นการกระทำาเพื่อให้สามารถนำาออกมาใช้ได้ตามปกติในมูลค่าเท่าเดิม หรือไม่สูงกว่าเดิม การกระทำาความผิดทีเ่ กีย ่ วขูองกับการปลอมหรือแปลงเงินตรา (1) นำาเงินตราปลอมหรือแปลงเขูาประเทศ นายพยัคฆ์ นำาธนบัตรรัฐบาลไทยซึ่งมีผู้ทำาปลอมขึ้นในราชอาณาจักรออก ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อนำาไปขายยังประเทศดังกล่าว แต่เมื่อนำาออกไปแล้วไม่อาจ ขาย จึงนำากลับเข้าประเทศไทยอีก นายพยัคฆ์มีความผิดตามมาตรา 243 หรือไม่ ผิด เพราะเป็ นการนำาเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งเงินตราอันเป็ นของปลอม 5.1.3
มาตรา 243 ผู้ ใ ดนำา เข้ า ในราชอาณาจั ก รซึ่ ง สิ่ ง ใด ๆ อั น เป็ นของปลอมตาม มาตรา 240 หรือของแปลงตาม มาตรา 241 ต้องระวาง โทษดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ
(2) มีเงินตราปลอมหรือแปลงเพื่อใชู ลูกจ้างเก็บรักษาธนบัตรปลอมไว้แทนนายจ้างจนกว่านายจ้างจะมารับคืน ไปขายต่อให้ผู้อ่ น ื ลูกจ้างมีความผิดตามมาตรา 244 หรือไม่ ลูกจ้างมีความผิดตามมาตรา 244 เพราะเป็ นการมีธนบัตรปลอมไว้เพื่อ นำาออกใช้โดยที่ลูกจ้างได้มาโดยรู้ว่าเป็ นของปลอมตามมาตรา 240 การมีไว้ตามมาตรา 244 ไม่ จำา ต้ อ งเป็ นการมี ก รรมสิ ท ธิ ห ์ รื อ มี ไ ว้ ใ นครอบครองแม้ ก ารยึ ด ถื อ ไว้ แ ทนผู้ อ่ ื นก็ ถือว่าเป็ นการมีไว้แล้ว และการมีไว้เพื่อให้ผู้อ่ ืนนำา ออกใช้ก็มีผลเท่ากับมีไว้เพื่อนำา ออกใช้ นั้นเอง กรณี อาจวินิจฉัยได้ว่าลูกจ้างเป็ นตัวการร่วมกันกับนายจ้า งในการกระ ทำา ความ ผิดตามมาตรา 244
มาตรา 240 ผู้ใดทำาปลอมขึน ้ ซึ่งเงินตรา ไม่ว่าจะปลอมขึ้นเพื่อให้ เป็ นเหรียญกระษาปณ์ ธนบัตรหรือสิ่งอื่นใด ซึ่งรัฐบาลออกใช้หรือให้ อำานาจให้ออกใช้ หรือทำาปลอมขึ้นซึ่งพันธบัตรรัฐบาล หรือ ใบสำา คั ญ สำา หรั บรั บดอกเบี้ ย พั น ธบั ตรนั้ น ๆ ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานปลอม เงิ น ตรา ต้ อ ง ระวางโทษจำา ค่ กตลอดชี วิ ตหรื อ จำา ค่ กตั้ งแต่ สิ บ ปี ถึ งยี่ สิ บปี และปรั บตั้ งแต่ ส องหมื่ นบาทถึ งสี่ ห มื่ น บาท
มาตรา 244 ผู้ใดมีไว้เพื่อนำาออกใช้ซึ่งสิ่งใด ๆ อันตนได้มาโดย รู้ว่าเป็ นของแปลกตาม มาตรา 240 หรือของแปลงตาม มาตรา 241 ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสามหมื่นบาท
(3) ใชูเงินตราปลอมหรือแปลง นายกรอบได้ ธ นบั ต รรั ฐ บาลไทยปลอมราคาหนึ่ ง ร้ อ ยบาทมาฉบั บ หนึ่ ง โดยที่ไม่รู้ว่าเป็ นของปลอม ภายหลังที่ได้มาแล้วจึงรู้ว่าเป็ นของปลอม แต่นายกรอบมิได้ นำาออกใช้เพราะเกรงความผิด ต่อมาเป็ นเวลานาน นายกรอบยากจนไม่มีเงินใช้เลย จึงจำา ใจต้ อ งนำา ธนบั ต รปลอมออกใช้ ซ้ ื ออาหารรั บ ประทาน เช่ น นี้ นายกรอบมี ค วามผิ ด ตาม มาตรา 245 หรือไม่ ผิดเพราะแม้จะนำาออกใช้โดยความจำาใจก็ถือว่าเป็ นการขืนนำาออกใช้ตาม มาตรา 245 เช่นเดียวกัน
มาตรา 245 ผู้ใดได้มาซึ่งสิ่งใด ๆ โดยไม่รู้ว่าเป็ นของปลอมตาม มาตรา 240 หรือของ แปลงตาม มาตรา 241 ถ้าต่อมารู้ว่าเป็ น ของปลอมหรือของแปลงเช่นว่านั้น ยังขืนนำาออกใช้ ต้อง ระวางโทษ จำาค่กไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
(4) ทำาหรือมีเครื่องมือสำาหรับกระทำาความผิด นายประสพมี เ ครื่ องมื อ สำา หรั บ ปลอมเงิ น ตราไว้ ใ ช้ ส อนศิ ษ ย์ ทำา เงิ น ตรา ปลอม เพื่อออกไปประ กอบอาชีพในการทำา เงินตราปลอมต่อไป โดยนายประสพได้รับค่า สอน แต่เงินที่ทำา ปลอมออกมาแล้ว นายประสพได้ทำา ลายเสียหมดท่กครั้งไปไม่ให้ใครนำา ออกไปใช้ นายประสพมีความผิดตามมาตรา 246 หรือไม่ นายประสพมีความผิดตามมาตรา 246 แม้จะมีเครื่องมือไว้เพื่อปลอมเงิน ตราในการสอนศิษย์ก็ยังมีความผิดอยู่เอง เพราะเพียงมีเจตนาพิเศษหรือมูลเหต่จูงใจ เพื่อ ใช้ ใ นการปลอม ก็ ค รบองค์ ประกอบของกฎหมายแล้ ว โดยไม่ จำา เป็ นต้ อ งพิ จ ารณาว่ า เป็ นการปลอมเพื่อวัตถ่ประสงค์อย่างใด
มาตรา 246 ผู้ใดทำา เครื่องมือหรือวัตถ่สำา หรับปลอม หรือแปลงเงิน ตราไม่ ว่าจะเป็ น เหรียญกระษาปณ์ธนบัตรหรือสิ่งใดๆซึ่งรัฐบาลออกใช้หรือให้อำานาจให้ออกใช้หรือสำาหรับปลอมหรือ แปลงพันธบัตรรัฐบาลหรือใบสำาคัญสำาหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตรนั้ นๆ หรือมีเครื่องมือหรือวัตถ่เช่น ว่านั้นเพื่อใช้ในการปลอมหรือแปลงต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่ ง หมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท
ต้องหรือไม่
(5) การลงโทษผู้กระทำาความผิด ถ้าจะกล่าวว่ามาตรา 248 ยกเว้นหลักตามมาตรา 91 เป็ นคำา กล่าวที่ถูก
ถู กต้อ ง เพราะมาตรา 248 ให้ ลงโทษผู้ กระทำา ตามมาตรา 240 มาตรา 241 หรือมาตรา 247 แต่เพียงกระทงเดียว แม้ว่าผู้น้ันจะได้กระทำาผิดตามมาตราอื่นๆ ใน หมวดเดียวกันอีกเกี่ยวกับสิ่งที่ตนปลอมขึ้นหรือแปลงนั้นด้วยก็ตาม
มาตรา 248 ถ้าผู้กระทำาความผิดตาม มาตรา 240 มาตรา 241 หรือ มาตรา 247 ได้กระทำา ความผิดตาม มาตรา อื่นที่บัญญัติไว้ใน หมวดนี้ อันเกี่ยวกับสิ่งที่ ตนปลอมหรื อแปลงนั้ น ด้วย ให้ลงโทษผู้น้ันตาม มาตรา 240 มาตรา 241 หรือ มาตรา 247 แต่กระทงเดียว มาตรา 91 เมื่อปรากฏว่าผู้ใดได้กระทำาการอันเป็ นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ศาล ลงโทษผู้น้ันท่กกรรมเป็ นกระทงความผิดไปแต่ไม่ว่าจะมีการเพิ่มโทษ ลดโทษ หรือลด มาตรา ส่วน โทษด้วยหรือไม่ ก็ตาม เมื่อรวมโทษท่กกระทงแล้ว โทษจำาค่กทั้งสิ้นต้องไม่เกินกำาหนด ดังต่อไปนี้ (1) สิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงที่หนักที่ส่ด มีอัตราโทษจำาค่กอย่างสูงไม่เกินสามปี (2) ยี่สิบปี สำาหรับกรณี ความผิดกระทงที่หนักที่ส่ด มีอัตราโทษจำาค่กอย่างสูงเกินสาม ปี แต่ไม่เกินสิบปี (3) ห้าสิบปี สำาหรับกรณี ความผิดกระทงที่หนั กที่ส่ดมีอัตราโทษจำา ค่ กอย่างสูงเกินสิบปี ขึ้นไปเว้นแต่กรณีท่ีศาลลงโทษจำาค่กตลอดชีวิต 5.1.4 การกระทำาความผิดต่อเงินตราต่างประเทศ
นายอั ษ ฎาว่ ธ ปลอมเงิ น ตราของรั ฐ บาลลิ เ บี ย ซึ่ ง ไม่ มี สั ม พั น ธ์ ท างการทู ต กั บ ประเทศไทย และประเทศไทยไม่ยอมรับรัฐบาลดังกล่าว นายอัษฎาว่ธจะมีความผิดตาม มาตรา 247 หรือไม่ มีความผิดเพราะมาตรา 247 ได้ระบ่เพียงรัฐบาลต่างประเทศ โดยไม่ระบ่ว่าต้อง มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับรัฐบาลไทย และรัฐบาลไทยต้องรับรองหรือไม่
มาตรา 247 ถ้าการกระทำาดังกล่าวในหมวดนี้ เป็ นการกระทำา เกี่ยวกับเงินตราไม่ว่าจะ เป็ นเหรียญกระษาปณ์ ธนบัตรหรือสิ่งอื่นใดซึ่ง รัฐบาลต่างประเทศออกใช้หรือให้อำา นาจให้ออกใช้ หรือเกี่ยวกับ พันธบัตรรัฐบาลต่ างประเทศหรือใบสำา คัญสำา หรับรับดอกเบี้ยพันธบัตรนั้ น ผู้กระทำา ต้องระวางโทษกึ่งหนึ่ งของโทษที่บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ
การทำาใหูน้ ำาหนักเหรียญลดลง และทำาวัตถุใหูคลูายเงินตรา นายวินัยนำา เหรีย ญกระษาปณ์ท่ี รัฐ บาลออกใช้ม าขัด ถูล วดลายบนเหรีย ญออก เพื่อนำาไปใช้เป็ นเหรียญห้อยคอส่นัข มีความผิดตามมาตรา 242 วรรคแรกหรือไม่ ไม่ผิด เพราะการทำาโดยส่จริตให้เหรียญกระษาปณ์ซึ่งรัฐบาลออกมาใช้น้ ำาหนัก ลดลงตามมาตรา 242 วรรคแรกนั้ น หมายถึงการได้ประโยชน์จากนำ้ าหนั กที่ลดลงของ เหรียญกระษาปณ์โดยตรง ตะไบเหรี ย ญกระษาปณ์ท องคำา ให้ น้ ำ าหนั ก ลดลงแล้ ว เอาผง ทองคำาที่ตะไบออกมาไปขายต่อไป เป็ นต้น นายก่ ศ ลเอาบั ต รที่ มี ลั ก ษณะและขนาดคล้ า ยคลึ ง เงิ น ตราไปแจกเด็ ก นั ก เรี ย น เพื่อล้อเล่นให้เด็กเข้าใจว่าเป็ นธนบัตรของแท้ เช่นนี้นายก่ศลมีความผิดอย่างไรหรือไม่ มี ค วามผิ ด ตามมาตรา 249 วรรคแรก เพราะการแจกบั ต รดั ง กล่ า วถื อ ว่ า เป็ นการจำาหน่ ายบัตรที่มีลักษณะขนาดคล้ายคลึงธนบัตรรัฐบาลไทยตามองค์ประกอบของ กฎหมายแล้ว โดยไม่ตอ ้ งกระทำาโดยมีมูลเหต่จูงใจหรือเจตนาพิเศษอย่างอื่นอีก 5.1.5
มาตรา 249 ผู้ใดทำาบัตรหรือโลหะธาต่อย่างใด ๆ ให้มีลักษณะและขนาดคล้ายคลึงกั บ เงินตรา ไม่ว่าจะเป็ นเหรียญกระษาปณ์ธนบัตรหรือสิ่งใด ๆ ซึ่งรัฐบาลออกใช้หรือให้อำานาจให้ออกใช้ หรือพันธบัตรรัฐบาล หรือใบสำา คัญสำา หรับรับดอกเบี้ยพันธบัตรนั้ น ๆ หรือจำา หน่ ายบัตรหรือ โลห ธาต่เช่นว่านั้นต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกิน สองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการจำาหน่ ายบัตรหรือโลหะธาต่ดังกล่าวในวรรคแรก เป็ นการจำาหน่ ายโดยการนำาออก ใช้ดังเช่นสิ่งใด ๆ ที่กล่าวในวรรคแรกผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก พันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 5.2 ความผิดเกีย ่ วกับดวงตรา แสตมป์ และตัว ๋
1. การทำาปลอมดวงตราแผ่นดิน รอยตราแผ่นดิน พระปรมาภิไธย ดวงตราหรือรอย ตราของทบวงการเมือง องค์การสาธารณะหรือเจ้าพนักงาน การใช้ดวงตรา รอยตรา หรือ พระปรมาภิไธยปลอมตลอดจนการใช้ดวงตรา หรือรอยตราอันแท้จริงโดยมิชอบ เป็ นการ กระทำาผิด ซึง ่ มีโทษสถานหนักกว่าการปลอมเอกสารท่กประเภท 2. การปลอมแปลงแสตมป์ รั ฐ บาล ซึ่ ง ใช้ ใ นกิ จ การต่า งๆ ตลอดจนการกระทำา โดย ท่จริตต่อแสตมป์ ดังกล่าวถือเป็ นความผิดอาญา 3. การปลอมแปลงตั๋ว โดยสาร ซึ่งใช้ใ นการขนส่ง สาธารณะหรือ ตั๋วซึ่ งจำา หน่ า ยแก่ ประชาชน เพื่อผ่านเข้าสถานที่ใดๆ ตลอดจนการกระทำา โดยท่จริตต่อตัว ๋ ดังกล่าว ถือเป็ น ความผิดอาญา 4. การกระทำา หรือมีเครื่องมือ หรือวัตถ่สำา หรับปลอม หรือแปลงเพื่อใช้ในการปลอม หรื อ แปลงดวงตรา รอยตรา พระปรมาภิ ไ ธย แสตมป์ หรื อ ตั๋ว ย่ อ มเป็ นความผิ ด เช่ น เดียวกัน แต่ถ้า ผู้ กระทำา ผิ ดได้ก ระทำา ผิ ดบทมาตราอื่นอั นเกี่ ยวกับ สิ่ง ที่เ กิ ดจากการกระ ทำาความผิดนั้นด้วย กฎหมายให้ลงโทษแต่กระทงเดียว 5.2.1 ความผิดเกีย ่ วกับดวงตรา
นายพิพาท ทำาดวงตราแผ่นดินปลอมขึ้นเพื่อนำา ไปอวดลูกสาวว่าตนมีหน้าที่ดูแล รักษาดวงตราแผ่น ดิน เช่นนี้ นายพิพาทมีความผิดอย่างไรหรือไม่ ผิดตามมาตรา 250 เพราะการกระทำา ผิดตามมาตรานี้ ไม่จำา ต้องมีเจตนาพิเศษ หรือมูลเหต่ชักจูงใจแต่อย่างใด มาตรา 250 ผู้ใ ดทำา ปลอมขึ้น ดวงตราแผ่ น ดิ น รอยตราแผ่ น ดิ น หรื อ พระปรมาภิ ไธย ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี และ ปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท 5.2.2 ความผิดเกีย ่ วกับแสตมป์
นายเช้าทำาปลอมแสตมป์ ท่ีระลึกของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ออกมาจำาหน่ าย ให้ประชาชนซื้อไว้เพื่อทำาการสะสมแต่มิใช่แสตมป์ ท่ีใช้ในการไปรษณีย์แต่อย่างใดนายเช้า มีความผิดตามมาตรา 254 หรือไม่ ไม่เป็ นความผิด เพราะมิได้ปลอมแสตมป์ รัฐบาลซึ่งใช้สำาหรับการไปรษณีย์
มาตรา 254 ผู้ใดทำาปลอมขึน ้ ซึ่งแสตมป์ รัฐบาล ซึ่งใช้สำาหรับการ ไปรษณีย์การภาษีอากร หรือการเก็บค่าธรรมเนี ยม หรือแปลงแสตมป์ รัฐบาล ซึ่งใช้ในการเช่นว่านั้นให้ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ ผู้อ่ ืนเช่นว่ามีมูลค่าสูงกว่าจริงต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึง หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 5.2.3 ความผิดเกีย ่ วกับตัว ๋
นายชาติชายปลอมตัว ๋ สำา หรับใช้เข้าชานชาลาสถานี รถไฟกร่งเทพฯ มีความผิด อย่างใดหรือไม่
ผิดตามมาตรา 259 เพราะเป็ นการปลอมตัว ๋ ที่จำาหน่ ายแก่ประชาชนเพื่อผ่านเข้า สถานที่ใดๆ มาตรา 259 ถ้าการกระทำาตาม มาตรา 258 เป็ นการกระทำาเกี่ยว กับตัว ๋ ที่จำาหน่ าย แก่ประชาชน เพื่อผ่านเข้าสถานที่ใด ๆ ผู้กระทำาต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกิน สองพันบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ
5.2.4 การมีเครื่องมือสำาหรับกระทำาความผิดและการลงโทษผู้กระทำา ความผิด นายวี ร วร ทำา ปลอมตั๋ว โดยสารรถประจำา ทาง และทำา เครื่ องมื อ สำา หรั บ ปลอม แสตมป์ รัฐบาล นายวีรวร มีความผิดและต้องถูกลงโทษตาม ปอ. มาตราใดหรือไม่ มี ค วามผิ ด และต้ อ งถู ก ลงโทษตามมาตรา 258 และมาตรา 261 เรี ย งกระทง ลงโทษตามมาตรา 91 เพราะกรณีน้ี ไม่เข้ามาตรา 263
มาตรา 258 ผู้ใ ดทำา ปลอมขึ้น ซึ่งตัว ๋ โดยสารซึ่งใช้ใ นการขนส่ง สาธารณหรือ แปลงตั ๋ว โดยสารซึ่งใช้ในการขนส่งสาธารณให้ผิดไปจาก เดิม เพื่อให้ผู้อ่ ืนเชื่อว่ามีมูลค่าสูงกว่าจริง หรือลบ ถอนหรือ กระทำา ด้ ว ย ประการใด ๆ แต่ ตั๋ว เช่ น ว่ า นั้ น ซึ่ ง มี เ ครื่ องหมายหรื อ การกระทำา อย่ า งใด แสดงว่าใช้ไม่ได้แล้วเพื่อใช้ได้อีก ต้องระวางโทษจำาค่กไม่ เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 263 ถ้ า ผู้ ก ระทำา ความผิ ด ตาม มาตรา 250 มาตรา 251 มาตรา 254 มาตรา 256 มาตรา 258 มาตรา 259 หรือ มาตรา 262 ได้กระทำาความผิดตาม มาตรา อื่น ที่บัญญัติไว้ ในหมวดนี้ อันเกี่ย วกั บสิ่ ง ที่เกิด จากการกระทำา ความผิ ดนั้ นด้ วย ให้ล งโทษผู้น้ั นตาม มาตรา 250 มาตรา 251 มาตรา 254 มาตรา 256 มาตรา 258 มาตรา 259 หรื อ มาตรา 262 แต่กระทงเดียว มาตรา 91 เมื่อปรากฏว่าผู้ใดได้กระทำาการอันเป็ นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ศาล ลงโทษผู้น้ันท่กกรรมเป็ นกระทงความผิดไปแต่ไม่ว่าจะมีการเพิ่มโทษ ลดโทษ หรือลด มาตรา ส่วน โทษด้วยหรือไม่ ก็ตาม เมื่อรวมโทษท่กกระทงแล้ว โทษจำาค่กทั้งสิ้นต้องไม่เกินกำาหนด ดังต่อไปนี้ (1) สิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงที่หนักที่ส่ด มีอัตราโทษจำาค่กอย่างสูงไม่เกินสามปี (2) ยี่สิบปี สำาหรับกรณี ความผิดกระทงที่หนักที่ส่ด มีอัตราโทษจำาค่กอย่างสูงเกินสาม ปี แต่ไม่เกินสิบปี (3) ห้าสิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงที่หนั กที่ส่ดมีอัตราโทษจำาค่กอย่างสูงเกินสิบปี ขึ้นไป เว้นแต่กรณีท่ีศาลลงโทษจำาค่กตลอดชีวิต 5.3 ความผิดเกีย ่ วกับเอกสาร
1. การทำาเอกสารปลอม ไม่จำาเป็ นต้องมีเอกสารแท้จริงอยู่ก่อน แต่ต้องกระทำา โดยมี เจตนาให้ผู้อ่ ืนหลงเชื่อว่าเป็ นเอกสารแท้จริง และการกระทำา นั้นน่ าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้อ่ น ื หรือประชาชน 2. การปลอมเอกสารสิ ท ธิ เอกสารราชการ เอกสารสิ ท ธิ อั น เป็ นเอกสารราชการ พินัยกรรม ใบห้่น ใบห้่นกู้ ใบสำา คัญของในห้่นกู้ ตั๋วเงินหรือ บัตรเงินฝากมีโทษหนั กกว่า การปลอมเอกสารทั่วไป 3. การแจ้ ง ให้ พ นั ก งานจดข้ อ ความอั น เป็ นเท็ จ ลงในเอกสารมหาชนหรื อ เอกสาร ราชการ ถือเป็ นความ ผิดเช่นเดียวกัน 4. การใช้หรืออ้างเอกสารปลอมหรือเอกสารเท็จ มีความผิดและลงโทษเท่าเทียมกับ การปลอมเอกสารหรือแจ้งข้อความให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็ นเท็จ 5. ผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งทำาคำารับรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จ ก็มีความผิดเช่นเดียวกัน 5.3.1 ความผิดฐานปลอมเอกสาร
การเติ ม ตั ด ทอน หรื อ แก้ ไ ขในเอกสารแท้ จ ริ ง มี ข้ อ แตกต่ า งกั บ การทำา ลาย เอกสารหรือไม่ การเติม ตัดทอน หรือแก้ไขในเอกสารแท้จริงเป็ นเพียงการทำาให้ความหมายของ เอกสารนั้นเปลี่ยน แปลงไปในสิ่งที่เป็ นสาระสำา คัญ แต่เอกสารนั้ นยังคงมีอยู่ต่อ ไป ส่วน การทำา ลายเอกสารนั้น ทำา ให้เ อกสารนั้ นหมดสิ้ นสู ญ หายโดยอาจทำา เอกสารขึ้นมาใหม่ แทนที่ หรือ ไม่ทำา เอกสารขึ้นอีกเลย ยกตัวอย่า งเช่นการขูดตัวเลขทะเบียนปื นที่ด้า มปื น ออกบางตัวแล้วตอกเลขใหม่แทนที่ ถือเป็ นการปลอมเอกสารราชการ ตามมาตรา 266 แต่ ถ้ า ขู ด ตั ว เลขออกไปทั้ ง หมด และมิ ไ ด้ ต อกตั ว เลขใหม่ ล งไปแทน ถื อ เป็ นการทำา ลาย เอกสารตามมาตรา 188 มาตรา 188 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือ ทำาให้สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารใดของผู้อ่ ืน ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ ืนหรือ ประชาชนต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท
มาตรา 266 ผ้ใู ดปลอมเอกสารดังต่อไปนี้ (1) เอกสารสิทธิอันเป็ นเอกสารราชการ (2) พินัยกรรม (3) ใบห้่น ใบห้่นกู้ หรือใบสำาคัญของใบห้่นหรือใบห้่นกู้ (4) ตัว ๋ เงิน หรือ (5) บัตรเงินฝาก ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท 5.3.2 การปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ
ภาพถ่ า ยจากสำา เนาเอกสารราชการที่ มี เ จ้ า พนั ก งานรั บ รองสำา เนา แต่ เ จ้ า พนักงานมิได้รับรองภาพ ถ่ายนั้นไว้ถือเป็ นเอกสารราชการหรือไม่ ภาพถ่ า ยจากสำา เนาเอกสารราชการที่ มี เ จ้ า พนั ก งานรั บ รองสำา เนาไว้ แต่ เ จ้ า พนักงานมิได้รับรองภาพ ถ่ายนั้นไม่เป็ นเอกสารราชการตามความหมายในมาตรา 1(8) เป็ นได้แต่เพียงเอกสารทั่วไปตามมาตรา 1(7) ตัว ๋ เงินที่มาจากต่างประเทศแต่มิใช่ประเภทตัว ๋ แลกเงิน ตัว ๋ สัญญาใช้เงินหรือเช็ค ถือว่าเป็ นเอกสารประเภทใด ตัว ๋ เงินที่มาจากต่างประเทศ แต่มิใช่ประเภทตัว ๋ แลกเงิน ตัว ๋ สัญญาใช้เงินหรือเช็ค ไม่ถอ ื ว่าเป็ นตัว ๋ เงินตามมาตรา 266 แต่เป็ นเอกสารสิทธิตามมาตรา 265 มาตรา 265 ผู้ใดปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หก เดือนถึงห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งพันบาท ถึงหนึ่ งหมื่นบาท มาตรา 1 ในประมวลกฎหมายนี้ ฯลฯ (7) "เอกสาร" หมายความว่ ากระดาษหรื อ วั ตถ่ อ่ ื นใดซึ่ งได้ ทำา ให้ ปรากฏความหมาย ด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่นจะเป็ นโดยวิธีพิมพ์ถ่ายภาพหรือวิธีอ่ ืนอันเป็ นหลัก ฐานแห่งความหมายนั้น (8) "เอกสารราชการ" หมายความว่า เอกสารซึ่งเจ้าพนั กงานได้ ทำา ขึ้นหรือรับรองใน หน้าที่ และให้หมายความรวมถึงสำาเนาเอกสารนั้น ๆ ที่เจ้า พนักงานได้รับรองในหน้าที่ด้วย 5.3.3 การแจูงใหูเจูาพนักงานจดขูอความเท็จ
การเบิกความเท็จต่อศาลและศาลจดคำา ให้การนั้ นไว้ใ นแบบคำา ให้การพยาน ผู้ เบิกความมีความผิดตามมาตรา 267 หรือไม่ ไม่เป็ นความผิดตามมาตรา 267 นี้ เพราะการจดคำา ให้การของศาลเป็ นการจด โดยศาลใช้ด่ลยพินิจว่าควรจะจดอย่างไรบ้าง มิใช่จดตามคำาให้การทั้งหมด ทั้งเอกสารคำา ให้ ก ารของพยานมิ ใ ช่ เ อกสารที่ มี วั ต ถ่ ประสงค์ เ พื่ อใช้ เ ป็ นพยานหลั ก ฐาน แต่ อ ย่ า งใด ข้อ ความที่ศ าลจดไว้น้ั น จะรั บฟั งได้ห รื อ ไม่ ไ ด้ ศ าลยั ง ต้ อ งพิ จ ารณา วิ นิ จ ฉัย กั นอี ก ต่ อ ไป มิได้ยึดถือข้อความในนั้นเป็ นหลักฐานโดยทันทีแต่อย่างใด
มาตรา 267 ผู้ใดแจ้งให้เจ้าพนักงานผู้กระทำาการตามหน้าที่ จดข้อความอันเป็ นเท็จ ลง ในเอกสารมหาชน หรื อ เอกสารราชการ ซึ่ ง มี วั ต ถ่ ป ระสงค์ สำา หรั บ ใช้ เ ป็ นพยานหลั ก ฐาน โดย ประการที่ น่าจะเกิ ด ความเสี ยหายแก่ ผู้อ่ ื น หรือ ประชาชนต้ องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เ กิ น สามปี หรื อ ปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 5.3.4 การใชูเอกสารปลอมหรือเอกสารเท็จ
นายดำา เกิง นำา ป้ ายวงกลมของทางราชการแสดงการเสีย ภาษีร ถยนต์ ป ระจำา ปี ของรถยนต์ คั น อื่ นมาติ ด แสดงไว้ ท่ี ห น้ า กระจกรถยนต์ ข องตนเอง ซึ่ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ เ สี ย ภาษี ประจำาปี แต่อย่างใด การกระทำาของนายดำาเกิงเป็ นความผิดตามมาตรา 268 หรือไม่ ไม่ผิด ตามมาตรา 268 เพราะป้ ายวงกลมดัง กล่ า วเป็ นเอกสารแท้ จ ริ ง ไม่ใ ช่ เอกสารปลอมตามมาตรา 264 มาตรา 265 หรือมาตรา 266 แต่อย่างใด มาตรา 268 ผ้ใู ดใช้หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทำา ความผิดตาม มาตรา 264 มาตรา 265 มาตรา 266 หรือ มาตรา 267 ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ ืนหรือ ประชาชน ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ ถ้าผู้กระทำาความผิดตามวรรคแรกเป็ นผู้ปลอมเอกสารนั้น หรือเป็ นผู้แจ้งให้เจ้าพนักงาน จดข้อความนั้นเอง ให้ลงโทษตาม มาตรานี้ แต่กระทงเดียว 5.3.5 การทำาคำารับรองเป็ นเอกสารเท็จ
นายอร่ ณ เรี ย นวิ ช ากฎหมายได้ ป ระกาศนี ยบั ต รเนติ บั ณ ฑิ ต แต่ ไ ปประกอบ วิชาชีพเป็ นตำา รวจได้ยศพันตำา รวจเอกและยังรับราชการตำา รวจอยู่ พ.ต.อ. อร่ณได้ทำา คำา รับรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จว่า นายจรูญเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของนายฝั นเฟื่ องเช่น นี้ พ.ต.อ. อร่ณกระทำาความผิดตามมาตรา 269 หรือไม่
ไม่ ผิ ด เพราะ พ.ต.อ. อร่ ณ ประกอบวิ ช าชี พ เป็ นตำา รวจไม่ ไ ด้ ป ระกอบวิ ช าชี พ กฎหมาย ไม่ได้ทำาคำารับรองในการประกอบการงานในวิชาชีพตำารวจของตนแต่อย่างใด
มาตรา 269 ผ้ใู ดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย บัญชีหรือวิชาชีพอื่นใด ทำาคำารับรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จ โดย ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ ืนหรือประชาชน ต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ใดโดยท่จริตใช้ห รืออ้ างคำา รับรองอั นเกิด จากการกระทำา ความผิ ดตามวรรคแรก ต้ อง ระวางโทษเช่นเดียวกัน
แบบประเมินผลตนเอง หน่วยที่ 5
1. คำาว่าเงินตรา ตาม ปอ.หมายความถึง ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ หรือสิ่งใดซึ่งรัฐบาลออก ใช้ หรือให้อำานาจออกใช้ (แต่ไม่รวมถึงเงินพดด้วง) 2. การทำาปลอมเงินตราจะเป็ นความผิดตาม ปอ. ในกรณี ทำาขึ้นให้เหมือนเงินตราของรัฐบาล ที่ใช้อยู่ในปัจจ่บันโดยผู้ทำาไม่มีอำานาจ 3. การทำาเงินตราปลอมจะไม่เป็ นความผิดตาม ปอ. ในกรณี ทำาปลอมขึ้นเพื่อสอนนักศึกษา ในโรงเรียนนายร้อยตำารวจ 4. ผู้มีเงินตราปลอมแล้วนำามาใช้จะไม่เป็ นความผิดตาม ปอ. เฉพาะกรณี ขณะใช้ไม่รู้ว่าเป็ น เงินปลอม 5. ผู้มีเงินตราปลอมแล้วนำาออกใช้จะไม่เป็ นความผิดตาม ปอ. ในกรณีนำาออกใช้โดยทั้งผู้ใช้ และผู้รับไม่รู้ว่าเป็ นเงินตราปลอม 6. คำาว่า “พระปรมาภิไธย” ตาม ปอ. หมายความถึง ลายมือชื่อของพระมหากษัตริย์ 7. คำา ว่า “แสตมป์ ” ตาม ปอ. หมายความถึง แสตมป์ สำา หรับการไปรษณี ย์ การภาษีอากร และการเก็บค่าธรรมเนี ยม 8. การทำาปลอมตัว๋ ในราชอาณาจักร ไม่มีความผิดตาม ปอ.ในกรณี ทำาปลอมตัว๋ รถโดยสาร สำาหรับนำาไปใช้กับรถโดยสารในต่างประเทศ 9. การทำาปลอมตัว๋ โดยสารซึ่งใช้ในการขนส่งสาธารณะไม่เป็ นความผิดตาม ปอ. ในกรณี ทำา ปลอมตัว ๋ เพื่อสอนนักศึกษาในโรงเรียนตำารวจ 10. คำาขวัญติดท้ายรถสิบล้อ ไม่ถือว่าเป็ น “เอกสาร” ตาม ปอ. 11. การทำา ปลอมเอกสารไม่ เ ป็ นความผิ ด ตาม ปอ. ในกรณี ท่ี ไ ม่ น่ า จะเสี ย หายกั บ ผู้ อ่ ื นหรื อ ประชาชน 12. การเอาป้ ายวงกลมเสียภาษีของรถคันอื่นมาติดที่รถอีกคันหนึ่ ง ไม่ถือว่าเป็ นการใช้เอกสาร ปลอม เพราะว่า ป้ ายทะเบียนรถยนต์เป็ นป้ ายแท้จริง 13. ถ้าผู้ใดก็ตามปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอมด้วย จะต้องรับผิดเพียงกระทงเดียวคือ การใช้เอกสารปลอม 14. การลบแสตมป์ รัฐบาลที่มีเครื่องหมายแสดงว่าใช้ไม่ได้แล้ว จะไม่เป็ นความผิดตาม ปอ . ใน กรณีท่ีทำาเพื่อนำาไปขายอย่างแสตมป์ เก่า 15. ขูดลบหมายเลขทะเบียนที่พานท้ายปื นของภริยาตนออกหมดเพื่อนำาไปขอจดทะเบียนอาว่ธ ปื นในฐานะที่ไม่เคยมีทะเบี ยนมาก่ อน ไม่ถือว่าเป็ นการปลอมเอกสารราชการเพราะว่า เป็ นการ ทำาลายเอกสารให้หมดไปมิได้ทำาเอกสารขึ้นใหม่ 16. สัญญาณควันของลูกเสือติดต่อขอความช่วยเหลือจากพวกลูกเสือด้วยกันไม่เป็ นเอกสาร ตาม ปอ. เพราะไม่เป็ นหลักฐานแห่งความหมายได้ 17. คำาว่า “เอกสารสิทธิ”์ ตาม ปอ. ไม่ให้หมายความรวมถึง ใบมอบฉันทะ (ส่วน ส.ค. 1 หรือ แบบแจ้งการครอบครองที่ดิน ตัว ๋ รับจำานำา สม่ดบัญชีออมทรัพย์ธนาคาร หนังสือสัญญากู้เงินไม่เกิน ห้าสิบบาท) 18. ทนายความลงชื่อรับรองลายมือชื่อผู้แต่งทนายความว่าเป็ นลายมือชื่อแท้จริง ถ้าปรากฏว่า ลายมือชื่อนั้ นไม่เป็ นลายมือชื่อของผู้แต่งทนายความตามที่ รับรองไว้ทนายความนั้ นไม่มีความผิด ตาม ปอ. เพราะว่า เพิ่งรู้ความจริงภายหลังที่ส่งเสนอศาลเล็กน้อย
หน่วยที่ 6 ความผิดต่อชีวิต 1. ชีวิตของบ่คคลย่อมเป็ นที่หวงแหนแก่ผู้เป็ นเจ้าของยิ่งกว่าทรัพย์สิน ถ้าหากบ่คคล ปราศจากความปลอดภัยในชีวิต ความสงบส่ขในสังคมย่อมจะมี ไม่ได้ นอกจากนี้ ชีวิตของ บ่คคลยังมีความสำา คัญ ต่อประเทศชาติท้ังในด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง กฎหมายจึง ต้องให้ความค้่มครอง
2. ความผิ ด ต่ อ ชี วิ ต อาจเกิ ด จากการกระทำา โดยเจตนา การกระทำา โดยไม่ เ จตนา การกระทำา โดยประมาท การกระทำา อันเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนฆ่าตนเองหรือพยายามฆ่าตนเอง หรือ การเข้ า ร่ว มช่ล ม่น ต่อ สู้อั นเป็ นเหต่ใ ห้ บ่ ค คลอื่นบ่ ค คลใดถึ ง แก่ ค วามตาย กฎหมาย กำาหนดอัตราโทษไว้หนักเบาแตกต่างกันตามลักษณะของการกระทำาความผิด 6.1 การทำาใหูผู้อ่ ืนถึงแก่ความตายโดยเจตนา 1. การฆ่าผ้อ ู ่ ืนหมายถึง การทำาให้บ่คคลอื่นถึงแก่ความตาย ไม่ว่าจะกระทำาด้วยวิธีใด 2. ถ้าการฆ่าผู้อ่ ืนต้องด้วยลักษณะฉกรรจ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ย่อมเป็ นเหต่ท่ีทำา ให้ ได้รับโทษหนักขึ้น 6.1.1 ฆ่าผู้อ่ ืน มาตรา 288 ผ้ใู ดฆ่าผู้อ่ ืน ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำาค่ก ตลอดชีวิต หรือจำาค่กตั้งแต่ สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี องค์ประกอบของความผิดมีดังนี้ องค์ประกอบภายนอก 1) ฆ่า 2) ผ้อ ู ่ ืน องค์ประกอบภายใน เจตนา คำาว่าฆ่ามีความหมายเพียงใด หมายถึงการทำาให้ผู้ท่ีมีชีวิตอยู่ถึงแก่ความตาย ไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม การ ถึงแก่ความตาย คือ การหย่ดหายใจ คำา ว่า“ผู้อ่ ืน”นั้นหมายถึงบ่คคลแต่มีหลักเกณฑ์ท่ีแตกต่างกันระหว่างทางอาญา กับทางแพ่งอย่างไร คำา ว่ า บ่ ค คล ตามมาตรา 288 นั้ น หมายถึ ง บ่ ค คลธรรมดา แต่ ใ นทางแพ่ ง นั้ น บ่คคลนอกจากหมายความถึง บ่คคลธรรมดาแล้ว ยังหมายความรวมถึงนิ ติบ่คคลด้วย ดำา เห็นแดงยืนเหม่ออยู่ท่ีกันสาดตึกชั้น 16 โดยไม่มีสิ่งใดกั้น จึงแอบเข้า ไปข้า ง หลังและร้องตะโกนด้วยเสียงดัง แดงตกใจ เสียหลักตกจากยอดตึกตาย ดำา จะมีความผิด ฐานใด ดำา ผิดฐานฆ่าคนโดยเจตนา เพราะการแอบเข้าตะโกนข้า งหลังแดงนั้น ดำา ย่อม เล็งเห็นผลได้แน่ ชัดว่าแดงอาจตกใจและตกจากยอดตึกถึงแก่ความตายได้ เมื่อแดงตกจาก ยอดตึก ความตายจึงเป็ นผลจากการกระทำาของดำา จากปั ญหาในข้อ 3 ถ้าปรากฏว่า ขาวกำา ลังจะจ้องยิงแดงอยู่เหมือนกัน โดยซ่อน อยู่บนระเบียงของชั้นที่ 8 พอขาวเห็นแดงตกลงมาถึงชั้นที่ 8 ก็ประทับปื นยิงแดง กระส่น ถูกหน้าผากแดงทะล่ท้ายทอย แดงตายก่อนตกถึงพื้นดิน ดังนั้นดำาและขาว ใครจะต้องรับ ผิดในความตายของแดง ดำาย่อมเล็งเห็นผลได้ชัดว่า การกระทำาของตนทำาให้แดงตกตึกตายได้ จึงถือว่าดำา มีเจตนาฆ่าแดง แต่เมื่อแดงตกลงมาถึงชั้นที่ 8 ขาวใช้ปืนยิงแดงตาย การกระทำา ของขาว จึ ง ตั ด ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการกระทำา ของดำา และผลคื อ ความตายของแดง กล่ า วคื อ ความตายของแดงมิได้เป็ นผลมาจากการกระทำาของดำา แต่เป็ นผลมาจากการกระทำาของ ขาว ฉะนั้น ดำาจึงไม่ต้องรับผิดในความตายของแดง แต่ดำาได้ลงมือกระทำาเพื่อฆ่าแดงแล้ว เพียงแก่การกระทำาไม่บรรล่ผล ดำา จึงผิดฐานพยายามฆ่าแดง ตามมาตรา 288 80 ส่วน ขาว ผิดฐานฆ่าแดงโดยเจตนาตามมาตรา 288 มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระทำาความผิดแต่กระทำาไปไม่ตลอด หรือกระทำาไปตลอดแล้วแต่ การกระทำานั้นไม่บรรล่ผล ผู้น้ันพยายาม กระทำาความผิด ผู้ใดพยายามกระทำา ความผิ ด ผู้น้ั น ต้อ งระวางโทษสองใน สามส่ว นของโทษที่ กฎหมาย กำาหนดไว้สำาหรับความผิดนั้น 6.1.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น มาตรา 289 ผู้ใด (1) ฆ่าบ่พการี (2) ฆ่าเจ้าพนักงาน ซึ่งกระทำาการตามหน้าที่หรือเพราะเหต่ท่ีจะกระทำา หรือได้กระทำา การตามหน้าที่ (3) ฆ่าผู้ช่วยเหลือ เจ้าพนั กงานในการที่ เจ้ าพนั กงานนั้ นกระทำา ตามหน้าที่ห รือ เพราะ เหต่ท่ีบ่คคลนั้นจะช่วยหรือได้ช่วยเจ้าพนักงาน ดังกล่าวแล้ว (4) ฆ่าผู้อ่ ืนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
อื่น หรือ
(5) ฆ่าผู้อ่ ืนโดยทรมานหรือโดยกระทำาทาร่ณโหดร้าย (6) ฆ่าผู้อ่ ืนเพื่อตระเตรียมการ หรือเพื่อความสะดวกในการ ที่จะกระทำา ความผิดอย่าง
(7) ฆ่าผู้อ่ ืนเพื่อจะเอา หรือเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์ อันเกิดแต่การที่ตนได้กระทำาความ ผิดอื่นเพื่อปกปิ ดความผิดอื่นของตนหรือเพื่อ หลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดที่ตนได้กระทำาไว้ ตูองระวางโทษ ประหารชีวิต
การฆ่าผ้อ ู ่ ืนโดยเจตนา ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้นในกรณีใดบ้าง การฆ่า ผู้อ่ ืนที่ผู้กระทำา จะต้อ งรับ โทษหนั กขึ้ น โดยมี ระวางโทษถึ งประหารชี วิต สถานเดียว มีอยู่ 7 กรณี คือ ตามมาตรา 289 เช่น ฆ่าบ่พการี ฆ่าเจ้าพนักงานซึ่งกระทำา ตามหน้าที่ ฆ่าผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการที่เจ้าพนักงานนั้นกระทำาตามหน้าที่ ฆ่าผู้อ่ ืน โดยไตร่ตรองไว้ก่อน ฆ่าผู้อ่ ืนโดยทรมานหรือโดยกระทำา ทาร่ณโหดร้าย ฆ่าผู้อ่ ืนเพื่อตระ เตรียมการที่จะกระทำาความผิดอย่างอื่น และฆ่าผู้อ่ ืนเพื่อจะเอาหรือเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์ อันเกิดแต่การที่ตนได้กระทำาความผิดอื่น แดงทะเลาะกับ ร.ต.อ. เหลือง ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ ง ร.ต.อ. เหลือ งทำา ท่าจะ เตะแดง แดงจึ ง ชั ก ปื นยิ ง ร.ต.อ. เหลื อ งถึ ง แก่ ค วามตาย แดงจะมี ค วามผิ ด ฐานฆ่ า เจ้ า พนักงานหรือไม่ ไม่ผิ ดฐานฆ่า เจ้า พนั ก งาน เพราะไม่ เข้ า ตามมาตรา 289 (2) กล่ า วคือ ร.ต.อ. เหลือ ง ซึ่งถูกฆ่า นั้นมิได้อ ยู่ในระหว่า งปฏิบัติหน้า ที่แต่อ ย่า งใด แดงคงมีความผิดฐานฆ่า บ่คคลธรรมดา ตามมาตรา 288 6.2 การทำาใหูผู้อ่ ืนถึงแก่ความตายโดยไม่เจตนา 1. การทำา ร้ า ยผู้ อ่ ื นจนเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ น้ั น ถึ ง แก่ ค วามตาย แตกต่ า งกั บ การฆ่ า ผู้ อ่ ื น เพราะผู้ กระทำา ผิ ด เจตนาเพี ย งทำา ร้ า ยเท่ า นั้ น แต่ ผ ลแห่ ง การกระทำา เกิ ด ขึ้ น เลยไปจาก เจตนาของผู้กระทำาแม้ผู้ถูกทำาร้ายจะถึงแก่ความ ตาย เพราะการกระทำาของผู้กระทำา แต่ กฎหมายได้บัญญัติลงโทษเบากว่าการฆ่าผ้อ ู ่ ืนโดยเจตนา 2. ถ้าการทำาร้ายผู้อ่ ืนต้องด้วยลักษณะฉกรรจ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ย่อมเป็ นเหต่ ที่ทำาให้รับโทษหนักขึ้น 6.2.1 ทำารูายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหตุใหูผู้นัน ้ ถึงแก่ความตาย การทำาร้ายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้ผู้น้ันถึงแก่ความตาย แตกต่างกับการฆ่าผู้อ่ ืนตาม มาตรา 288 อย่างไร แตกต่า งกันที่เจตนา การฆ่าผู้อ่ ืนจะต้องมีเจตนาที่จะฆ่า แต่การทำา ร้า ยผู้อ่ ืนจน เป็ นเหต่ให้ผู้น้ันถึงแก่ความตายนั้น จะต้องมีเจตนาที่จะทำา ร้ายเท่านั้น มิได้มีเจตนาจะฆ่า แต่ผลของการกระทำานั้นเหมือนกันคือผู้ถูกกระทำาถึงแก่ความตาย แดงเห็ นเด็ก ชายดำา เล่นซ่ กซนเอานำ้ าสกปกสาดรถยนต์ ข องแดง แดงห้ า มเด็ ก ชายดำาก็ไม่เชื่อ แดงจึงเขกศีรษะเด็กชายดำาไปทีหนึ่ ง แต่เด็กชายดำาเป็ นคนกระหม่อมบาง ซึ่งแดงไม่ทราบความจริงข้อนี้ พอถูกเขกศีรษะเด็กชายดำาก็ชัก และถึงแก่ความตายเพราะ สมองได้รับความกระทบกระเทือน ให้วินิจฉัยการกระทำา ของแดงว่า เป็ นความผิดฐานใด หรือไม่ การที่ เ ขกศี ร ษะเด็ ก ชายนั้ น เป็ นการใช้ กำา ลั ง ทำา ร้ า ยร่ า งกายเด็ ก ชายดำา ตาม มาตรา 391 โดยมีได้มีเจตนาฆ่า เนื่ องจากการเขกศีรษะย่อมไม่ทำา ให้คนตายได้ แต่เด็ก ชายดำา เป้ นคนกระหม่อมบางซึ่งแดงไม่ทราบ เนื่ องจากการเขกศีรษะเป็ นเหต่ให้เด็กชาย ดำา ตาย ความตายเป็ นผลจากการกระทำา ของแดง แดงจึงมีความผิดฐานฆ่า ผู้อ่ ืนโดยไม่ เจตนา มาตรา 391 ผู้ใดใช้กำาลังทำาร้ายผู้อ่ ืนไม่ถึงกับเป็ นเหต่ให้เกิด อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 6.2.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น แดงโกรธเคือ งดำา ที่ช อบด่า ว่า เสียดสีอ ยู่เสมอ จึงไปดักอยู่ทางผ่า นเพื่อ ไปทำา ไร่ เมื่อดำาเดินผ่าน แดงจึงเข้าชกต่อยทำาร้ายดำามีแผลเล็กน้อย แต่ดำาสลบไป แดงเข่าใจว่าดำา ตายแล้ว จึงเอาขาวม้าผูกคอดำาแขวนกับต้นมะม่วงในสวนของทางเป็ นเหต่ให้ดำาตาย ดังนี้ แดงมีความผิดฐานใดหรือไม่ แดงมีเ จตนาเพี ยงทำา ร้า ยดำา เท่า นั้ น แต่มิ ได้ มีเจตนาฆ่า การที่ แดงทำา ร้ า ยดำา มี สาเหต่มาจากโกรธเคืองดำาโดยได้ไปทำาร้ายดำา แสดงว่าแดงได้ใคร่ครวญชั่งนำ้าหนักผลได้
เสียก่อนแล้วจึงไปกระทำาย่อมเป็ นการทำาร้ายผู้อ่ ืนโดยไตร่ตรองไว้ก่อนจนเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืน ถึงแก่ความตายเป็ นความผิดตาม ปอ. 290 วรรคท้าย มาตรา 290 ผ้ใู ดมิได้มีเจตนาฆ่า แต่ทำาร้ายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้ผู้น้ัน ถึงแก่ความตาย ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี ถ้าความผิดนั้นมีลักษณะประการหนึ่ งประการใดดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 289 ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงยี่สิบปี
6.3 การทำาใหูผู้อ่ ืนถึงแก่ความตายโดยประมาท 1. การทำา ให้ผู้อ่ ืน ถึง แก่ ความตายโดยประมาท เป็ นการกระทำา โดยผู้ก ระทำา มิไ ด้มี เจตนาฆ่าหรือเจตนาทำา ร้า ย แต่การกระทำา ปราศจากความระมัดระวัง เป็ นเหต่ใ ห้ผู้อ่ ื น ถึงแก่ความตาย แม้ผู้กระทำามิได้ประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลแห่งการกระทำาของตน ก็แสดงถึงความชั่วร้ายในจิตใจ ที่ไม่นำาพาต่อต่อผลร้ายที่เกิดแก่บ่คคลอื่น กฎหมายจึงต้อง บัญญัติว่าการกระทำาดังกล่าวเป็ นความผิดและเอาโทษเพื่อให้บ่คคลใช้ความระมัดระวังต่อ การกระทำายิ่งขึ้น 2. การกระทำาโดยความไม่รู้ข้อเท็จจริง หรือความสำาคัญผิดในข้อเท็จจริงซึ่งผู้กระทำา ไม่มีความผิดหรือได้รับยกเว้นโทษหรือได้รับโทษน้อยลง ถ้าเกิดขึ้นด้วยความปรามาสของ ผู้กระทำา กฎหมายก็บัญญัติเอาโทษด้วยเช่นเดียวกับการกระทำาโดยประมาท มาตรา 291 ผู้ใดกระทำา โดยประมาท และการกระทำา นั้ น เป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นถึ งแก่ ความ ตาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท องค์ประกอบของการกระทำาความผิดมีดง ั นี้ องค์ประกอบภายนอก 1) กระทำา 2) เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย องค์ประกอบภายใน ประมาท 6.3.1 กระทำาโดยประมาทเป็ นเหตุใหูผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย การทำาให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตายโดยประมาท แตกต่างกับการทำาร้ายผ้อ ู ่ ืนจนถึงแก่ ความตายโดยไม่เจตนาอย่าไร การกระทำา โดยประมาทจะต้องไม่มีเจตนา ความผิดเกิดขึ้นจากผลของการกระ ทำา แต่การทำา ร้ายผู้อ่ ืนจนถึงแก่ความตายโดยไม่เจตนานั้น ผู้กระทำา ต้องมีเจตนาทำา ร้าย แต่ผลของการกระทำา เป็ นเหต่ให้บ่คคลอื่นถึงแก่ความตาย ความผิดเกิดขึ้นเพราะเจตนา และผลของการกระทำา เขียวนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ซึ่งเหลืองเป็ นคนขับ เหลืองขับแซงรถยนต์คัน อื่นๆ ไปด้วยความเร็วจนถึงทางแยกมีรถสามล้อเครื่องจอดอยู่ เหลือ งห้า มล้อ ไม่ทัน รถ จั ก รยานยนต์ จึ ง ชนสามล้ อ เครื่ อง เขี ย งกระเด็ น ไปบนถนน พอดี มี ร ถยนต์ วิ่ ง มาด้ ว ย ความเร็วปกติ ทับเขียวถึงแก่ความตายโดยคนขับรถยนต์ไม่สามารถห้ามล้อ หรือ หักรถ หลบได้ทัน ใครจะต้องรับผิดชอบในความตายของเขียว ความตายของเขียวเป็ นผลโดยตรงจากการกระทำาโดยประมาทของเหลือง การที่ รถยนต์ทับเขียวตายไม่ตัดความสัมพันธ์ระหว่างความประมาทของเหลืองและความตาย ของเขียว เพราะคนขับรถยนต์มิได้ประมาท แต่ขับรถมาด้วยความเร็วปกติ ฉะนั้นเหลือง จึงต้องรับผิดในความตายของเขียว ผิดตามมาตรา 291 แดงเอาก้อนหินขว้างปาประตูกระจกบ้านดำาแตก ก้อนหินและกระจกแตกถูกขาว ซึ่งนั่งอยู่ในห้อ ง รับแขกได้รับอันตรายสาหัส ต่อมาอีก 3 วัน บาดแผลเป็ นพิษ ขาวตาย ดังนี้ แดงมีความผิดฐานใดหรือไม่ แดงมีความผิดฐานทำา ให้เสียทรัพย์บทหนึ่ ง ส่วนการที่ขาวตายเป็ นผลที่เกิดขึ้น นอกเหนือเจตนาของแดง แต่ผลที่เกิดขึ้นสืบเนื่ องมาจากการกระทำาของแดง ซึง ่ แดงควรรู้ สำา นึ กว่าการกระทำา ดังกล่าวอาจมีผู้ได้รับอันตรายเมื่อเกิดผลดังกล่าว แดงจึงมีความผิด ฐานกระทำาโดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนตายอีกบทหนึ่ ง แดงต้องรับโทษ ในความผิดฐาน กระทำาโดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผอ ู้ ่ ืนตาย อันเป็ นบทหนักที่ส่ดตาม ปอ. มาตรา 90 มาตรา 90 เมื่อการกระทำาใดอันเป็ นกรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ ใช้กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่ส่ดลงโทษแก่ผู้ กระทำาความผิด 6.3.2 ความไม่รู้ขูอเท็จจริง หรือความสำาคัญผิดในขูอเท็จจริงโดย ประมาท
แดงเห็นคนเดินมาอยู่บริเ วณประตูหน้า บ้านเวลาประมาณ 19.00 นาฬิ กา ถ้า แดงพิจารณาดูให้ดีก็จะรู้ว่าเป็ นญาติมาจากต่างจังหวัดมาเยี่ยมแดง แต่แดงไม่ดูให้ดี ทั้งที่ แดงอยู่ในที่มืด จึงใช้ปืนยิงไปถูกญาติท่ีมาเยี่ยมนั้นตาย ดังนี้ แดงมีความผิดฐานใดหรือไม่ แดงกระทำา โดยสำา คัญ ผิดโดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนตาย แดงมีความผิดฐาน กระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนตาย ตามมาตรา 290 ประกอบกับมาตรา 62 วรรค สอง
มาตรา 290 ผู้ใ ดมิ ได้ มีเจตนาฆ่ า แต่ ทำา ร้ ายผู้ อ่ ื นจนเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ น้ั น ถึ งแก่ ความตาย ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี ถ้ า ความผิ ด นั้ น มี ลั ก ษณะประการหนึ่ งประการใดดั ง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น มาตรา 289 ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงยี่สิบปี มาตรา 62 ข้อเท็จจริงใด ถ้ามีอยู่จริงจะทำา ให้การกระทำา ไม่เป็ น ความผิด หรือทำา ให้ผู้ กระทำาไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แม้ข้อเท็จจริงนั้นจะไม่มีอยู่จริง แต่ผู้กระทำาสำาคัญผิด ว่ามีอย่จ ู ริง ผู้กระทำาย่อมไม่มีความผิดหรือได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษ น้อยลง แล้วแต่กรณี ถ้าความไม่รู้ข้อเท็จจริงตามความในวรรคสามแห่ง มาตรา 59 หรือความสำาคัญผิดว่ามี อยู่จริงตามความในวรรคแรก ได้เกิดขึ้นด้วยความประมาทของผู้กระทำาความผิด ให้ผู้กระทำารับผิด ฐานกระทำาโดยประมาท ในกรณีท่ีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะว่าการกระทำา นั้นผู้กระทำาจะต้อง รับโทษแม้กระทำาโดยประมาท บ่คคลจะต้องรับโทษหนักขึ้นโดยอาศัยข้อเท็จจริงใด บ่คคลนั้น จะต้องได้รู้ข้อเท็จนั้น มาตรา 59 บ่คคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำาโดยเจตนา เว้นแต่จะได้ กระทำาความโดยประมาท ในกรณีท่ีกฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทำาโดยประมาท หรือ เว้นแต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทำาโดยไม่มี เจตนา กระทำาโดยเจตนาได้แก่กระทำาโดยรู้สำานึ กในการที่ กระทำา และในขณะเดียวกันผู้กระทำา ประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระ ทำานั้น ถ้าผู้กระทำามิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบของความผิด จะถือว่าผู้กระทำาประสงค์ ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำานั้นมิได้ กระทำาโดยประมาทได้แก่กระทำาความผิดมิใช่โดยเจตนาแต่กระทำา โดยปราศจากความ ระมั ด ระวั ง ซึ่ ง บ่ ค คลในภาวะเช่ น นั้ น จั ก ต้ อ งมี ตามวิ สั ย และพฤติ ก ารณ์แ ละผู้ ก ระทำา อาจใช้ ค วาม ระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ การกระทำา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่ งอันใดขึ้น โดยงดเว้นการที่จักต้อง กระทำาเพื่อป้ องกันผลนั้นด้วย
6.4 การกระทำาอันเป็ นเหตุใหูผู้อ่ ืนฆ่าตนเองหรือพยายามฆ่าตนเอง 1. การฆ่าตนเองกฎหมายไม่ถือเป็ นความผิด แต่โดยปกติบ่คคลย่อมหวงแหนชีวิต ไม่ คิ ดฆ่ า ตนเอง เว้ นแต่จ ะมีเ หต่ บีบ คั้น หรือ จู ง ใจอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใด ชี วิ ตของบ่ ค คลมี ค วาม สำา คั ญ ต่อ ประเทศชาติ กฎหมายจึ ง ต้ อ งให้ ค วามค้่ ม ครองด้ ว ยการบั ญ ญั ติ เ อาโทษแก่ ผู้ กระทำา การด้วยการปฏิบัติอันทาร่ณหรือด้วยปั จจัยคล้า ยคลึงกันจนเป็ นเหต่ใ ห้บ่คคลฆ่า ตนเองหรือพยายามฆ่าตนเอง 2. ถึงผู้กระทำาจะมิได้กระทำาด้วยการปฏิบัติอันทาร่ณหรือด้วยปั จจัยคล้ายคลึง เพียง แต่ ช่ ว ยหรื อ ย่ ย ง ถ้า กระทำา ต่ อ เด็ ก หรื อ บ่ ค คลผู้ ห ย่ อ นความรู้ สึ ก ผิ ด ชอบ จนเป็ นเหต่ ใ ห้ บ่คคลนั้นฆ่าตนเองหรือพยายามฆ่าตนเอง กฎหมายได้บัญญัติลงโทษผู้ช่วยหรือย่ยงนั้น 6.4.1 กระทำาดูวยการปฏิบัติอันทารุน การทำาให้ผู้อ่ ืนฆ่าตนเองนั้นเป็ นความผิดที่มีลักษณะพิเศษอย่างไร เป็ นการฆ่าผู้อ่ ืนโดยทางอ้อมวิธีหนึ่ ง กล่าวคือทำาให้ผู้ตายฆ่าตัวเองแทนที่จะถูกผู้ กระทำา ฆ่า ลักษณะของความผิดมีองค์ประกอบแตกต่า งจากการฆ่า ตามมาตรา 288 ใน ด้านข้อเท็จจริง การที่บ่คคลในความดูแลของผู้ใ ดผู้หนึ่ งฆ่า ตนเอง เพราะเหต่อั นเนื่ องมาจากผู้ ดูแลนั้น ผ้ด ู ูแลจะต้องมีความผิดตามมาตรา 292 เสมอไปหรือไม่ ไม่เสมอไป จะมีความผิดก็ต่อเมื่อผู้กระทำาได้กระทำาโดยเจตนา และมีเหต่ชักจูงใจ คือ เพื่อให้บ่คคลนั้นฆ่าตนเอง ถ้าปราศจากเจตนา หรือมูลเหต่ชักจูงใจดังกล่าว ผ้ก ู ระทำาก็ ไม่มีความผิดตามมาตรา 292 มาตรา 292 ผู้ ใ ดกระทำา ด้ ว ยการปฏิ บั ติ อั น ทาร่ ณ หรื อ ด้ ว ยปั จจั ย คล้ า ยคลึ ง กั น แก่ บ่คคลซึ่งต้องพึ่งตน ในการดำารงชีพหรือในการอื่นใด เพื่อให้บ่คคลฆ่าตนเอง ถ้าการฆ่าตนเองนั้ น ได้เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน หนึ่ ง หมื่นสี่พันบาท ดำา เกลี ยดชัง แดง ลูกของตนเป็ นอย่า งมากจะให้ ต าย เพราะเชื่ อว่ า แดงมิ ใ ช่ ลู ก ที่แท้จริงของตน แต่เ ป็ นลูกที่เ กิดจากชายชู้ข องภริยา ดำา จึงด่ด่า และทำา โทษแดงร่ นแรง
เสมอเวลาแดงทำา ผิด ทั้งไม่สนใจต่อความเป็ นอยู่ของแดง บางครั้งก็ไล่แดงออกจากบ้าน ไม่ให้อาหารกินบ้าง บางครั้งก็จับมัดขังไว้ในห้อง แดงรู้สึกน้อยเนื้ อตำ่าใจมากที่พ่อ ปฏิบัติ ต่อ ตนเช่นนั้ น จึงไม่อ ยากจะมีชีวิตอยู่ต่อ ไป และไปขอยาฆ่า แมลงมาจากผู้อ่ ื นเพื่ อฆ่ า ตั ว ตาย แต่มารดาของแดงมาพบยาฆ่าแมลงเสียก่อน จึงเอาไปทิ้งเสีย เช่นนี้ ดำาจะมีความผิด ตามมาตรา 292 หรือไม่ แดงเพียงแต่ตระเตรียมการฆ่าตัวตาย ยังมิได้ลงมือฆ่าตัวตาย ดำาจึงยังไม่มีความ ผิด เพราะความผิดตามมาตรา 292 นั้น ต้องมีการฆ่าตนเองเกิดขึ้น หรือมีการพยายาม ฆ่าตนเองเกิดขึ้น จึงจะเป็ นความผิด และไม่ถือว่าดำาผิดฐานพยายามกระทำา ความผิดด้วย เพราะมาตรานี้ มีการพยายามกระทำา ความผิดไม่ได้ คือถ้ามีการฆ่าตนเอง หรือพยายาม ฆ่าตนเองเกิดขึ้น ก็เป็ นความผิดสำาเร็จ หากยังไม่มีเหต่การณ์เช่นนั้น ก็ยังไม่เป็ นความผิด 6.4.2 กระทำาดูวยการช่วยหรือยุยง แดงประสบกับความโศกเศร้าเสียใจเป็ นอย่างมากที่ภริยาซึ่งอยู่กินกันมานานถึง 20 ปี เศษ ประสบอ่บัติเหต่เรือชนกันถึงแก่ความตายและยังหาศพไม่พบ ดำาน้องชายของ แดงอยากได้สมบัติของแดง จึงพูดย่ยงให้แดงฆ่าตัวตายจะได้พ้นท่กข์ แดงเองก็กำาลังคิดจะ ฆ่าตัวตายอยู่เหมือนกัน แต่ก็ยังลังเลใจอยู่ เมื่อดำาย่ยงเช่นนั้นแดงจึงตัดสินใจที่จะฆ่าตัว ตาย โดยให้ดำาช่วยผสมยาพิษให้ ดำาก็จัดการให้แล้ว แดงดื่มยาพิษนั้นและถึงแก่ความตาย ดังนี้ ดำามีความผิดหรือไม่ ดำาไม่ผิด เพราะมิได้ย่ยงหรือช่วยบ่คคลตามที่ระบ่ไว้ในมาตรา 293 ให้ฆา ่ ตัวตาย มาตรา 293 ผู้ใ ดช่ว ยหรื อ ย่ ย งเด็ กอาย่ ยั งไม่ เกิ น สิ บหกปี หรื อ ผู้ ซึ่ งไม่ สามารถเข้ า ใจ ว่าการกระทำาของตนมีสภาพหรือสาระสำาคัญอย่างไรหรือไม่ สามารถบังคับการกระทำาของตนได้ ให้ฆ่าตนเองถ้าการฆ่าตนเองนั้นได้ เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้องระวางโทษจำาค่กไม่ เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ แดงเป็ นเจ้าพ่อผู้มอ ี ิทธิพลในจังหวัดหนึ่ ง และประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมายหลาย อย่าง แดงรู้ว่าดำาซึ่งเป็ นเด็กอาย่เพียง 15 ปี เป็ นสายสืบให้ตำารวจ แดงจึงเรียกดำาให้มาพบ และส่งยาพิษให้ดำากินเพื่อให้ดำาฆ่าตัวตาย โดยบอกว่าถ้าไม่กินยาพิษจะจับโยนลงไปในบ่อ งูจงอาง ดำารู้ว่าถ้าไม่ด่ ืมยาพิษนั้น ดำาก็ต้องตายด้วยวิธีอ่ ืนซึ่งทาร่นกว่านั้นดำาจึงดื่มยาพิษ ตาย ให้วินิจฉัยการกระทำาของแดง แดงมีความผิดฐานฆ่าผ้อ ู ่ ืนโดยเจตนาตามมาตรา 288 เพราะแดงบังคับให้ดำาฆ่า ตัวตาย ดำาไม่มอ ี ิสระจะเลือกทำาอย่างอื่นได้ การกระทำาของแดงจึงเป็ นการฆ่าดำา โดยใช้ดำา เป็ นเครื่องมือให้ให้ฆ่าตนเอง มาตรา 288 ผู้ ใ ดฆ่ า ผู้ อ่ ื น ต้ อ งระวางโทษประหารชี วิ ต จำา ค่ ก ตลอดชี วิ ต หรื อ จำา ค่ ก ตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี 6.5 การเขูาร่วมชุมนุมต่อสู้ 1. การช่ ล ม่ น ต่ อ สู้ กั น ระหว่ า งบ่ ค คลตั้ ง แต่ ส ามคนขึ้ น ไป อัน เป็ นเหต่ ใ ห้ บ่ ค คลหนึ่ ง บ่ คคลใดถึ งแก่ค วามตายนั้ น ยากแก่ การที่ จะหาพยานพิ สูจ น์ว่ า ใครทำา ร้ า ยใครอย่ า งไร กฎหมายจึงบัญ ญัติเ อาโทษแก่ผู้เ ข้าร่วมในการช่ลม่นต่อ สู้ท่กคนไม่ว่า การตายของผู้ถูก ทำาร้ายนั้นจะเกิดจากการกระทำาของบ่คคลใด 2. ผู้ท่ีเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้จะได้รับยกเว้นไม่ต้องรับโทษ ก็เฉพาะแต่ผู้ท่ีพิสูจน์ได้ ว่าตนได้กระทำาไปเพื่อเข้าห้ามการช่ลม่นต่อสู้ หรือเพื่อป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย 6.5.1 เขูาร่วมในการชุลมุนต่อสู้เป็ นเหตุใหูผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย ดำา และแดงฝ่ ายหนึ่ ง ทะเลาะกั บขาวและเขีย วอี กฝ่ ายหนึ่ ง แล้ว เกิ ดการช่ ล ม่ น ต่อสู้ทำาร้ายซึ่งกันและกัน ดำา ชักปื นยิงขาวซึ่งกำา ลังจะยกก้อนหินท่่มใส่ดำา กระส่นถูกก้อน หินในมือขาวแฉลบไปถูกฟ้ าซึ่งยืนดูอยู่ถึงแก่ความตายใครจะต้องรับผิดชอบบ้าง ดำาแดง ขาวเขียว ผิดฐานช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้บ่คคลถึงแก่ความตายตามมาตรา 294 ส่ วนดำา ใช้ปื นยิ งขาว แสดงว่า ดำา มีเ จตนาฆ่า ขาวแต่ก ระส่น พลาดไปถู ก ฟ้ าตาย เป็ นการกระทำา โดยพลาดตามมาตรา 60 ถือ ว่ า ดำา มีเ จตนาฆ่ า ฟ้ า ดำา จึง มีค วามผิด ฐาน พยายามฆ่าขาวตามมาตรา 288 80 และฐานฆ่าฟ้ าโดยเจตนาตามมาตรา 288 ซึ่งเป็ น ความผิดหลายบท มาตรา 294 ผู้ ใ ดเข้ า ร่ ว มในการช่ ล ม่ น ต่ อ สู้ ร ะหว่ า งบ่ ค คลตั้ ง แต่ ส ามคน ขึ้ น ไป และ บ่คคลหนึ่ งบ่คคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้เข้าร่วมในการนั้นหรือไม่ ถึงแก่ความตายโดยการกระทำาในการ ช่ลม่นต่อส้น ู ้ัน ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
ถ้าผู้ท่ีเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้น้ั นแสดงได้ ว่า ได้กระทำา ไปเพื่ อห้ ามการช่ ลม่ นต่ อสู้ น้ั น หรือเพื่อป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายผู้น้ันไม่ต้องรับโทษ
6.5.2 เหตุยกเวูนโทษ ขณะที่นักเรียนของโรงเรียนดำา และนักเรียนของโรงเรียนเขียวประมาณ 20 คน กำา ลั ง ช่ ล ม่ น ต่ อ สู้ กั น ที่ ส นามฟ่ ต บอล แดงซึ่ ง เป็ นครู ข องโรงเรี ย นดำา ผ่ า นมาประสบ เหต่การณ์จึงเข้าไปพยายามแยกนักเรียนของโรงเรียนดำา ออกมา นักเรียนของโรงเรียน เขียวคนหนึ่ งถือมีดวิ่งตรงเข้ามาแทงแดง แดงหลบทัน นักเรียนคนนั้นเสียหลักล้มลงและ โดนมีดในมือแทงทะล่ตนเองถึงแก่ความตาย แดงมีความผิดหรือไม่ การกระทำา ของแดงเป็ นการเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้ แต่ได้กระทำา ไปเพียงเพื่อ ต้องการดึงตัวนักเรียนของโรงเรียนดำาออกมาจากวงการต่อสู้เท่านั้น มิได้เข้าร่วมเพื่อต่อสู้ ด้วยแต่อย่างใด แดงจึงมีความผิดแต่ได้รับยกเว้นโทษตาม มาตรา 294 วรรคท้าย การช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนตาย มีองค์ประกอบความผิดอย่างไรบ้าง อธิบาย พอสังเขปและยกตัวอย่างอ่ทาหรณ์ มีองค์ประกอบความผิดดังนี้ เข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้ ระหว่างบ่คคลตั้งแต่สามคนขึ้น ไป มีบ่คคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้ท่ีเข้าร่วมในการนั้นหรือไม่ถึงแก่ความตาย โดยการกระทำาใน การช่ลม่นต่อ สู้น้ันมาโดยเจตนา การเข้า ร่วมดังกล่า วต้อ งเป็ นเรื่อ งสมัครใจเข้า ต่อ สู้กัน มิใช่เป็ นการกล้่มร่มทำาร้ายอีกฝ่ ายหนึ่ งแต่ฝ่ายเดียว ผู้ถึงแก่ความตายก็ไม่จำากัดเฉพาะแต่ ผู้เข้าร่วมด้วย อาจเป็ นบ่คคลภายนอกก็ได้ ผู้เข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้ย่อมผิดตามมาตรา นี้ แล้ว ฎ. 852/2509 จำา เลยกับบิดาได้เข้า ร่วมในการช่ลม่นต่อ สู้ ระหว่า งบ่ คคลตั้ งแต่ สามคนขึ้ น ไป และบิ ด าของจำา เลยถู ก ทำา ร้ า ยถึ ง แก่ ค วามตายในการช่ ล ม่ น ต่ อ สู้ น้ั น แม้ จำาเลยไม่มอ ี าว่ธ แต่เมื่อจำาเลยมิได้ห้ามหรือป้ องกันตัวย่อมมีความผิดตามมาตรา 294 ข้อเท็จจริงในกรณีน้ี ไม่ปรากฏว่าจำาเลยได้กระทำาไปเพื่อห้ามการช่ลม่นต่อสู้หรือ ป้ องกันตัวย่อมมีความผิดตามมาตรา 288 หรือ 290 แล้วแต่ว่าผู้กระทำาผิดมีเจตนาเพียง ทำาร้ายหรือมีเจตนาฆ่า มาตรา 290 ผู้ใดมิได้มี เจตนาฆ่ า แต่ ทำา ร้ ายผู้ อ่ ื นจนเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ น้ั น ถึ งแก่ ความตาย ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี ถ้ า ความผิ ด นั้ น มี ลั ก ษณะประการหนึ่ งประการใดดั ง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น มาตรา 289 ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงยี่สิบปี
แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 6
1. แดงประสงค์จะฆ่าดำาซึ่งกำาลังป่ วย รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล แดงจึงแอบเอายาพิษไปใส่ ในหลอดยาฉีดที่นางพยาบาลกำาลังเตรียมไว้เพื่อฉีดให้ดำาโดยไม่ทราบความจริง ดำาจึงตายกรณีเช่น นี้ แดงกับพยาบาลจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ อย่างไร คำาตอบ แดงมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดย เจตนา ส่วนนางพยาบาลไม่มีความผิดเพราะเพราะขาดเจตนา 2. การสำาคัญผิดในข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบของความผิดนั้น มีผลต่อความรับผิดชอบ ของผู้กระทำาอย่างไรบ้างหรือไม่ คำาตอบ โดยหลักถือว่าผู้กระทำาขาดเจตนา แต่ถ้าสำาคัญผิดเพราะ ประมาท ก็อาจรับผิดฐานประมาท 3. จอนทะเลาะวิวาทกับจิมอยู่ข้างถนน ขณะชกต่อยกันนั้น จอนได้ใช้เท้าถีบจิม กระเด็น เข้าไปในถนนทำาให้รถที่แล่นมาชนจิมถึงแก่ความตาย กรณีเช่นนี้ จอนมีความผิดในฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา 4. กรณียิงคนร้ายที่เข้ามาปล้นทรัพย์ โดยมีอาว่ธปื นแต่กระส่นปื นไปถูกเพื่อนบ้านตาย กรณี นี้ ผู้กระทำาจะมีความผิดฐานทำาให้ผู้อ่ ืนตายโดยประมาท 5. การทำาให้ผู้อ่ ืนฆ่าตัวตายนั้นจะเป็ นความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาในกรณีท่ี ผู้กระทำา ต้องเป็ นผู้ลงมือกระทำาด้วยตนเอง จะเป็ นการกระทำาโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ตาม 6. แสงมีหนี้ สินอันล้นพ้นตัว ทำาให้คิดมากจึงไปขอยืมปื นจาก ศิริจะเอามาฆ่าตัวตาย ศิริจึงให้ แสงยืมปื นกระบอกนั้นไปฆ่าตัวตายสำาเร็จตามความประสงค์ กรณีเช่นนี้ มีความผิดเพราะย่ยงช่วย เหลือให้แสงฆ่าตัวตายหรือไม่ เพราะเหต่ใด คำาตอบ ไม่มีความผิดเพราะมิใช่บ่คคลตามที่ระบ่ไว้ใน มาตรา 293 (ไม่มีความผิดเพราะแสงเป็ นผู้มีความรู้สึกผิดชอบสมบูรณ์)
มาตรา 293 ผู้ใดช่วยหรือย่ยงเด็กอาย่ยังไม่เกินสิบหกปี หรือผู้ซึ่งไม่ สามารถเข้าใจว่าการกระทำา ของตนมีสภาพหรือสาระสำา คัญอย่างไรหรือไม่ สามารถบังคับการกระทำา ของตนได้ ให้ฆ่ าตนเองถ้ าการฆ่ า ตนเองนั้ นได้ เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้องระวางโทษจำา ค่ก ไม่ เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกิ นหนึ่ ง หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
7. แดงหยิบยาผิดรับประทานเข้าไปจนถึงแก่ความตายในห้องนอน ขาวศัตรูของแดงแอบรอ จังหวะที่จะฆ่าแดงมานานแล้ว ในวันนั้นได้เข้าไปในห้องที่แดงนอนตายอยู่แล้วยิงแดงหลายนัด โดย
ไม่ทราบว่าแดงถึงแก่ความตายแล้ว กรณีเช่นนี้ ขาวมีความผิดอย่างไรหรือไม่ คำาตอบ ไม่มีความผิด เพราะขาดองค์ประกอบของความผิด 8. เพราะเหต่ท่ีมีการแย่งมรดกกันในครอบครัว ฉายจึงฆ่าลูกของนางช้อยที่คลอดออกมาจาก ครรภ์ของนางช้อยโดยยังมิได้ตัดสายรก กรณีเช่นนี้ ฉายมีความผิดอย่างไรหรือไม่ คำาตอบ มีความ ผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา 9. การเข้ าร่ วมการช่ ลม่ นต่ อสู้ ระหว่ า งบ่ ค คลตั้ ง แต่ ส ามคนขึ้ น ไปจนเป็ นเหต่ ใ ห้ บ่ ค คลหนึ่ ง บ่คคลใดถึงแก่ความตาย นั้นจะเป็ นความผิดเสมอไปหรือไม่ คำาตอบ เป็ นความผิดเว้นแต่แสดงได้ ว่าได้กระทำาไปเพื่อห้ามจึงไม่ต้องรับโทษ 10. ร้อยเอกแจ่มไม่พอใจที่พลทหารจ๋องซึ่งอยู่ใต้บังคับบัญชาแต่งกายไม่เรียบร้อย จึงลงโทษ พลทหารจ๋ องด้ว ยการให้วิ่ งรอบสนาม 32 รอบ พลทหารจ๋อ งเป็ นคนส่ ข ภาพไม่ ดี เพราะเป็ นโรค หัวใจซึ่งความจริ งข้ อนี้ ร้อ ยเอกแจ่ ม ไม่ ท ราบ พลทหารจ๋ อ งวิ่ งเหนื่ อยมากหั ว ใจจึ ง หย่ ด เต้ น ถึ ง แก่ ความตาย กรณีเช่นนี้ ร้อยเอกแจ่มมีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ไม่มีความผิดใดๆ เพราะเป็ น อ่บัติเหต่ 11. การทำา ความผิ ด ฐานทำา ให้ ผู้ อ่ ื นตายโดยประมาท ในกรณี ยิ ง ส่ นั ขใต้ ถ่น บ้ า น แต่ พ ลาด กระส่นแฉลบไปถูกเด็กที่น่ังเล่นอยู่ห่างออกไป 20 เมตรตาย 12. การสำาคัญผิดในข้อเท็จจริง อันเป็ นองค์ประกอบของความผิดนั้น มีผลต่อความรับผิดชอบ ของผู้กระทำา อย่ างไรหรื อ ไม่ คำา ตอบ โดยหลั กถื อ ว่ าผู้ กระทำา ขาดเจตนา แต่ ถ้าสำา คั ญ ผิ ด เพราะ ประมาท ก็ต้องรับผิดฐานประมาท
หน่วยที่ 7 ความผิดต่อร่างกาย 1. ความปลอดภั ย ในร่ า งการและจิ ต ใจของบ่ ค คล ย่ อ มได้ รั บ ความค้่ ม ครองโดย กฎหมาย การทำา ร้ายร่างกายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้เขาได้รับอันตรายแก่กายหรือ จิตใจเป็ น ความผิด และถ้าผลแห่งการกระทำา นั้นเป็ นเหต่ให้ได้รับอันตราสาหัส กฎหมายเอาโทษ หนักขึ้น 2. การเข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้กัน ถือว่าเป็ นภัยสังคม ดังนั้น ถ้ามีการเข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้ กันตั้งแต่สามคนขึ้นไป เป็ นเหต่ให้บ่คคลหนึ่ งบ่คคลใดได้รับอันตรายสาหัส กฎหมายก็เอา โทษแก่ผู้เข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้น้ันท่กคน เว้นแต่เข้าข้อยกเว้นที่กฎหมายไม่เอาโทษ 3. การกระทำา โดยประมาทบางกรณี มีผ ลกระทบต่อ ความปลอดภั ยในร่า งกายของ บ่ ค คล ดั ง นั้ น การที่ บ่ ค คลใดกระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส กฎหมายจึงเอาโทษด้วย 7.1 การทำารูายร่างกาย
1. ความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย คือการทำาร้ายร่างกายผู้อ่ ืนโดยเจตนา เป็ นเหต่ให้ผู้ อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ 2. การทำา ร้ า ยผู้ อ่ ื นในบางกรณี ผู้ ก ระทำา ต้ อ งรั บ โทษหนั ก ขึ้ น เช่ น ทำา ร้ า ยบ่ พ การี ทำาร้ายเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่ ทำาร้ายผ้อ ู ่ ืนโดยไตรตองไว้ก่อน มาตรา 290 ผ้ใู ดมิได้มีเจตนาฆ่า แต่ทำาร้ายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้ผู้น้ัน ถึงแก่ความตาย ต้องระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี ถ้าความผิ ดนั้ นมี ลักษณะประการหนึ่ งประการใดดั งที่ บัญ ญั ติไว้ ใ นมาตรา 289 ผู้กระทำา ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงยี่สิบปี มาตรา 295 ผู้ใดทำาร้ายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่กาย หรือจิตใจของผู้อ่ ืนนั้ น ผู้น้ั น กระทำา ความผิดฐานทำา ร้ ายร่างกาย ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิ นสี่ พัน บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ
องค์ประกอบของความผิด มีดังนี้ องค์ประกอบภายนอก 1) ทำารูาย หมายถึง การกระทำาต่อร่างกายหรือจิตใจของผู้อ่ น ื อันเป็ นการทำาให้เสีย หายเป็ นภยันตรายแก่กายหรือจิตใจของเขา 2) ผู้อ่ ืน หมายความว่าต้องมิใช่ทำาร้ายตนเอง และหมายความว่าผู้ถูกทำาร้ายนั้นต้อง มีสภาพบ่คคลคือยังมีชีวิตอยู่ 3) จนเป็ นเหตุใหูเกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อ่ ืนนัน ้ เมื่อมีการทำาร้าย ผู้อ่ ืนแล้วก็ต้องเกิดผลขึ้นคือเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ กล่าวคือ การ ได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องเป็ นผลโดยตรงจากการทำาร้าย อันตรายแก่จิตใจ คือ จิตใจผิดปกติไป มีอาการสติฟ่ั นเฟื อน จิตใจหวาดผวา หมดสติเป็ นเวลานาน
องค์ประกอบภายใน เจตนา หมายความว่า ผู้กระทำาได้ลงมือกระทำาโดยประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็น ผลว่าการกระทำาของ ตนจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อ่ น ื แต่ถ้าไม่เกิด ผลก็เป็ นพยายามกระทำาความผิดเท่านั้น ความผิดตามมาตรา 295 มีองค์ประกอบใกล้เคียงกับความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่ เจตนาตามมาตรา 290 ซึ่งเป็ นการกระทำาคือทำาร้ายผู้อ่ ืนเช่นเดียวกัน แต่ผลของการกระ ทำา ต่า งกันคือ มาตรา 295 ผลของการทำา ร้า ยเป็ นเหต่ใ ห้เกิดอันตรายแก่กายหรือ จิตใจ ของผู้ถูกทำา ร้าย ส่วนมาตรา 290 ผลของการทำา ร้ายเป็ นเหต่ใ ห้ผู้ถูกทำา ร้ายถึงแก่ความ ตาย มาตรา 391 ผ้ใู ดใช้กำาลังทำาร้ายผู้อ่ ืนไม่ถึงกับเป็ นเหต่ให้เกิด อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 7.1.1 ความผิดฐานทำารูายร่างกาย
ในกรณีต่อไปนี้ แดงมีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายหรือไม่ (1) แดงใช้มอ ื ตบหน้าดำาโดยแรง ทำาให้หน้าดำาเป็ นผื่นแดงรักษา 3 วันหาย (2) แดงใช้มอ ื ตบหน้าดำาโดยแรง ทำาให้ดำาตกใจสิ้นสติไปชั่วครู่ก็ฟ้ ื นเป็ นปกติ (3) แดงใช้มีดยาวคืบเศษแทงดำาที่โคนขาขวา 1 ครั้ง เป็ นแผลลึกครึ่งเซนตริ เมตรโลหิตไหล (4) แดงเอาไม้ตีดำาตรงดั้งจมูก ทำาให้ภายในโพรงจมูกเกิดเป็ นแผลแตกเลือด กำาเดาไหล (5) แดงเห็นดำานอนหลับอยู่จึงแกล้งเอานิ้ วไปเขี่ยที่ฝ่าเท้าดำาเล่น ดำาตกใจกระต่ก ขาไปถูกขอบเตียงเป็ นบาดแผลแตกโลหิตไหล กรณีท่ีแดงมีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายหรือไม่เพียงใดมีดังนี้ (1) การที่ ใ บหน้ า ดำา เป็ นเพี ย งผื่ นแดงรั ก ษา 3 วั น หายถื อ ว่ า ยั ง ไม่ ถึ ง ขั้ น เป็ น อันตรายแก่กาย แดงจึ งมีความผิดฐานใช้กำา ลังทำา ร้า ยผู้อ่ ืนโดยไม่ถึงกับเป็ นเหต่ใ ห้ เกิ ด อันตรายแก่กายหรือจิตใจตามมาตรา 391 (2) การที่ ดำา ตกใจสิ้ น สติ เ พี ย งชั่ ว ครู่ ถื อ ว่ า ยั ง ไม่ ถึ ง ขนาดเป็ นอั น ตรายแก่ จิ ต ใจ แดงจึงมีความผิดตามมาตรา 391 (3) บาดแผลที่ ดำา ได้ รั บ ถึ ง ขั้ น เป็ นอั น ตรายแก่ ก ายแล้ ว แดงจึ ง มี ค วามผิ ด ตาม มาตรา 295 (4) การที่ แดงตีดำา จนเกิดแผลแตกเลือดกำา เดาไหล นั บว่า เป็ นอัน ตรายแก่กาย แล้ว แดงมีความผิดตามมาตรา 295 (5) การที่ แดงแกล้งเอานิ้ วไปเขี่ยฝ่ าเท้าดำา เล่น แสดงว่าแดงไม่มีเ จตนาทำา ร้าย ดำา แดงจึงไม่มีความผิด แดงชกต่อยดำา ล้มลงมีบาดแผลที่ปลายคิ้วโลหิตซึมเล็กน้อย แต่ศีรษะดำา กระแทก กับพื้น ดำาสลบไป แดงเข้าใจว่าตาย แดงกลัวความผิด จึงเอาผ้าขาวม้าของดำาผูกคอดำาไป แขวนไว้ท่ีต้นมะม่วงข้างทาง เพื่ออำา พรางว่า ดำา ฆ่า ตัวตายแต่มีคนมาพบเข้า เสียก่อ น จึง ช่วยไว้ทัน ดังนี้ แดงมีความผิดฐานใด แดงมีเ จตนาเพียงทำา ร้า ยดำา มิได้มีเจตนาฆ่า แต่การทำา ร้า ยเป็ นเหต่ใ ห้ดำา ได้รั บ อันตรายแก่กายหรือจิตใจแล้วแดงจึงมีความผิดตามมาตรา 295 แดงใช้มีดดาบฟั นที่บริเวณลำา ตัวดำา แต่ดำา หลบทัน แดงมีโอกาสฟั นได้อีกกลับไม่ ฟั น กลับเดินหนีไปเสียดังนี้ แดงมีความผิดฐานใดหรือไม่ แม้ดาบเป็ นอาว่ธที่กระทำาร่างกายแล้ว ผู้ถูกกระทำาอาจถึงตายได้ แต่การที่แดงฟั น ครั้งเดียวแล้วไม่กระทำาต่อไปอีกแสดงว่ามีเจตนาเพียงทำาร้ายร่างกายดำาให้ได้รับอันตราย แก่กายเท่านั้น แต่การกระทำา ไม่บรรล่ผ ลจึงเป็ นเพียงพยายามทำา ร้า ยร่า งกาย แดงจึงมี ความผิดฐานพยายามทำาร้ายร่างกายตาม ปอ. มาตรา 295, 80 7.1.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
แดงมีสาเหต่โกรธเคืองดำา จึงถือมีดแล้วเดินไปหาดำาที่บ้านแต่ปรากฏว่าดำายังไม่ กลับบ้าน แดงจึงออกมาดักซ่่มอยู่ข้างทางจนกระทั่งดำาเดินผ่านมา แดงจึงเอามีดฟั นดำา 1 ครั้ง เป็ นบาดแผลโลหิตไหล รักษา 10 วัน หายแล้วแดงก็เดินจากไป เช่นนี้ แดงมีความผิด หรือไม่ การที่แดงเอามีดฟั นดำาจนได้รับบาดแผลโลหิตไหล แดงจึงมีความผิดฐานทำาร้าย ร่างกาย แต่การที่แดงเดินไปหาดำา ถึงบ้า นแล้วยังมาซ่่ม คอยอยู่ข้า งทาง แสดงว่าแดงได้ ทำาร้ายดำาโดยไตร่ตรองไว้ก่อน แดงจึงมีความผิดตามมาตรา 296
เจ้าพนักงานตำา รวจขณะออกตรวจท้อ งที่ตามคำา สั่งผู้บังคับบัญ ชา ถูกแดงใช้ไม้ แอบตีข้างหลัง 1 ครั้ง แต่เจ้าพนักงานตำารวจหลบทันเสียก่อน ดังนี้ แดงมีความผิดฐานใด หรือไม่ แดงมีค วามผิด ฐานพยายามทำา ร้า ยร่า งกายเจ้ า พนั ก งานซึ่ ง กระทำา ตามหน้า ที่ ตามมาตรา 296, 80 7.2 การทำารูายร่างกายสาหัส
1. ความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย ถ้าทำาให้ผู้ถูกทำาร้ายเป็ นอันตรายสาหัสผู้กระทำาต้อง รับโทษหนักขึ้น 2. ในบางกรณี ห ากอั น ตรายสาหั ส เกิ ด แก่ บ่ ค คลบางประเภท หรื อ เป็ นผลมาจาก การกระทำาภายใต้พฤติการณ์พิเศษ กฎหมายก็ลงโทษหนักขึ้น มาตรา 295 ผู้ใดทำาร้ายผู้อ่ ืนจนเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่กาย หรือจิตใจของผู้อ่ ืนนั้ น ผู้น้ันกระทำาความผิดฐานทำา ร้ายร่ างกาย ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พัน บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 297 ผู้ใดกระทำาความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย จนเป็ นเหต่ให้ ผู้ถูกกระทำาร้ายรับ อันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หกเดือน ถึงสิบปี อันตรายสาหัสนั้น คือ (1) ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท (2) เสียอวัยวะสืบพันธ์่ หรือความสามารถสืบพันธ์่ (3) เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ วหรืออวัยวะอื่นใด (4) หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว (5) แท้งลูก (6) จิตพิการอย่างติดตัว (7) ท่พพลภาพ หรือป่ วยเจ็บเรื้อรังซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต (8) ท่พพลภาพหรือป่ วยเจ็บด้วยอาการท่กขเวทนาเกินกว่ายี่สิบวัน หรือจนประกอบ กรณียกิจตามปกติไม่ได้ เกินกว่ายี่สิบวัน มาตรา 298 ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 297 ถ้าความผิด นั้นมีลักษณะประการ หนึ่ งประการใดดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 289 ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี 7.2.1 ความผิดฐานทำาร้ายร่างกายเป็ นอันตรายสาหัส
นายแดงต้องการทำาร้ายดำา จึงเอาก้อนหินขว้างนายดำา ในกรณีต่อไปนี้ นายแดงมี ความผิดฐานใดหรือไม่ (1) ก้อนหินถูกตาข้างขวาของดำา เป็ นบาดแผลโลหิตไหล ตาข้างนั้ นมองไม่เห็น อยู่ 7 วัน แผลก็หาย และสายตากลับดีดังเดิม (2) ก้อนหินถูกอวัยวะสืบพันธ์่ของดำา เป็ นบาดแผลฉกรรจ์ ต้องตัดอวัยวะสืบพันธ์่ ของดำาออกทั้งหมด (3) ก้อนหินถูกแขนข้างขวาของดำา ทำาให้เอ็นที่แขนเสีย ดำาไม่สามารถใช้แขนข้าง นั้นยกของหนักได้อีก (4) ก้อนหินถูกปากดำา ทำาให้ฟันดำาหักไป 2 ซี่ (5) ก้อนหินถูกหัวเข่าดำา เป็ นแผลฉกรรจ์ทำาให้ดำาเดินไม่ได้ เมื่อครบ 20 วัน แผล จึงหายและดำากลับเดินได้ตามปกติ นายแดงมีความผิดดังต่อไปนี้ (1) การที่ตาข้างขวาของดำา มองไม่เห็นอยู่เพียง 7 วัน ก็หายเป็ นปกติดังเดิมนั้น มิใช่ความเสียหายในการมองเห็นอย่า งถาวร จึงยังไม่ถึงขั้นอันตรายสาหัส ตามมาตรา 297(1) แดงจึงมีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายตามมาตรา 295 (2) การที่ดำาเสียอวัยวะสืบพันธ์่เพราะถูกแดงทำาร้าย ถือได้ว่าเป็ นอันตรายสาหัส แดงจึงมีความผิดตามมาตรา 297(2) (3) การที่ดำา ไม่สามารถใช้แขนได้ตามธรรมชาติ และถือได้ว่าดำา ท่พพลภาพ ซึ่ง อาจถึงตลอดชีวิตแล้วแดงจึงมีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายสาหัสตามมาตรา 297(3) (7) (4) การที่ ดำา ฟั นหั ก ไป 2 ซี่ ยั ง ไม่ ถึ ง ขนาดเป็ นการเสี ย อวั ย วะอื่ นใด แดงจึ ง มี ความผิดฐานทำาร้ายร่างกายมาตรา 295 (5) การที่ ดำา ได้ รั บ บาดแผลจนเดิ น ไม่ ไ ด้ 20 วั น นั้ น ยั ง ไม่ เ ป็ นอั น ตรายสาหั ส เพราะยังไม่ใช่การประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า 20 วัน แดงจึงมีความผิดตาม มาตรา 295 ขาวใช้มีดดาบฟั นแขนดำา โดยเจตนาจะให้แขนขาด แต่ดำา หลบทัน จึงฟั นไม่ถูก ดังนี้ ขาวมีความผิดฐานใด
ขาวไม่มีความผิดฐานพยายามทำา ร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส เพราะความผิดดัง กล่าวต้องมีผลที่เกิดขึ้นสาหัส ไม่อาจมีพยายามได้ แต่มีความผิดเพียงฐานพยายามทำาร้าย ร่างกายดำาเท่านั้น 7.2.2 เหต่ท่ีทำาให้รับโทษหนักขึ้น
แดงซึ่งรับราชการเป็ นพลตำารวจได้ลาหย่ดราชการ ระหว่างที่ลาหย่ดนั้นไปเที่ยว งานมหรสพซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ซึ่งตนประจำาการอยู่ จ่าสิบตำารวจคนหนึ่ งซึ่งรักษาการอยู่ใน งานนั้นได้ร้องขอให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในงานนั้นด้วย ดำาได้แสดงกิริยามึนเมา ในบริเวณงาน แดงจึงได้ห้ามปรามและขอให้ดำา กลับบ้าน ดำา จึงใช้มีดแทงแดงถึงบาดเจ็บ สาหัส เช่นนี้ ดำามีความผิดฐานใดหรือไม่ ถึงแม้แดงจะอยู่ในระหว่างลาหย่ดราชการแต่ท้องที่เกิดเหต่ก็เป็ นเขตท้องที่ท่ีตน ประจำา การอยู่ และได้รับการขอร้อ งให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อ ยในงานด้ว ย การที่ แดงถูกดำาแทงก็เพราะเหต่ท่ีได้กระทำาตามหน้าที่ห้ามปรามมิให้ดำาแสดงกริยามึนเมาในที่ ช่มชน ดำาจึงมีความผิดฐานทำาร้ายเจ้าพนักงาน เพราะเหต่ท่ีได้กระทำาตามหน้าที่จนได้รับ อันตรายสาหัส ตามมาตรา 298 7.3 การเขูาร่วมชุลมุนต่อสู้
1. การช่ลม่นต่อสู้กัน เป็ นการยากที่จะพิสูจน์ว่าใครทำา ร้ายใครอย่างไร กฎหมายจึง เอาโทษผู้เข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้ท่กคนไม่ว่าอันตรายสาหัสนั้นจะเกิดจากการกระทำาของผ้ใู ด 2. การเข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้ แม้กฎหมายเอาโทษ แต่ถ้าผู้เข้าร่วมช่ลม่นต่อสู้พิสูจน์ได้ ว่าการกระทำาของตนเข้าข้อยกเว้นของกฎหมายแล้ว ย่อมไม่ตอ ้ งรับโทษ มาตรา 299 ผู้ใดเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้ระหว่างบ่คคลแต่ส ามคนขึ้ นไป และบ่ คคล หนึ่ งบ่คคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้ท่ีเข้าร่วมในการนั้ นหรือไม่ รับ อันตรายสาหัส โดยการกระทำา ในการ ช่ลม่นต่อส้น ู ้ัน ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าผู้ท่ีเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้น้ั นแสดงได้ ว่า ได้กระทำา ไปเพื่ อห้ ามการช่ ลม่ นต่ อสู้ น้ั น หรือเพื่อป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้น้ันไม่ต้องรับโทษ
องค์ประกอบของความผิดมีดังนี้ องค์ประกอบภายนอก 1) เข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้ 2) ระหว่างบ่คคลตั้งแต่สามคนขึ้นไป 3) บ่คคลหนึ่ งบ่คคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้เข้าร่วมในการนั้นหรือไม่ รับอันตรายสาหัส โดยการกระทำาในการช่ลม่นต่อสู้น้ัน องค์ประกอบภายใน เจตนา 7.3.1 การเขูาร่วมในการชุลมุนต่อสู้เป็ นเหตุใหูผู้อ่ ืนไดูรับอันตรายสาหัส
ดำา กับแดงฝ่ ายหนึ่ งท้าทายให้เขียวกับขาวออกมาต่อสู้กัน ในระหว่างชกต่อยกัน อยู่ ฟ้ าบ่คคล ภายนอกซึ่งยืนดูท้ังสองฝ่ ายต่อสู้กันอยู่ ถูกแดงซึ่งชกขาวไม่ถูกพลาดไปถูก ฟ้ าได้รับอันตรายแก่กาย ดังนี้ ดำา แดง เขียว และขาว มีความผิดหรือไม่ เพียงใด การกระทำา ของดำา แดง เขียว และขาว ถือว่าเป็ นการเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อ สู้ ระหว่างบ่คคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปแล้ว แต่ไม่มีบ่คคลใดได้รับอันตรายสาหัส บ่คคลทั้งสี่จึง ไม่มีความผิดตามมาตรา 299 วรรคแรก แต่การที่แสดงเจตนาทำา ร้า ยขาวแต่พลาดไปถูกฟ้ าได้รับอันตรายแก่ก าย และ ตามข้อ เท็จจริงไม่ปรากฏว่า ผู้ใ ดร่วมกระทำา ความผิดด้วย แดงจึงมีความผิดฐานทำา ร้า ย ร่างกายฟ้ าได้รับอันตรายแก่กายตามมาตรา 295 ประกอบมาตรา 60 ดำากับขาวอีกฝ่ ายหนึ่ งชกต่อยต่อสู้กันกับเขียวอีกฝ่ ายหนึ่ ง ในระหว่างการต่อสู้กัน ไม่ทราบว่าใครชกถูกดำาล้มลง หน้าครูดกับพื้นทำา ให้หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว ดังนี้ บ่คคล ทั้งสามมีความผิดฐานใดหรือไม่ เมื่อการกระทำาของบ่คคลทั้งสองเป็ นการเข้าร่วมในการช่ลม่นต่อสู้ เป็ นเหต่ให้ดำา ได้รับอันตรายสาหัส บ่คคลดังกล่าวรวมทั้งดำาด้วยมีความผิดตามมาตรา 299 7.3.2 เหตุยกเวูนโทษ
ดำา กับแดงเคยมีเรื่องชกต่อยกัน ในวันเกิดเหต่ แดงและขาว ไปดักคอยทีอยู่ พอ ดำาเดินผ่านมา แดงและขาวยิงดำา 4-5 นัด แต่ไม่ถูก ดำาจึงวิ่งหนี แดงและขาวยังคงตามไป ยิงอีก 4-5 นัด กระส่นที่แดงยิงพลาดไปถูกเขียวบ่คคลภายนอกได้รับอันตรายสาหัส ดำาจึง
ยิงตอบโต้มา 1 นัด แล้วดำาก็วิ่งหนี ไป ดังนี้ ดำา แดง และขาว มีความผิดตาม ปอ. มาตรา 299 หรือไม่ กรณี น้ี เป็ นเรื่องที่แดง ขาว เข้าทำา ร้ายดำา โดยดำา มิได้เข้าร่วมต่อสู้ด้วย ถึงแม้ว่า ดำาจะยิงโต้ตอบมา 1 นัด ก็เป็ นการป้ องกันตัวพอสมควรแก่เหต่ ดำา แดง ขาว จึงไม่มีความ ผิดฐานร่วมในการช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้บ่คคลได้รับอันตรายสาหัสตามมาตรา 299 แต่ แดงและขาวย่อมจะผิดฐานพยายามฆ่าผ้อ ู ่ ืน 7.4 การทำาใหูผู้อ่ ืนไดูรบ ั อันตรายสาหัสโดยประมาท
1. การกระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ใ ห้ผู้อ่ ืนรั บอัน ตราสาหั ส กฎหมายเอาโทษทาง อาญาด้วย แม้วา ่ มิได้กระทำาโดยเจตนาก็ตาม 2. ความไม่รู้ข้อเท็จจริงหรือความสำาคัญผิดโดยประมาท เมื่อได้กระทำาไปจนเป็ นเหต่ ให้ผู้อ่ น ื ได้รับอันตรายสาหัส ผ้ก ู ระทำาย่อมต้องรับโทษตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย มาตรา 300 ผู้ใดกระทำา โดยประมาท และการกระทำา นั้ นเป็ นเหต่ให้ ผู้อ่ ืนรั บอั นตราย สาหัส ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
องค์ประกอบของความผิดมีดังนี้ องค์ประกอบภายนอก 1) กระทำาด้วยประการใดๆ 2) เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายสาหัส องค์ประกอบภายใน ประมาท
7.4.1 กระทำาโดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผอ ู้ ่ ืนได้รับอันตรายสาหัส
ขณะที่ดำากำาลังวิ่งเล่นกับเพื่อน ดำามองเห็นนกบินผ่านมา จึงหยิบก้อนหินขว้างนก ก้อนหินถูกนกแล้วตกลงมาถูกศีรษะของแดง ทำา ให้แดงได้รับความกระทบกระเทือนทาง สมองอย่างร่นแรงถึงขั้นเกิดอาการประสาทหลอนที่รักษาไม่หาย เช่นนี้ ดำามีความผิดฐาน ใดหรือไม่ การที่ดำาเอาก้อนหินขว้างขึ้นไปบนอากาศนั้น ดำาควรต้องใช้ความระมัดระวังดูให้ ดีเสียก่อนว่าก้อนหินมีทางที่จะตกมาเป็ นอันตรายแก่ผู้อ่ ืนหรือไม่ การที่ดำา ไม่ได้ใช้ความ ระมั ด ระวั ง ให้ เ พี ย งพอจนแดงได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส เนื่ องจากเกิ ด อาการจิ ต พิ ก ารอย่ า ง ติดตัวเช่นนี้ ดำา จึงมีความผิดฐานกระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ใ ห้ผู้อ่ ืนรั บอัน ตรายสาหัส ตามมาตรา 300 7.4.2 ความไม่รู้ขอ ้ เท็จจริงหรือความสำาคัญผิดโดยประมาท
แดงเห็ น ดำา เดิ น มาที่ ห น้ า บ้ า น แดงเข้ า ใจผิ ด ว่ า ดำา จะมาทำา ร้ า ย แต่ ถ้ า แดง พิจารณาดูให้ดีก็จะทราบว่าดำา เป็ นเพื่อนแดง มาเยี่ยมแดง แดงใช้ปืนยิงไปที่ขาของดำา ได้ รับอันตรายสาหัส ดังนี้ แดงจะมีความผิดหรือไม่เพียงใด แดงซึ่งกระทำา ไปด้วยความสำา คัญผิ ดโดยประมาท เพราะถ้า แดงพิ จารณาให้ดี หรือ ใช้ความระมัด ระวังตามสมควรในการจะดูว่ า เป็ นคนร้า ยหรือ ไม่ ก็ จะทราบว่า เป็ น เพื่อน แดงมีความผิดตามมาตรา 300 แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 7
1. การทำา ร้ายในความผิดฐานทำา ร้ายร่างกาย หมายถึงการกระทำา ท่กประการที่เป็ นเหต่ให้ เกิดอันตรายแก่กายหรือ จิตใจของผ้อ ู ่ ืนได้ 2. แดงใช้ มี ด ดาบแทงทำา ร้ า ยดำา ถู ก ชายโครงหนึ่ ง ครั้ ง มี ร อยชำ้ าแดงกลมครึ่ ง เซนตริ เ มตร รักษาประมาณ 5 วันหาย เมื่อแทงแล้วแดงก็เดินจากไป ดังนี้ แดงกระทำา ความผิดฐานใดหรือไม่ คำา ตอบ มีความผิ ดฐานใช้ กำา ลั งทำา ร้ ายดำา โดยไม่ ถึง กั บเป็ นเหต่ ใ ห้ เกิ ด อั น ตรายแก่ ก ายหรื อ จิ ตใจ และกรณีเช่นนี้ ถือว่าเป็ นอันตรายแก่กาย 3. การทำาร้ายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เป็ นการกระทำาความผิดฐานทำาร้ายร่างกายที่ต้องรับโทษ หนักกว่าการทำาร้ายร่างกายโดยทั่วไป 4. ฟั นหัก 2 ซี่ ยังไม่ถือว่าถือเป็ นกรณีท่ีเป็ นอันตรายสาหัส (ตาบอดข้างหนึ่ ง หูหนวกข้าง หนึ่ ง ลิ้นขาด แท้งลูก ถือเป็ นกรณีอันตรายสาหัส) 5. การเจ็บป่ วยด้วยอาการท่กขเวทนาเกินกว่า 20 วัน ถือว่าเป็ นกรณีเป็ นอันตรายสาหัส 6. การวินิจฉัยว่าการกระทำา เป็ นความผิดฐานทำา ร้ายร่างกายสาหัส หรือเป็ นความผิดฐาน พยายามฆ่าให้พิจารณาจากอะไร คำาตอบ เจตนาของผู้กระทำาว่ามีเจตนาทำาร้ายหรือมีเจตนาฆ่า
7. ความผิ ดฐานเข้ าร่ วมช่ ลม่น ต่อ สู้เ ป็ นเหต่ ใ ห้ บ่ ค คลได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส นั้ น มี ห ลั ก เกณฑ์ อย่างไร คำาตอบ ผู้ท่ีได้รับอันตรายสาหัสอาจเป็ นบ่คคลภายนอกที่ไม่ได้เข้าร่วมในการช่ลม่นในการ ต่อสู้ต้ังแต่สองคนขึ้นไป 8. ดำาโค่นต้นไม้ใหญ่ท่ีริมถนน ต้นไม้จึงล้มลงมาขวางถนนไว้ แต่ดำาเห็นว่าต้นไม้ใหญ่เกินกว่า ที่จะชักลากออกมาจากถนนได้ และขณะนั้ นเป็ นเวลากลางคื น ดำา จึงกลั บบ้ าน แดงขั บรถมาตาม ถนนสายนั้ น และรถชนต้นไม้ท่ีขวางทางอยู่จนแดงได้รับอันตรายสาหัส เช่นนี้ ดำา มีความผิดฐาน กระทำาโดยประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนได้รับอันตรายสาหัสหรือไม่ คำาตอบ ดำามีความผิด เพราะไม่จัด ให้มีเครื่องสัญญาณเตือนให้ผข ู้ ับขี่รถยนต์ทราบ ดำาจึงกระทำาโดยประมาท 9. ดำาเดินเข้าป่ าเพื่อล่าสัตว์ เห็นพ่่มไม้ส่ันไหว เข้าใจว่าเป็ นสัตว์ซ่มอยู่ จึงเอาปื นยิงเข้าไปถูก แดงซึ่งนั่งอยู่ในพ่่มไม้ได้รับอันตรายสาหัส เช่นนี้ ดำามีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ดำามีความผิด ฐานกระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส เพราะการที่ ดำา มี รู้ ข้ อ เท็ จ จริ ง ว่ า ภายในพ่่มไม้เป็ นแดงนั้นเกิดจากความประมาทของดำาเอง 10. กรณีท่ีจะถือว่าเป็ นอันตรายแก่กายหรือจิตใจนั้น พิจารณาถึงพฤติการณ์แห่งการกระทำา และบาดแผลที่ถูกทำาร้ายได้รับ ว่าการกระทำาร่นแรงถึงขนาดหรือไม่ และบาดแผลที่ผู้ถูกทำาร้ายได้ รับมากน้อยเพียงใด 11. กรณีท่ียังไม่ถือว่าเป็ นอันตรายแก่จิตใจ คือ รู้สึกเจ็บใจ แค้นใจ 12. กรณีท่ีทำาความผิดฐานทำาร้ายร่างกายที่ไม่ต้องรับโทษหนักขึ้น คือ ทำาร้ายในเวลากลางคืน 13. ดำากับแดงซึ่งเป็ นบิดาของดำา ได้เข้าต่อสู้กับเขียวและเหลือง ปรากฏว่าแดงถูกเขียวใช้มีด ทำาร้ายได้รับอันตรายสาหัส ดังนี้ ดำาจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ดำามีความผิดฐานเข้าร่วม ช่ลม่นต่อสู้เป็ นเหต่ให้แดงได้รับบาดเจ็บสาหัส 14. ดำากับแดงหยอกล้อกันเล่น ดำาแกล้งเตะแดง แดงจับขาดำายกขึ้นแล้งผลักลงกับพื้น ปรากฏ ว่าดำาแขนหัก ใช้แขนข้างนั้นตามปกติไม่ได้ ยี่สิบวันจึงหายเป็ นปกติ ดังนี้ แดงจะมีความผิดฐานใด หรือไม่ คำาตอบ แดงมีความผิดฐานกระทำาโดยประมาท เป็ นเหต่ให้แดงได้รับอันตรายแก่ร่างกาย หรือจิตใจซึ่งเป็ นความผิดลห่โทษ
หน่ ว ยที่ 8 ความผิ ด เกี่ ย วกั บ เพศ ทำา ใหู แ ทู ง ล้ ก และทอดทิ้ ง เด็ก คนป่วยเจ็บคนชรา 1. ความผิ ด ทางเพศเป็ นเรื่ องกระทบกระเทื อ นความรู้ สึ ก หรื อ ศี ล ธรรมอั น ดี ข อง ประชาชน กฎหมายจึงบัญญัติเป็ นความผิด 2. กฎหมายให้ สิ ท ธิ แ ละความค้่ ม ครองแก่ ท ารกในครรภ์ ม ารดา แม้ ยั ง ไม่ มี ส ภาพ บ่คคล และเนื่ องจากการทำาให้ทารกดังกล่าวตายไม่เป็ นความผิดฐานฆ่าผู้อ่ ืน กฎหมายจึง ต้องบัญญัตเิ ป็ นความผิดต่างหาก 3. บ่คคลที่อ่อนแอด้วยอาย่ก็ดี ความเจ็บป่ วยก็ดี ย่อมไม่สามารถค้่มครองตนเองได้ ถ้าถูกทอดทิ้งไม่เอาใจใส่อาจเป็ นเหต่ให้ได้รับอันตราย กฎหมายจึงให้ความค้่มครองบ่คคล ดังกล่าว 8.1 ความผิดเกีย ่ วกับเพศ
1. การกระทำา ชำา เราหญิงจะเป็ นความผิดเมื่อหญิงไม่สมัครใจยินยอมให้กระทำา และผู้กระทำาอาจต้องรับโทษหนักขึ้น หรือยอมความได้ในบางกรณี 2. การกระทำา ชำาเราเด็กหญิงอาย่ไม่เกินสิบห้าปี เป็ นความผิดและยอมความไม่ ได้ ไม่ว่าเด็กหญิงนั้นจะยอมหรือไม่ แต่ผู้กระทำาอาจไม่ต้องรับโทษ ถ้ากระทำา แก่เด็กหญิง อาย่กว่าสิบสามปี แต่ไม่เกินสิบห้าปี โดยเด็กหญิงนั้นยินยอมและศาลอน่ญาตให้สมรสกัน ภายหลัง 3. การกระทำาอนาจารแก่หญิงหรือชายอาย่กว่าสิบห้าปี จะเป็ นความผิดถ้าบ่คคล นั้ น ไม่ ยิ น ยอมให้ ก ระทำา แต่ ก ารกระทำา อนาจารแก่ เ ด็ กอาย่ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ ห้ า ปี ย่ อ มเป็ น ความผิดเสมอไม่ว่าเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ 4. การเป็ นธ่ระจัดหา ล่อไป หรือชักพาเด็กหญิงหรือหญิงไปเพื่อให้สำา เร็จความ ใคร่ ข องผู้ อ่ ื นหรื อ เพื่ อการอนาจารเป็ นความผิ ด ไม่ ว่ า เด็ ก หญิ ง นั้ น จะยิ น ยอมหรื อ ไม่ กฎหมายลงโทษผู้กระทำา ผ้ส ู นับสน่นการกระทำาดังกล่าวและผู้รับตัวเด็กหญิงหรือหญิงไว้ 5. การพาหญิ ง ไปเพื่ อการอนาจารเป็ นความผิ ด ถ้ า หญิ ง ไม่ ยิ น ยอม กฎหมาย ลงโทษทั้งผู้พาหญิงและผู้ซอ ่ นเร้นหญิง 6. บ่ คคลอาย่ก ว่า สิบ หกปี ดำา รงชี พอยู่จ ากรายได้ข องหญิง ซึ่ง ค้า ประเวณี ย่ อ มมี ความผิด เว้นแต่ได้รับการเลี้ยงดูจากหญิงนั้นตามกฎหมายหรือตามธรรมจรรยา
7. การผลิต การค้า การทำา ให้แพร่หลาย การโฆษณา หรือ การกระทำา อื่นๆ แก่ วัตถ่หรือสิ่งของลามกอาจเป็ นความผิด ถ้าได้กระทำา เพื่อการค้า การแจกจ่าย การแสดง อวดแก่ประชาชน หรือเพื่อช่วยทำาให้แพร่หลายซึ่งวัตถ่หรือสิ่งของดังกล่าว 8.1.1 ข่มขืนกระทำาชำาเราหญิง นางแดงช่วยจับแขนของนางสาวดำา ให้นายเขียวสามีของนางแดงข่มขืนกระทำา ชำาเรานางสาวดำา นางแดงมีความผิดหรือไม่อย่างไร การที่นางแดงช่วยจับแขนของนางสาวแดง เพื่อให้นายเขียวข่มขืนกระทำาชำาเรา นางสาวดำา นั้ น นางแดงจึ ง เป็ นตั วการร่ว มกั บนายเขีย วข่ ม ขืนกระทำา ชำา เรานางสาวดำา ตามมาตรา 276 ประกอบกับมาตรา 83 มาตรา 276 ใช้คำาว่า “ผู้ใด ข่มขืนกระทำาชำาเรา หญิง” จึงไม่จำากัดเฉพาะเพศชาย นางแดงจึงมีความผิดตามมาตรา 276 นี้ ได้ นายจิ น ดาใช้ ย าสลบให้ น างสาวสวาทดมจนสลบ แล้ ว จึ ง ข่ ม ขื น กระทำา ชำา เรา นางสาวสวาทแล้วนายจินดาก็หนี ไป ระหว่างที่นางสาวสวาทยังไม่ฟ้ ื นจากอาการสลบนั้น เอง นายโอกาสเดินทางมาเห็นนางสาวสวาทนอนเปลือยกายอยู่จึงได้กระทำา การข่ม ขืน กระทำาชำาเรานางสาวสวาทอีก เช่นนี้ นายจินดาและนายโอกาสมีความผิดอย่างไรหรือไม่ นายจินดา และนายโอกาสต่างมีความผิดฐานข่มขืนกระทำาชำาเรานางสาวสวาท ตาม ปอ.มาตรา 276 วรรคแรก แต่ ไ ม่ ต้ อ งรั บ โทษหนั ก ขึ้ น ตามมาตรา 276 วรรค 2 เพราะนายจิ นดาและนายโอกาสไม่ได้ “ร่ วมกระทำา ความผิ ดด้ วยกัน ” โดยผลั ด เปลี่ ย น หม่น เวี ยนกันข่ม ขื นกระทำา ชำา เรานางสาวสวาทต่ อ เนื่ องกั น อั น มี ลั ก ษณะเป็ นการโทรม หญิง
มาตรา 276 ผ้ใู ดข่มขืนกระทำาชำาเราหญิงซึ่งมิใช่ภริยาของตน โดยขู่เข็ญด้วยประการใด ๆ โดยใช้กำาลังประท่ษร้าย โดยหญิง อยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้หรือโดยทำาให้หญิงเข้าใจผิด ว่าตน เป็ นบ่คคลอื่น ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ส่ีปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ แปดพันบาทถึงสี่หมื่น บาท ถ้ าการกระทำา ความผิ ด ตามวรรคแรกได้ กระทำา โดยมี ห รื อ ใช้ อ าว่ ธ ปื นหรือ วั ตถ่ ระเบิ ด หรือโดยร่วมกระทำาความผิดด้วยกันอันมีลักษณะ เป็ นการโทรมหญิง ต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่ สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจำาค่กตลอดชีวิต 8.1.2 กระทำาชำาเราเด็กหญิง
นายดำารักกับเด็กหญิงแดงซึ่งมีอาย่ 15 ปี บริบูรณ์ จนถึงขั้นได้เสียกัน ต่อมาเด็ก หญิงแดงตั้งครรภ์ ศาลจึงอน่ญาตให้นายดำา และเด็กหญิงแดงสมรสกัน กรณีน้ี นายดำาจะมี ความผิดฐานกระทำาชำาเราเด็กหญิงหรือไม่ นายดำา ได้กระทำา ชำา เราเด็กหญิงแดง อาย่ไม่เกิน 15 ปี บริบูรณ์ซึ่งมิใ ช่ภรรยา ตนเอง นายดำา จึงมีความผิดฐานกระทำา ชำา เราหญิงอาย่ไม่เกินสิบห้า ปี ตามมาตรา 277 วรรคแรก แม้ต่อมาศาลอน่ญาตให้นายดำา และเด็กหญิงแดงสมรสกัน นายดำา ก็ยังมีความ ผิดตามมาตรา 277 วรรคแรก แต่ไม่ตอ ้ งรับโทษโดยผลของมาตรา 277 วรรคท้าย
มาตรา 277 ผู้ใดกระทำา ชำา เราเด็ กหญิ งอาย่ ยั ง ไม่เกิ นสิ บหู า ปีซึ่งมิใช่ภรรยาของตน โดยเด็กหญิง นั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตามต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่ส่ีปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่แปด พันบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทำาแก่เด็กหญิง อาย่ยังไม่เกินสิบสาม ปี ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี และ ปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นสี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาทหรือจำา ค่กตลอดชีวิต ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสองได้กระทำา โดยร่วมกระทำาความผิด ด้วยกันอันมีลักษณะเป็ นการโทรมเด็กหญิง และเด็กหญิงนั้นไม่ยินยอม หรือได้กระทำาโดยมีอาว่ธ ปื นหรือวัตถ่ ระเบิด หรือโดยใช้อาว่ธ ต้องระวางโทษจำาค่กตลอดชีวิต ความผิดตามที่บัญญัติไว้ในวรรคแรก ถ้าเป็ นการกระทำาที่ชายกระทำา กับเด็กหญิงอาย่ กว่าสิบสามปี แต่ยังไม่เกินสิบหูาปีโดย เด็กหญิงนั้นยินยอมและภายหลังศาลอน่ญาตให้ชายและ เด็กหญิง นั้นสมรสกัน ผู้กระทำาผิดไม่ต้องรับโทษ ถ้าศาลอน่ญาตให้สมรสใน ระหว่างที่ผู้กระทำาผิด กำาลังรับโทษในความผิดนั้นอยู่ ให้ศาลปล่อย ผู้กระทำาความผิดนั้นไป มาตรา 277 ทวิ ถ้าการกระทำาความผิดตาม มาตรา 276 วรรคแรกหรื อ มาตรา 277 วรรคแรกหรือวรรคสองเป็ นเหต่ให้ผู้ถูกกระทำา (1) รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบห้า ปี ถึงยี่สิบปี และปรับ ตั้งแต่สามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจำาค่กตลอด ชีวิต (2) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือ จำาค่กตลอดชีวิต มาตรา 277 ตรี ถ้าการกระทำาความผิดตาม มาตรา 276 วรรค สอง หรือ มาตรา 277 วรรคสาม เป็ นเหต่ให้ผู้ถูกกระทำา
(1) รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิตหรือ จำาค่กตลอดชีวิต (2) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิต 8.1.3 กระทำาอนาจาร
นายดันบังคับให้นางสาวดำา อาย่ 17 ปี ยอมให้ตนร่วมเพศทางช่อ งทวารหนั ก นายดันมีความผิดเกี่ยวกับเพศหรือไม่ นายดันไม่ผิดฐานข่มขืนกระทำา ชำา เรานางสาวดำา ตามมาตรา 276 เพราะการ ร่วมเพศทางช่องทวารหนักไม่เป็ นการกระทำา ชำาเรา เนื่ องจากการกระทำา ชำา เราหมายถึง เฉพาะการส้องเสพย์สังวาสหรือการร่วมประเวณี โดยลักษณะปกติธรรมชาติ โดยการใส่ อวัยวะเพศชายเข้าไปใยอวัยวะเพศหญิงเท่านั้น แต่ น ายดั น ผิ ด ฐานกระทำา อนาจารแก่ บ่ ค คลอาย่ ก ว่ า 15 ปี ตามมาตรา 278 เพราะนายดั น ได้ ขู่ เ ข็ญ โดยการบั ง คั บ ให้ น างสาวดำา อาย่ 17 ปี ยอมให้ ต นร่ ว มเพศทาง ทวารหนัก ซึ่งเป็ นการกระทำา ที่ไม่สมควรในทางเพศตามประเพณี หรือตามกาลเทศะอัน เป็ นการกระทำาอนาจารนางสาวดำา มาตรา 278 ผู้ใดกระทำาอนาจารแก่บ่คคลอาย่กว่าสิบห้าปี โดย ขู่เข็ญด้วยประการใด ๆ โดยใช้กำาลังประท่ษร้าย โดยบ่คคลนั้นอยู่ ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำาให้บ่คคลนั้น เข้าใจผิดว่า ตนเป็ นบ่คคลอื่น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ 8.1.4 เป็ นธุระจัดหาเด็กหญิงเพื่อใหูสำาเร็จความใคร่ของผู้อ่ ืน
นายส่ธีหลอกลวงนางสาวสายสมรอาย่ 19 ปี เพื่อจะเอามาขายให้ซ่องโสเภณี แต่นางสาวสายสมรรู้ตัวเสียก่อนจึงหลบหนี จากซ่อ ง แล้วไปขออาศัยนางหมวยเจ้า ของ ร้า นกาแฟตรงข้ า มกั บซ่อ งโสเภณี ท่ีน างสาวสายสมรหลบหนี อ อกมา นางหมวยสงสาร นางสาวสายสมรจึงยอมให้หลบซ่อน เพื่อป้ องกันมิให้นายส่ธีตามมาพบ เช่นนี้ นางหมวยมี ความผิดตามมาตรา 283 วรรคท้ายหรือไม่ เพราะเหต่ใด การที่นายส่ธีเป็ นธ่ระจัดหาล่อไปหรือชักพานางสาวสายสมร อาย่ 19 ปี ไปโดย ใช้อ่บายหลอกลวงเพื่อ จะเอามาขายให้ซ่อ งโสเภณี อันเป็ นการกระทำา เพื่อการอนาจาร เพื่อสำาเร็จความใคร่ของผู้อ่ ืนนั้นเป็ นความผิดตามมาตรา 283 วรรคแรก แม้นางหมวยจะรับตัวนางสาวสายสมรซึ่งเป็ นหญิงที่มีผู้จัดหาล่อไป หรือชักพา ไปตามมาตรา 283 วรรคแรกก็ตาม แต่นางหมวยก็ไม่มีความผิดตามมาตรา 283 วรรค ท้าย เนื่ องจากในความผิดดังกล่าวผู้รับตัวหญิงจะต้อ งมีเจตนาพิเศษเพื่อให้สำา เร็จความ ใคร่ของผู้อ่ ืน แต่นางหมวยได้รับนางสาวสายสมรไว้ด้วยความสงสาร ไม่มีเจตนาพิเศษ เพื่อให้สำาเร็จความใคร่ของผ้อ ู ่ ืน มาตรา 283 ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ของผู้อ่ ืน เป็ นธ่ระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการ อนาจารซึ่งชายหรือหญิง โดยใช้อ่บายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำาลังประท่ษร้าย ใช้อำานาจครอบงำา ผิดคลองธรรมหรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่นใดต้องระวางโทษจำา ค่กตั้ งแต่ห้าปี ถึง ยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทำาแก่บ่คคลอาย่เกินสิบห้าปี แต่ยังไม่ เกินสิบแปดปี ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่ก ตั้งแต่เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถึงสี่หมื่นบาทหรือจำาค่กตลอดชีวิต ถ้ า การกระทำา ความผิ ด ตามวรรคแรกเป็ นการกระทำา แก่ เ ด็ ก อาย่ ไม่ เ กิ น สิ บ ห้ า ปี ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจำา ค่กตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ ของผู้อ่ ื น รับตัว บ่คคลซึ่งมีผู้ จัด หา ล่อ ไป หรือ พาไปตามวรรค แรก วรรคสองหรือวรรคสาม หรือสนับสน่นใน การกระทำาความผิดดังกล่าว ต้องระวางโทษตามที่ บัญญัติไว้ใน วรรคแรกวรรคสอง หรือวรรคสาม แล้วแต่กรณี มาตรา 283 ทวิ ผู้ใดพาบ่คคลอาย่เกินสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี ไปเพื่อการ อนาจาร แม้ผู้น้ันจะยินยอมก็ตาม ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำา ความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทำา แก่เด็ กอาย่ยั งไม่ เกิน สิบห้าปี ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ ใ ดซ่ อ นเร้ น บ่ ค คลซึ่ ง ถู ก พาไปตามวรรคแรกหรื อ วรรคสอง ต้ อ งระวาง โทษตามที่ บัญญัติในวรรคแรกหรือวรรคสอง แล้วแต่กรณี ความผิ ดตามวรรคแรกและวรรคสามเฉพาะกรณี ท่ี กระทำา แก่ บ่คคลอาย่ เกิ น สิ บห้ าปี เป็ นความผิดอันยอมความได้ 8.1.5 พาหญิงไปเพื่อการอนาจาร
นายประกอบหลอกนางสาววิสามาเพื่อการอนาจาร เมื่อพ่อแม่ของนางสาววิสา จะตามหาบ่ตรของตนนายประกอบก็วานให้นายเล็กเอานางสาววิสานั่งรถแล้วขับวนไปวน มา จนกระทั่งพ่อ แม่ข องนางสาววิสากลับไปแล้วนายเล็กจึงนำา นางสาววิ สามาส่ง คืน ให้ นายประกอบ เช่นนี้นายเล็กและนายประกอบมีความผิดอย่างไรหรือไม่ นายประกอบพานางสาววิ ส าเพื่ อการอนาจาร โดยใช้ อ่ บ ายหลอกลวง นาย ประกอบจึงมีความผิดตามมาตรา 284 วรรคแรก การที่ น ายเล็ ก พานางสาววิ ส า ซึ่ ง เป็ นหญิ ง ที่ ถู ก พาไปเพื่ อการอนาจารตาม มาตรา 284 วรรคแรกนั่งรถวนไปวนมา เพื่อไม่ให้พ่อแม่ของนางสาววิสาตามหาบ่ตรของ ตนพบ ถือได้ว่าเป็ นการซ่อนเร้นหญิงที่ถูกพาไปเที่ยวเพื่อการอนาจาร นายเล็กจึงมีความ ผิดตามมาตรา 284 วรรค 2 มาตรา 284 ผู้ใดพาผู้ อ่ ืนไปเพื่อการอนาจาร โดยใช้อ่ บายหลอกลวง ขู่เข็ ญ ใช้กำา ลัง ประท่ษร้ายใช้อำานาจครอบงำาผิดคลองธรรมหรือใช้วิธข ี ่มขืนใจด้วยประการอื่นใด ต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ผู้ใดซ่อนเร้นบ่คคลซึ่งถูกพาไปตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่น เดียวกับผู้พาไปนั้น "ความผิดตาม มาตรานี้ เป็ นความผิดอันยอมความได้" 8.1.6 ดำารงชีพจากรายไดูของหญิงซึง ่ คูาประเวณี
นายโกเฮงมีอาชีพขับแท็กซี่ ได้รับการว่าจ้า งจากนางสาวพรศรี ซึ่งมีอาชีพค้า ประเวณี ให้ มี ห น้ า ที่ ขั บ รถรั บ ส่ ง นางสาวพรศรี ไ ปหาลู ก ค้ า ตามที่ ต่ า งๆ ที่ ติ ด ต่ อ มาเพื่ อ ทำา การค้ า ประเวณี อ ยู่ เ ป็ นอาจิ ณ จึ ง ไม่ ค่ อ ยได้ มี โอกาสให้ คนอื่ นว่ า จ้ า งแท็ ก ซี่ ไ ปส่ ง ยั ง ที่ ต่างๆมากนัก เนื่ องจากนางสาวพรศรให้ค่าจ้างดี นายโกเฮงจึงหันมาขับบริการนางสาว พรศรีแต่เพียงผู้เดียว กรณีเช่นนี้ นายโกเฮงมีความผิดตามมาตรา 286 หรือไม่ นายโกเฮงไม่มีความผิดตามมาตรา 286 เพราะการรับเงินจากนางสาวพรศรี เป็ นค่าจ้างบริการขับรถรับส่งนั้ น ถือเป็ นการดำา รงชีพจากรายได้ท่ีม าจากการประกอบ อาชีพของนายโกเฮง ไม่ใช่จากรายได้จากการค้าประเวณีของนางสาวพรศรี คูาหรือทำาใหูแพร่หลายซึง ่ วัตถุหรือสิง ่ ซึง ่ ลามก นายส่ขได้ไปเที่ยวต่างประเทศขากลับได้ซ้ ือหนั งสือซึ่งมีลักษณะลามกกลับมา หลายเล่ ม เพื่อ เอาไว้ ดู เ ป็ นส่ ว นตั ว วั น หนึ่ ง นายส่ ข ได้ นำา มานั่ ง ดู ท่ี ทำา งานโดยเพื่ อนๆ ที่ ทำางานของนายส่ขร่วมดูด้วย กรณีเช่นนี้ นายส่ขมีความผิดตามมาตรา 287 หรือไม่ แม้ น ายส่ ข จะได้ นำา หนั ง สื อ ลามกเข้ า ในราชอาณาจั ก รก็ ต าม แต่ น ายส่ ข ไม่ มี ความผิดตามมาตรา 287 นี้ เนื่ องจากนายส่ขไม่ได้กระทำาเพื่อความประสงค์แห่งแห่งการ ค้า หรือโดยการค้า หรือเพื่อแจกจ่ายหรือแสดงอวดแก่ประชาชนทั่วไป ทั้งการกระทำา ดัง กล่าวก็ไม่ถอ ื ว่าเป็ นการกระทำาให้แพร่หลายซึ่งสิ่งลามกด้วยเพราะนายส่ขได้นำามาดูกันใน หม่เู พื่อนฝูงเท่านั้น นางสาวสวาทรับจ้า งเจ้า ของบาร์แห่งหนึ่ งแสดงลามกโดยเปลือ ยกายให้คนที่ เข้า มากินอาหารในบาร์ ดู ก รณี เ ช่ น นี้ นางสาวสวาทมี ค วามผิ ด ตามมาตรา 287 หรือ ไม่ อย่างไร ความผิดตามมาตรา 287 นี้ ตอ ้ งเป็ นการกระทำาเกี่ยวกับวัตถ่หรือสิ่งของลามก นางสาวสวาทไม่มีความผิดตามมาตรานี้ เพราะแม้การแสดงลามกโดยเปลือย กาย จะได้ก ระทำา เพื่ อความประสงค์ แ ห่ ง การค้ า ก็ ตาม แต่ ร่ า งกายของนางสาวสวาทก็ ไม่ใช่วัตถ่หรือสิ่งของ อย่างไรก็ตาม การกระทำาดังกล่าวของนางสาวสวาทก็เป็ นความผิด ตาม ปอ.มาตรา 388 8.1.7
มาตรา 287 ผ้ใู ด (1) เพื่อความประสงค์แห่งการค้า หรือโดยการค้า เพื่อการแจกจ่าย หรือเพื่อการแสดง อวดแก่ประชาชน ทำา ผลิต มีไว้ นำาเข้าหรือยังให้นำาเข้า ในราชอาณาจักร ส่งออกหรือยังให้ส่งออก ไปนอกราชอาณาจั กร พาไปหรื อ ยั งให้ พาไปหรื อ ทำา ให้ แ พร่ ห ลายโดยประการใด ๆ ซึ่ งเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถ่าย ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพหรือสิ่งอื่นใดอันลามก (2) ประกอบการค้า หรือมีส่วนหรือเข้าเกี่ยวข้องกับการค้าเกี่ยวกับวัตถ่ หรือสิ่งของ ลามกดังกล่าวแล้ว จ่ายแจกหรือแสดงอวดแก่ประชาชน หรือให้เช่นวัตถ่หรือสิ่งของเช่นว่านั้น (3) เพื่อจะช่วยการทำา ให้แ พร่ หลาย หรือการค้า วัต ถ่ หรื อสิ่ งของลามก ดัง กล่ า วแล้ ว โฆษณาหรื อไขข่ าวโดยประการใด ๆ ว่ามี บ่คคลกระทำา การ อัน เป็ นความผิ ด ตาม มาตรานี้ หรื อ โฆษณาหรือไขข่าวว่าวัตถ่ หรือสิ่งของ ลามกดังกล่าวแล้วจะหาได้จากบ่คคลใด หรือโดยวิธีใด ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา 388 ผู้ใ ดกระทำา การอั นควรขายหน้าต่อ หน้าธารกำา นั ล โดยเปลื อ ยหรื อ เปิ ด เผยร่างกาย หรือกระทำาการลามกอย่างอื่น ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท 8.2 ความผิดฐานทำาใหูแทูงล้ก
1. การทำา ให้แท้งลูก หมายถึง การทำา ลายทารกในระหว่างเริ่ม ปฏิสนธิใ นครรภ์ มารดาไปจนคลอดแล้วแต่ก่อนที่ทารกนั้นจะมีสภาพบ่คคล การทำาให้แท้งลูกเป็ นความผิด แม้ว่าหญิงทำาให้ตนเองแท้งลูก หรือยอมให้คนอื่นทำาตนเองให้แท้งลูก 2. ผู้อ่ ืนที่ทำาให้หญิงแท้งลูกย่อมมีความผิด ไม่ว่าหญิงนั้นยินยอมหรือไม่ และต้อง รับโทษหนักขึ้นถ้าเป็ นเหต่ให้หญิงนั้นรับอันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย 3. การพยายามทำาให้แท้งลูกที่ผู้กระทำาอาจไม่ต้องรับโทษ มีได้เฉพาะกรณีท่ีหญิง มีครรภ์เป็ นผู้ทำาหรือยินยอมให้ทำาเท่านั้น 4. การทำา แท้งโดยชอบด้วยกฎหมายย่อมทำา ได้ในกรณี ท่ีหญิงยินยอมและแพทย์ กระทำา เนื่ องจากส่ข ภาพของหญิงนั้ นหรือ หญิงนั้ นมีครรภ์เนื่ องจากการกระทำา ความผิ ด อาญา 8.2.1 ความผิดฐานทำาใหูตนเองแทูงล้ก
นางฮาร์ดสำาคัญผิดว่าตนเองมีครรภ์ จึงใช้ให้นายแดงสามีไปซื้อยามากินเพื่อให้ แท้งลูก และนางฮาร์ ดได้กิ นยานั้ น นางฮาร์ ดและนายแดงมีค วามผิ ดฐานทำา ให้ แท้ งลู ก หรือไม่ การทำาผิดฐานทำาให้แท้งลูกนั้น ต้องเป็ นกรณีท่ีหญิงมีครรภ์ เมื่อนางฮาร์ดไม่ได้ ตั้งครรภ์ การกระทำา ของนางฮาร์ดและนายแดงจึงขาดองค์ประกอบความผิด นางฮาร์ด และนายแดงจึงไม่มีความผิดทำา ให้ตนเองแท้งลูก หรือสนับสน่นให้หญิงทำา ให้ตนเองแท้ง ล่กตามมาตรา 301 แล้วแต่กรณี มาตรา 301 หญิงใดทำา ให้ตนเองแท้งลูก หรือยอมให้ผู้อ่ ืนทำา ให้ตนแท้งลูก ต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำา ทั้งปรับ 8.2.2 ความผิดฐานทำาใหูหญิงแทูงล้ก
นางสาวแดงต้องการทำาให้ตนเองแท้งลูก จึงจ้างให้นายดำาเตะท้องของตน นาย ดำา เตะท้องนางสาวแดงไปสองที นางสาวแดงจึงแท้งลูก นายดำา และนางสาวแดงมีความ ผิดฐานใดหรือไม่ นายดำา เตะท้องนางสาวแดงเป็ นเหต่ให้นางสาวแดงแท้งลูก นายดำา จึงมีความ ผิดฐานทำาให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอมตามมาตรา 302 วรรคแรก นางสาวแดงจ้างให้นายดำา เตะท้องของตนเป็ นเหต่ให้ตนแท้ง นางสาวแดงจึงมี ความผิดฐานยอมให้ผู้อ่ ืนทำา ให้ตนแท้งลูกตามมาตรา 301 แต่ไม่มีความผิดฐานเป็ นผู้ใช้ ให้ผู้ อ่ ืน ทำา ให้ห ญิ ง แท้ ง ลู ก โดยหญิ ง นั้ น ยิ น ยอมตามมาตรา 302 วรรคแรกประกอบกั บ มาตรา 84 เพราะมาตรา 301 ได้บัญญัติความผิดของหญิงที่ยินยอมให้ผอ ู้ ่ ืนทำาให้ตนแท้ง ลูกไว้ในมาตรา 301 โดยเฉพาะแล้ว นายดำาหมอเถื่อนเอาเครื่องมือสอดเข้าไปในมดลูกของนางแดงหญิงมีครรภ์แล้ว ทำา ให้นางแดงแท้งลูกโดยหลอกว่าเป็ นการตรวจมดลูกตามปกติ หลังจากนั้น 2 วัน นาง แดงซึ่งมีร่า งกายอ่อ นแอเพราะแท้งลูก ได้เ ดิน ไปสะด่ด ห้อ งนำ้ าหกล้ ม ศีร ษะฟาดพื้ นตาย นายดำามีความผิดฐานใดหรือไม่ นายดำา หลอกทำา แท้งนางแดง นายดำา จึงมีความผิดฐานทำา ให้หญิงแท้งลูกโดย หญิ ง นั้ น ไม่ ยิ น ยอมตามมาตรา 303 วรรคแรก แต่ น ายดำา ไม่ ต้ อ งรั บ โทษหนั ก ขึ้ น ตาม มาตรา 303 วรรคท้าย เนื่ องจากนางแดงถึงแก่ความตายเพราะสะด่ดห้องน้าศีรษะฟาด พื้นตาย ไม่ใช่ผลธรรมดาอันเกิดจากการทำาแท้งของนายดำา มาตรา 302 ผู้ใดทำา ให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้ นยินยอม ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าการกระทำา นั้ น เป็ นเหต่ใ ห้ห ญิงรับอัน ตรายสาหั สอย่างอื่ นด้ วย ผู้ กระทำา ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำานั้นเป็ นเหต่ให้หญิงถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกิน สิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 303 ผู้ ใ ดทำา ให้ ห ญิ งแท้ งลู กโดยหญิ งนั้ น ไม่ ยิ น ยอม ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ไม่ เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าการกระทำา นั้ น เป็ นเหต่ใ ห้ห ญิงรับอัน ตรายสาหั สอย่างอื่ นด้ วย ผู้ กระทำา ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท
ถ้าการกระทำานั้นเป็ นเหต่ให้หญิงถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำา ค่กตั้ งแต่ ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาท ถึงสี่หมื่นบาท 8.2.3 การทำาแทูงทีไ ่ ม่ตูองรับโทษ
นางสาวเขียวลักลอบได้เสียกับนายขาวจนมีครรภ์ขึ้น นางสาวเขียวจึงขอให้นาย ขาวช่วยทำาแท้งให้ นายขาวจึงไปหายาทำา แท้งมาฉีดให้นางสาวเขียว นางสาวเขียวคลอด ทารกออกมาก่อนกำา หนด ทารกอยู่ได้เพียง 1 นาทีก็ตาย นางสาวเขียวและนายขาวจะมี ความผิด และต้องรับโทษหรือไม่ การที่นายขาวฉี ดยาทำา แท้งให้นางสาวเขียวตามคำา ของร้องของนางสาวเขียว นายขาวย่ อ มมีค วามผิ ดฐานทำา ให้ หญิง แท้ งลู กโดยหญิง ยิ นยอมตามมาตรา 302 วรรค แรก ส่วนนางสาวเขียวผิดฐานยอมให้ผู้อ่ ืนทำาให้ตนแท้งลูกตามมาตรา 301 แต่การทำาให้ แท้งลูกต้องเป็ นการทำาลายชีวิตของทารกในครรภ์มารดาตั้งแต่เริ่มปฎิสนธิไปจนถึงคลอด ออกมาแล้วตั้งแต่ก่อนมีชีวิตอยู่รอดเป็ นทารก ตามปั ญหานี้ นายขาวกับนางเขียวได้กระทำา ผิดไปตลอดแล้ว แต่ไม่บรรล่ผลคือทารกไม่ตายแต่มีชีวิตรอดอยู่ 1 นาที จึงเป็ นความผิด ฐานพยายามกระทำา ความผิ ด ตามมาตรา 302 วรรคแรก และมาตรา 301 ตามลำา ดั บ นายขาวและนางสาวเขียวจึงไม่ต้องรับโทษตามมาตรา 304 มาตรา 304 ผู้ ใ ดเพี ย งแต่ พ ยายามกระทำา ความผิ ด ตาม มาตรา 301 หรื อ มาตรา 302 วรรคแรก ผู้น้ันไม่ต้องรับโทษ 8.2.4 การทำาแทูงโดยชอบดูวยกฎหมาย
การทำาแท้งโดยชอบด้วยกฎหมาย เข้าใจว่าอย่างไร การทำาแท้งโดยชอบด้วยกฎหมายหมายถึง กรณีท่ีนายแพทย์ทำาให้หญิงแท้งลูก โดยหญิงยินยอมและเป็ นกรณีจำาเป็ นต้องกระทำาเนื่ องจากส่ขภาพของหญิงนั้น หรือหญิงมี ครรภ์เนื่องจากการกระทำาผิดอาญาตามมาตรา 276,277,282, หรือมาตรา 284 นางสาวแดงลักลอบได้เสียกับแฟนจนตั้งครรภ์จึงได้ขอให้ดำา ซึ่งเป็ นนายแพทย์ ทำาแท้งให้ ดำาสงสารเพราะเห็นว่านางสาวแดงยากจนจึงทำาแท้งให้ ดำามีความผิดหรือไม่ แม้ดำาจะเป็ นนายแพทย์และทำาแท้งให้ โดยนางสาวแดงยินยอมก็ตาม ดำา ก็ยังมี ความผิดตามมาตรา 302 เนื่ องจากไม่เป็ นกรณีท่ีจำาต้องทำาเนื่ องจากส่ขภาพของนางสาว แดงหรือนางสาวแดงมีครรภ์เนื่ องจากการกระทำาผิดอาญา กรณีไม่เข้าตามมาตรา 305 มาตรา 305 ถ้าการกระทำา ความผิดดังกล่าวใน มาตรา 301 และ มาตรา 302 นั้น เป็ นการกระทำาของนายแพทย์และ (1) จำาเป็ นต้องกระทำาเนื่ องจากส่ขภาพของหญิงนั้น หรือ (2) หญิงมีครรภ์เนื่ องจากการกระทำา ความผิดอาญา ตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 282 มาตรา 283 หรือ มาตรา 284 ผู้กระทำาไม่มีความผิด 8.3 ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนป่ วยเจ็บ หรือคนชรา
1. การทอดทิ้งเด็กอาย่ไม่เกินเก้าปี เพื่อให้พ้นไปเสียจากตน โดยประการที่ทำา ให้ เด็กนั้นปราศจากผู้ดูแล จะต้องมีลักษณะเป็ นการทอดทิ้งโดยเด็ดขาด 2. การทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ เพราะอาย่ ความป่ วยเจ็ บ กายพิก ารหรือ จิ ต พิการ ต้องเป็ นการละเลยต่อหน้าที่ดูแลที่มีอยู่ตามกฎหมายหรือสัญญา ในลักษณะที่น่าจะ เป็ นเหต่ให้ผู้น้ันถึงตายได้ 3. การทอดทิ้งเด็กหรือผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ ถ้าเป็ นเหต่ให้บ่คคลดังกล่าวตายหรือ รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษหนักขึ้น 8.3.1 ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก
เด็กหญิงจันทราอาย่ 8 ปี เป็ นเด็กที่นายอาทิตย์ขอมาเลี้ยงอย่างลูก ได้ทำา ถ้วย ชามแตก จึงถูกนายอาทิตย์ด่า เด็กหญิงจันทราน้อยใจเลยหนีออกจากบ้านไป นายอาทิตย์ ตามหาไม่พบ จึงไปแจ้งความไว้ท่ีสถานี ตำารวจ ดังนี้ นายอาทิตย์มีความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก ตามมาตรา 306 หรือไม่ นายอาทิ ต ย์ ไ ม่ มี ค วามผิ ด ฐานทอดทิ้ ง เด็ ก ตามมาตรา 306 เพราะเด็ ก หญิ ง จั น ทราหนี อ ออกจากบ้ า นไปเองนายอาทิ ต ย์ ไ ม่ ไ ด้ ก ระทำา การอั น เป็ นการทอดทิ้ ง หรื อ มี เจตนาทอดทิ้งเด็กหญิงจันทราแต่ประการใด มาตรา 306 ผู้ใ ดทอดทิ้ งเด็กอาย่ยั งไม่ เกิ นเก้ าปี ไว้ ณ ที่ ใ ดเพื่ อให้ เด็ ก นั้ น พ้ น ไปเสี ย จากตน โดยประการที่ทำาให้เด็กนั้นปราศจากผู้ดูแล ต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่ เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
8.3.2 ความผิดฐานทอดทิ้งผูซ ้ ึง ่ พึง ่ ตนเองมิไดู
จงเปรียบเทียบความผิดฐานทอดทิ้งเด็กตามมาตรา 306 กับความผิดฐานทอด ทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ตามมาตรา 307 ความผิดทั้งสองมาตรา นั้นแม้จะเป็ นเรื่องการทอดทิ้งบ่คคลก็ตาม แต่มาตรา 306 ก็ต่างจากมาตรา 307 ดังนี้ (1) มาตรา 306 เป็ นการทอดทิ้งเด็ดขาดไม่ใช่ช่ัวคราว ส่วนมาตรา 307 เพียง แต่ละเลยต่อหน้าที่ช่ัวคราวก็เป็ นความผิดได้ (2) มาตรา 306 นั้นต้องเป็ นการทอดทิ้งเด็กไว้ ณ ที่ใดเพื่อให้พ้นไปเสียจากตน กล่าวคือ ต้องเป็ นการทอดทิ้งเด็กไว้ห่างจากผู้ทอดทิ้งโดยมีระยะทางพอควรที่จะทำาให้เด็ก พ้นไปเสียจากตน ในขณะที่ม าตรา 307 นั้นแม้ผู้ทอดทิ้งจะอยู่ใ นสถานที่ท่ีเดียวกันกับผู้ ทอดทิ้ง แต่ผู้ทอดทิ้งก็ละเลยต่อหน้าที่ดูแลก็อาจผิดได้ (3) มาตรา 306 เฉพาะผู้มีหน้าที่ดูแลเด็กโดยข้อเท็จจริง จะผิดทอดทิ้งก็ต่อเมื่อ ได้กระทำา การทอดทิ้ง ซึ่งกระทำา ไม่รวมถึงการงดเว้นตามมาตรา 59 วรรคท้าย เพราะ ไม่มีหน้าที่จัดต้องกระทำาเพื่อป้ องกันผลแต่ตามมาตรา 307 ผ้ท ู อดทิ้งมีความผิดแม้กระทำา โดยงดเว้ น เนื่ องจากผู้ ท อดทิ้ ง มี ห น้ า ที่ ต ามกฎหมายหรื อ สั ญ ญาที่ จั ก ต้ อ งกระทำา เพื่ อ ป้ องกันผลนั้นด้วย (4) มาตรา 306 ค้ม ่ ครองเด็กอาย่ไม่เกินเก้าปี ส่วนมาตรา 307 มีความหมายก ว้ า งกว่ า โดยค้่ม ครองค้่ ม ครองทั้ง เด็ กซึ่ ง พึ่ ง ตนเองมิ ไ ด้ และบ่ ค คลอื่ นๆ ที่ พึ่ ง ตนเองมิ ไ ด้ เพราะอาย่ ความเจ็บป่ วย กายพิการ หรือจิตพิการด้วย (5) มาตรา 306 เป็ นการทอดทิ้งเพื่อให้เด็กพ้นไปเสียจากตนโดยปราศจากผู้ ดูแล โดยไม่จำาเป็ นต้องมีลักษณะน่ าก็ต่อเมื่อ เป็ นการทอดทิ้งโดยประการที่น่าจะเป็ นเหต่ ให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของผู้ถูกทอดทิ้งเท่านั้น นางแดงโมโหนายดำา สามี ท่ีมี ภริ ยาน้อ ยและไม่ ยอมกลั บบ้ า น จึ งได้ข นเสื้อผ้ า ของนายดำา และนำาทารกของนายดำาและนางแดงซึ่งมีอาย่เพียง 1 ขวบ ใส่ตะกร้าไปวางไว้ หน้าบ้านภรรยาน้อยแล้วโทรศัพท์บอกนายดำา ที่อยู่บ้านภรรยาน้อยนั้นว่า ได้นำา ทารกมา ทิ้งไว้หน้าบ้านนั้นแล้ว นางแดงมีความผิดฐานทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ตามมาตรา 307 หรือไม่ การที่นางแดงนำาทารกมาวางไว้หน้าบ้านที่นายดำาอยู่แล้วโทรศัพท์บอกนายดำา นางแดงยังไม่ผิด ตามมาตรา 307 เพราะแม้นางแดงจะมีหน้าที่ตามกฎหมายที่ต้องดูแลทารกซึ่งพึ่งตนเอง ไม่ได้ก็ตาม แต่ตามพฤติการณ์ดังกล่าว ยังไม่ถือได้ว่านางแดงทอดทิ้งทารกโดยประการที่ น่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของทารก มาตรา 307 ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญาต้องดูแลผู้ซึ่ง พึ่งตนตนเองมิได้ เพราะอาย่ ความป่ วยเจ็บ กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้น้ันเสียโดยประการที่ น่ าจะเป็ นเหต่ให้เกิด อันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิน สามปี หรือ ปรั บไม่เกิ น หกพัน บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 8.3.3 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
การทอดทิ้งเด็กตามมาตรา 306 กับการทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ตามมาตรา 307 ในกรณี ใ ดบ้ า งที่เ ป็ นเหต่ใ ห้ผู้ กระทำา ต้อ งรับ โทษหนั ก ขึ้ น และผู้ ก ระทำา ต้ อ งรั บ โทษ อย่างไร การทอดทิ้งเด็กตามมาตรา 306 กับการทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ตามมาตรา 307 ที่เป็ นเหต่ให้รับโทษหนักขึน ้ มีได้ใน 32 กรณี คือ (1) เป็ นเหต่ให้ผู้ทอดทิ้งถึงแก่ความตาย ซึ่งผู้กระทำา ต้องรับโทษดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา 290 (2) เป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ ถู ก ทอดทิ้ ง รั บ อั น ตรายสาหั ส ซึ่ ง ผู้ ก ระทำา ต้ อ งรั บ โทษดั ง ที่ บัญญัติไว้ในมาตรา 297 หรือมาตรา 298 แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 8
1. การกระทำาให้แท้งลูกที่เป็ นความผิดแต่ผู้กระทำา ไม่ต้องรับโทษ กรณี ผู้อ่ ืนพยายามทำา ให้ หญิงมีครรภ์แท้งลูกโดยหญิงยินยอม 2. การทำาแท้งของแพทย์ในกรณีท่ีไม่เป็ นความผิดอาญา ได้แก่หญิงที่ถูกข่มขืนกระทำาชำาเรา ขอให้ทำาแท้งให้
3. การเป็ นธ่ระจัดหา ล่อไป หรือชักพาไปเพื่อการอนาจารซึ่งหญิงหรือเด็กหญิง เพื่อให้สำาเร็จ ความใคร่ของผู้อ่ ืน โดยหญิงหรือเด็กนั้ นยินยอมจะเป็ นความผิด เฉพาะเมื่อได้ กระทำา ต่อบ่ คคลทั้ ง เด็กหญิงหรือหญิงไม่จำากัดอาย่ 4. การกระทำาแท้งลูกที่เป็ นความผิดแต่ผู้กระทำาไม่ต้องรับโทษได้แก่ ผู้อ่ ืนพยายามทำาให้หญิง มีครรภ์แท้งลูกโดยหญิงยินยอม 5. นางสาวรักแรกลักลอบได้เสียกับคนรักจนตั้งครรภ์จึงได้จ้างนางเมตตาให้ช่วยทำา แท้งให้ นางเมตตาจึ ง ทำา แท้ ง ให้ น างสาวรั ก แรก นางสาวรั ก แรกจะมี ค วามผิ ด ฐานทำา แท้ ง ลู ก หรื อ ไม่ อย่างไร คำาตอบ คือผิดฐานยอมให้ผู้อ่ ืนทำาให้ตนแท้งลูก 6. การทอดทิ้งเด็กอาย่ไม่เกินเก้าปี ไว้ ณ ที่ใดๆ เพื่อให้เด็กพ้นไปเสียจากตน จะเป็ นความผิด กรณีได้กระทำาในลักษณะที่ทำาให้เด็กนั้นปราศจากผู้ดูแล 7. การกระทำาในกรณีท่ีผู้กระทำาไม่มีความผิดเกี่ยวกับวัตถ่หรือสิ่งของลามกตามปอ.มาตรา 287 คือ ซื้อหนังสือลามกจากต่างประเทศมาฝากเพื่อน มาตรา 287 ผ้ใู ด (1) เพื่อความประสงค์แห่งการค้า หรือโดยการค้า เพื่อการแจกจ่าย หรือเพื่อการแสดง อวดแก่ประชาชน ทำา ผลิต มีไว้ นำาเข้าหรือยังให้นำาเข้า ในราชอาณาจักร ส่งออกหรือยังให้ส่งออก ไปนอกราชอาณาจั กร พาไปหรื อ ยั งให้ พาไปหรื อ ทำา ให้ แ พร่ ห ลายโดยประการใด ๆ ซึ่ งเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถ่าย ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพหรือสิ่งอื่นใดอันลามก (2) ประกอบการค้า หรือมีส่วนหรือเข้าเกี่ยวข้องกับการค้าเกี่ยวกั บวัตถ่ หรือสิ่งของ ลามกดังกล่าวแล้ว จ่ายแจกหรือแสดงอวดแก่ประชาชน หรือให้เช่นวัตถ่หรือสิ่งของเช่นว่านั้น (3) เพื่ อจะช่ ว ยการทำา ให้ แ พร่ ห ลาย หรื อ การค้ า วั ต ถ่ ห รื อ สิ่ ง ของลามก ดั ง กล่ า วแล้ ว โฆษณาหรื อไขข่ าวโดยประการใด ๆ ว่ามี บ่คคลกระทำา การ อัน เป็ นความผิ ด ตาม มาตรานี้ หรื อ โฆษณาหรือไขข่าวว่าวัตถ่ หรือสิ่งของ ลามกดังกล่าวแล้วจะหาได้จากบ่คคลใด หรือโดยวิธีใด ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 8. ดำา ได้ ว่ า จ้ า งนางแดงอาย่ 21 ปี มาทำา งานในสถานเริ ง รมย์ ข องตนโดยให้ มี ห น้ า ที่ ร่ ว ม ประเวณีกับลูกค้าต่างประเทศที่มาเที่ยวสถานเริงรมย์น้ัน ดำามีความผิดฐานเป็ นธ่ระจัดหาหญิงเพื่อ ให้สำาเร็จความใคร่ของผู้อ่ ืนตาม ปอ.มาตรา 282 หรือไม่ คำาตอบ ผิด แม้นางแดงจะยินยอมก็ตาม มาตรา 282 ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ของผู้อ่ ืน เป็ นธ่ระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการ อนาจารซึ่งชายหรือหญิง แม้ ผู้น้ั นจะยิ นยอมก็ ตาม ต้ องระวางโทษจำา ค่ กตั้ งแต่ หนึ่ งปี ถึ งสิ บปี และ ปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทำาแก่บ่คคล อาย่เกินสิบห้าปี แต่ยังไม่ เกิน สิบแปดปี ผู้กระทำา ต้อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้ งแต่ ส ามปี ถึ งสิ บห้ าปี และปรั บตั้ งแต่ ห กพั น บาทถึ ง สามหมื่นบาท ถ้ า การกระทำา ความผิ ด ตามวรรคแรกเป็ นการกระทำา แก่ บ่ ค คล อาย่ ไ ม่ เ กิ น สิ บ ห้ า ปี ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ของผ้อ ู ่ ืน รับตัวบ่คคลซึ่งมีผู้จัดหา ล่อไป หรือพาไปตามวรรคแรก วรรคสองหรื อ วรรคสาม หรื อ สนั บ สน่ น ใน การกระทำา ความผิ ด ดั ง กล่ า ว ต้ อ งระวางโทษตามที่ บัญญัติไว้ใน วรรคแรกวรรคสอง หรือวรรคสาม แล้วแต่กรณี 9. การที่ผู้มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องดูแลผู้ซึ่งพึ่งตนเองไม่ได้ ทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองไม่ได้น้ัน จะเป็ นความผิดในกรณีใด คำาตอบ ได้กระทำาในลักษณะที่น่าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของ ผู้ถูกทอดทิ้ง 10. ดำาได้ขู่บังคับให้เด็กชายแดงอาย่ 15 ปี สำาเร็จความใคร่ให้แก่ตน ดำามีความผิดฐานใด คำา ตอบ กระทำาอนาจารเด็กอาย่ไม่เกินสิบห้าปี 11. การกระทำา ที่ผู้ ก ระทำา มี ความผิด เกี่ ยวกั บวั ต ถ่สิ่ ง ลามก ตาม ปอ. มาตรา 287 คือ แจก รูปภาพลามกเพื่อจูงใจให้ลูกค้าซื้อสินค้า 12. การกระทำา ที่ผู้ข่มขืนกระทำา ชำา เราหญิงแล้วต้องรับโทษหนักขึ้นกรณี ได้กระทำา ชำา เราต่อ หลานซึ่งอย่ใู นความปกครองของตนเองตามกฎหมาย 13. นางสาวแดงได้ลักลอบได้เสียกับดำาจนตั้งครรภ์จึงขอให้ดำาช่วยให้ตนเองแท้งลูก ดำา จึงนำา ยามาให้นางสาวแดงรับประทาน นางสาวแดงได้คลอดทารกออกมาก่อนกำาหนด ทารกอยู่ได้ 7 วัน จึงถึงแก่ความตาย ดำามีความผิดและต้องรับโทษฐานทำาให้หญิงแท้งลูกหรือไม่ คำาตอบ ผิด แต่ไม่ ต้องรับโทษเพราะนางสาวแดงไม่แท้งลูก 14. นางแดงซึ่งตั้งครรภ์ได้ล่ ืนล้มตกบันไดสลบไปจึงถูกส่งตัวไปโรงพยาบาล นายแพทย์ขาว เห็นว่านางแดงเลือกออกมาก ถ้าไม่ทำาแท้งอาจเป็ นเหต่ให้นางแดงถึงแก่ความตาย จึงได้ทำาแท้งให้ นางแดงในขณะที่นางแดงสลบอยู่ ขาวจะมีความผิดและต้องรับโทษฐานทำาให้หญิงแท้งลูกหรือไม่ คำาตอบ ผิด แต่ไม่ต้องรับโทษเพราะเป็ นการกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น 15. หญิงมีครรภ์ใช้ให้ผู้อ่ ืนทำา ให้ตนแท้งลูก ถ้าหญิงนั้ นแท้งลูก ผู้อ่ ืนนั้ นจะมีความผิดหรือไม่ อย่างไร คำาตอบ มีความผิด ฐานทำาให้หญิงนั้นแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอม
16. นางดำาคลอดบ่ตรแล้วทิ้งบ่ตรอาย่ 1 เดือนนั้นไว้กับสามี แล้วหนี ตามชู้ไป นางดำา มีความ ผิดหรือไม่ อย่างไร คำาตอบ ไม่ผิดกฎหมายอาญาฐานใด 17. ทอดทิ้งผู้ท่ีพึ่งตนเองไม่ได้โดยประการที่น่าจะเป็ นเหต่ให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต คือ ทอดทิ้ง ในลักษณะที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่ชีวิตผู้น้ันแต่ไม่แน่ ว่าจะต้องตาย
หน่วยที่ 9 ความผิดเกีย ่ วกับเสรีภาพ 1. มน่ษย์ท่กคนย่อมต้องการเสรีภาพ ไม่ว่าจะเป็ นเสรีภาพในการที่จะกระทำา หรือไม่ กระทำาการใดหรือเสรีภาพในการเคลื่อนไหวในร่างกาย ตลอดจนเสรีภาพ ในการเลือกที่ อยู่ โ ดยไม่ ถู ก จำา กั ด รวมทั้ ง เสรี ภ าพในการที่ จ ะไม่ ต้ อ งตกเป็ นทาสใคร ซึ่ ง เสรี ภ าพของ บ่คคลนั้นถือว่าเป็ นสิทธิมน่ษยชนอย่างหนึ่ งที่กำา หนดศักดิศ ์ รีแห่งความเป็ นมน่ษย์ รัฐจึง ต้องบัญญัติกฎหมายขึ้นเพื่อค้่มครองเสรีภาพของบ่คคล 2. เนื่ องจากเด็กหรือผู้เ ยาว์เ ป็ นผู้ท่ียังไม่บรรล่นิ ติภาวะ จึงต้อ งอยู่ใ นความดูแลของ บิดามารดาผู้ปก ครองซึ่งจะเป็ นผู้กำา หนดที่อ ยู่ข องบ่ตรหรือ ผู้อ ยู่ใ ต้อำา นาจปกครองด้วย การเอาเด็ ก หรื อ ผู้ เ ยาว์ ไ ปจากบิ ด า มารดา ผู้ ป กครอง หรื อ ผู้ ดู แ ลย่ อ มเป็ นการละเมิ ด อำา นาจปกครองของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง ยิ่งเอาไปโดยท่จริตหรือเพื่อ หากำา ไรหรือ เพื่อการอนาจารก็ย่อมเป็ นภัยต่อเด็กและผู้เยาว์น้ันๆ ด้วยจึงต้องมีความผิดและถูกลงโทษ 3. การเลื อ กถิ่ น ที่ อ ยู่ ข องบ่ ค คลในราชอาณาจั ก รย่ อ มได้ รั บ ความค้่ ม ครองโดย กฎหมาย การเนรเทศบ่คคลไปนอกราชอาณาจักรต้องกระทำาตามที่กฎหมายให้อำานาจไว้ เท่านั้น การพาหรือส่งคนออกไปนอกราชอาณาจักรต้องกระทำา ตามที่กฎหมายให้อำานาจ ไว้เท่านั้น การพาหรือส่งคนออกไปนอกราชอาณาจักรโดยวิธีการที่มิชอบจึงต้อ งมีความ ผิดและถูกลงโทษเช่นเดียวกัน 9.1 ความผิดต่อเสรีภาพ
1. การบังคับใจผู้อ่ ืนให้กระทำา การใด ไม่กระทำา การใดหรือให้ยอมรับการกระทำา ใดหรือไม่กระทำาการใด ไม่ว่าจะบังคับโดยทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายแก่ผู้ถูกบังคับหรือผู้ อื่นก็ดี หรือบังคับโดยใช้กำาลังประท่ษร้ายก็ดีจะเป็ นความผิดสำาเร็จเมื่อผู้ถูกบังคับยอมตาม ที่ถูกบังคับนั้น 2. การทำาให้บ่คคลไม่สามารถจากไปที่แห่งใดได้ตามชอบใจก็ดี หรือบังคับบ่คคล ให้ อ ยู่ ใ นสถานที่ จำา กั ด ก็ ดี ห รื อ กระทำา การใดๆ ไม่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นเคลื่ อนไหวร่ า งกายได้ ก็ ดี ถื อ เป็ นการจำากัดเสรีภาพอันเป็ นความผิดทั้งสิ้น 3. แม้การจำา กัดเสรีภาพในการเคลื่อนไหวเปลี่ย นที่ ทางของบ่ค คล ผู้ก ระทำา จะ กระทำาโดยไม่เจตนาแต่กระทำาโดยประมาท กฎหมายก็ถือเป็ นความผิดเช่นกัน 4. ความผิ ดต่ อ เสรีภ าพบางมาตรา กฎหมายก็ กำา หนดว่ า เป็ นความผิ ด อั น ยอม ความได้ คือความผิดฐานข่มขืนใจผู้อ่ ืนให้กระทำา การใดๆ ไม่กระทำา หรือ จำา ยอมต่อ สิ่งใด ความผิ ด ฐานหน่ ว งเหนี่ ย วหรือ กั ก ขั ง ผู้อ่ ื นหรื อ กระทำา ด้ ว ยประการใดให้ผู้ อ่ ื นปราศจาก เสรีภาพในร่างกาย และความผิดฐานประมาทเป็ นเหต่ใ ห้ผู้อ่ ืนถูกหน่ วงเหนี่ ยวถูกกักขัง หรือปราศจากเสรีภาพในร่างกาย 5. การกระทำาด้วยประการใดๆต่อบ่คคลหนึ่ งบ่คคลใด เพื่อจะเอาลงเป็ นทาสหรือ ให้มีฐานะคล้ายทาสก็เป็ นความผิดทั้งสิ้น 6. การเอาตัวบ่คคลไปเพื่อเรียกค่าไถ่น้ันกฎหมายถือเป็ นความผิด ไม่ว่าผู้ถูกเอา ไปจะเป็ นเด็กหรือผ้ใู หญ่ก็ตาม แม้จะเป็ นการหน่ วงเหนี่ ยวกักขังเพื่อให้ได้ค่าไถ่ก็เป็ นความ ผิดเช่นกัน 9.1.1 ข่มขืนใจใหูกระทำาการ ไม่กระทำาการ หรือจำายอมต่อสิง ่ ใด
โตถือมีดมาขู่ว่าจะเผากระตุอบของใหญ่แล้วเดินไปเดินมาอย่างหนึ่ ง กับพูดว่า ให้ใหญ่ฉีกสัญ ญากู้ทิ้งเสียอีกอย่า งหนึ่ ง ดังนี้ การกระทำา ทั้งสองกรณี ของโต ผิดตาม ปอ. มาตรา 309 หรือไม่ การที่โตถือมีดมาขู่ว่าจะเผากระตุอบ เป็ นการข่มขืนใจใหญ่โดยทำา ให้กลัวว่าจะ เกิดอันตรายต่อ ทรัพย์สินของใหญ่ กรณี แรกโตเพียงแต่ เดิ นไปเดิน มา ไม่ไ ด้ข่ม ขื นใจให้ ใหญ่ ก ระทำา การใด ไม่ ก ระทำา การใดหรื อ จำา ยอมต่ อ สิ่ ง ใด โตจึ ง ไม่ มี ค วามผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 309 ส่วนกรณีหลัง โตประสงค์ให้ใหญ่ฉีกสัญญากู้ ซึ่งเป็ นการทำาลายเอกสาร สิทธิอย่างหนึ่ ง โตจึงมีความผิดตาม ปอ.มาตรา 309 วรรค 2
มาตรา 309 ผู้ใดข่มขืนใจผู้อ่ ืนให้กระทำาการใด ไม่กระทำาการใดหรือ จำายอมต่อสิ่งใด โดยทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกข่มขืนใจ นั้ นเองหรื อของผู้อ่ ืน หรือโดยใช้ กำา ลั งประท่ษร้ ายจนผู้ถูกข่ม ขืนใจต้ องกระทำา การนั้ น ไม่กระทำา การนั้น หรือจำายอมต่อสิ่งนั้น ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกพันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าความผิดตามวรรคแรกได้กระทำา โดยมีอาว่ธ หรือโดยร่วมกระทำา ความผิดด้วยกัน ตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป หรือได้กระทำา เพื่อให้ผู้ถูกข่มขืนใจทำา ถอน ทำา ให้เสียหาย หรือทำา ลายเอกสาร สิทธิอย่างใดผู้กระทำาต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้ง ปรับ ถ้ากระทำาโดยอ้างอำา นาจอั้งยี่หรือซ่องโจร ไม่ว่าอั้งยี่หรือซ่องโจรนั้ นจะ มีอยู่หรือไม่ ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี และปรับ ตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท
ร่างกาย
9.1.2 หน่ วงเหนี่ ย วหรื อ กั ก ขั ง หรื อ กระทำา ใหู ป ราศจากเสรี ภ าพใน
จงเปรียบเทียบความผิดมาตรา 309 กับมาตรา 310 ความผิดตามมาตรา 309 เปรียบเทียบกับมาตรา 310 ได้ดังนี้ (1) มาตรา 309 ต้อ งข่มขืนใจโดยวิธีทำา ให้กลัวว่า จะเกิ ดอั นตราย หรือ โดยใช้ กำาลังประท่ษร้าย เช่น ทำาร้ายร่างกายจึงยอมร้องเพลงให้ฟัง เป็ นต้น ส่วนมาตรา 310 ไม่ จำากัดวิธีการว่าต้องทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายหรือใช้กำาลังประท่ษร้าย แต่อาจใช้วิธีการ อื่นซึ่งมีผลให้ถูกหน่ วงเหนี่ ยวกักขัง หรือต้องปราศจากเสรีภาพในร่างการก็ได้ เช่น หลอก ว่าประตูรถเสียออกไม่ได้ทำาให้ผู้ถูกขังหลงเชื่อ ต้องอยู่บนรถ ดังนี้ เป็ นการกักขังมีความผิด ตามมาตรา 310 (2) มาตรา 309 เสรีภาพที่เสียไปกว้า งกว่า มาตรา 310 คือมาตรา 310 เป็ น เสรี ภาพในการกระทำา ไม่ กระทำา หรือ จำา ยอมต่อ สิ่ง ใด เช่ น ไม่ ใ ห้ พู ด ไม่ ใ ห้ เ ขี ย น ซึ่ง เป็ น เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เป็ นต้น ส่วนมาตรา 310 จำากัดเสรีภาพที่เสียไปเฉพาะ การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น จับตัวไปหรือใส่ก่ญแจมือ หรือมัดไว้กับต้นไม้ เป็ นต้น (3) ทั้งมาตรา 309 และมาตรา 310 ถ้า ผู้กระทำา มีอำา นาจทำา ได้ โดยชอบด้ว น กฎหมายย่อมไม่เ ป็ นความผิดซึ่งผู้ใ ช้หรือผู้แจ้งความให้จับหรือ กักขัง ก็ไม่มี ความผิด ไป ด้วย มัง่ มีบอกมีมัง่ ว่า ได้แจ้งความต่อตำารวจแล้วว่า มีมัง ่ ลักเอาวีดีทัศน์ไป ถ้ามีมัง่ ไม่ไปสถานี ตำารวจด้วยกันจะไปเอาตำารวจมาจับ ดังนั้นการที่มัง่ มีกระทำาเช่นนั้น มั่งมีจะมี ความผิดฐานหน่ วงเหนี่ ยว กักขังหรือกระทำา ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายตามมาตรา 310 หรือไม่ มั่ ง มี ไม่ มี ความผิ ด ตามมาตรา 310 เพราะยั ง ไม่ มี ก ารจั บ ดั ง ที่ ตำา รวจจั บ ผู้ ต้ อ งหา หรื อ หน่ ว งเหนี่ ยวกั ก ขั ง ให้ ไ ปไหนไม่ ไ ด้ หรื อ กระทำา ให้ ป ราศจากเสรี ภ าพใน ร่างกาย มาตรา 310 ผู้ ใ ดหน่ ว งเหนี่ ยวหรื อ กั ก ขั ง ผู้ อ่ ื น หรื อ กระทำา ด้ ว ยประการ ใดให้ ผู้ อ่ ื น ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรก เป็ นเหต่ให้ผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยวถูกกัก ขัง หรือต้อง ปราศจากเสรีภาพในร่างกายนั้นถึงแก่ความตายหรือรับอันตราย สาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษดัง ที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 290 มาตรา 297 หรือ มาตรา 298 นั้น 9.1.3 กระทำา โดยประมาทเป็ นเหตุ ใ หู ผู้ อ่ ื น ถ้ ก หน่ ว งเหนี่ ย วหรื อ กั ก ขั ง
หรือตูองปราศจากเสรีภาพในร่างกาย จำา ปี กระทำา ความผิดและถูกฟ้ องศาล ศาลมีคำา พิพากษาให้จำา ค่กจำา ปี มีกำา หนด 30 วัน ในหมายจำาค่กถึงผู้บัญชาการเรือนจำามีว่าเมื่อครบกำา หนดแล้วให้ปล่อยตัวจำา ปี ไป ทันที ครั้นเมื่อถึงวันครบกำา หนดทางเรือนจำา มีงานแสดงสินค้าราชทัณฑ์เป็ นงานใหญ่ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจำา จึ ง ลื ม ปล่ อ ยตั ว จำา ปี ไป คงค่ ม ขั ง ต่ อ อี ก 1 วั น จึ ง ปล่ อ ยตั ว ไป ดั ง นี้ ผู้ บัญชาการเรือนจำามีความผิดฐานใดหรือไม่ ผู้บัญชาการเรือ นจำา มีความผิดฐานกระทำา โดยประมาทเป็ นเหต่ใ ห้ จำา ปี ถู กขัง ตามมาตรา 311 มาตรา 311 ผู้ใ ดกระทำา โดยประมาท และการกระทำา นั้ น เป็ นเหต่ ให้ ผู้ อ่ ื นถู กหน่ ว ง เหนี่ ยว ถูกกักขังหรือต้องปราศจากเสรีภาพในร่างกาย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับ ไม่เกินสองพันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ
ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรก เป็ นเหต่ให้ผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยว ถูกกั กขังหรือต้อง ปราศจากเสรีภาพในร่างกายนั้นถึงแก่ความตาย หรือรับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษดัง ที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 291 หรือ มาตรา 300 9.1.4 ความผิดต่อเสรีภาพซึง ่ อาจยอมความไดู
ความผิดต่อเสรีภาพ ซึ่งอาจยอมความได้ท่านเข้าใจว่าอย่างไร ความผิดต่อเสรีภาพซึ่งอาจยอมความได้ กฎหมายบัญญัติเฉพาะความผิดตาม มาตรา 309 วรรคแรก มาตรา 310 วรรคแรก และมาตรา 311 วรรคแรกเท่านั้น นอก นั้นเป็ นความผิดต่อแผ่นดินหรือความผิดที่ไม่อาจยอมความได้ ความผิดอันยอมความได้น้ัน ผู้เสียหายต้องร้องท่กข์ภายในสามเดือน นับแต่วัน ที่รู้เรื่อ งความผิดและรู้ตัวผู้กระทำา ความผิด มิฉะนั้ นคดีขาดอาย่ความ และเมื่อร้อ งท่ กข์ แล้ว พนักงานสอบสวนจึงจะทำาการสอบสวนได้ และพนักงานอัยการจึงจะฟ้ องคดีต่อศาล ได้ กับเป็ นคดีท่ีผเู้ สียหายถอนคำาร้องท่กข์หรือยอมความหรือถอนฟ้ องได้ก่อนคดีถึงที่ส่ด 9.1.5 เอาคนลงเป็ นทาส หรือใหูมีฐานะคลูายทาส
สองมีอาชีพมัคค่เทศก์ทราบว่า ชายฮ่องกงจำานวนมากต้องการหญิงไทยไปเป็ น ภริยา จึงซื้อนางสาวสามจากบิดามารดาแล้วขายให้แก่ส่ีชาวฮ่องกงเพื่อเอาไปเป็ นภริยา ดังนี้ สองและสี่ มีความผิดตามมาตรา 312 หรือไม่ สองและสี่ไม่มีความผิดตามมาตรา 312 เพราะไม่ใช่เพื่อเอาคนลงเป็ นทาสหรือ ให้มีฐานะคล้ายทาส
มาตรา 312 ผู้ใ ดเพื่อจะเอาคนลงเป็ นทาส หรือให้ มี ฐานะคล้ ายทาส นำา เข้ าในหรื อ ส่ ง ออกไปนอกราชอาณาจั กร พามาจากที่ใ ด ซื้อ ขาย จำา หน่ าย รับ หรือ หน่ ว งเหนี่ ยวซึ่ งบ่ คคลหนึ่ ง บ่คคลใดต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกิน เจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท มาตรา 312 ทวิ ถ้าการกระทำาความผิดตาม มาตรา 310 ทวิ หรือ มาตรา 312 เป็ นการกระทำา ต่ อ เด็ กอาย่ ยั ง ไม่ เกิ น สิ บห้ า ปี ผู้ กระทำา ต้ อ งระวางโทษ จำา ค่ กตั้ งแต่ ส ามปี ถึ ง สิ บ ปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท ถ้ าการกระทำา ความผิ ด ตามวรรคแรก หรื อ มาตรา 310 ทวิ หรือ มาตรา 312 เป็ น เหต่ให้ผู้ถูกกระทำา (1) รั บอั น ตรายแก่ กายหรื อ จิ ตใจ ผู้ ก ระทำา ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้ งแต่ ห้ า ปี ถึ งสิ บ ห้ า ปี และปรับไม่เกินสามหมื่นบาท (2) รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตลอดชีวิตหรือจำาค่กตั้งแต่สิบเจ็ดปี ถึงยี่สิบปี (3) ถึ ง แก่ ค วามตายผู้ ก ระทำา ต้ อ งระวางโทษประหารชี วิ ต จำา ค่ ก ตลอดชี วิ ต หรื อ จำา ค่ ก ตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี มาตรา 312 ตรี ผู้ใดโดยท่จริตรับไว้ จำาหน่ าย เป็ นธ่ระจัดหา ล่อไป หรือพาไปซึ่งบ่คคล อาย่เกินสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี แม้ผู้น้ันจะยินยอม ก็ตาม ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าการกระทำา ความผิ ด ตามวรรคแรกเป็ นการกระทำา แก่ เด็ ก อาย่ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บห้ าปี ผู้ กระทำา ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่น สี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 9.1.6 เอาคนไปหรือหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังเพื่อใหูไดูมาซึง ่ ค่าไถ่
มิถ่นาจับตัวกรกฎา เศรษฐีไร่อ้อยไปกักไว้ท่ีวัดล้างแห่งหนึ่ งในป่ าเพื่อเรียกค่า ไถ่ บังเอิญสิงหาพรานป่ าไปพบเข้าจึงเรียกเอาเงินจำานวน 2 ล้านบาทจากกันยา บ่ตรของ กรกฎา เพื่อ บอกที่ ซ่อ นของกรกฎา ดั ง นี้ สิ ง หามี ค วามผิ ด ฐานเอาคนไปเรี ย กค่ า ไถ่ ต าม มาตรา 313 หรือไม่ สิ ง หาไม่ มี ค วามผิ ด ตามมาตรา 313 เพราะมิ ไ ด้ เ ป็ นผู้ เ อาตั ว กรกฎาไป หรื อ หน่ วงเหนี่ ยวกักขังเพื่อได้มาซึ่งค่าไถ่ หรือมิได้ร่วมกับมิถ่นากระทำาผิดตามมาตรา 313 ต่ลกับพฤศจิกจับตัวนางสาวกันยาเพื่อเรียกค่าไถ่ ต่ลค่มนางสาวกันยาไปกลาง ทาง นางสาวกันยานั่ งร้อ งให้ต่ลรู้สึกสงสารจึงพูดกับนางธันวาพี่สาวของตนว่า จะส่ง ตัว นางสาวกันยาคืนให้แก่มารดา แล้วต่ลเอานางสาวกันยาไปพักบ้านสิงห์โดยบอกว่าจะเอา รถมารับ และออกจากบ้านไปพร้อมกับนางธันวา ต่อมานางธันวากลับมาบ้านสิงห์แล้วชี้ ทางให้ นางสาวกั น ยาหลบหนี ไ ป เมื่อกลั บ ถึ ง บ้ า น นางสาวกั น ยาเล่ า เรื่องให้ ตำา รวจฟั ง ตำารวจจับต่ลได้ ดังนี้ ต่ลจะมีความผิดอย่างไรหรือไม่ และรับโทษอย่างไร ต่ลมีความผิดตามมาตรา 313 แต่ท่ีนางสาวกันยาได้รับเสรีภาพ เนื่ องจากต่ล ปล่อยให้นางสาวกันยาพักอยู่บ้านสิงห์และนางธันวาพี่สาวของต่ลชี้ทางให้หลบหนี ถือว่า ต่ลจัดให้นางสาวกันยาได้รับเสรีภาพก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาได้รับโทษตามมาตรา 316 มาตรา 313 ผ้ใู ดเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าไถ่
(1) เอาตัวเด็กอาย่ไม่เกินสิบห้าปี ไป (2) เอาตัวบ่คคลอาย่กว่าสิบห้าปี ไป โดยใช้อ่บายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำา ลังประท่ษร้าย ใช้อำานาจครอบงำาผิดคลองธรรม หรือใช้วธ ิ ีข่มขืนใจ ด้วยประการอื่นใด หรือ (3) หน่ วงเหนี่ ยวหรือกักขังบ่คคลใด ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สามหมื่นบาท ถึงสี่หมื่นบาท หรือจำาค่กตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรกเป็ นเหต่ให้ผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยวหรือผู้ ถูกกักขังนั้นรับอันตรายสาหัส หรือเป็ นการกระทำาโดยทรมานหรือโดยทาร่ณโหดร้าย จนเป็ นเหต่ ให้ผู้ถูกกระทำานั้นรับอันตราย แก่กาย หรือจิตใจ ผู้กระทำา ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำา ค่ก ตลอดชีวิต ถ้าการกระทำาความผิดนั้นเป็ นเหต่ให้ผู้ถูกเอาตัวไปผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยว หรือผู้ถูกกักขังนั้น ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษประหารชีวิต มาตรา 316 ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 313 มาตรา 314 หรือ มาตรา 315 จัดให้ผู้ถูกเอาตัวไปผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยวหรือผู้ถูกกักขังได้รับ เสรีภาพก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาโดยผู้ นั้ น มิได้รับอั น ตรายสาหั ส หรื อ ตกอยู่ ใ นภาวะอั น ใกล้ จ ะเป็ นอั น ตรายต่ อ ชี วิ ตให้ ล งโทษน้ อ ยกว่ าที่ กฎหมายกำาหนดไว้แต่ไม่นอ ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ ง 9.2 ความผิดฐานพรากผู้เยาว์และส่งคนออกนอกราชอาณาจักร
1. การพาเด็กอาย่ไม่เกินสิบห้าปี ไปจากบิดามารดา ผ้ป ู กครอง หรือผู้ดูแลถือว่ามี ความผิ ด และเนื่ องจากเด็ ก อาย่ ไ ม่เ กิ น สิ บ ห้ า ปี เป็ นผู้ ไ ม่มี ค วามสามารถในการรู้ สึ ก ผิ ด ชอบพอจะตัดสินใจเองได้ ดังนั้น แม้เด็กจะเต็มใจไปด้วยหรือไม่ ผู้กระทำาก็ต้องรับผิด 2. การพาผู้ เ ยาว์ อ าย่ ก ว่ า สิ บ ห้ า ปี แต่ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ แปดปี ไปจากบิ ด ามารดา ผู้ ปกครองหรือผู้ดูแลโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยถือว่ามีความผิด ดังนั้นผู้เยาว์เต็มใจไปด้วย ผู้กระทำาก็ไม่มีความผิด 3. การพาผู้ เ ยาว์ อ าย่ ก ว่ า สิ บ ห้ า ปี แต่ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ แปดปี ไปจากบิ ด ามารดาผู้ ปกครองครองหรือผู้ดูแลโดยมีวัตถ่ประสงค์เพื่อหากำา ไรหรือ เพื่อการอนาจารถือ ว่า เป็ น เรื่องร้ายแรง ดังนั้น ไม่ว่าผ้่เยาว์จะเต็มใจหรือไม่ ผ้ก ู ระทำาย่อมมีความผิดเสมอ 4. การพาหรือ ส่งคนออกไปนอกราชอาณาจั กรถือ ว่ า เป็ นการจำา กั ดเสรี ภาพใน การเลื อ กถิ่ น ที่ อ ยู่ ข องบ่ ค คล ดั ง นั้ น ผู้ ท่ี ใ ช้ อ่ บ ายหลอกลวง ขู่ เข็ ญ ใช้ กำา ลั ง ประท่ ษ ร้ า ยใช้ อำานาจครอบงำาผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีขม ่ ขืนใจด้วยประการอื่นใด เพื่อพาคนออกไปนอก ราชอาณาจักรจึงถือว่ามีความผิด 9.2.1 พรากเด็กอายุไม่เกินสิบหูาปี
เล็กกับนางน้อยอยู่กินด้วยกันโดยไม่จดทะเบียนสมรส เกิดเด็กชายนิ ด อาย่ 2 ปี เล็กกับนางน้อ ยทะเลาะกันนางน้อ งจึงพาเด็กชายนิ ดกลับบ้า นเดิม ที่จังหวั ดเชียงใหม่ เล็กแอบไปเอาเด็กชายนิ ดกลับมาในขณะที่นางน้อยออกไปนอกบ้าน แล้วพามาฝากเลี้ยง ในสถานเลี้ยงดูเด็กอ่อนกร่งเทพฯ นางน้อ งทราบเรื่องจึงแจ้งความให้ตำา รวจจับเล็กฐาน พรากเด็กชายนิ ดไป ดังนี้ เล็กจะมีความผิดตามที่นางน้อยแจ้งความหรือไม่ แม้เ ล็กกับนางน้อ ยอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้จ ดทะเบียนสมรส เด็กชายนิ ดย่อ ม เป็ นบ่ตรโดยชอบด้วยกฎหมายของนางน้อยเพียงผู้เดียว แต่เล็กก็เป็ นบิดาตามความเป็ น จริงและมีเจตนาดีต่อเด็กชายนิ ดการพรากเด็กชายนิ ดมาไม่ใ ช่โดยปราศจากเหต่ผ ลอัน สมควรเล็กไม่มีความผิดฐานพรากเด็กตามมาตรา 317 มาตรา 317 ผู้ใดโดยปราศจากเหต่อันสมควร พรากเด็กอาย่ยังไม่เกิน สิบห้าปี ไปเสีย จากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล ต้องระวางโทษจำาค่ก ตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่ หกพันบาทถึงสามหมื่นบาท ผู้ใ ดโดยท่จ ริตซื้อ จำา หน่ าย หรือรั บตั วเด็ กซึ่ งถู กพรากตามวรรคแรก ต้ อ งระวางโทษ เช่นเดียวกับผู้พรากนั้น ถ้าความผิดตามมาตรานี้ ได้กระทำาเพื่อหากำาไร หรือเพื่อการอนาจาร ผู้น้ันกระทำาต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท 9.2.2 พรากผูเ้ ยาว์อายุไม่เกินสิบแปดปีโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจ
โก๋ชวนนางสาวกีอ ๋ าย่ 16 ปี ออกจากบ้านป้ าผู้ปกครองของนางสาวกีโ๋ ดยบอก ว่าจะพาไปเต้นดิสโก้แต่โก๋กลับพาไปฝากก้่ยไว้ ตกกลางคืนก้่ยกับนางสาวกีไ๋ ด้เสียกันโดย โก๋ไม่ทราบเรื่อง ดังนี้ โก๋จะมีความผิดฐานพรากผู้เยาว์หรือไม่ โก๋พรากนางสาวกีไ๋ ปจากบ้านป้ าผู้ปกครอง โดยนางสาวกีไ๋ ม่เต็มใจเนื่ องจากโก๋ ใช้อ่บายหลอก ลวง โก๋มี ความผิด ฐานพรากผู้เ ยาว์ต ามมาตรา 318 วรรคแรก แต่ ไม่มี
ความผิดตามมาตรา 318 วรรคท้าย เพราะมิได้เป็ นการพรากไปเพื่อการอนาจาร การ อนาจารที่เกิดขึ้นภายหลังอยู่นอกเหนือเจตนาของโก๋
มาตรา 318 ผู้ใดพรากผู้เยาว์อาย่กว่าสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี ไปเสียจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์น้ั นไม่เต็มใจไป ด้วยต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่สองปี ถึง สิบปี และปรับตั้งแต่ส่ีพันบาท ถึงสองหมื่นบาท ผู้ใ ดโดยท่จ ริต ซื้อจำา หน่ ายหรื อรั บตั วผู้ เยาว์ ซึ่งถูกพรากตามวรรคแรกต้ องระวางโทษ เช่นเดียวกับผู้พรากนั้น ถ้ าความผิ ด ตาม มาตรานี้ ได้ กระทำา เพื่ อหากำา ไร หรือ เพื่ อการอนาจาร ผู้ กระทำา ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกพัน บาท ถึงสามหมื่นบาท 9.2.3 พรากผูเ้ ยาว์อายุไม่เกินสิบแปดปีโดยผู้เยาว์เต็มใจ
กัลบกหน่ ่ม โสดจบจากมหาวิทยาลัยช่า งเสริม สวย รักใคร่ กับ นางสาวดอกฟ้ า อาย่ 16 ปี บ่ต รเจ้า ของร้า น แต่ ถู ก บิ ด ามารดาของนางสาวดอกฟ้ ากี ด กั น เพราะกั ล บก ยากจน นางสาวดอกฟ้ า จึงหอบเสื้อ ผ้าหนี ตามกัลบกไปอยู่กินด้วยกันที่บ้า นบิดามารดา ของกัลบกที่จังหวัดยะลา ดังนี้ กัลบกจะมีความผิดฐานพรากผู้เยาว์เพื่อการอนาจาร หรือ เพื่อหากำาไรโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยก็ตาม ตามมาตรา 319 หรือไม่ กัลบกไม่มีความผิดตามมาตรา 319 เพราะการพาไปอยู่กินด้วยกันโดยกัลบก ยังเป็ นโสดเป็ นการอยู่กินเป็ นสามีภรรยากัน ไม่ใช่เพื่อการอนาจารหรือเพื่อหากำาไร โดยผู้ เยาว์เต็มใจไปด้วยตามมาตรา 319 มาตรา 319 ผู้ใดพรากผู้เยาว์อาย่กว่าสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี ไป เสียจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล เพื่อหากำาไรหรือเพื่อการอนาจาร โดยผู้เยาว์น้ั นเต็มใจไปด้วย ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี และ ปรับตั้งแต่ส่ีพันบาทถึงสองหมื่นบาท ผู้ใดโดยท่จริตซื้อจำา หน่ ายหรือรับตัวผู้เยาว์ซึ่งถูกพรากตามวรรคแรก ต้องระวางโทษ เช่นเดียวกับผู้พรากนั้น 9.2.4 พาหรือส่งคนออกไปนอกราชอาณาจักร
สามจบวิชากฎหมายแล้วอยากไปเรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ สี่บิดาไม่มีเงินแต่ ทนอ้อนวอนไม่ได้ จึงพาสามขึ้นเครื่องบินหลอกว่าจะพาไปเรียนที่อังกฤษ พอเครื่องบินไป ถึงประเทศอินเดีย สี่ก็พาสามกลับประเทศไทย ดังนี้ สี่มีความผิดฐานพาหรือส่งคนออกไป นอกราชอาณาจักรตามมาตรา 320 หรือไม่ สี่ไม่มีความผิดตามมาตรา 320 เพราะสามสมัครใจออกไปนอกราชอาณาจักร อยู่แล้ว สี่ไม่ได้ใช้อ่บายหลอกลวงขู่เข็ญ ใช้กำา ลังประท่ษร้า ยใช้อำา นาจครอบงำา ผิดคลอง ธรรมหรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่น ใด มาตรา 320 ผู้ใดใช้อ่บายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำาลังประท่ษร้าย ใช้อำานาจครอบงำาผิด คลองธรรม หรื อใช้วิ ธี ข่ม ขื นใจด้ ว ยประการอื่ นใด พาหรื อ ส่ งคนออกไปนอกราชอาณาจั กร ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่ส่ีพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำา ความผิดตามวรรคแรก ได้กระทำา เพื่อให้ผู้ถูกพาหรือ ส่งไปนั้ นตกอยู่ใน อำา นาจของผู้ อ่ ื นโดยมิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย หรื อ เพื่ อละทิ้ ง ให้ เ ป็ นคนอนาถา ผู้ ก ระทำา ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่ สามปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกพันบาทถึงสามหมื่นบาท
แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 9
1. หนึ่ งเช่าบ้านสองอยู่และค้างค่าเช่า สองไม่พึงพอใจหนึ่ งจึงพาสามไปไล่หนึ่ งออกจากบ้าน แต่หนึ่ งไม่ยอมออก สองและสามจึงตรงเข้าฉ่ดหนึ่ งออกจากบ้านและปิ ดประตูเสีย ดังนี้ สองและสาม จะมีความผิดต่อเสรีภาพตามมาตรา 309 หรือไม่ คำาตอบ ผิดเพราะข่มขืนใจให้ออกจากบ้าน และ ไม่ให้เข้าบ้านโดยใช้กำาลังประท่ษร้าย 2. สมศักดิใ์ ช้ปืนขู่บังคับทะนงให้ยกบ่ตรสาวให้ตนทะนงกลัวจึงบอกว่าตกลงแต่ให้มารับในวัน ร่่งขึ้น แล้วทะนงจึงไปแจ้งตำารวจจับสมศักดิ ์ สมศักดิม ์ ีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบผิดพยายาม ทำาให้เสื่อมเสียเสรีภาพเพราะทนงยังไม่ยกบ่ตรสาวให้ไปจริงๆ 3. แดงผูกลูกระเบิดปลอมที่รอบอกตัวเอง แล้วจี้เครื่องบินบังคับผู้โดยสารประมาณ 250 คน ไม่ให้ลงจากเครื่องบิน ดังนี้ แดงมีความผิดหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดฐานหน่ วงเหนี่ ยวกักขังผู้อ่ ืน 4. กระตั้วถือปื นไม่มีลูกปื นแล้วจี้บังคับผู้โดยสารในรถยนต์โดยสารประจำา ทางปรับอากาศ ประมาณ 20 คน ไม่ ใ ห้ ล งจากรถ ดั ง นี้ กระตั้ ว มี ค วามผิ ด หรื อ ไม่ คำา ตอบ มี ค วามผิ ด ฐานหน่ ว ง เหนี่ ยวกักขังผู้อ่ ืน 5. ด.ช.บอย เข้าห้องนำ้าของโรงเรียนในตอนเย็นบ่ญมาซึ่งเป็ นภารโรงไม่ตรวจดูให้ดีจึงไม่รู้ว่า มีเด็กอยู่และได้ใสก่ญแจห้องนำ้ าแล้ วกลับบ้าน ด.ช.บอย จึงพยายามปี นขึ้นไปเพื่ อหาทางออก จน
พลัดตกลงมาขาหัก บ่ญมามีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดฐานประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้ อื่นถูกหน่ วงเหนี่ ยวกักขังได้รับอันตรายสาหัส 6. ความหมายของคำา ว่ า “ ทาส ” ตามมาตรา 312 คื อ บ่ ค คลซึ่ ง ตกอยู่ ภ ายใต้ อำา นาจของ บ่คคลอื่นในการใช้แรงงานโดยไม่ได้ค่าตอบแทน 7. เหตุในลักษณะคดี ในความผิดเกี่ยวกับการเรียกค่าไถ่ คือ ความผิดฐานเรียกค่าไถ่แล้ว จัดให้ผู้ถูกหน่ วงเหนี่ ยวกักขังได้รับเสรีภาพก่อนศาลชั้นต้นพิพากษา 8. การที่ผู้กระทำาความผิดเกี่ยวกับการเรียกค่าไถ่ได้จัดให้บ่คคลที่ถูกนำา ตัวไปเรียกค่าไถ่ ได้ รับเสรีภาพก่อนศาลชั้นต้นพิพากษา ซึ่งมีผลให้ได้รับโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำาหนดไว้ แต่ไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่ ง การได้รับลดโทษนี้ เป็ นเหต่ในลักษณะคดี 9. เด็กชายฮาร์ทอาย่ 13 ปี หนี บิดาของตนไปซ่อนอยู่ท่ีศาลเจ้าร้างแห่งหนึ่ งกลางป่ า แดงไป พบที่ ซ่อ นจึ งขู่ ถามจนทราบว่ าเด็กชายฮาร์ ทเป็ นบ่ ตรใครอยู่ ท่ีใ ด แล้วส่ งจดหมายเรี ยกค่ าไถ่ จ าก บิดาของเด็กชายฮาร์ทดังนี้ แดงมีความผิดหรือไม่ คำาตอบ ไม่มีความผิดตามมาตรา 313 ฐานเรียก ค่าไถ่ 10. กฎหมายกำาหนดอาย่ของเด็กที่จะถูกพรากไว้เท่าใดผู้พรากเด็กจึงจะมีความผิดฐานพราก เด็กไป คำาตอบ ไม่เกิน 15 ปี มาตรา 317 ผู้ใดโดยปราศจากเหต่อันสมควร พรากเด็ กอาย่ ยังไม่ เกิน สิ บห้ าปี ไปเสี ย จากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล ต้องระวางโทษจำาค่ก ตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่ หกพันบาทถึงสามหมื่นบาท ผู้ใดโดยท่จริตซื้อ จำาหน่ าย หรือรับตัวเด็กซึ่งถูกพรากตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่น เดียวกับผู้พรากนั้น ถ้าความผิดตามมาตรานี้ ได้กระทำาเพื่อหากำา ไร หรือเพื่อการอนาจาร ผู้น้ั นกระทำา ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ หนึ่ งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท 11. กฎหมายกำาหนดช่วงอาย่ของผู้เยาว์ท่ีจะถูกพรากไว้เท่าใด ผู้พรากผู้เยาว์จึงจะมีความผิด ฐานพรากผู้เยาว์ คำาตอบ อาย่กว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี 12. นางสาวสน่กอาย่ 17 ปี เป็ นเด็กใจแตกมีเพื่อนชายมากมาย สมานได้ชวนนางสาวสน่กไป ดูภาพยนตร์ท่ี โรงภาพยนตร์ อลาสกา แล้วพากันไปนอนที่โรงแรมไมอามีและกระทำา ชำา เรา โดย นางสาวสน่กเต็มใจร่่งเช้า สมานจึงพานางสาวสน่กไปส่งที่บ้านบิดามารดานางสาวสน่กดังนี้ สมาน มีความผิดหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดฐานพรากนางสาวสน่กไปตามมาตรา 319 (มีความผิดฐาน พรากนางสาวสน่ ก ไปเสี ย จากบิ ด ามารดาเพื่ อการอนาจาร โดยนางสาวสน่ ก เต็ ม ใจไปด้ ว ยตาม มาตรา 319) มาตรา 319 ผู้ใดพรากผู้เยาว์อาย่กว่าสิบห้าปี แต่ยั งไม่เกิ นสิ บแปดปี ไป เสีย จากบิ ดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล เพื่อหากำาไรหรือเพื่อการอนาจาร โดยผู้เยาว์น้ั นเต็มใจไปด้วย ต้อง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงสิบปี และ ปรับตั้งแต่ส่ีพันบาทถึงสองหมื่นบาท ผู้ใดโดยท่จริตซื้อจำาหน่ ายหรือรับตัวผู้เยาว์ซึ่งถูกพรากตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่น เดียวกับผู้พรากนั้น 13. สมเดชต้องการจะเดินทางไปเยี่ยมลูกที่ประเทศอังกฤษแต่สมเดชติดต่อไม่ถูก สมพงษ์ รู่ เข้าจึงไปหลอกสมเดชว่าจะติดต่อให้สมเดชได้ไปพบลูกชายที่ประเทศอังกฤษ แต่สมเดชต้องจ่ายเงิน ให้ สมพงษ์ สมเดชตกลงจ่ า ยเงิ น ให้ 10,000 บาท สมพงษ์จึ ง จั ด การส่ ง สมเดชไปลงที่ ป ระเทศ เกาหลีและทิ้งไว้ให้เป็ นคนอนาถา ไม่มีค่าเดินทางกลับ ดังนี้ สมพงษ์จะมีความผิดตามมาตรา 320 หรือไม่ เพราะเหต่ใด คำาตอบ ไม่ผิด เพราะสมเดชสมัครใจไปนอกราชอาณาจักรอยู่แล้ว 14. จันทร์เข้าไปนั่งในรถแล้วใช้ปืนจี้ขู่บังคับให้อังคารนั่งเฉยๆ แล้วให้เอามือวางไว้ท่ีพวงมาลัย จนอังคารเกิ ด ความกลั ว จำา ต้ อ งปฏิ บัติ ตาม ดั งนี้ จัน ทร์ จ ะมี ความผิ ด ต่ อ เสรี ภาพตามมาตรา 309 หรือไม่ คำาตอบ ผิดเพราะข่มขืนใจโดยทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตราย 15. ก้อยใช้มีดบังคับก้่งให้เอาเงินมาให้ถ้าไม่ให้จะทำาร้ายแต่ก้่งไม่มีเงินจึงไม่ให้ไป และไปแจ้ง ตำารวจให้ไปจับก้อย ก้อยผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ผิดพยายามทำาให้เสื่อมเสียเสรีภาพเพราะมีการ ข่มขืนใจ 16. ศาลสั่งกักขังสีไว้ท่ีสถานี ตำารวจ 30 วัน สาเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ในการกักขัง ได้กักขังสี ไว้เป็ นเวลา 31 วัน โดยมิได้ตรวจนับวันให้ดี สาจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดฐาน ประมาทเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถูกหน่ วงเหนี่ ยวกักขัง
หน่วยที่ 10 ความผิดเกี่ยวกับชื่อเสียง 1. ความลับของบ่คคลที่ปกปิ ดในการสื่อสารถึงกันก็ดี ในการอื่นก็ดี ตลอดจนความ ลับเกี่ยวกับอ่ตสาหกรรมการค้นพบหรือ การนิ มิตในวิทยาศาสตร์ก็ได้ หากเปิ ดเผยหรือ ล่วงรู้แก่บ่คคลอื่น ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้า ของความลับนั้ น กฎหมายจึงต้อ ง ลงโทษผู้กระทำา
2. การใส่ความผู้อ่ ืนก็ดี ใส่ความผู้ตายก็ดี ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ย่อมเป็ นเหต่ให้เกิด ความไม่สงบเรียบร้อ ยขึ้นในบ้านเมือ ง เพราะบ่คคลมีสิทธิตามกฎหมายในการรักษาชื่อ เสียงเกียรติค่ณของเขาไว้การทำา ให้เขาต้อ งเสื่อมเสียชื่อเสียงเกียรติค่ณว่า เป็ นความผิด กฎหมายจึงต้องลงโทษผู้กระทำาเช่นกัน 10.1 ความผิดเกีย ่ วกับการเปิดเผยความลับ
1. การเปิ ดผนึ กหรือ เอาจดหมาย โทรเลข หรือ เอกสารใดๆ ของผู้อ่ ืนไป เพื่อล่ วงรู้ ความลับหรือเพื่อนำาออกเปิ ดเผย ถ้าการกระทำา นั้นน่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้ใด ผู้เปิ ด ผนึ กหรือผู้เอาไปนั้นย่อมมีความผิด 2. ผู้ ท่ี ไ ด้ ล่ ว งรู้ ค วามลั บ ของผู้ อ่ ื น เพราะเหต่ ท่ี เ ป็ นเจ้ า พนั ก งานผู้ มี ห น้ า ที่ ต ามที่ กฎหมายกำาหนดไว้แล้วเอาความลับนั้นไปเปิ ดเผย ถ้าการเปิ ดเผยนั้นน่ าจะเกิดความเสีย หายแก่ผใู้ ด ก็ยอ ่ มจะมีความผิด 3. ผู้มีตำาแหน่ งหน้าที่หรือวิชาชีพหรืออาชีพอันเป็ นที่ไว้วางใจ แล้วได้ล่วงรู้หรือได้มา ซึ่งความลับอันเกี่ยวกับอ่ตสาหกรรม การค้นพบ หรือการนิ มิตในวิทยาศาสตร์ จะมีความ ผิดถ้าได้เปิ ดเผยหรือใช้ความลับนั้นเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือของผ้อ ู ่ ืน 4. ความผิดฐานเปิ ดเผยความลับเป็ นความผิดอันยอมความได้ โดยที่ความผิดฐาน เปิ ดเผยความลั บ เป็ นความผิ ด ที่ ไ ม่ ก ระทบต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยของสั ง คมส่ ว นรวม กฎหมายจึงกำาหนดให้เป็ นความผิดอันยอมความกันได้ 10.1.1 เปิดผนึ กเพื่อล่วงรู้ขูอความหรือนำาออกเปิดเผย
สดเอาบัตรเชิญงานศพของบิดาตนปิ ดผนึ กแล้วฝากส่งให้ส่ดไปให้โสด ส่ดกลับ เปิ ดผนึ กและไปบอกแก่แสดดังนี้ ส่ดมีความผิดตามมาตรา 322 หรือไม่ ส่ดไม่มีความผิดตามมาตรา 322 เพราะการกระทำาของส่ดไม่น่าจะเกิดความเสีย หายแก่สดหรือผู้หนึ่ งผู้ใดแม้จะมีการเปิ ดผนึ กเพื่อล่วงรู้ข้อ ความหรือ เพื่อนำา ข้อความนั้ น ออกเปิ ดเผยก็ตาม มาตรา 322 ผู้ใดเปิ ดผนึ กหรือเอาจดหมาย โทรเลขหรือเอกสารใด ๆ ซึ่งปิ ดผนึ กของผู้ อื่นไป เพื่อล่วงรู้ข้อความก็ดี เพื่อนำา ข้อความในจดหมาย โทรเลข หรือเอกสารเช่นว่านั้ นออกเปิ ด เผยก็ดี ถ้ าการกระทำา นั้ น น่ าจะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผู้ ห นึ่ งผู้ ใ ด ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ไม่ เกิ น หก เดือน หรือปรับ ไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 10.1.2 ล่วงรู้หรือไดูมาซึง ่ ความลับแลูวเปิดเผยความลับนัน ้
นางสาวแจ่มจันทร์พลาดท่า เสียทีนายแจ่ม ใส คู่รักถึงขั้นได้เสียกัน รู้สึกกล้่ม ใจ มาก เพราะเกรงบิด ามารดาและคนอื่ นจะทราบ จึ ง นำา ความไประบายให้ นายแจ่ ม จิ ต ต์ นักบวชที่ตนเคารพเลื่อมใส แจ่มจิตต์เห็นภัยที่เกิดแก่เด็กหญิงทั่วไป ประสงค์มิให้เด็กอื่น เอาเป็ นตัวอย่างและหาทางป้ องกัน จึงดัดแปลงเรื่องนำา ไปออกอากาศทางวิทย่กระจาย เสียงดังนี้ แจ่มจิตต์นักบวชมีความผิดตามมาตรา 323 หรือไม่ ถึงแม้แจ่ม จิตต์นำา ความลับของนางสาวแจ่มจันทร์ไปเปิ ดเผย แต่การกระทำา ดัง กล่าวไม่น่าจะเกิดความเสียหายแก่นางสาวแจ่มจันทร์ จึงไม่มีความผิดตามมาตรา 323 มาตรา 323 ผู้ ใ ดล่ ว งรู้ ห รื อ ได้ ม าซึ่ ง ความลั บ ของผู้ อ่ ื น โดยเหต่ ที่ เ ป็ นเจ้ า พนั ก งานผู้ มีหน้าที่ โดยเหต่ท่ี ประกอบอาชีพเป็ นแพทย์ เภสั ชกร คนจำา หน่ ายยา นางผด่ งครรภ์ ผู้ พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหต่ท่ีเป็ นผู้ช่วยในการประกอบ อาชีพนั้น แล้วเปิ ดเผยความลับนั้ นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้หนึ่ งผู้ใด ต้องระวางโทษจำา ค่ ก ไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิ ดเผยความลับ ของผู้อ่ ืน อันตนได้ ล่ว งรู้ห รือ ได้ ม าในการศึ ก ษาอบรมนั้ น ในประการ ที่ น่ าจะเกิ ด ความเสี ย หายแต่ ผู้ ห นึ่ ง ผู้ ใ ด ต้ อ ง ระวางโทษเช่นเดียวกัน 10.1.3 เปิดเผยหรือใชูความลับเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับอุตสาหกรรม การ คูนพบหรือการนิ มิตในวิทยาศาสตร์ อี ด ๊ คนขั บรถของอุู ด ผู้ จั ด การบริ ษัท เคมี จำา กั ด บั ง เอิ ญ ได้ ยิ น อุู ด ค่ ย กั บ ภริ ย า ถึ ง สูตรเคมีท่ีเพิ่งค้นพบเพื่อขจัดขยะมูลฝอยและเป็ นความลับที่ยังไม่เปิ ดเผยแก่ผู้ใดมาก่อน อีด ๊ หวังรำ่ารวยจึงเอาสูตรเคมีท่ีทราบนั้ นไปขายแก่อุา ด อุา ดได้รับ สูต รเคมี แล้ วนำา มาทำา เป็ นสิน ค้า ออกจำา หน่ า ย ดัง นี้ อีด ๊ และอุ า ดจะมี ค วามผิ ด ฐานเปิ ดเผความลั บ ตามมาตรา 324 หรือไม่ อีด ๊ ไม่มีตำา แหน่ งหน้า ที่ วิชาชีพ หรือ อาชีพอันเป็ นที่ไว้วางใจของอุูด เพราะเป็ น เพี ย งคนขั บ รถและบั ง เอิ ญ ได้ ยิ น เท่ า นั้ น แม้ ล่ ว งรู้ ค วามลั บ เกี่ ยวกั บ การค้ น พบใน
วิทยาศาสตร์ เปิ ดเผยความลับนั้นเพื่อ ประโยชน์ของตนเองหรือผู้อ่ ืนก็ไม่มีความผิดตาม มาตรา 324 ส่วนอุาดก็ไม่ผิดด้วย เพราะอุาดไม่มีตำา แหน่ งหน้าที่ วิชาชีพหรืออาชีพอันเป็ นที่ ไว้วางใจของอุูด ดังนั้น ถึงแม้อุาดจะล่วงรู้ความลับหรือได้มาซึ่งความลับ และได้ใช้ความ ลับนั้นเพื่อประโยชน์ของตนเอง ก็ไม่มีความผิดตามมาตรา 324 มาตรา 324 ผู้ใดโดยเหต่ ท่ีตนมี ตำา แหน่ งหน้าที่ วิช าชี พ หรือ อาชี พอัน เป็ นที่ ไว้ วางใจ ล่ ว งรู้ ห รื อ ได้ ม าซึ่ ง ความลั บ ของผู้ อ่ ื นเกี่ ยว กั บ อ่ ต สาหกรรม การค้ น พบ หรื อ การนิ มิ ต ใน วิทยาศาสตร์ เปิ ดเผยหรือ ใช้ความลับนั้น เพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้อ่ ืน ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 10.1.4 ความผิดฐานเปิดเผยความลับอันยอมความไดู
ความผิดในหมวด 2 ว่าด้วยความผิดฐานเปิ ดเผยความลับ เป็ นความผิดอันยอม ความกันได้ หมาย ความว่าอย่างไร ความผิดในหมวด 2 ว่าด้วยความผิดฐานเปิ ดเผยความลับเป็ นความผิดอันยอม ความได้ หมายความว่าเป็ นความผิดที่ผเู้ สียหายกับผู้กระทำาผิดสามารถตกลงระงับคดีกัน ได้ หรือที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเรียกว่าเป็ น “ความผิดส่วนตัว” แต่ถ้า ประสงค์จะดำาเนิ นคดี ผ้เู สียหายต้องร้องท่กข์ก่อน พนักงานสอบสวนจึงจะทำาการสอบสวน และพนักงานอัยการจึงจะฟ้ องได้ และต้องร้องท่กข์ภายในสามเดือน นับแต่วันที่เรื่องความ ผิดและรู้ตัวผู้กระทำา ความผิด มิฉ ะนั้ นจะขาดอาย่ความ ทั้งเมื่อฟ้ องคดีต่อ ศาลแล้ว ย่อ ม ถอนฟ้ องหรือยอมความหรือถอนคำาร้องท่กข์เมื่อใดก็ได้ก่อนคดีสิ้นส่ด 10.2 ความผิดเกีย ่ วกับการหมิน ่ ประมาท
1. การใส่ความผู้อ่ ืนจะเป็ นความผิดฐานหมิ่นประมาทจะต้อ งปรากฏว่า เป็ นการใส่ ความบ่คคลที่สามและการใส่ความนั้นน่ าจะทำาให้ผู้ถูกใส่ความเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือ ถูกเกลียดชัง 2. การใส่ความผู้ตายต่อบ่คคลที่สามก็ถือว่าเป็ นความผิดเช่นกัน ถ้าการใส่ความนั้ัน น่ า จะเป็ นเหต่ ใ ห้ บิ ด ามารดา คู ส มรสหรื อ บ่ ต รของผู้ ต ายเสี ย ชื่ อเสี ย ง ถู ก ดู ห มิ่ น หรื อ ถู ก เกลียดชัง 3. ถ้ า การหมิ่ น ประมาทได้ ก ระทำา โดยใช้ วิ ธี ก ารให้ข้ อ ความหมิ่ น ประมาททราบถึ ง บ่คคลที่สามแพร่หลายยิ่งขึ้นด้วยการโฆษณา ผู้กระทำาต้องได้รับโทษหนักขึ้น 4. บางกรณีการใส่ความผู้อ่ ืนต่อบ่คคลที่สามแม้จะทำาให้ผู้ถูกใส่ความเสียชื่อเสียง ถูก ดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้กระทำาก็ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทถ้าเป็ นการแสดงความ คิดเห็นหรือข้อความโดยส่จริตภาย ใต้เงื่อนไขที่กฎหมายกำาหนด 5. แต่บางกรณีกฎหมายไม่ยกเว้นความผิดเสียทีเดียว เพียงแต่ยกเว้นโทษให้เท่านั้น ถ้า หากผู้กระทำา ผิดพิสูจน์ได้ว่า ข้อ ที่หาหมิ่น ประมาทนั้ นเป็ นความจริง แต่ มีข้อ ห้า มบาง ประการที่กฎหมายห้ามพิสูจน์ 6. เพื่ อให้ ช่ ื อเสี ย งของผู้ เ สี ย หายในความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทกลั บ คื น มาบ้ า ง กฎหมายได้เปิ ดโอกาสให้ผู้เสียหายหรือพนักงานอัยการโจทก์ขอให้ศาลสั่งยืดและทำาลาย วั ต ถ่ ท่ี มี ข้ อ ความหมิ่ น ประมาทและให้ โ ฆษณาคำา พิ พ ากษาว่ า จำา เลยมี ค วามผิ ด ใน หนังสือพิมพ์ก็ได้ 7. ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทเป็ นความผิ ด อั น ยอมความได้ ก ล่ า วคื อ ถ้ า ผู้ เ สี ย หาย ประสงค์ จ ะดำา เนิ น คดี ต้ อ งร้ อ งท่ ก ข์ ก่ อ น พนั ก งานสอบสวนจึ ง จะทำา การสอบสวนและ พนักงานอัยการจึงจะฟ้ องได้ 10.2.1 ความผิดฐานประมาท
นายเหงี ยน กล่า วต่ อ หน้า บ่ค คลอื่นว่า ได้ ม อบเงิ น 500 บาท ให้ นายหวั นไป ถวายต่อเจ้าอาวาสวัด พระธาต่พนมแต่ความจริงนายเหงียนไม่เคยมอบเงินให้นายหวันไปเลยนายเหงียนมีความ ผิดฐานหมิ่นประมาท นายหวันหรือไม่ นายโถขับรถชนรถของนายโท และทั้งสองคนพากันไปพบสารวัตรตำารวจจราจร สารวั ตรตำา รวจจราจรไกล่ เ กลี่ย ให้ น ายโถเป็ นคนเสี ย ค่ า ซ่ อ มแซมรถที่ ช นกั นฝ่ ายเดี ย ว นายโถจึงพูดว่า “สารวัตรพูดอย่างนี้ เอากฎหมายมาพูดไม่มีศีลธรรม” นายโถมีความผิด ฐานหมิ่นประมาทสารวัตรตำารวจจราจรหรือไม่
ทั้ งสองกรณี ไม่เ ป็ นความผิ ด ฐานหมิ่น ประมาทเพราะตามข้อ (1) นายเหงี ย น เพียงแต่กล่าวเท็จเท่านั้น ไม่ได้ใส่ความนายหวัน ส่วนข้อ (2) คำากล่าวของนายโถไม่เป็ น ข้อเท็จจริงอันแน่ นอน ไม่เป็ นการใส่ความสารวัตรตำารวจจราจร 10.2.2 หมิน ่ ประมาทผู้ตาย
นายแมวเขี ย นประวั ติ ศ าสตร์ ก ล่ า วถึ ง กษัต ริ ย์ “ สิ ง ห์ ” ว่ า ชอบยิ ง นก ตกปลา ชกมวยและชอบพร่าพรหมจรรย์ของเด็กหญิงชาวบ้านในเวลาประพาสตามชนบท ราษฎร เกลียดชังเป็ นอันมากและเป็ นเหต่ให้ราชวงศ์เสื่อมจนต้องเสียราชธานี แก่ข้าศึกซึ่งยกมา ร่กราน ดังนี้ นางเสือซึ่งเป็ นผู้สืบสันดานชั้นลื้อคนเดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ของกษัตริย์ “สิงห์” จะฟ้ องนายแมวตามมาตรา 327 ได้หรือไม่ นางเสือเป็ นผู้สืบสันดานชั้นลื้อคนเดียงที่ยังมีชีวิตอยู่ของกษัตริย์ “สิงห์” นางเสือ ไม่ใช่บิดา มารดา คู่สมรส หรือบ่ตรของกษัตริย์ “สิงห์” ผู้ตาย คำากล่าวของนายแมวจึงไม่ เป็ นความผิดตามมาตรา 327 นางเสือฟ้ องนายแมวตามมาตรา 327 ไม่ได้
มาตรา 327 ผู้ใดใส่ความผู้ตายต่อบ่คคลที่สามและการใส่ความนั้น น่าจะเป็ นเหต่ให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบ่ตรของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้น้ั นกระทำา ความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษดังบัญญัติไว้ใน มาตรา 326 นั้น
10.2.3 หมิ่น ประมาทโดยการโฆษณา กระจายเสี ย งหรื อ กระจายภาพ หรือป่ าวประกาศ นายฮาร์ด ทำาหนังสือร้องเรียนนายใจ เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดแห่งหนึ่ งต่ออธิบดี กรมที่ดินว่า นายใจเรียกเอาเงินจากนายฮาร์ดในการไปติดต่อทำา นิ ติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน ซึ่งไม่เป็ นความจริง นายใจจึงฟ้ อ งขอให้ลงโทษนายฮาร์ดฐานหมิ่นประมาทตามมาตรา 328 ดังนี้ ท่านเห็นว่าถูกต้องหรือไม่ นายฮาร์ดร้องเรียนเท็จ เป็ นการหมิ่นประมาทนายใจ แม้กระทำา ด้วยเอกสารคือ หนังสือร้องเรียน แต่ไม่ได้กระทำาโดยการโฆษณาคือการเผยแพร่หนังสือร้องเรียนออกไป ยังสาธารณชนหรือการป่ าวร้อง ดังนั้นการกระทำาของนายฮาร์ดคงมีความผิดตามมาตรา 326 หาใช่มาตรา 328 ไม่ ที่นายใจฟ้ องขอให้ลงโทษนายฮาร์ดตามมาตรา 328 จึงไม่ถูก ต้อง มาตรา 326 ผู้ใดใส่ความผู้อ่ ืนต่อบ่คคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำาให้ผู้อ่ ืนนั้นเสียชื่อ เสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้น้ันกระทำา ความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่ น บาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำาโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพ วาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรื อ ตั ว อั กษรที่ ทำา ให้ ปรากฏด้ ว ยวิ ธี ใ ด ๆ แผ่ น เสี ย ง หรื อ สิ่ ง บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำาโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือ โดยกระทำาการป่ าวประกาศด้วยวิธีอ่ ืน ผู้กระทำาต้องระวางโทษ จำาค่กไม่เกินสองปี และปรับไม่เกิน สองแสนบาท 10.2.4 ขูอยกเวูนทีใ ่ หูถือว่าผู้กระทำาไม่มีความผิดฐานหมิน ่ ประมาท
นายโจ้ เป็ นผู้จัดการฝ่ ายขายของบริษท ั เอ แต่ติดต่อลับๆ กับบริษท ั บี คู่แข่งของ บริษท ั เอ แล้วลาออกจากบริษท ั เอไป นายใจผู้จัดการบริษท ั จึงปิ ดประกาศของบริษท ั เอ แจ้งให้พนั กงานของบริษท ั เอ ทราบทั่วกันว่านายโจ้ ถูกห้ามเข้ามาในบริเวณสำา นักงาน บริษท ั เอ แล้ว เพราะทำาผิดระเบียบ กฎ ข้อบังคับบริษท ั ทำาให้บริษท ั เสียประโยชน์ นายโจ้ จึงฟ้ องนายใจว่าหมิ่นประมาท ดังนี้ ท่านเห็นว่า นายใจมีความผิดฐานหมิ่นประมาทหรือไม่ นายใจแสดงข้อความโดยส่จริต เพื่อความชอบธรรมป้ องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับ บริษท ั เอ ตามคลองธรรม ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทตามมาตรา 329(1) นายเชี่ยว ทนายจำา เลยคดีเรื่องหนึ่ งได้ตามประเด็นไปว่า ความที่ต่า งจังหวัดใน การซั ก ค้ า นนางไหล พยานของนายแรงโจทก์ ตอนหนึ่ ง นายเชี่ ย วได้ ถ ามนางไหลว่ า “พยานได้เช่าห้องแถวอยู่รวมกับนายแรงโจทก์หรือ ” นางไหลตอบว่า “ พยานไม่ได้เช่า ห้อ งแถว แต่นายแรงมาพักอยู่บ้านพยาน” นายเชี่ยวจึงถามนางไหลต่อไปว่า “เมื่อนาย แรงมาพักอยู่บ้านพยาน พยานกับนายแรงได้นอนร่วมม้่งเดียวกันหรือ” นางไหลจึงฟ้ อ ง นายเชี่ยวหาว่าหมิ่นประมาท ดังนี้ ท่านเห็นว่านายเชี่ยวมีความผิดฐานหมิ่นประมาทหรือ ไม่ นายเชี่ยวเป็ นทนายของจำาเลยแสดงข้อความในกระบวนพิจารณาคดีในศาล เพื่อ ประโยชน์แก่คดีของจำา เลย ถามค้า นพยานในโรงศาล เพื่อ ชั่งนำ้าหนักแห่งคำา พยาน ไม่มี ความผิดฐานหมิ่นประมาทตามมาตรา 331
หรือ
มาตรา 329 ผ้ใู ดแสดงความคิดเห็นหรือข้อความใดโดยส่จริต (1) เพื่อความชอบธรรม ป้ องกันตนหรือป้ องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนตามคลองธรรม (2) ในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบัติการตามหน้าที่ (3) ติชมด้วยความเป็ นธรรม ซึ่งบ่คคลหรือสิ่งใดอันเป็ นวิสัย ของประชาชนย่อมกระทำา
(4) ในการแจ้งข่าวด้วยความเป็ นธรรม เรื่องการดำาเนิ นการอันเปิ ด เผยในศาลหรือใน การประช่ม ผู้น้ันไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทำาความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่า เป็ นหมิ่นประมาทนั้นเป็ นความจริง ผู้น้ันไม่ต้อง รับโทษ แต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็ นหมิ่นประมาทนั้ นเป็ นการใส่ ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน มาตรา 331 คู่ความ หรือทนายความของคู่ความ ซึ่งแสดงความคิด เห็น หรือข้อความ ในกระบวนพิจารณาคดีในศาล เพื่อประโยชน์แก่คดี ของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท 10.2.5 เหตุยกเวูนโทษในความผิดฐานหมิน ่ ประมาท
นายอีกา ไปดื่มกาแฟที่ร้านคอฟฟี่ ช็อ ฟในหมู่บ้านและพูดกับหลายคนว่า ในร้า น ว่านางสาวกากีเป็ นเทพีงานบอลล์เมื่อคืนนี้ เคยได้เสียกับตนมาแล้ว และชาวบ้านก็ทราบ ว่าเป็ นการพูดความจริง ดังนี้ นางสาวกากีฟ้องนายอีกาว่าหมิ่นประมาท นายอีกาจะขอ พิสูจน์ความจริงต่อศาลว่า นางสาวกากีเคยได้เสียกับตนมาแล้ว เพื่อไม่ต้องรับโทษได้หรือ ไม่ นายอีกาพิสูจน์ความจริงไม่ได้ เพราะเป็ นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว และการ พิสูจน์จะไม่เป็ นประโยชน์ตอ ่ิ ประชาชน 10.2.6 คำาขอบังคับในคดีหมิน ่ ประมาท
ถ้า ท่า นเป็ นโจทย์ฟ้อ งจำา เลยในคดี หมิ่ นประมาท นอกจากท่า นจะต้อ งบรรยาย การกระทำา ที่อ้างว่า จำา เลยได้กระทำา ผิดถ้อ ยคำา พูด หนั งสือ ภาพขีดเขียน หรือ สิ่งอื่นอัน เกี่ยวกับข้อหมิ่นประมาทในฟ้ องหรือติดมาท้ายฟ้ องเพื่อศาลจักได้ลงโทษจำา เลยแล้ว ท่าน จะมีคำาขอบังคับในคดีหมิ่นประมาทอย่างใดที่จะชดเชยและกอบกู้ช่ ือเสียงของท่านให้กลับ คืนมาได้ตามที่กฎหมายอาญาบัญญัตใิ ห้สิทธิไว้ คำาขอบังคับในคดีหมิ่นประมาทที่ขา ้ พเจ้าในฐานะเป็ นโจทก์พึงขอได้คือ (1) ขอให้ศาลยึดและทำาลายวัตถ่หรือส่วนของวัตถ่ท่ีมีข้อความหมิน ่ ประมาท (2) ขอให้โฆษณาคำาพิพากษาทั้งหมดหรือบางส่วน ในหนังสือพิมพ์หนึ่ งฉบับหรือ หลายฉบับครั้งเดียวหรือหลายครั้งโดยให้จำาเลยเป็ นผ้ช ู ำาระค่าโฆษณา 10.2.7 การยอมความและรูองทุกข์
ขงเบ้งหมิ่นประมาทจิวยี่ เป็ นเหต่ให้จิวยี่รากเลือดตายเสียก่อนที่จะทันได้ร้องท่กข์ จิ ว สาม ซึ่ ง เป็ นป่ ู ข องจิ ว ยี่ จ ะร้ อ งท่ ก ข์ ต่ อ เจ้ า พนั ก งานตำา รวจให้ จั บ ก่ ม ขงเบ้ ง ได้ ห รื อ ไม่ เพราะเหต่ใด ถ้า ผู้ เ สี ยหายในความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทตายเสี ย ก่ อ นร้อ งท่ ก ข์ บิ ด ามารดาคู่ สมรสหรือ บ่ตรของผู้เ สียหายร้อ งท่กข์ได้และให้ถือ ว่าเป็ นผู้เสียหาย กรณี จิ วสามเป็ นป่ ู ของจิวยี่ผู้เสียหาย ไม่ใช่บิดามารดา คู่สมรสหรือบ่ตรของจิวยี่ จึงไม่มีอำา นาจร้อ งท่กข์ต่อ พนักงานตำา รวจให้จับก่มขงเบ้งได้ และความผิดฐานหมิ่นประมาทไม่ใช่ความผิดอาญาที่ จิวยี่ถูกทำา ร้ายถึงตาย จิวสามผู้บ่พการีย่อมไม่สามารถเป็ นผู้จัดการแทนจิวยี่ผู้เสียหายที่ จะร้องท่กข์ได้เช่นเดียวกัน แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 10
1. การเปิ ดผนึ กจดหมายของผู้อ่ ืน เพื่อล่วงรู้ข้อความนั้น กฎหมายกำาหนดว่าจะเป็ นความผิด เมื่อ การเปิ ดผนึ กนั้นน่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใด 2. การเปิ ดผนึ กจดหมายของผู้อ่ ืน ต้องกระทำาโดยมีมูลเหต่จูงใจ เพื่อนำาข้อความในจดหมาย ออกเปิ ดเผยผู้กระ ทำาจึงจะมีความผิดตามมาตรา 322 3. สมจิตได้เอาจดหมายเปิ ดผนึ กซึ่งสมโภชน์เขียนถึงนางสาวสมใจในเรื่องชู้สาวให้สมพงษ์ อ่าน สมพงษ์ได้เปิ ดจดหมายออกอ่านให้พรรคพวกฟั ง ดั งนั้ นสมจิตและสมพงษ์มีความผิ ดหรือไม่ คำา ตอบ สมจิ ต ผิ ด ฐานเอาจดหมายไปเพื่ อล่ ว งรู้ ข้ อ ความและสมพงษ์ผิ ด ฐานเปิ ดผนึ ก เพื่ อล่ ว งรู้ ข้อความ
4. อาทิตย์เอาจดหมายที่ปิดผนึ กของจันทร์ไปให้อังคารเปิ ดอ่านให้ฟัง แต่อังคารอ่านไม่ออก เพราะเป็ นภาษาญี่ป่่น ดังนี้ อาทิตย์และอังคารมีความผิดหรือไม่อย่างไร คำาตอบ อาทิตย์ผิดฐานเอา จดหมายไปเพื่อล่วงรู้ข้อความ และอังคารผิดฐานเปิ ดผนึ กเพื่อรู้ข้อความ 5. ในการแสดงข้อเท็จจริงที่เป็ นความจริงเท่านั้น ไม่ใช่ลักษณะของการ “ใส่ความ ” ในความ ผิดฐานหมิ่นประมาท 6. การแสดงข้อเท็จจริงที่น่าจะทำา ให้ผู้อ่ ืนถูกเกลียดชัง เป็ นลักษณะของการ “ใส่ความ ” ใน ความผิดฐานหมิ่นประมาท 7. ข้อความต่อไปนี้ ถือว่าเป็ นความผิดฐานหมิ่นประมาท “ไอ้ทองเบิ้มสารวัตรกำานัน ชอบพา ตำารวจมาจับชาวบ้านหากินกับตำารวจ” 8. ในกรณีเป็ นการใส่ความเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน กรณี นี้ กฎหมายห้ามมิให้พิสูจน์ข้อที่หาว่าเป็ นหมิ่นประมาทนั้นเป็ นความจริง 9. ในงานแต่งงานของนางสาวจิว๋ น้อยได้ถามเล็กว่า นางสาวจิว๋ เป็ นคนอย่างไร เล็กตอบว่ามี คนมาเล่าให้ฟังว่านางสาวจิว ๋ เป็ นผู้หญิงเสเพล ชอบคบชู้สู่ชายผลัดเปลี่ยนเสมอ แต่เล็กได้กล่าวต่อ ในตอนท้ายว่า ตนก็ไม่ค่อยเชื่อว่ าเรื่องดั งกล่าวจะเป็ นความจริ ง เล็กจะมีความผิ ดหรือไม่ เพราะ เหต่ใ ด คำา ตอบ ผิด เพราะเป็ นการใส่ความนางสาวจิ ว ๋ ในประการที่ น่าจะทำา ให้ นางสาวจิว ๋ เสี ยชื่อ เสียง ถูกดูหมิ่นถูกเกลียดชัง 10. อ้อยกับตั้มไปเดินเล่นที่ศูนย์การค้าแห่งหนึ่ ง เห็นนางสาวมดซึ่งแต่งการด้วยเครื่องประดับ แพรวพราวเดินผ่านมา ตั้มจึงถามอ้อยว่าใครนะสวยดี อ้อยตอบว่าชื่อมด นิ สัยไม่ดีมีความรู้สึกตำ่า เป็ นหนี้ เป็ นสินเขาท่วมตัว แต่ชอบแต่งตัวอวดมั่งอวดมี อ้อยจะมีความผิดหรือไม่เพราะเหต่ใด คำา ตอบ ไม่ผิด เพราะถ้อยคำาที่กล่าวไม่ทำาให้ผู้ฟังเข้าใจถึงความชั่วร้ายอันจะทำาให้นางสาวมดเสียชื่อ เสียงแต่อย่างใด 11. การใส่ความผู้ตายต่อบ่คคลที่สาม ต้องน่ าจะเป็ นเหต่ให้ ค่้สมรสของผู้ตาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชังจึงจะถือว่าผู้ใส่ความนั้นผิดฐานหมิน ่ ประมาท 12. การแสดงความคิดเห็นหรือข้อความใดโดยส่จริตซึ่งจะเป็ นเหต่ยกเว้นความผิดฐานหมิ่น ประมาทต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่กฎหมายกำาหนดไว้น้ั น ต้องเป็ นการติชมด้วยความเป็ นธรรมอัน เป็ นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำาได้ 13. ในคดีหมิ่นประมาท ซึ่งมีคำาพิพากษาว่า จำาเลยมีความผิดศาลอาจสั่งให้กระทำาการได้ โดย ให้ยึดและทำาลายส่วนของวัตถ่ท่ีมีข้อความหมิ่นประมาท 14. ถ้าผู้เสียหายในความผิดฐานหมิ่นประมาทตายเสียก่อนร้องท่กข์กฎหมายให้ถือว่า บุตร ของผู้เสียหาย เป็ นผู้เสียหายอันจะร้องท่กข์ได้ 15. ข้อที่ศาลไม่อาจสั่งได้ในคดีหมิ่นประมาท ซึ่งมีคำาพิพากษาว่าจำาเลยมีความผิดคือ ให้ชดใช้ ค่าเสียหายแก่ผู้ถูกหมิ่นประมาท
หน่วยที่ 11 ความผิดฐานลักทรัพย์และวิง ่ ราวทรัพย์
1. สิทธิใ นทรัพย์เ ป็ นสิ่งที่ก ฎหมายให้ความค้่ม ครอง การเอาทรั พย์ ข องผู้อ่ ืนไปเพื่ อ แสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำา หรับตนเองหรือผู้อ่ ืน ถือเป็ นความ ผิดที่ผู้กระทำาต้องได้รับโทษ 2. การลักทรัพย์ของผู้อ่ ืนโดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้าเป็ นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้อง ระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์โดยทั่วไป ความผิดฐานลักทรัพย์ 1. ลักษณะสำา คัญของความผิดฐานลักทรัพย์คือ การเอาทรัพย์ของผู้อ่ ืน หรือที่ผู้อ่ ืน เป็ นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปเสียจากครอบครองของเขาโดยท่จริต 2. ความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ มี ลั ก ษณะใกล้ เ คี ย งกั บ ความผิ ด ฐานยั ก ยอก ฐานฉ้อ โกง ฐานทำาให้เสียทรัพย์ และฐานรับของโจร 3. การลั ก ทรั พ ย์ ข องผู้ อ่ ื นไปในพฤติ ก ารณ์ หรื อ ด้ ว ยลั ก ษณะบางประการถื อ เป็ น เหต่การณ์ท่ีผู้น้ันต้องรับโทษหนักขึ้น 11.1
11.1.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานลักทรัพย์
คำา ว่า “โดยท่จริต” นั้นมีความหมายเฉพาะประโยชน์ในลักษณะที่เป็ นทรัพย์สิน เท่านั้นใช่หรือไม่ มิใช่ แต่รวมถึงประโยชน์ท่ีเกี่ยวกับตัวทรัพย์น้ันท่กชนิ ด ขึ้นอยู่กับว่าทรัพย์จะให้ ประโยชน์อย่างใดได้บ้าง
ดำา แอบสอยผลมะม่ วงของแดงจนผลมะม่ วงตกลงมาบนพื้นดิน แต่ ยัง ไม่ ทัน ได้ เก็ บ ผลมะม่ ว งนั้ น ก็ พ อดี แ ดงมาพบเห็ น เข้ า ดำา จึ ง หลบหนี ไ ปเสี ย ดำา มี ค วามผิ ด ฐานลั ก ทรัพย์สำาเร็จหรือไม่ เป็ นความผิดฐานพยายามลักทรัพย์ เพราะยังมิได้ครอบครองทรัพย์น้ัน และพา ทรัพย์น้ันไปแต่อย่างใด นายผลจับนกป่ าซึ่งมาทำารังอยู่ท่ีต้นชมพู่ในสวนของนายผันไปหนึ่ งตัว นายผลมี ความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่อย่างไร ไม่ผิ ดฐานลัก ทรั พย์ เ พราะนกป่ ามิ ใ ช่ ก รรมสิ ท ธิ ข ์ องนายผั น แต่ เ ป็ นทรั พ ย์ ไ ม่ มี เจ้าของ 11.1.2 เปรียบเทียบความผิดฐานลักทรัพย์กับความผิดอื่น
ครอบครองในทรั พ ย์ มี ค วามสำา คั ญ ต่ อ การกระทำา ผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ และฐาน ยักยอกทรัพย์อย่างไร ความผิ ดฐานลัก ทรั พย์ เ ป็ นการแย่ งความครอบครองในทรัพ ย์ไ ปจากผู้อ่ ื นโดย ท่ จ ริ ต แต่ ฐานยั ก ยอกไม่เ ป็ นการแย่ ง การครอบครอง เพราะความครอบครองอยู่ กั บ ผู้ กระทำา ความผิดอยู่แล้ว ผู้กระทำา ความผิดเพียงแต่เบียดบังทรัพย์น้ันเป็ นของตนหรือของ บ่คคลที่สามโดยท่จริตก็มีความผิดแล้ว ฉะนั้น การวินิจฉัยว่าขณะนั้นความครอบครองอยู่ กั บ ผู้ ก ระทำา ผิ ด หรือ ไม่ จึ ง มี ค วามสำา คัญ ต่ อ การวิ นิ จ ฉัย ความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ แ ละฐาน ยักยอก เพราะเหต่ใดการเอาทรัพย์ของผู้อ่ น ื ไปทำาลายจึงไม่มีความผิดฐานลักทรัพย์ การเอาทรัพย์ของผู้อ่ ืนไปทำาลาย ไม่เป็ นการแย่งการครอบครองในทรัพย์ไปจาก ผ้อ ู ่ ืนโดยท่จริต 11.1.3 เหตุทท ี่ ำาใหูโทษหนักขึ้น
พาอาว่ธซึ่งไม่มีกระส่นติดตัวไปลักทรัพย์ผู้อ่ ืน ถือว่าเป็ นการลักทรัพย์โดยมีอาว่ธ ตามมาตรา 335 (7) หรือไม่ ไม่เป็ น เพราะอาว่ธนั้นจะต้องสามารถใช้ทำาร้ายผู้อ่ ืนให้ได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ ถึงแก่ความตายได้ ข้า ราชการลัก ทรั พย์ ข องกรมกองที่ต นสั งกั ดอยู่เ ป็ นการลั ก ทรั พ ย์ ข องนายจ้ า ง ตามมาตรา 335(11) หรือไม่เพราะเหต่ใด ไม่เป็ นการลักทรัพย์ของนายจ้าง เพราะข้าราชการมิใช่ลูกจ้างของกรมกองที่ตน สังกัด ลักรูปปั้ นของพระภิกษ่ผู้มีช่ ือเสียงเพื่อนำา ไปสักการบูชา ถือ เป็ นการลัก วัต ถ่ใ น ทางศาสนาตามมาตรา 335 ทวิหรือไม่เพราะเหต่ใด ไม่เป็ น เพราะมิใช่พระพ่ทธรูป หรือวัตถ่ในทางศาสนา
มาตรา 335 ผ้ใู ดลักทรัพย์ (1) ในเวลากลางคืน (2) ในที่ ห รื อ บริ เ วณที่ มี เ หต่ เ พลิ ง ไหม้ การระเบิ ด อ่ ท กภั ย หรื อ ในที่ ห รื อ บริ เ วณที่ มี อ่บัติเหต่ เหต่ ท่กขภั ย แก่ รถไฟ หรื อ ยานพาหนะอื่ นที่ ป ระชาชนโดยสาร หรื อ ภั ย พิ บัติ อ่ ื นทำา นอง เดียวกัน หรืออาศัยโอกาสที่มีเหต่เช่นว่านั้ น หรืออาศัยโอกาสที่ประชาชนกำาลังตื่นกลัวภยันตราย ใด ๆ (3) โดยทำาอันตรายสิ่งกีดกั้นสำาหรับค้่มครองบ่คคลหรือทรัพย์ หรือโดยผ่านสิ่งเช่นว่านั้น เข้าไปด้วยประการใด ๆ (4) โดยเข้าทางช่องทางซึ่งได้ ทำา ขึ้นโดยไม่ได้จำา นงให้เป็ นทางคนเข้า หรือเข้าทางช่อง ทางซึ่งผู้เป็ นใจเปิ ดไว้ให้ (5) โดยแปลงตัวหรือปลอมตัวเป็ นผู้อ่ ืนมอมหน้า หรือทำาด้วยประการอื่นเพื่อไม่ให้เห็น หรือจำาหน้าได้ (6) โดยลวงว่าเป็ นเจ้าพนักงาน (7) โดยมีอาว่ธ หรือโดยร่วมกระทำาความผิดด้วยกันตั้งแต่สอง คนขึ้นไป (8) ในเคหสถาน สถานที่ราชการ หรือสถานที่ท่ีจัดไว้เพื่อให้บริการสาธารณที่ตนได้ เข้าไปโดยไม่ได้รับอน่ญาต หรือซ่อนตัวอยู่ ในสถานที่น้ัน ๆ (9) ในสถานที่ บู ช าสาธารณ สถานี ร ถไฟ ท่ า อากาศยานที่ จ อดรถ หรื อ เรื อ สาธารณ สาธารณสถานสำาหรับขนถ่ายสินค้า หรือในยวดยาน สาธารณ (10) ที่ใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ (11) ที่เป็ นของนายจ้างหรือที่อยู่ในความครอบครองของนายจ้าง (12) ที่เป็ นของผู้มอ ี าชีพกสิกรรม บรรดาที่เป็ นผลิตภัณฑ์ พืชพันธ์่ สัตว์หรือเครื่องมืออัน มีไว้สำาหรับประกอบกสิกรรมหรือได้มา จากการกสิกรรมนั้น
ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงห้าปี และปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงหนึ่ งหมื่นบาท ถ้ า ความผิ ด ตามวรรคแรก เป็ นการกระทำา ที่ ป ระกอบด้ ว ยลั ก ษณะดั ง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น อน่มาตรา ดังกล่าวแล้วตั้งแต่สองอน่มาตราขึ้นไป ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ด ปี และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถ้ า ความผิ ด ตามวรรคแรกเป็ นการกระทำา ต่ อ ทรั พ ย์ ท่ี เ ป็ นโค กระบื อ เครื่ องกล หรื อ เครื่องจักรที่ผู้มีอาชีพกสิกรรมมี ไว้สำา หรั บ ประกอบกสิกรรมผู้ กระทำา ต้ องระวางโทษจำา ค่ กตั้ งแต่ หนึ่ งปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ถ้ าการกระทำา ความผิ ด ดั ง กล่ า วในมาตรานี้ เป็ นการกระทำา โดยความจำา ใจหรื อ ความ ยากจนเหลือ ทนทานและทรัพย์น้ันมีราคา เล็กน้อยศาลจะลงโทษผู้กระทำาความผิดดังที่บัญญัติไว้ ใน มาตรา 334 ก็ได้ มาตรา 335 ทวิ ผู้ใดลักทรัพย์ท่ีเป็ นพระพ่ทธรูปหรือวัตถ่ใน ทางศาสนา ถ้าทรัพย์น้ัน เป็ นที่ สักการบู ช าของประชาชน หรือ เก็ บ รั กษาไว้ เป็ นสมบั ติ ข องชาติ หรื อ ส่ ว นหนึ่ งส่ ว นใดของ พระพ่ทธรูป หรือวัตถ่ดังกล่าวต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สามปี ถึงสิบปี และปรับ ตั้งแต่หกพันบาท ถึงสองหมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคแรก ได้กระทำาในวัด สำานั กสงฆ์ สถานอันเป็ นที่เคารพ ในทางศาสนา โบราณสถานอัน เป็ นทรั พย์ สิ น ของแผ่ น ดิ น สถานที่ ราชการหรื อ พิ พิธ ภั ณฑ์ ส ถาน แห่งชาติ ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาท ถึงสาม หมื่นบาท 11.2 ความผิดฐานวิง ่ ราว
1. ลักษณะสำา คัญของความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาไป ซึ่งหน้า อันมีลักษณะของความอ่กอาจกว่าการลักทรัพย์ตามธรรมดา 2. ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ใกล้เคียงกับความผิดฐานชิงทรัพย์และฐานปล้นทรัพย์ 3. การวิ่งราวทรัพย์ซึ่งเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนได้รับอันตรายแก่กายหรือชีวิต และการวิ่งราว ทรัพย์ในพฤติกรรมบางประการ ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึน ้ 11.2.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานวิง ่ ราวทรัพย์
ห้าวกระชากสร้อยคอของนางห่อพาวิ่งหนี ไป และได้ชนเอาเหี่ยวซึ่งยืนอยู่ใกล้ๆที่ เกิดเหต่ล้มลงศีรษะฟาดพื้นถึงแก่ความตาย ห้าวจะมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์เป็ นเหต่ให้ ผ้อ ู ่ ืนถึงแก่ความตายหรือไม่ ห้าวมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผ้่อ่ ืนถึงแก่ความตายตามมาตรา 336 วรรคท้าย เพราะถือว่าเหี่ยวเป็ นผู้อ่ ืน และความตายของเหี่ยวเป็ นผลที่ตามธรรมดาย่อม จะเกิดขึ้นได้ตามมาตรา 63 11.2.2 เปรียบเทียบความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์กับความผิดฐานชิงทรัพย์
และฐานปลูนทรัพย์ ความผิ ด ฐานวิ่ ง ราวทรั พ ย์ อ าจมี ลั ก ษณะใกล้ เ คี ย งกั บ ความผิ ด ฐานชิ ง ทรั พ ย์ อย่างไร ความผิ ด ฐานวิ่ ง ราวทรั พ ย์ ใ นบางกรณี อ าจมี ก ารใช้ กำา ลั ง ต่ อ ตั ว ทรั พ ย์ เช่ น กระชากเอาทรั พย์ ไปจากมือ เจ้ า ทรัพ ย์ แต่ค วามผิ ดฐานชิ ง ทรั พ ย์ บ างกรณี อ าจมี ก ารใช้ กำาลังต่อตัวเจ้าทรัพย์ เช่น แกะมือเจ้าทรัพย์ท่ีกำาอยู่เพื่อเอาทรัพย์ในกำามือของเจ้าทรัพย์ไป 11.2.3 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
แด่นกับดอกร่วมกันวิ่งราวทรัพย์ของนางสาวเดือน โดยแดนมีอาว่ธปื นติดตัวไป ด้วย แด่นกับดอกจะต้องรับโทษหนักขึ้นตามมาตรา 336 ทวิ หรือไม่ เพราะเหต่ใด แด่นต้องรับโทษหนักขึ้นตามมาตรา 336 ทวิ แต่เพียงผู้เดียวเพราะมาตรา 336 ทวิ มิใช่เหต่ลักษณะคดีตามมาตรา 89 มาตรา 336 ผู้ ใ ดลั ก ทรั พ ย์ โ ดยฉกฉวยเอาซึ่ ง หน้ า ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานวิ่ ง ราว ทรัพย์ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี และปรับ ไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท ถ้าการวิ่ งราวทรัพย์เป็ นเหต่ใ ห้ผู้ อ่ ืนรับอัน ตรายแก่ กายหรือ จิตใจ ผู้ กระทำา ต้ องระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ สี่พันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท ถ้ า การวิ่ ง ราวทรั พ ย์ เ ป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นรั บ อั น ตรายสาหั ส ผู้ ก ระทำา ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้งแต่สามปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หกพันบาท ถึงสองหมื่นบาท ถ้าการวิ่งราวทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ ห้าปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาท ถึงสามหมื่นบาท มาตรา 336 ทวิ ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 334 มาตรา 335 มาตรา 335 ทวิ หรือ มาตรา 336 โดยแต่ งเครื่ องแบบทหารหรื อ ตำา รวจหรื อ แต่ งกายให้ เข้ าใจว่ าเป็ น ทหารหรือตำารวจ หรือโดยมีหรือ ใช้อาว่ธปื นหรือวัตถ่ระเบิด หรือโดยใช้ยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่
การ กระทำา ผิด หรื อการพาทรัพย์น้ั น ไป หรือ เพื่ อให้ พ้นจากการจั บก่ม ต้อ ง ระวางโทษหนั กกว่ าที่ บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ กึ่งหนึ่ ง มาตรา 89 ถ้ามีเหต่ส่วนตัวอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพิ่ม โทษแก่ผู้กระทำา ความ ผิดคนใด จะนำาเหต่น้ันไปใช้แก่ผู้กระทำาความผิด คนอื่นในการกระทำาความผิดนั้นด้วยไม่ได้ แต่ถ้า เหต่อันควรยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพิ่มโทษเป็ นเหต่ในลักษณะคดี จึงให้ใช้แก่ผู้กระทำาความผิด นั้น ด้วยกันท่กคน
แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 11
1. “ทรัพย์” ตามประมวลกฎหมายอาญา คือวัตถ่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ 2. “ลักทรัพย์” หมายความว่า เอาทรัพย์ของผู้อ่ ืนหรือที่ผู้อ่ ืนเป็ นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดย
ท่จริต
3. ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ได้แก่ กระชากสร้อยขาดจากคอแล้วพาเดินหนี ไป 4. ลักกระแสไฟฟ้ าเป็ นความผิด ฐานลักทรัพย์ 5. โหน่ งรวมเงินกับเหน่ งซื่อรถจักรยานสามล้อรับจ้างส่งคนโดยสาร โดยเหน่ งเป็ นผู้ครอบ
ครองรถแต่ผู้เดียว ต่อมาโหน่ งนำารถนั้นไปขายเสีย โหน่ ง มีความผิดฐานยักยอก 6. ตูบล้วงกระเป๋าตีบออกมาพ้นจากกระเป๋ ากางเกงของนายตีบแล้ว แต่ตีบรู้สึกตัว จึงเอามือ ตบมือตูบจนกระเป๋าเงินตกไปยังพื้นดิน เช่นนี้ ตูบมีความผิดฐานลักทรัพย์สำาเร็จแล้ว 7. ติ่งลักเสื้อยืดของต้อยไป แต่เกิดความรู้สึกกลัวถูกจับจึงเอาเสื้อไปเผาเสีย ติ่งมีความผิด ฐานลักทรัพย์ 8. ดั่นลักทรัพย์ของนายจ้างจากรถยนต์บรรท่กพอดีดมเดินผ่านมาที่รถ ดั่นจึงส่งทรัพย์ให้ดม ช่วยรับไปซ่อนไว้ในคูข้างถนน ดมมีความผิดฐานรับของโจร 9. ผึ่งลักรถจักรยานยนตร์ของผายที่จอดอยู่ท่ีลานวัดเวลากลางวัน โดยใช้ก่ญแจปลอมไขเอา โซ่ ท่ี ล่ า มรถไว้ กั บ ต้ น ไม้ อ อก ผึ่ ง มี ค วามผิ ด ตามมาตรา 335 (3) (3) โดยทำา อั น ตรายสิ่ ง กีดกั้นสำาหรับค้่มครองบ่คคลหรือทรัพย์ หรือโดยผ่านสิ่งเช่นว่านั้นเข้าไปด้วยประการใด ๆ 10. กรอบเข้าไปลักทรัพย์จากในบ้านของกราบในเวลากลางคืน ขณะที่กราบไม่อยู่ โดยเข้า ทางประตู ท่ี ก ราบลื ม ปิ ดไว้ พอดี กราบกลั บ มาเห็ น กรอบจึ ง รี บหนี ล งทางหน้า ต่ า ง แล้ ว มาขึ้ น รถ จั ก รยานยนต์ ท่ี เ กรี ย บจอดซ่่ ม รออยู่ ห ลบหนี ไ ป กรอบมี ค วามผิ ด ตามมาตรา 335 (1) (8) และ มาตรา 336 ทวิ (1) ในเวลากลางคืน (8) ในเคหสถาน สถานที่ราชการ หรือสถานที่ท่ีจัดไว้เพื่อให้บริการสาธารณที่ตนได้ เข้าไปโดยไม่ได้รับ มาตรา 336 ทวิ ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 334 มาตรา 335 มาตรา 335 ทวิ หรือ มาตรา 336 โดยแต่ งเครื่ องแบบทหารหรื อ ตำา รวจหรื อ แต่ งกายให้ เข้ าใจว่ าเป็ น ทหารหรือตำารวจ หรือโดยมีหรือ ใช้อาว่ธปื นหรือวัตถ่ระเบิด หรือโดยใช้ยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่ การ กระทำา ผิด หรื อการพาทรัพย์น้ั น ไป หรือ เพื่ อให้ พ้นจากการจั บก่ม ต้อ ง ระวางโทษหนั กกว่ าที่ บัญญัติไว้ใน มาตรา นั้น ๆ กึ่งหนึ่ ง 11. แหลมกระชากสร้อยจากคอของนางเหลื่อมขาดติดมือไป แต่เล็บของแหลมได้จิกเอาคอของ นางเหลื่อมจนเป็ นบาดแผลลึกโลหิตไหล แหลมมีความผิดตามมาตรา 336 วรรคสอง ถ้ าการวิ่ งราวทรั พ ย์ เ ป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นรั บ อั น ตรายแก่ กายหรื อ จิ ต ใจ ผู้ กระทำา ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่สองปี ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ สี่พันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท
หน่ วยที่ 12 ความผิ ด ฐานกรรโชกทรั พ ย์ รี ด เอาทรั พ ย์ ชิ ง ทรัพย์และปลูนทรัพย์ 1. ความผิดฐานกรรโชกและรีดเอาทรัพย์เป็ นความผิดลักษณะผสม ระหว่างความผิด ต่อ เสรีภาพและความผิดต่อ ทรัพย์ เป็ นการข่ม ขืนใจผู้อ่ ืนให้เขายอมให้ประโยชน์ใ นทาง ทรัพย์สินโดยการใช้กำาลังทำาร้าย หรือข่เู ข็ญ 2. ความผิ ด ฐานชิ ง ทรั พ ย์ เป็ นรู ป แบบหนึ่ ง ของความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง มี ก าร ทำาร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะทำาร้ายร่างกายด้วย ทำาให้ความผิดมีลักษณะร้ายแรงขึ้น 3. ความผิดฐานปล้นทรัพย์ เป็ นรูปแบบหนึ่ งของความผิดฐานชิง ทรั พย์ ซึ่ง มีผู้ร่ว ม กระทำาผิดตั้งแต่สามคนขึ้นไป เป็ นความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ท่ีมีลักษณะร้ายแรงที่ส่ด 12.1
ความผิดฐานกรรโชกและรีดเอาทรัพย์
1. ลั กษณะสำา คัญ ของความผิด ฐานกรรโชกทรั พ ย์ คือ การข่ ม ขื น ใจผู้อ่ ื นให้ ย อมให้ ทรัพย์สินโดยการทำา ร้ายหรือ ขู่ว่า จะทำา อันตรายต่อ ชีวิต ร่า งกาย เสรีภาพ ชื่อ เสียงหรือ ทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ถู ก ขู่ ห รื อ บ่ ค คลที่ ส าม ความผิ ด ฐานกรรโชก ซึ่ ง มี ก ารขู่ ว่ า จะฆ่ า จะทำา อันตรายถึงสาหัส หรือจะวางเพลิงหรือมีอาว่ธติดตัวมาขู่ ถือเป็ นพฤติการณ์ท่ีร้ายแรง ซึ่ง ผู้กระทำาจะต้องรับโทษหนักขึ้น 2. ลั ก ษณะสำา คั ญ ของความผิ ด ฐานรี ด เอาทรั พ ย์ คื อ การข่ ม ขื น ใจให้ ผู้ อ่ ื นยอมให้ ทรัพย์สินโดยการขู่ว่าจะเปิ ดเผยความลับ 3. ความผิดฐานกรรโชกกับรีดเอาทรัพย์แตกต่า งกันตรงวิธีการที่ใ ช้ขู่ คือ ความผิด ฐานกรรโชกเป็ นการขู่ว่าจะทำา อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์ แต่ ความผิดฐานรีดเอาทรัพย์เป็ นการขู่ว่าจะเปิ ดเผยความลับ 12.1.1 ความผิดฐานกรรโชก
เหต่ใด
ให้วินิจฉัยว่า กรณี ต่อไปนี้ ผู้กระทำา มีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์หรือไม่ เพราะ
มีคนร้ายลักเอาวิทย่ของแดงไป แดงไม่ทราบว่าคนร้า ยเป็ นใคร แต่แดงไม่ชอบ หน้าขาวจึงบอกกับขาวว่า แดงเห็นขาวเข้าไปลักวิทย่ของแดงวันก่อน ให้ขาวเอาวิทย่ม า คืนหรือใช้ราคา 2,000 บาท มิฉะนั้นจะไปแจ้งตำารวจให้มาลากคอขาวเข้าค่ก ขาวกลัวจะ ถูกจับเสียเวลาทำา มาหากิน จึ งยอมจ่า ยเงิน ให้แ ดงไป 2,000 บาท ดังนี้ แดงมีค วามผิด ฐานใด แดงมีความผิดฐานกรรโชก เพราะแดงไม่ทราบว่าใครเป็ นคนร้าย แต่แกล้งกล่าว หาขาวเพื่ อจะเอาเงิ น เป็ นการข่ ม ขื น ใจขาวให้ ม อบเงิ น โดยขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะทำา อั น ตรายต่ อ เสรีภาพของขาวจนขาวต้องยอมจ่ายเงิน 12.1.2 ความผิดฐานรีดเอาทรัพย์
คำาว่า “ความลับ” ในมาตรา 338 หมายถึงอะไร จงอธิบายและยกตัวอย่าง ความลับหมายถึง ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ประจักษ์แก่คนมั่วไป และเป็ นข้อ เท็จจริงที่ เจ้าของความลับประสงค์จะปกปิ ด เช่น การมีภริยาน้อย สูตรปร่งอาหาร เป็ นต้น 12.1.3 เปรียบเทียบความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ และความผิดต่อ เสรีภาพตามมาตรา 309 ความผิดฐานกรรโชก และรีดเอาทรัพย์มข ี ้อแตกต่างที่สำาคัญอย่างไร วิธีการที่ใช้ในการขู่เข็ญ คือในความผิดฐานกรรโชก เป็ นการใช้กำาลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะทำาอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง และทรัพย์สิน แต่ความผิด ฐานรีดเอาทรัพย์เป็ นการขู่เข็นว่าจะเปิ ดเผยความลับ ซึ่งทำาให้ผู้ถูกขู่หรือบ่คคลที่สามเสีย หาย
มาตรา 309 ผู้ใดข่มขืนใจผู้อ่ ืนให้กระทำา การใด ไม่ กระทำา การใดหรือ จำา ยอมต่ อสิ่ งใด โดยทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกข่มขืนใจ นั้ นเองหรื อของผู้อ่ ืน หรือโดยใช้ กำา ลั งประท่ษร้ ายจนผู้ถูกข่ม ขืนใจต้ องกระทำา การนั้ น ไม่กระทำา การนั้น หรือจำายอมต่อสิ่งนั้น ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกพันบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าความผิ ดตามวรรคแรกได้ กระทำา โดยมี อ าว่ ธ หรือ โดยร่ ว มกระทำา ความผิ ด ด้ว ยกั น ตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป หรือได้กระทำา เพื่อให้ผู้ถูกข่มขืนใจทำา ถอน ทำา ให้เสียหาย หรือทำา ลายเอกสาร สิทธิอย่างใดผู้กระทำาต้องระวาง โทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้ง ปรับ ถ้ ากระทำา โดยอ้ างอำา นาจอั้ งยี่ ห รื อ ซ่ อ งโจร ไม่ ว่ าอั้ งยี่ ห รื อ ซ่อ งโจรนั้ น จะ มีอ ยู่ ห รื อ ไม่ ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี และปรับ ตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 12.2 ความผิดฐานชิงทรัพย์
1. ความผิดฐานชิงทรัพย์ เป็ นการลักทรัพย์ โดยการใช้กำา ลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญ ว่าในทันใดนั้นจะใช้กำาลังประท่ษร้าย 2. ถ้าการชิงทรัพย์น้ันกระทำาต่อวัตถ่บางชนิ ด หรือในสถานที่บางแห่ง หรือทำาในบาง เวลาหรือทำาให้เกิดผลเป็ นอันตรายแก่ผู้อ่ ืน หรือมีอ่ปกรณ์ในการทำา ความผิดบางอย่าง ผู้ กระทำาจะต้องรับโทษหนักขึ้นกว่าการชิงทรัพย์ธรรมดา 3. ความผิดฐานชิงทรัพย์ท่ีมีการขู่เข็ญว่าจะใช้กำา ลังประท่ษร้าย มีลักษณะคล้า ยกับ ความผิดฐานกรร โชก แต่แตกต่างกันตรงที่ความผิดฐานชิงทรัพย์เป็ นการขู่ว่าจะใช้กำาลัง
ประท่ษร้ายในทันใดนั้น ส่วนความผิดฐานกรรโชกเป็ นการขู่ว่าจะใช้กำา ลังประท่ษร้ายใน อนาคต 12.2.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานชิงทรัพย์
แดงกับดำา ไปดื่มส่ราด้วยกัน เกิดวิวาทกันโต้เถียงและชกต่อยกัน ดำา สู้แดงไม่ได้ จึงชักมีดออกมาแทงแดงถึงแก่ความตาย เมื่อแดงตายแล้ว ดำาแลเห็นสร้อยคอทองคำาหนัก 3 บาท ที่แดงสวมอยู่นึกอยากได้ จึงปลดสายสร้อยเอาไป ดังนี้ ดำามีความผิดฐานใด ดำามีความผิดฐานฆ่าผ้อ ู ่ ืนตามมาตรา 288 และความผิดฐานลักทรัพย์โดยมีอาว่ธ ตามมาตรา 335(7) แต่ไม่ผิดฐานชิงทรัพย์เพราะดำา มิได้ทำา ร้ายแดงโดยมีเหต่จูงใจเกี่ยว กับทรัพย์ เมื่อแดงตายแล้วดำาจึงเกิดเจตนาท่จริตลักทรัพย์ไป 12.2.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
ม่วงเข้าไปในเรือนของเหลืองตอนกลางคืน และลักเอาพระพ่ทธรูป 1 องค์ ซึ่งอยู่ ในห้องพระไป เมื่อม่วงออกจากเรือนมาถึงประตูร้ัวก็พบตำารวจผ่านมา ม่วงจึงใช้ไม้ตีศร ี ษะ ตำารวจสลบ แล้วหนี ไป ม่วงมีความผิดฐานใด ม่วงมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 วรรค 2 เพราะทำาการลักทรัพย์ใน เคหสถานและในเวลากลางคืน ม่วงไม่มีความผิดตามมาตรา 339 ทวิ เพราะพระพ่ทธรูปเป็ นทรัพย์ส่วนตัวของ เหลือง มิใช่เป็ นที่สักการะบูชา ของคนทั่วไป หรือเป็ นสมบัติของชาติ 12.2.3 เปรียบเทียบความผิดฐานชิงทรัพย์กับกรรโชก
วัตถ่ท่ีเป็ นองค์ประกอบความผิดในความผิดฐานชิงทรัพย์กับกรรโชกทรัพย์ต่าง กันอย่างไร วัตถ่ท่ีองค์ประกอบความผิดในความผิดฐานชิงทรัพย์คือทรัพย์เท่านั้น แต่ความ ผิดฐานกรรโชกรวมถึงประโยชน์ในลักษณะที่เป็ นทรัพย์สินด้วย 12.3 ความผิดฐานปลูนทรัพย์
1. ความผิ ด ฐานปล้ น ทรั พ ย์ เป็ นการชิ ง ทรั พ ย์ ท่ี มี ลั ก ษณะร้ า ยแรง เพราะมี ผู้ ร่ ว ม กระทำาผิดหลายคน (ตั้งแต่ 3 คน ขึ้นไป) ซึ่งก่อให้เกิดความหวาดเสียวและตื่นตกใจแก่ผู้ กระทำาและผู้พบเห็น กฎหมายจึงกำาหนดให้โทษไว้สูงส่ดในบรรดาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ทั้งหลาย 2. ถ้าการปล้นทรัพย์น้ันกระทำา ต่อ วัตถ่บางชนิ ดหรือกระทำา ในสถานที่บางแห่งหรือ ทำา ให้เกิดผลเป็ นอันตรายแก่ผู้อ่ ืน หรือ มีอ่ปกรณ์ใ นการทำา ความผิด บางอย่า ง ผู้ก ระทำา ต้องจะต้องปรับโทษหนักขึ้นกว่าการปล้นทรัพย์ธรรมดา 12.3.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานปลูนทรัพย์
แดงวางแผนให้ดำา กับเหลืองไปทำา การลักทรัพย์ท่ีบ้านขาว โดยสั่งว่า ถ้า ขาวตื่น ขึ้นมาพบให้แทงขาวให้ตาย ดำากับเหลืองขึ้นไปบนบ้านขาวและลักเอาเงินในต้เู ซฟของขาว ได้ตามแผนโดยขาวไม่ต่ ืน ขณะที่ปีนรั้วออกมาพอดีพบตำารวจ ดำาจึงใช้มีดแทงตำารวจบาด เจ็บ ดังนี้ ดำา แดง เหลืองมีความผิดฐานใด ดำาและเหลืองมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 วรรค 3 ส่วนแดงเป็ นผู้ใช้ ในการชิงทรัพย์ต้องรับโทษเสมือนตัวการ แต่ท้ังสามคนไม่ผิดฐานปล้นทรัพย์ เพราะแดง มิได้ร่วมในการกระทำาความผิดอย่างเป็ นตัวการด้วย มาตรา 339 ผ้ใู ดลักทรัพย์โดยใช้กำาลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญว่า ในทันใดนั้นจะใช้กำาลัง ประท่ษร้าย เพื่อ (1) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์น้ันไป (2) ให้ย่ น ื ให้ซึ่งทรัพย์น้ัน (3) ยึดถือเอาทรัพย์น้ันไว้ (4) ปกปิ ดการกระทำาความผิดนั้น หรือ (5) ให้พ้นจากการจับก่ม ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานชิ ง ทรั พ ย์ ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้ ง แต่ ห้ า ปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตั้งแต่หนึ่ งหมื่นบาทถึงสองหมื่นบาท ถ้าความผิดนั้ นเป็ นการกระทำา ที่ ประกอบด้ว ยลั กษณะดังที่ บัญ ญัติไว้ ในอน่ม าตราหนึ่ ง อน่ ม าตรา แห่ ง มาตรา 335 หรื อ เป็ นการกระทำา ต่ อ ทรั พ ย์ ท่ี เ ป็ นโคกระบื อ เครื่ องกลหรื อ เครื่องจักรที่ผู้มีอาชีพกสิกรรม มีไว้สำา หรับประกอบกสิ กรรม ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่ สิบปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท
ถ้าการชิงทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำา ค่กตั้งแต่สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการชิงทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบ ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สามหมื่นบาท ถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการชิ งทรั พย์ เป็ นเหต่ใ ห้ผู้ อ่ ืนถึงแก่ ความตาย ผู้กระทำา ต้อ ง ระวางโทษประหารชี วิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต มาตรา 339 ทวิ ถ้าการชิงทรัพย์ได้กระทำาต่อทรัพย์ตาม มาตรา 335 ทวิ วรรคแรก ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท ถ้าการชิงทรั พย์น้ั นเป็ นการกระทำา ในสถานที่ ดังที่ บัญญั ติไว้ ใน มาตรา 335 ทวิ วรรค สองด้วย ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึง ยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่น บาท ถ้าการชิงทรัพย์ตามวรรคแรกหรือวรรคสองเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการชิงทรัพย์ตามวรรคแรกหรือวรรคสองเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับ อันตรายสาหัส ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำาค่กตลอดชีวิต หรือจำาค่ก ตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี ถ้าการชิงทรัพย์ตามวรรคแรก หรือวรรคสองเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืน ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำา ต้องระวางโทษประหารชีวิต 12.3.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
แดง ดำา และขาว เข้ า ทำา การลั ก ทรั พ ย์ ท่ี บ้ า นของเหลื อ ง และเกิ ด ยิ ง ต่ อ สู้ กั น ระหว่างแดงกับเหลือง ปรากฏว่ากระส่นไปถูกดำาถึงแก่ความตาย ปรากฏว่าขาวไม่ทราบ ข่าวว่าแดงมีปืนติดตัวมาด้วย ดังนี้ แดงและขาวจะมีความผิดฐานใด แดงมี ค วามผิ ด ฐานปล้ น ทรั พ ย์ โ ดยมี อ าว่ ธ ปื นและใช้ ปื นยิ ง ตามมาตรา 340 วรรค 4 และ มาตรา 340 ตรี แต่ไม่ผิ ดตามมาตรา 340 วรรคท้า ย เพราะดำา เป็ นพวก เดียวกับแดงและขาวไม่ใช่คนอื่น ขาวมีความผิดฐานปล้นทรัพย์โดยมีอ าว่ธปื นตามมาตรา 340 วรรค 4 แต่ไม่มี ความผิดตามมาตรา 340 ตรี เพราะกฎหมายเอาผิดเฉพาะคนที่มีปืนคนเดียว มาตรา 340 ผ้ใู ดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำาความผิดด้วยกันตั้งแต่ สามคนขึ้นไป ผ้น ู ้ ัน กระทำา ความผิ ด ฐานปล้ น ทรั พย์ ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ ก ตั้ งแต่ สิ บปี ถึ งสิ บห้ าปี และปรั บ ตั้ ง แต่ ส อง หมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท ถ้ า ในการปล้ น ทรั พ ย์ ผู้ ก ระทำา แม้ แ ต่ ค นหนึ่ ง คนใด มี อ าว่ ธ ติ ด ตั ว ไป ด้ ว ยผู้ ก ระทำา ต้ อ ง ระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบสองปี ถึงยี่สิบปี และปรับ ตั้งแต่สองหมื่นสี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการปล้นทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตลอด ชีวิต หรือจำาค่กตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี ถ้าการปล้นทรัพย์ได้กระทำาโดยแสดงความทาร่ณ จนเป็ นเหต่ให้ผอ ู้ ่ ืนรับอันตรายแก่กาย หรือจิตใจ ใช้ปืนยิง ใช้วัตถ่ระเบิดหรือกระทำา ทรมานผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตลอดชีวิต หรือ จำาค่กตั้งแต่สิบห้า ปี ถึงยี่สิบปี ถ้าการปล้นทรัพย์เป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย ผ้ก ู ระทำาต้อง ระวางโทษประหารชีวิต มาตรา 340 ทวิ ถ้าการปล้นทรัพย์ได้กระทำาต่อทรัพย์ตาม มาตรา 335 ทวิ วรรคแรก ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถ้าการปล้นทรัพย์น้ันเป็ นการกระทำาในสถานที่ดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 335 ทวิ วรรค สองด้วย ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำา ค่ กตั้งแต่ สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้ งแต่ส ามหมื่นบาทถึ งสี่ หมื่นบาท ถ้ า การปล้ น ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อ วรรคสอง ผู้ ก ระทำา แม้ แ ต่ คนหนึ่ ง คนใดมี อ าว่ ธ ติดตัวไปด้วย ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตลอด ชีวิต หรือจำาค่กตั้งแต่สิบห้าปี ถึงยี่สิบปี ถ้ า การปล้ น ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อ วรรคสองเป็ นเหต่ ใ ห้ ผู้ อ่ ื นรั บ อั น ตรายสาหั ส ผู้ กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตลอดชีวิต ถ้าการปล้น ทรั พย์ตามวรรคแรกหรื อวรรคสองได้ กระทำา โดยแสดงความทาร่ ณจนเป็ น เหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ใช้ปืนยิง ใช้วัตถ่ระเบิดหรือกระทำา ทรมาน ผู้กระทำา ต้อง ระวางโทษประหารชีวิต หรือจำาค่กตลอดชีวิต ถ้าการปล้นทรัพย์ตามวรรคแรกหรือวรรคสองเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนถึงแก่ความตาย ผู้กระทำา ต้องระวางโทษประหารชีวิต มาตรา 340 ตรี ผู้ใดกระทำาความผิดตาม มาตรา 339 มาตรา 339 ทวิ มาตรา 340 หรือ มาตรา 340 ทวิ โดยแต่งเครื่องแบบทหาร หรือตำารวจหรือแต่งกายให้เข้าใจว่าเป็ น ทหารหรือตำารวจ หรือโดยมี หรือใช้อาว่ธปื นหรือวัตถ่ระเบิด หรือโดยใช้ยานพาหนะเพื่อกระทำาผิด หรือพาทรัพย์น้ั นไปหรือ เพื่ อให้พ้นจากการจั บก่ม ต้อ งระวางโทษ หนั กกว่ าที่ บัญ ญัติไว้ใ นมาตรา นั้น ๆ กึ่งหนึ่ ง
แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 12
1. แดงกระต่ กสร้อ ยคอของดำา สร้อยคอขาดติดมือแดงไป การกระทำาดังกล่าวเป็ นการใช้ กำาลังประท่ษร้าย 2. ขาวโทรศัพท์ไปขู่แดงว่า ให้เตรียมเงินไว้ 1,000 บาท พร่่งนี้ จะไปเอา ถ้าไม่ได้เงินจะเผา บ้านแดงให้หมด แดงกลัวจึงสัญญาว่าจะเตรียมเงินไว้ให้ ขาวมีความผิดฐานกรรโชก 3. เฮงโทรศั พ ท์ ไ ปขู่ มิ่ ง ว่ า ถ้ า ไม่ ย อมจ่ า ยเงิ น 2,000 บาท จะไม่ ส ามารถมี ชี วิ ต อยู่ เ ห็ น พระอาทิตย์ในวันร่่งขึ้น มิ่งมีความกลัวจึงยอมให้เงินไป ความผิดฐานกรรโชกนี้ ผู้กระทำาผิดต้องรับ โทษมากที่ส่ด 4. การขู่เข็ญ ข่วู ่าจะเปิ ดเผยความลับ เป็ นความผิดฐานรีดเอาทรัพย์ 5. ความผิดฐานปล้นทรัพย์แตกต่างจากความผิดฐานชิงทรัพย์คือ ปล้นทรัพย์มีผู้กระทำาความ ผิดมากกว่าชิงทรัพย์ 6. แดงเขียนจดหมายไปถึงขาวมีข้อความว่า แดงทราบข่าวว่าขาวเป็ นภรรยาน้อยของเสี่ย ชาญ ถ้าขาวไม่อ ยากให้ เรื่ องนี้ เปิ ดเผยในคอลั มน์ซ่ บซิ บของหนั งสือ พิม พ์ ขาวจะต้ องเขี ยนเช็ คให้ แดง 100,000 บาท ขาวทราบแล้ ว เกิ ด ความกลั ว ว่ า ตนจะเสี ย หายยอมเขี ย นเช็ ค ให้ แ ดง แต่ ยั ง ไม่ทันส่งเช็คไป แดงก็ถูกจับเสียก่อน ดังนี้ แดงมีความผิดฐานรีดเอาทรัพย์ 7. ขาวเข้าไปในร้านของเขียว และหยิบส่ราติดมือมา 1 ขวด เขียวร้องเรียกให้จ่ายเงิน ขาวจึง ชัก มีด ออกมา เขี ย วเห็ น มี ด เกิ ด ความกลั ว จึ ง ยอมให้ ข าวไปโดยดี ดั ง นี้ ขาวจะมี ค วามผิ ด ฐานชิ ง ทรัพย์ 8. เฮงเข้าไปในร้านของง้่มและชักมีดออกมาถือไว้และพูดกับง้่มว่าให้เตรียมเงิน ให้ 1,000 บาท พร่่งนี้ จะมาเอาง้่มบอกว่าไม่มีเงินเลย พอดีตำารวจเข้ามาในร้านจับเฮงได้ ดังนั้น เฮงมีความผิด ฐานพยายามกรรโชกทรัพย์โดยมีอาว่ธติดตัวมาขู่เข็ญ 9. ความผิดฐานชิงทรัพย์โดยเอากระบือของชาวนาไปผู้กระทำา ต้องรับโทษสูงกว่า ความผิด ฐานชิงทรัพย์รถยนต์ 10. ฟ้ ากับมิ่งว่าจ้างเก่งคนขับแท็กซี่ให้ไปส่งที่ซอยอารี พอถึงที่เปลี่ยวฟ้าก็เอามีดจี้เก่งให้ถอด แหวนให้ พอได้แหวนแล้วทั้งฟ้ าและมิ่งก็วิ่งหนี ไป ดังนี้ มิ่งจะมีความผิดฐานชิงทรัพย์โดยมีอาว่ธ 11. องค์ประกอบสำาคัญของความผิดฐานปล้นทรัพย์คือ มีผู้กระทำาผิดสามคน
หน่วยที่ 13 ความผิดฐานฉูอโกง โกงเจูาหนี้ และยักยอก 1. ความผิดฐานฉ้อโกง เป็ นการประท่ษร้ายต่อทรัพย์โดยที่เจ้าของทรัพย์ยินยอมส่ง มอบทรัพย์ให้ โดยผู้กระทำาผิดมิได้แย่งการครอบครอง หากแต่เจ้าของส่งมอบให้เพราะถูก ผู้กระทำาผิดหลอกลวง 2. ความผิดฐานโกงเจ้า หนี้ มีความม่่งหมายเพื่อ ค้่มครองการบังคับชำา ระหนี้ ของเจ้า หนี้ เพื่อมิให้ลูกหนี้ ทำา การยักยอกถ่า ยเททรัพย์สินของตน หรือทำา ความเสียหายแก่หลัก ประกันในการชำาระหนี้ 3. ความผิดฐานยักยอกส่วนมากจะเกิดจากความไว้เนื้ อเชื่อใจของเจ้าทรัพย์ ที่ส่งมอบ ทรั พ ย์ ใ ห้ ค นอื่ นครอบครองแทน แล้ ว ผู้ ค รอบครองกลั บ เบี ย ดบั ง เอาทรั พ ย์ น้ั น ไป ซึ่ ง มี ลักษณะเป็ นเรื่องส่วนตัวระหว่างผู้กระทำา กับเจ้าทรัพย์จึงเป็ นความผิดอันอาจยอมความ กันได้ 13.1 ความผิดฐานฉูอโกง
1. ลักษณะสำา คัญ ของความผิดฐานฉ้อโกง คือ การหลอกลวงเอาทรัพย์สินของผู้อ่ ืน การหลอกลวงอาจทำา โดยแสดงข้อความอันเป็ นเท็จหรือปกปิ ดข้อเท็จจริง อันควรบอกให้ แจ้งก็ได้ 2. การฉ้อโกงซึ่งทำาโดยการปลอมตัวเป็ นคนอื่น หรือหลอกลวงคนโง่เขลา หรือหลอก ลวงประชาชนทั่วไปย่อมมีลักษณะร้ายแรง ซึ่งผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น 3. การล่อลวงให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของผู้อ่ ืนในบางกรณี แม้ผู้กระทำา จะ มิได้ไปซึ่งทรัพย์สิน กฎหมายก็ถือเป็ นความผิด 13.1.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานฉูอโกง
นายมกรได้เสนอขายรถยนต์ให้นายพฤษภ นายพฤษภเกี่ยงให้นายมกรนำารถไป ส่งมอบที่บ้านของตนที่เชียงใหม่ มิฉะนั้นก็จะไม่ซ้ อ ื นายมกรตกลงรับปากโดยความจริงคิด ไว้แล้วจะไม่นำา รถขึ้นไปส่งที่เ ชียงใหม่ท่ีรับปากก็เพื่อจะให้นายพฤษภซื้อรถเท่า นั้ น นาย
พฤษภจึงจ่ายเงินให้มกรและกลับไปเชียงใหม่ นายพฤษภรออยู่หลายวันก็ไม่มีใครเอารถ มาส่ง นายพฤษภจึงไปแจ้งความว่านายมกรฉ้อโกง ให้วินิจฉัยว่านายมกรมีความผิดฐาน ฉ้อโกงหรือไม่ นายมกรไม่มีความผิดฐานฉ้อโกง เพราะนายมกรเพียงรับปากว่าจะทำา อะไรให้ นายพฤษภแล้วไม่ทำาเท่านั้น ไม่ถึงขั้นแสดงข้อเท็จจริงอันเป็ นเท็จ จึงไม่มีฉอ ้ โกง 13.1.2 ฉูอโกงโดยแสดงตนเป็ นคนอื่น
นายแสงเอาสม่ ด เช็ ค ของนายสอนมาเซ็ น ชื่ อลงในเช็ ค สั่ ง จ่ า ยเงิ น สด 10,000 บาท แล้วนำาไปขึ้นเงินจากธนาคาร ธนาคารจ่ายเงินให้นายแสง ดังนี้ นายแสงจะมีความ ผิดฐานใด แสงหลอกลวงธนาคารโดยแสดงความเท็จว่า สอนออกเช็คให้ตนทำา ให้ธนาคาร จ่ายเงินให้ แต่ไม่เป็ นการหลอกลวงโดยตนเป็ นคนอื่น เพราะแสงไม่ได้แสดงว่าตนเป็ นคน อื่น แสงมีความผิดตามมาตรา 341 แต่ไม่ผิดตามมาตรา 342 มาตรา 341 ผู้ ใ ดโดยท่ จ ริ ต หลอกลวงผู้ อ่ ื นด้ ว ยการแสดงข้ อ ความ อั น เป็ นเท็ จ หรื อ ปกปิ ดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้ แจ้ งและโดยการหลอกลวงดั งว่ านั้ นได้ไปซึ่งทรัพย์สิ น จากผู้ ถูก หลอกลวง หรือบ่คคลที่สามหรือ ทำาให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบ่คคลที่สามทำาถอนหรือทำาลายเอกสาร สิทธิ ผู้น้ั นกระทำา ความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิน สามปี หรือ ปรับไม่ เกิ นหกพัน บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 342 ถ้าในการกระทำาความผิดฐานฉ้อโกง ผู้กระทำา (1) แสดงตนเป็ นคนอื่น หรือ (2) อาศัยความเบาปัญญาของผู้ถูกหลอกลวงซึ่งเป็ นเด็ก หรืออาศัยความอ่อนแอทางจิต ของผู้ถูกหลอกลวง ผู้ กระทำา ต้ อ งระวางโทษจำา ค่ กไม่ เกิ น ห้ า ปี หรือ ปรั บไม่ เ กิ น หนึ่ งหมื่ นบาท หรื อ ทั้ งจำา ทั้ ง ปรับ 13.1.3 ฉูอโกงประชาชน
สมศักดิเ์ ขียนจดหมายถึงแดง ดำา และ เขียว มีข้อความว่า สมศักดิส ์ ามารถจัดหา งานให้ทำา ได้ ท่ีป ระเทศซาอ่ ดิอ าระเบี ย รายได้ เ ดื อ นละ 20,000 บาท โดยสมศัก ดิ ไ์ ม่ ไ ด้ ตั้งใจจัดหางานให้คนทำาจริงๆ ผู้สมัครต้องยื่นใบสมัครและเสียเงิน 2,000 บาท แดงกับดำา หลงเชื่อจึงเสียเงินให้สมศักดิไ์ ปคนละ 2,000 บาท ดังนี้ สมศักดิม ์ ีความผิดฐานใด สมศักดิม ์ ีความผิดฐานฉ้อโกงตามมาตรา 341 แต่ไม่ผิดตามมาตรา 343 เพราะ ลักษณะการกระทำาเป็ นการหลอกลวงคนในวงจำากัด ไม้ได้เปิ ดแก่ประชาชนทั่วไป มาตรา 343 ถ้ า การกระทำา ความผิ ด ตาม มาตรา 341 ได้ ก ระทำา ด้ ว ยการแสดง ข้อความอันเป็ นเท็จต่อประชาชน หรือด้วยการปกปิ ด ความจริง ซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ประชาชน ผู้ กระทำาต้องระวางโทษ จำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดดังกล่าวในวรรคแรก ต้องด้วยลักษณะ ดังกล่าวใน มาตรา 342 อน่ มาตรา หนึ่ งอน่มาตราด้วยผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ หนึ่ งพัน บาทถึงหนึ่ งหมื่นสี่พันบาท 13.1.4 หลอกลวงใชูแรงงานผู้อ่ ืน
ดำาประกาศรับสมัครพนักงานหญิงบริการมาทำางานในสถานอาบอบนวด และอบ ไอนำ้า ซึ่งดำาจัดตั้งขึ้นโดยตกลงให้ค่าจ้างเดือนละ 6,000 บาท และแบ่งเปอร์เซ็นต์จากค่า บริการที่ลูกค้าจ่ายอีกร้อยละ 10 ส่วนแบ่งเปอร์เซ็นต์จ่ายท่กวัน แต่เงินเดือนจ่ายตอนสิ้น เดือน มีหญิงมาสมัครทำา งาน 40 คน สองเดือนแรกดำาจ่ายเงินเดือนครบถ้วนแต่พอเดือน ที่สามกิจการขาดท่น พอสิ้นเดือนดำา ปิ ดกิจการและหลบหนี ไปไม่ยอมจ่ายเงินเดือน ดังนี้ ดำามีความผิดฐานใด ดำาไม่มีความผิดอาญา เพราะดำาไม่ได้มีเจตนาท่จริตจะไม่จ่ายค่าจ้างมาแต่แรก
มาตรา 344 ผู้ ใ ดโดยท่ จ ริ ต หลอกลวงบ่ ค คลตั้ งแต่ สิ บ คนขึ้ น ไป ให้ ประกอบการงาน อย่างใด ๆ ให้แก่ตนหรือให้บ่คคลที่สามโดยจะไม่ใช้ค่าแรงงานหรือค่าจ้างแก่บ่คคลเหล่านั้ น หรือ โดยจะใช้ค่าแรงงาน หรือค่าจ้างแก่บ่คคลเหล่านั้นตำ่ากว่าที่ตกลงกัน ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 13.1.5 ซื้อและบริโภคอาหารโดยไม่ชำาระเงิน
ม่ว งเข้า ไปซื้อ ข้า วมัน ไก่ เกาเหลาลูก ชิ้น และโอเลี้ ยงอีก 1 แก้ว รวมราคา 70 บาท เมื่อกินเสร็จแล้วจะจ่ายเงินปรากฏว่ากระเป๋ าสตางค์หายไป จึงไม่มีเงินจ่าย ดังนี้ ม่วง จะมีความผิดหรือไม่ ม่วงไม่มีความผิด เพราะตอนแรกที่ส่ั งอาหาร ม่วงยัง เข้ า ใจว่า ตนมีเงิ นพอที่ จะ ชำาระค่าอาหาร มาทราบว่ากระเป๋ าสตางค์หายเมื่อกินอาหารเสร็จแล้ว
มาตรา 345 ผู้ใดสั่งซื้อและบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มหรือเข้าอยู่ ในโรงแรม โดยรู้ว่า ตนไม่สามารถชำาระเงินค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม หรือ ค่าอยู่ในโรงแรมนั้ น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่ เกินสามเดือน หรือปรับ ไม่เกินห้าร้อยบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 13.1.6 ชักจ้งผู้อ่ ืนใหูจำาหน่ายทรัพย์สินโดยเสียเปรียบ
เด็ ก ชายแดงได้ รั บ มรดกเป็ นภาพเขี ย นสี น้ ำ ามั น หลายภาพจากค่ ณ ป่ ู ซึ่ ง ถึ ง แก่ กรรมไป เหลืองซึ่งเป็ นล่งได้ขอซื้อภาพเขียนภาพหนึ่ งชื่อ “อย่าลืมฉัน” ด้วยราคา 10,000 บาท โดยเหลืองเข้าใจว่าภาพนี้ เป็ นภาพเขียนของปี กาสโซ่มีราคาถึง 200,000 บาท แต่ ความจริงภาพนี้ ไม่ใช่ของปี กาสโซ่ และมีราคาเพียง 8,000 บาท แดงซึ่งไม่รู้ค่ณค่า ของ ภาพเขียนก็ยอมขายให้เพราะอยากได้เงิน ดังนี้ เหลืองจะมีความผิดหรือไม่ เหลืองไม่มีความผิด เพราะแดงจำาหน่ ายทรัพย์สินโดยไม่เสียเปรียบ มาตรา 346 ผ้ใู ดเพื่อเอาทรัพย์สินของผู้อ่ น ื เป็ นของตนหรือของบ่คคลที่สาม ชักจูงผู้หนึ่ ง ผู้ใดให้จำาหน่ ายโดยเสียเปรียบซึ่งทรัพย์สิน โดยอาศัยเหต่ท่ีผู้ถูกชักจูงมีจิตอ่อนแอหรือเป็ นเด็กเบา ปั ญญา และ ไม่ ส ามารถเข้ า ใจตามควรซึ่ ง สาระสำา คั ญ แห่ ง การกระทำา ของตน จนผู้ ถู ก ชั ก จู ง จำาหน่ ายซึ่งทรัพย์สินนั้น ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำาทั้ง ปรับ 13.1.7 แกลูงทำาใหูวัตถุทีเ่ อาประกันภัยเสียหาย
แดงเอาประกันรถยนต์ข องตนเพื่อความเสียหายใดๆไว้ ต่อ มารถยนต์ข องแดง เก่ามากขับไม่ค่อยดี แดงอยากได้รถใหม่ จึงให้ดำา แกล้งขับรถของตนไปชนต้นไม้เสียหาย หนักจนซ่อมไม่ได้ แล้วจึงไปเรียกเงินค่าทดแทนจากบริษท ั รับประกันภัย ดังนี้ ดำา และแดง จะมีความผิดฐานใด ทั้งดำาและแดงมีความผิดตามมาตรา 347 โดยดำาเป็ นผู้กระทำา และแดงเป็ นผู้ใช้ มาตรา 347 ผ้ใู ดเพื่อให้ตนเองหรือผู้อ่ ืนได้รับประโยชน์จากการ ประกันวินาศภัย แกล้ง ทำาให้เกิดเสียหายแต่ทรัพย์สินอันเป็ นวัตถ่ท่ี เอาประกันภัย ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือ ปรับไม่เกิน หนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 13.1.8 ความผิดฐานฉูอโกงซึง ่ อาจยอมความไดู
ร.ต.ท. แดงเห็นดำาเล่นไพ่สามใบหลอกเอาเงินขาว จึงเข้าจับก่มดำาและแจ้งข้อหา ฉ้อโกง ดังนี้ ร.ต.ท. แดง มีอำานาจสอบสวนดำาในความผิดฐานฉ้อโกง ทั้งๆ ที่ขาวไม่ได้รอ ้ ง ท่กข์ได้หรือไม่ ร.ต.ท. แดงไม่มีอำานาจสอบสวน เพราะความผิดฐานฉ้อโกงเป็ นความผิดอันยอม ความกันได้ เมื่อไม่มีการร้องท่กข์เจ้าพนักงานก็ไม่มอ ี ำานาจสอบสวน 13.1.9 เปรียบเทียบความผิดฐานฉูอโกงกับลักทรัพย์
เหลื อ งเป็ นลู ก จ้ า งของดำา ดำา ให้ เ หลือ งนำา วั ว ของดำา ไปเลี้ ย งที่ ก ลางท่่ ง แดงมา หลอกเหลืองว่าดำา ใช้ให้มารับวัวกลับบ้าน เหลืองเชื่อจึงมอบวัวให้แดง แดงเอาวัวไปขาย แดงมีความผิดฐานใด เหลือ งเป็ นลูก จ้า งของดำา มีเ พีย งการยึด ถือ ทรั พย์ ข องนายจ้ า ง ไม่ มี สิ ท ธิ ค รอบ ครอง แดงมาหลอกเอาทรัพย์ไปจากเหลืองผู้ยึดถือ เท่ากับแบ่งแย่งการครอบครองจากดำา แดงจึงมีความผิดฐานลักทรัพย์ 13.2 ความผิดฐานโกงเจูาหนี้
1. ความผิ ด ฐานโกงเจ้ า หนี้ ลั ก ษณะหนึ่ ง คื อ การทำา ให้ ห ลั ก ประกั น ของเจ้ า หนี้ ใน สัญญาจำานำาเสียหายอันจะเป็ นผลให้เจ้าหนี้ บังคับจำานำาไม่เต็มที่ หรือไม่อาจบังคับจำานำาได้ เลย 2. ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ ลักษณะหนึ่ งคือ การยักย้าย หรือโอนทรัพย์สินของลูกหนี้ ไปให้ผู้อ่ ืน ซึง ่ เป็ นผลให้กองทรัพย์สินของลูกหนี้ ลดน้อยลง จนเจ้าหนี้อาจบังคับชำาระหนี้ ได้ ไม่ครบถ้วน หรือไม่อาจบังคับชำาระหนี้ ได้เลย 13.2.1 เอาไปหรือทำาใหูเสียหายซึง ่ ทรัพย์อันตนจำานำาไวูแก่ผู้อ่ ืน
แดงจำา นำา แหวนเพชรไว้กับขาววงหนึ่ ง ต่อมาแดงอยากได้แหวนคืนจึงสมคบกับ เหลืองและดำา เข้าไปในบ้านของขาว แดงใช้มีดจี้ขู่ให้ขาวส่งมอบแหวนวงนี้ ให้ ขาวกลัวจึง ยอมตาม ดังนี้ แดง เหลือง และดำามีความผิดฐานใด แดง เหลือง และดำา มีความผิดร่วมกันโกงเจ้าหนี้ แต่ไม่ผิดฐานปล้นทรัพย์ และ แหวนเพชรเป็ นของแดงเองจึงไม่เป็ นลักทรัพย์ 13.2.2 ยักยูายทรัพย์สินเพื่อมิใหูเจูาหนี้ ไดูรับชำาระหนี้
ศ่กร์ขายม้าตัวหนึ่ งให้เ สาร์ใ นราคา 5,000 บาท แต่ยังไม่ได้ส่งมอบ ต่อมาศ่กร์ กลับเอาม้าไปขายให้พ่ธในราคา 6,000 บาท และส่งมอบม้าให้พ่ธไป โดยพ่ธทราบว่าศ่กร์ ขายม้าให้เสาร์ไปแล้ว ดังนี้ ศ่กร์และพ่ธ จะมีความผิดฐานโกงเจ้าหนี้หรือไม่ ศ่กร์และพ่ธ ไม่มีความผิด เพราะยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าเสาร์ได้ใช้หรือจะใช้ สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ศ่กร์ส่งมอบม้า 13.3 ความผิดฐานยักยอก
1. ลักษณะสำา คัญ ของความผิดฐานยักยอกคือ ผู้กระทำา ผิดจะต้อ งเป็ นผู้ครอบครอง ทรัพย์น้ัน อยู่ขณะกระทำาผิด แล้วเกิดเจตนาท่จริตเบียดบังเอาทรัพย์น้ัน 2. การเก็บของซึ่งมีคนทำาตกไว้แล้วเอาไว้เสีย เป็ นการยักยอกทรัพย์สินหายซึ่งมีโทษ น้อยกว่ายักยอกลักษณะทั่วไป 3. ผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้จัดการทรัพย์สินของผู้อ่ ืน หรือเป็ นผู้ท่ีมีอาชีพอันเป็ นที่ไว้ วางใจกระทำาโดยท่จริตให้เกิดความเสียหายย่อมมีความผิด 4. ทรัพย์สินซึ่งเป็ นสมบัติอันมีค่าหรือ เป็ นของโบราณ สมควรจะสงวนไว้เป็ นสมบัติ ของชาติ ถ้าผู้ใดเก็บได้แล้วเอาไว้เสียเอง ย่อมมีความผิด 13.3.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานยักยอก
แดงถือตะกร้าไปซื้อของในตลาด ซื้อของได้เต็มตะกร้ารู้สึกหนัก จึงเอาตะกร้า ใส่ของฝากดำา ซึ่งเป็ นแม่ค้าขายของให้ช่วยดูแลไว้ด้ วยเดี๋ย วเดียวจะมาเอา ดำา ก็รับปาก แดงไปซื้อของอีกราว 1 ชั่วโมง กลับมาขอตะกร้าคืน ดำา ปฏิเสธว่าไม่ได้รับฝาก ดังนี้ ดำา มี ความผิดฐานใด แดงเพี ย งแต่ม อบหมายให้ ดำา ดู แ ลทรั พ ย์ ช่ั ว คราว ไม่เ ป็ นการฝากทรั พ ย์ การ ครอบครองยังอยู่กับแดง ดำาเอาทรัพย์ไปจึงเป็ นลักทรัพย์ 13.3.2 ยักยอกทรัพย์ทีม ่ ผ ี ู้ส่งมอบใหูโดยสำาคัญผิด
ขาวเป็ นบ่ร่ษไปรษณี ย์ส่ ง จดหมายแก่ดำา โดยสำา คัญ ผิด เพราะตามจ่ า หน้า ซอง มีช่ ือของขำา ดำารับไว้ และเอาเช็คซึ่งส่งมากับจดหมายเสีย โดยทราบอยู่แล้วว่าเป็ นการส่ง จดหมายผิดตัว ดังนี้ ดำามีความผิดฐานใด ดำา มี ค วามผิ ด ตามมาตรา 352 วรรคสอง เพราะขาวส่ ง จดหมายให้ ดำา โดย สำาคัญผิดในตัวบ่คคล มาตรา 352 ผู้ใ ดครอบครองทรัพย์ซึ่ งเป็ นของผู้อ่ ื น หรือ ซึ่งผู้อ่ ืน เป็ นเจ้ าของรวมอยู่ ด้ ว ย เบี ย ดบั ง เอาทรั พ ย์ น้ั น เป็ นของตนหรื อ บ่ ค คล ที่ ส ามโดยท่ จ ริ ต ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐาน ยักยอก ต้องระวางโทษ จำาค่กไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าทรัพย์น้ันได้ตกมาอยู่ในความครอบครองของผู้กระทำาความผิด เพราะผู้อ่ ืนส่งมอบให้ โดยสำา คัญ ผิ ด ไปด้ ว ยประการใดหรื อ เป็ นทรั พ ย์ สิ น หายซึ่ ง ผู้ กระทำา ความผิ ด เก็ บได้ ผู้ ก ระทำา ต้ อ ง ระวางโทษแต่เพียงกึ่งหนึ่ ง 13.3.3 ยักยอกทรัพย์สินหาย
พลทหารแสงนั่งมาในรถ เผอิญรถควำ่า ปื นของพลทหารแสงตกข้างถนนบริเวณ รถควำ่า พลทหารแสงได้พยายามงมหา 2 ครั้งก็ไม่พบ จึงเลิกหา ต่อมาสองสามชั่วโมงตอน หัวคำ่า จำาเลยงมปื นของพลทหารแสงได้ จึงเอาไปเสีย ดังนี้ จำาเลยมีความผิดฐานใด จำาเลยผิดฐานลักทรัพย์ ปื นยังไม่เป็ นทรัพย์เสียหาย เพราะทรัพย์ตกอยู่เป็ นที่รู้ แน่ นอนว่าอยู่บริเวณไหน การที่พลทหารแสงมาหาสองครั้งไม่พบแล้วเลิกหายังไม่แสดง ว่าเลิกครอบครอง เพราะสภาพของทรัพย์ไม่ใช่ของที่เจ้าของจะเลิกติดตาม 13.3.4 ผู้จัดการทรัพย์สินกระทำาผิดหนูาทีข ่ องตนโดยทุจริต
เก่งเป็ นเป็ นผู้ปกครองของขาวผู้เยาว์ เก่งได้นำา เงินของขาวไปลงท่นซื้อห้่นของ บริษท ั ดีวัน ทั้งๆ ที่มีอัตราเสี่ยงสูงเพราะฐานะของบริษท ั ดีวันไม่ดี ทั้งนี้ เพื่อหาประโยชน์ให้ แก่กองทรัพย์สินของขาว ปรากฏว่าบริษท ั ดีวันล้มละลาย ทำา ให้ขาวต้องเสียหายเป็ นเงิน 100,000 บาท ดังนี้ เก่งมีความผิดหรือไม่ เก่งไม่ผิดเพราะเก่งทำาไปเพื่อประโยชน์ของขาว เก่งไม่มเี จตนาท่จริต 13.3.5 ยักยอกกระทำาโดยผู้มีอาชีพเป็ นทีไ ่ วูวางใจของประชาชน
นายเกลี้ยงเป็ นผู้ใหญ่บ้าน ได้รับความเชื่อ ถือ ไว้วางใจจากคนในหมู่บ้า น ชาว บ้า นมักจะนำา เงินที่เ ก็บออมไว้มาฝากให้ผู้ใ หญ่เกลี้ยงนำา ไปจัดการหาผลประโยชน์ โดย
จ่ายดอกเบี้ยตอบแทนให้ชาวบ้าน นายเกลี้ยงได้รับฝากเงินประมาณ 20,000 บาท ก็หลบ หนี ไปพร้อมกับเงิน ดังนั้นนายเกลี้ยงจะมีความผิดหรือไม่ นายเกลี้ยงไม่มีความผิด เพราะการฝากเงิ นเป็ นการโอนกรรมสิท ธิใ์ นเงิน ให้ ผู้รับฝากเป็ นเพียงการผิดสัญญาทางแพ่งเท่านั้น 13.3.6 ยักยอกของมีค่าทีเ่ ก็บไดู
นายโฉดไปข่ ด หาสมบั ติ ท่ี เจดี ย์ โ บราณทางภาคเหนื อ พบกร่ พ ระพ่ ท ธรู ป เชียงแสนทองคำา หลายร้อยองค์มูลค่าหลายล้านบาท นายโฉดนำา พระพ่ทธรูปไปเก็บไว้ท่ี บ้าน และเตรียมติดต่อฝรั่งเพื่อ ส่งพระพ่ทธรูปดังกล่า วไปขายต่า งประเทศ นายโฉดจะมี ความผิดหรือไม่ นายโฉดมีความผิดตามมาตรา 355 เพราะพระพ่ทธรูปเชียงแสนทองคำา เป็ น สังหาริมทรัพย์มีค่า และนายโฉดได้เตรียมติดต่อขายซึ่งแสดงเจตนาเบียดบังแล้ว
มาตรา 355 ผู้ใดเก็บได้ซึ่งสังหาริม ทรัพย์อันมีค่า อันซ่อนหรือฝั งไว้โดยพฤติ การณ์ ซึ่งไม่มีผู้ ใ ดอ้ างว่ าเป็ นเจ้ าของ ได้ แ ล้ ว เบี ย ดบั งเอา ทรั พย์ น้ั น เป็ นของตนหรื อ ของผู้ อ่ ื นต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ 13.3.7 เปรียบเทียบความผิดฐานยักยอกกับลักทรัพย์และฉูอโกง
ขาวเข้าไปซื้อของในซ่ปเปอร์มาร์เกต ฝากกระเป๋ าใส่ของให้พนักงานช่วยดูแลไว้ ดำา สังเกตจึงเรียกรถแท็กซี่และบอกแท็กซี่ให้ไปที่พนักงานและบอกว่า ขาวให้ม าเอาของ พนักงานดูแลของหลงเชื่อจึงมอบกระเป๋ าของขาวให้คนขับแท็กซี่ แท็กซี่เอามามอบให้ดำา ดังนี้ คนขับแท็กซี่และดำามีความผิดฐานใด คนขับแท็กซี่ไม่มีความผิด เพราะไม่รู้ข้อเท็จจริงว่ากระเป๋ านั้นไม่ใช่ของดำา และ ไม่รู้วา ่ สิ่งที่ตนไปบอกกับพนักงานเป็ นความเท็จ ดำา มี ค วามผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ เพราะพนั ก งานดู แ ลของไว้ แ ทนขาว การครอบ ครองยังอยู่ท่ีขาว เมื่อดำาเอาไปไม่ว่าจะเอาไปเอง หรือใช้คนอื่นไปเอาก็เป็ นลักทรัพย์ ไม่ใช่ ฉ้อโกงหรือยักยอก แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 13
1. จิตมีภูมิลำาเนาอยู่ท่ีกาฬสินธ์่ ใช้อ่บายหลอกลวงเจนเจ้าของร้านขายรถว่าตนชื่อขวบเศรษฐี ใหญ่แห่งอ่ บล เจนหลงเชื่ อจึ ง ยอมทำา สั ญ ญาขายรถยนต์ ให้ 1 คั น โดยยอมให้ ชำา ระเงิ น ตอนสิ้ น เดือน และส่งมอบรถให้ไป ดังนั้นจิต มีความผิดฐานฉ้อโกง 2. ม่วงมีเงินติดตัว 5 บาท เข้าไปในภัตตาคารกิเลนทอง แล้วสั่งเป็ ดปั กกิ่งกับหูฉลามมากิน พอพนักงานมาเก็บเงินม่วงก็บอกว่าตนมีเงินแค่ 5 บาท เช่นนี้ ม่วงควรมีความผิดอาญา 3. แดงตั้งสำานักงานจัดส่งคนไปทำางานที่ซาอ่ฯ โดยความจริงแดงไม่คิดจะส่งคนไปจริง แต่จะ หลอกเอาเงิน มีคนมาสมัคร 5-6 คน เสียเงินคนละ 1,000 บาท แดงได้เงินแล้วหนี ไป ดังนี้ แดงมี ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน 4. ชมพูจำานำาแหวนเพชรไว้กับเหลือง ตกกลางคืนชมพูลอบเข้าไปในบ้านเหลืองแล้วลักแหวน ออกมา ดังนี้ ชมพูมีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ มีความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ 5. แดงถูกฟ้ องเรียกให้ชำาระหนี้ 100,000 บาท คดีอยู่ระหว่างพิจารณา แดงกลัวว่าถ้าแพ้คดี จะถูกยึดทรัพย์ จึงสมคบคิดกับขาวโอนที่ดิน บ้าน และรถยนต์ไปให้ขาวจนหมด ดังนี้ ขาวจะมีความ ผิดฐานโกงเจ้าหนี้ 6. จันทร์เอาส่นัขตัวเมียมาให้อังคารช่วยเลี้ยง เพราะตนจะไปต่างประเทศราว 3 เดือน พอก ลับมาทวงคืน อังคารกลับปฏิ เสธว่าไม่เคยรับฝากส่นัข ความจริงอังคารเอาส่นั ขไปขายนานแล้ว อังคารมีความผิดฐานยักยอก 7. สมเกียรติทำาแหวนตกที่ข้างถนน โดยไม่รู้ว่าทำาตกที่ไหน ต่อมาอีก 2 วัน ชูเชิดเก็บแหวน วงนี้ ได้เลยเอาไว้เสียเอง ชูเชิดจะมีความผิดฐานยักยอกทรัพย์สินหาย 8. หมึกหลอกแดงให้ฉีกสัญญาเงินกู้ ซึ่งขาวเป็ นลูกหนี้ ทิ้งเสีย แดงหลงเชื่อฉีกสัญญาทิ้ง หมึก มีความผิดฐานฉ้อโกง 9. แดงบอกดำา ว่า “ขอยืมกระสอบไปใส่ข้าวสัก 10 ใบ พร่่งนี้ จะคือ” ความจริงแดงไม่เคยมี ข้าวและไม่คิดจะคืนกระสอบให้ด้วย คำากล่าวดังนี้ ถือว่า แสดงข้อความอันเป็ นเท็จ 10. ม่วงเข้าไปในร้านอาหารสั่งอาหารมารับประทานจนอิ่ม ตอนจ่ ายเงิ นไม่มี เงิ นเพราะลืม กระเป๋าสตางค์ ดังนี้ ม่วงไม่ความผิดฐานใด
หน่วยที่ 14 ความผิดฐานรับของโจร ทำาใหูเสียทรัพย์และบุกรุก 1. ความผิดฐานรับของโจรม่่งที่จะกำาราบปราบปราม ผู้ท่ีช่วยผู้กระทำาความผิดเกี่ยว กับทรัพย์บางประเภท โดยช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำาหน่ าย ช่วยพาเอาไปเสีย หรือรับทรัพย์อัน เป็ นของโจรนั้นเพื่อลดการกระทำาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 2. ความผิดฐานทำา ให้เ สียทรัพย์ อาจกระทำา ต่อ ทรัพ ย์ท่ี มีเ จ้า ของหรือ ต่อ ทรั พย์ ท่ีใ ช้ หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ก็ได้ สำาหรับกรณีแรกกฎหมายบัญญัติให้เป็ นความผิดอัน ยอมความได้ ส่วนกรณีหลังเป็ นความผิดอาญาแผ่นดิน 3. ความผิ ด ฐานบ่ ก ร่ ก เป็ นการกระทำา ต่ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องผู้ อ่ ื น เช่ น รบกวน กรรมสิทธิห ์ รือการครอบ ครองของผู้อ่ ืน หรือยักย้ายทำา ลายเครื่อ งหมายเขตหรือ เข้าไป หรือซ่อนตัวอยู่ในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อ่ น ื 14.1
ความผิดฐานรับของโจร
1. ของโจรหมายถึง ทรัพย์ท่ีได้มาจากการกระทำา ความผิ ดในลัก ษณะลั กทรัพ ย์ วิ่ง
ราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงาน ยักยอกทรัพย์ของโจรจะต้องเป็ นของโจรตลอดไปตราบใดที่ยังไม่หมดสภาพเป็ นของโจรผู้ ใดรับไว้โดยรู้ว่าเป็ นของโจรก็มีความผิดฐานรับของโจร 2. ความผิดฐานรับของโจรอาจกระทำา ได้ 2 ลักษณะ ลักษณะหนึ่ งคือ การช่วย เช่น ช่วยซ่อนเร้น อีกลักษณะหนึ่ งคือ การรับ เช่น ซื้อ หรือรับจำาหน่ ายทรัพย์อันเป็ นของโจร 3. การรับของโจรในบางกรณี ผ้ก ู ระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น เพราะกระทำาเพื่อค้ากำาไร หรือเพราะได้กระทำาต่อทรัพย์ท่ีได้มาจากการชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์ หรือทรัพย์ท่ีถูกลัก มาเป็ นทรัพย์ท่ีกฎหมายม่่งให้ความค้ม ่ ครองเป็ นพิเศษ 4. ความผิดฐานรับของโจรม่่ง ปราบปรามผู้ท่ี ช่ว ยผู้ กระทำา ความผิด เกี่ ยวกับ ทรั พย์ หลังจากความผิดนั้นสำาเร็จ จึงมีองค์ประกอบในเรื่องการกระทำาและเจตนาต่างจากความ ผิดฐานลักทรัพย์ท่ีม่งปราบปรามผู้ประ ท่ษร้ายต่อทรัพย์ของผู้อ่ น ื โดยตรง 14.1.1 ความหมายของคำาว่า “ของโจร”
ให้วินิจฉัยว่า กรณีต่อไปนี้ ข้อใดที่ทรัพย์ยังเป็ นของโจรอยู่ และข้อใดที่ทรัพย์หมด สภาพเป็ นของโจรแล้วเพราะเหต่ใด (1) ลักแหวน แล้วเอาแหวนไปแลกกับกำาไล กำาไลเป็ นของโจรหรือไม่ (2) ลักผ้าใบและสีมาเขียนภาพศิลปะ ภาพศิลปะนั้นเป็ นของโจรหรือไม่ (3) ลักท่อนไม้มาผ่าเป็ นฟื น ฟื นเป็ นของโจรหรือไม่ (4) ลักท่อนไม้มาแกะสลักเป็ นตัวกวาง รูปกวางเป็ นของโจรหรือไม่ (5) ลักท่อนซ่งมาเลื่อยแปรรูปเป็ นไม้กระดาน ไม้กระดานเป็ นของโจรหรือไม่ (6) ลักโคมาฆ่า แล้วเอาหนังไปแกะเป็ นรูปหนังตะล่ง และเอาไปแกะสลักเป็ นรูป เรือใบ รูปหนังตะล่งและรูปเรือใบนั้น เป็ นของโจรหรือไม่ ข้อ (1) ไม่เ ป็ นของโจร เพราะกำา ไรเป็ นทรัพย์ท่ีได้ม าจากการแลกเปลี่ ยน มิใ ช่ ทรัพย์ท่ีได้มาจากการลักโดยตรง ข้อ (2) และ ข้อ (4) ไม่เป็ นของโจร เพราะทรัพย์ของโจรเปลี่ยนสภาพเป็ นทรัพย์ อื่นและเจ้าของเดิมหมดกรรมสิทธิต ์ าม ป.พ.พ. มาตรา 1317 วรรคสอง ข้อ (3) และ ข้อ (5) ยังเป็ นของโจรอยู่ เพราะทรัพย์ของโจรยังไม่เปลี่ยนสภาพ เป็ นทรัพย์อ่ ืน ลำาพังการแยกตัวทรัพย์ไม่ได้ทำาให้ทรัพย์น้ันสิ้นสภาพการเป็ นของโจร ข้อ (6) ไม่เป็ นของโจร เพราะทรัพย์ของโจรเปลี่ยนสภาพเป็ นทรัพย์อ่ ืนแล้ว 14.1.2 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานรับของโจร
ดำาเห็นแหวนของเจ้าทรัพย์ตกลงบนพื้นในร้านของแดงก็รีบเก็บเอาไว้ โดยแดงก็ เห็นเหต่การณ์ต่อมาดำาเอาแหวนนั้นไปขายให้แดง แดงก็รับซื้อไว้ แดงผิดฐานรับของโจร หรือไม่ ดำา และแดงมิได้สมคบกันกระทำา ความผิดฐานลักทรัพย์ แดงจึงไม่เป็ นตัวการใน การกระทำาความผิดฐานนี้ แต่เมื่อแดงรับซื้อของไว้โดยรู้อยู่ว่าเป็ นแหวนที่ดำาลักมาแดงจึง ผิดฐานรับของโจร ดำา แดงสมคบกันไปวิ่งราวทรัพย์โดย ฟ้ า ให้ยืมรถจักรยานยนต์เป็ นพาหนะ ดำา เข้ า ไปกระชากกระเป๋ าใส่ เ งิ น ของเจ้ า ทรั พ ย์ แ ล้ ว วิ่ ง เอามาให้ แ ดงซึ่ ง ติ ด เครื่ องรถ จักรยานยนต์รออยู่ แดงรีบออกรถรีบขับหนี ไปทันทีเอากระเป๋ าเงินไปให้ฟ้าซ่อนไว้ จาก
นั้นจึงเอาเงินมาแบ่งกัน ดำาเอาเงินส่วนแบ่งของตนไปซื้อสร้อยคอให้นางสาวเขียวเส้นหนึ่ ง ให้วินิจฉัยว่าใครจะมีความผิดฐานรับของโจรบ้าง ดำาและแดงเป็ นตัวการวิ่งราวทรัพย์ ฟ้ าเป็ นผู้สนับสน่นโดยให้ยม ื พาหนะ ดำา แดง และฟ้ า จึงไม่ผิดฐานรับของโจรอีก การที่ดำา เอาเงินไปซื้อ สร้อ ยคอ สร้อ ยคอมิใ ช่ข องโจร เพราะเป็ นทรัพย์ท่ีได้มาจากการเอาของโจรไปแลกเปลี่ยน นางสาวเขียวซึ่งรับสร้อยคอไว้ จึงไม่ผิดฐานรับของโจร รถยนต์ของแดงถูกคนร้ายลักไป แดงไปขอร้องดำาให้ช่วยสืบหา ดำารู้วา ่ ฟ้ าเป็ นคน ลักรถคันนั้ นจึงมาบอกแดงให้ติดต่อ กับฟ้ า โดยดำา มิ ได้ รู้เ ห็นเป็ นใจกั บฟ้ าแต่ป ระการใด เมื่อแดงไถ่รถคืนมาได้แล้ว ดำา จึงเรียกเงินจากแดง 2,000 บาทเป็ นสินจ้างที่ได้ช้ีช่องให้ แดงได้รถคืน ดำาจะมีความผิดฐานรับของโจรหรือไม่ ดำา ไม่มี ความผิด ฐานรับ ของโจรเพราะมิไ ด้เ ป็ นการช่ ว ยฟ้ าผู้ กระทำา ผิ ด ฐานลั ก ทรัพย์จำาหน่ ายทรัพย์อันเป็ นของโจร ฟ้ าเอาโคของตน 3 ตัว ไปปล่อยให้กินหญ้าในท่่งนา ใกล้ๆกับฝูงโคของม่วง ตอน เย็นโคตัวผู้ตัวหนึ่ งของฟ้ า ติดฝูงโคของม่วงไปโดยม่วงก็ไม่ทราบ วันต่อมาฟ้ าไปขอคืนจาก ม่ ว ง ม่ว งจึ ง เรี ย กค่ า ไถ่ จ ากฟ้ าก่ อ นที่ จ ะให้ ฟ้ าต้ อ นโคตั ว นั้ น กลั บ คื น ให้ วิ นิ จ ฉัย ว่ า ม่ ว งมี ความผิดฐานรับของโจรหรือไม่ การที่โคของฟ้ าติดฝูงโคของม่วงมิใช่เป็ นการลักทรัพย์ เมื่อไม่มีการลักทรัพย์ก็จะ ไม่มีการกระทำา ความผิดฐานรับของโจรไม่ได้ ฉะนั้นการที่ม่วงเรียกค่าไถ่โคจากฟ้ าจึงไม่ ผิดฐานรับของโจร ดำาลักแหวนเพชรของภริยาของตนไปขายแก่แดง แดงรับซื้อไว้โดยเข้าใจว่าภริยา ของดำายินยอมให้เอาไปขายต่อมาแดงขายแหวนนั้นให้เขียวโดยเขียวรู้ดีว่าเป็ นแหวนที่ดำา ลักของภริยาไปขาย ใครจะมีความผิดบ้าง ดำาผิดฐานลักทรัพย์ แต่ได้รับการยกเว้นโทษตามมาตรา 71 แดงรับซื้อ แหวนเพชรไว้โดยไม่รู้ว่าเป็ นทรัพย์ท่ีได้ม าจากการกระทำา ผิดจึงไม่มี ความผิดฐานรับของโจร เพราะขาดเจตนาในการกระทำาความผิด เขียวรับซื้อแหวนได้จากแดงโดยรู้ว่าแหวนนั้นดำา ลักของภรรยามา เขียวมีความ ผิดฐานรับของโจร 14.1.3 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
แดงได้ลักกระจกรถจักรยานยนต์ของผู้อ่ ืนมาขายให้แก่ดำา ดำา เห็นว่าราคาถูกจึง ได้รับซื้อไว้เพื่อจะนำาไปขายต่อให้ผอ ู้ ่ ืน ดำามีความผิดฐานรับของโจรเพื่อค้ากำาไรหรือไม่ ดำามีความผิดฐานรับของโจร เนื่องจากได้ซ้ ือทรัพย์อันได้มาจากการกระทำาความ ผิดฐานลักทรัพย์ และดำาต้องรับโทษหนักขึ้นตาม ปอ.มาตรา 357 วรรคสอง เนื่ องจากดำา ได้กระทำา เพื่อนำา ไปขายต่อ เพื่อ ค้ากำา ไร โดยไม่ต้อ งคำา นึ งว่า ดำา จะได้กระทำา เป็ นปกติธ่ระ หรือไม่ มาตรา 357 ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำา หน่ าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำา นำา หรือรับไว้ โดยประการใด ซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระ ทำาความผิดถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะลักทรัพย์ วิ่ง ราวทรัพย์ กรรโชก รีด เอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอกหรือ เจ้าพนั กงานยักยอก ทรัพย์ ผู้น้ันกระทำาความผิดฐานรับของโจรต้อง ระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ ง หมื่นบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดฐานรับของโจรนั้น ได้กระทำาเพื่อค้ากำาไร หรือได้กระทำาต่อทรัพย์ อันได้มาโดยการลักทรัพย์ตาม มาตรา 335 (10) ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์ ผู้กระทำา ต้องระวาง โทษจำาค่กตั้งแต่ หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งพันบาทถึงสองหมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดฐานรับของโจรนั้น ได้กระทำาต่อทรัพย์ อันได้มาโดยการลักทรัพย์ ตาม มาตรา 335 ทวิ การชิงทรัพย์ตาม มาตรา 339 ทวิ หรือการปล้นทรัพย์ตาม มาตรา 340 ทวิ ผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำาค่กตั้งแต่ห้าปี ถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่น บาทถึงสาม หมื่นบาท 14.1.4 เปรียบเทียบความผิดฐานลักทรัพย์และรับของโจร
นายจ้า งได้ม อบให้ ดำา ขั บรถบรรท่ กถ่ งพลาสติ กไปส่ง ให้ ฟ้า ผู้ซ้ ือโดยมีแ ดงเป็ น ลูกจ้างประจำา รถ ระหว่างทางดำา บังเอิญขับรถมาเจอเขียว ดำา จึงได้จอดรถ แดงได้ข นถ่ง พลาสติกออกจากที่เก็บในรถขายให้เขียวไป เขียวจะมีความผิดหรือไม่ อย่างไร เขี ยวมีค วามผิ ดฐานรั บของโจร เนื่ องจากเมื่อนายจ้ า งได้ นำา ถ่ ง พลาสติ ก ขึ้ น รถ บรรท่ กแล้ว คนขับ รถและลู กจ้ า งประจำา รถไม่ มี สิ ท ธิ ท่ี จ ะเคลื่ อนย้ า ยถ่ ง พลาสติ ก นั้ น อี ก เว้นแต่เป็ นการกระทำา ตามหน้าที่โดยส่จริต การที่แดงยกถ่งพลาสติกออกจากที่เก็บเพื่อ ขายให้เขียว แดง ย่อมมีความผิดฐานลักทรัพย์สำา เร็จ เมื่อเขียวซื้อทรัพย์ดังกล่าวโดยรู้ว่า
เป็ นทรั พ ย์ ท่ี ไ ด้ ม าจากการกระทำา ความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ เขี ย ว จึ ง มี ค วามผิ ด ฐานรั บ ของโจร เขียวไม่เป็ นตัวการร่วมลักทรัพย์ เนื่ องจากเขียว เผอิญขับรถมาเจอ ดำา และแดง เขียวไม่ได้คบคิดกับแดงร่วมลักทรัพย์ แต่ได้กระทำาเมื่อแดง ลักทรัพย์สำาเร็จแล้ว 14.2 ความผิดฐานทำาใหูเสียทรัพย์
1. การทำาให้เสียทรัพย์อาจจะทำาในลักษณะใดลักษณะหนึ่ ง คือ ทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ไร้ประโยชน์ และจะต้องกระทำาโดยเจตนา ถ้ากระทำาโดยประมาท ก็ไม่อาจมีความผิดฐานนี้ ได้ 2. การทำา ให้ ท รั พ ย์ บ างประเภทเสี ย หาย เช่ น ปศ่ สั ต ว์ หรื อ พื ช ผลของกสิ ก ร หรื อ ทรัพย์ท่ีใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ กฎหมายจะลงโทษหนักขึ้น 3. ความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์น้ัน ต่อจากความผิดฐานลักทรัพย์ เนื่องจากความผิด ฐานทำาให้เสียทรัพย์ เป็ นการทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่า หรือทำาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่ง ทรั พย์ ไม่ ได้ เ ป็ นการเอาทรั พย์ ไ ปโดยท่ จ ริ ต ทั้ ง กฎหมายยั ง กำา หนดให้ ค วามผิ ด ฐาน ทำาให้เสียทรัพย์บางกรณีน้ันยอมความกันได้ 14.2.1 การกระทำาทีเ่ ป็ นความผิดฐานทำาใหูเสียทรัพย์
ไก่ของเขียวเข้าไปกินผักในสวนครัวของขาวเสียหาย ขาวจึงใช้ไม่ซางยิงไก่ข อง เขียวตายไป 1 ตัว ขาวจะมีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์หรือไม่ การกระทำา ของขาวเป็ นการกระทำา เพื่อป้ องกันสิทธิ แต่ได้กระทำา เกินสมควรแก่ เหต่ จึงเป็ นความผิดทำาให้เสียทรัพย์ แดงเข้าไปทำานาปลูกข้าวในหนองสาธารณะ ซึ่งเป็ นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน ประชาชนมีสิทธิใช้ร่วมกัน บ่คคลใดจะอ้างกรรมสิทธิห ์ รือสิทธิครอบครองไม่ได้ ต่อมาดำา ได้ เ ข้ า ไปทำา นาในที่ แ ห่ ง นั้ น ด้ ว ย โดยไถทำา ให้ ต้ น ข้ า วที่ แ ดงปลู ก ไว้ ต ายหมด ให้ วิ นิ จ ฉัย การกระทำาของดำาว่าจะมีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์หรือไม่ แม้หนองสาธารณะจะเป็ นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ท่ีดินของแดงก็ตาม แต่ข้า วที่ ป ลู ก ในหนองสาธารณะเป็ นกรรมสิ ท ธิ ข ์ องแดง ดั ง นั้ น แม้ ดำา จะมี สิ ท ธิ ใ ช้ ห นอง สาธารณะเช่น ประชาชนทั่ ว ไป ดำา ก็ ไม่ มี สิ ท ธิ ไ ถทำา ให้ ต้ นข้ า วของแดงตายหมด ดำา จึ ง มี ความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ มาตรา 358 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ ของผู้อ่ ื นหรื อ ผู้อ่ ื นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ ด้ ว ย ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานทำา ให้ เ สี ย ทรั พ ย์ ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่ เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 14.2.2 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
แดงถมดินทำา เป็ นทำา นบปิ ดลำา ห้วยสาธารณะ ซึ่งประชาชนใช้น้ ำาร่วมกันในการ ทำานา ทำาให้น้ ำาไหลไม่ได้ ประชาชนที่อยู่ทางตอนใต้ของลำาห้วยได้รับความเดือดร้อน ไม่มี นำ้าสำาหรับทำานา ให้วินิจฉัยว่าแดงจะมีความผิดหรือไม่ แดงมี ค วามผิ ด ตามมาตรา 360 เพราะการกระทำา ของแดงเป็ นการทำา ให้ ไ ร้ ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ท่ีใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณะประโยชน์
มาตรา 360 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ ที่ใช้ หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 360 ทวิ ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลายทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ ตาม มาตรา 335 ทวิ วรรคหนึ่ ง ที่ประดิษฐาน ตาม มาตรา 335 ทวิ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกินสอง หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 14.2.3 เปรียบเทียบความผิดฐานลักทรัพย์และทำาใหูเสียทรัพย์
แดงมีความโกรธแค้นดำาซึ่งเป็ นผู้บังคับบัญชาที่ตำาหนิ การทำางานของตน แดงจึง เอาปากกาของดำา ไปโยนทิ้งในแม่น้ ำา แดงจะมีความผิดฐานลักทรัพย์หรือทำาให้เสียทรัพย์ หรือไม่ แดงไม่ผิดฐานลักทรัพย์ เนื่ องจากแดงไม่ได้เอาปากกาของดำา ไปโดยท่จริตเพื่อ แสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำา หรับแดงหรือผู้อ่ ืน แต่การกระทำา ของแดงเป็ นการทำา ให้ปากกาของดำา สูญ หายอันถือ ได้ว่ า เป็ นการทำา ลายปากกาของดำา แดงมีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ (ตามมาตรา 358)
14.3 ความผิดฐานบุกรุก
1. ความผิดฐานบ่กร่กแม้ผู้เป็ นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ก็อาจกระทำา ผิดได้ ถ้าเข้าไป กระทำาการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ท่ีผู้อ่ น ื ครอบครองอยู่ 2. การยักย้ายหรือทำาลายเครื่องหมายอันจะเป็ นความผิดฐานบ่กร่ก ต้องกระทำา เพื่อ แย่งความเป็ นเจ้า ของอสังหาริมทรัพย์น้ัน 3. การเข้าไปหรือซ่อนตัวอยู่ในเคหสถาน อาคารเก็บรักษาทรัพย์หรือสำา นักงานที่ผู้ อื่นครอบครองอยู่หรือไม่ยอมออกไปจากสถานที่ดังกล่าวเมื่อถูกไล่ให้ออก จะเป็ นความผิด ฐานบ่กร่ก ต่อเมื่อเข้าไปหรือไม่ยอมออกโดยไม่มีเหต่ผลอันสมควร 4. ความผิดฐานบ่กร่กในบางกรณี เช่น กระทำา โดยมีอาว่ธ หรือใช้กำา ลังประท่ษร้าย หรือกระทำาในเวลากลางคืน กฎหมายวางโทษหนักขึ้นและไม่เป็ นความผิดอันยอมความ กันได้ด้วย 14.3.1 เขูาไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อ่ ืน
ม่วงเช่าบ้านของเขียวอยู่อาศัย ต่อมาเหลืองมาติดต่อขอเช่าบ้านหลังนั้น โดยให้ ค่าเช่าสูงกว่าที่เคยเก็บจากม่วง เขียวจึงบอกให้ม่วงออกจากบ้านหลังนั้น แต่ม่วงไม่ยอม ออกอ้างว่ายังมีสิทธิอยู่ได้ตามสัญญาเช่า เขียวจึงเอาเครื่องมือไปถอดประตูบ้านออกหมด ท่ ก บาน ม่ ว งจึ ง ไปแจ้ ง ความต่ อ ตำา รวจหาว่ า เขี ย วบ่ ก ร่ ก และทำา ให้ เ สี ย ทรั พ ย์ เขี ย วจะมี ความผิดฐานใดหรือไม่ เขียวผิดฐานบ่กร่ก กล่าวคือ แม้เขียวจะเป็ นเจ้าของบ้านที่ม่วงเช่าก็ตาม แต่เขียว ก็ไม่มีสิทธิเข้าไปกระทำาการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของม่วง แต่ไม่ผิดฐาน ทำาให้เสียทรัพย์ เพราะบ้านนั้นเป็ นบ้านของเขียวเอง ม า ต ร า 362 ผู้ ใ ด เ ข้ า ไ ป ใ น อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ข อ ง ผู้ อื่ น เ พื่ อ ถื อ ก า ร ค ร อ บ ค ร อ ง อสังหาริมทรัพย์น้ั นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไป กระทำา การใด ๆ อัน เป็ นการรบกวนการ ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ ของเขาโดยปกติส่ข ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกิ นหนึ่ งปี หรือปรับ ไม่ เกินสองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 14.3.2 ยักยูายหรือทำาลายเครื่องหมายเขต
แดงกับดำา มีสาเหต่โกรธเคืองกันเป็ นส่วนตัว เนื่ องจากแดงยิงไก่ของดำา ที่เข้าไป กินผักในสวนของแดง วันหนึ่ งดำา จึงรื้อรั้วสังกะสีบ้านแดงที่ก้ันแนวเขตที่ดินระหว่างบ้าน ของแดงและดำาออกไปส่วนหนึ่ ง ดำาจะมีความผิดฐานบ่กร่กตามมาตรา 363 อย่างไร หรือ ไม่ ดำา ไม่ผิดตามมาตรา 363 เพราะมิได้มีเจตนาพิเศษที่จะถือเอาที่ดินของแดงเป็ น ของตน แต่ดำามีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ตามมาตรา 358
มาตรา 358 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ทำาให้เสื่อมค่าหรือทำาให้ ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ ของผู้อ่ ื นหรื อ ผู้อ่ ื นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ ด้ ว ย ผู้ น้ั น กระทำา ความผิ ด ฐานทำา ให้ เ สี ย ทรั พ ย์ ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่ เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 363 ผู้ใดเพื่อถือเอาอสังหาริมทรัพย์ของผู้อ่ ืนเป็ นของตน หรือของบ่คคลที่สาม ยักย้ายหรือทำา ลายเครื่ องหมายเขตแห่ง อสังหาริม ทรั พย์ น้ั น ทั้งหมดหรือ แต่ บางส่ วน ต้ องระวาง โทษจำาค่ก ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 14.3.3 เขูาไปหรือซ่อนตัวอย่้ในเคหสถานของผู้อ่ ืน
ดำา เป็ นผู้ขายส่งส่รา แดงเป็ นผู้ขายปลีกโดยรับส่ราจากดำา ไปขาย ในวันเกิดเหต่ แดงมาที่บ้านของดำา ต่อ ว่าดำา เรื่องจำา หน่ า ยส่ราให้ตนน้อ ยไม่พอขาย จึงเกิดโต้เถียงและ ท้าทายกันขึ้น ดำา ล่กขึ้นจากห้องรับแขกเดินเข้าไปในห้องนอนแดงก็ตามดำา เข้าไปในห้อง นอนจะทำาร้าย แต่มผ ี ู้ห้ามไว้จึงเลิกกันไป แดงจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ แดงมีความผิดฐานบ่กร่กเคหสถานตามมาตรา 364 เพราะดำา ไม่ได้อน่ญาตให้ แดงเข้าไปในห้องนอนของดำา แดงจึงไม่มีสิทธิท่ีจะตามดำา เข้าไปในห้องนอนของดำา เมื่อ แดงตามดำาเข้าไปในห้องนอนเพื่อจะทำาร้ายดำาในห้องนอน จึงเป็ นการเข้าไปในเคหสถาน โดยไม่มีเหต่อันสมควร เหลื อ งลอบขึ้ น ไปหานางสาวเขี ย ว บ่ ต รสาวของแดงบนเรื อ นของแดงในเวลา กลางคืน โดยนางสาวเขียวนัดแนะให้เหลืองขึน ้ ไปหา แดงพบเหลืองค่ยอยู่กับบ่ตรสาวของ ตนในห้อง จึงแจ้งความดำาเนิ นคดีกับเหลืองในข้อหาบ่กร่กเคหสถาน เหลืองจะมีความผิด หรือไม่ เหลือ งไม่มีความผิด เพราะเข้า ไปโดยได้รับความยินยอมของบ่ตรสาวของแดง การเข้าไปของเหลืองจึงถือว่ามีสาเหต่อันสมควร
มาตรา 364 ผ้ใู ดโดยไม่มีเหต่อันสมควรเข้าไป หรือซ่อนตัวอย่ใู น เคหสถาน อาคารเก็บ รักษาทรัพย์หรือสำานักงานในความครอบครอง ของผู้อ่ ืน หรือไม่ยอมออกไปจากสถานที่เช่นว่านั้น เมื่อผู้มีสิทธิท่ีจะ ห้ามมิให้เข้าไปได้ไล่ให้ออก ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกิ นหนึ่ งปี หรือ ปรั บไม่เกิน สองพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 14.3.4 เหตุทท ี่ ำาใหูรับโทษหนักขึ้น
เหต่ฉกรรจ์ในความผิดฐานบ่กร่กมีประการใดบ้าง เหต่ฉกรรจ์ในความผิดฐานบ่กร่ก มีดังนี้ 1) โดยใช้กำาลังประท่ษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประท่ษร้าย 2) โดยมีอาว่ธหรือโดยร่วมกระทำาความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ 3) ในเวลากลางคืน แบบประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 14
1. นาฬิกาที่ได้มาจากการวิ่งราวทรัพย์ เป็ นทรัพย์ของโจร 2. เอาไม้ซ่งที่ลักมาแกะสลักเป็ นรูปสัตว์ เป็ นของโจรที่หมดสภาพเป็ นของโจร 3. แดงลักนาฬิกาของพี่ชายไปให้ดำา ดำา รับซื้อไว้โดยคิดว่าเป็ นนาฬิกาของแดง แล้วดำา เอา
นาฬิกานั้นไปจำานำาเหลือง โดยเหลืองรู้ว่าเป็ นนาฬิกาที่แดงลักของพี่ชายมา ดำาเอาเงินที่ได้มาจาก การจำานำานาฬิกาไปให้เขียว โดยเขียวรู้ว่าเป็ นเงินที่ได้มาจากการจำานำานาฬิกาที่ถูกลักมา ใครผิด รับของโจร คำาตอบ คือ เหลือง 4. การกระทำาความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์เช่น การเอาฟิ ล์มถ่ายภาพของผู้อ่ ืนที่ยังไม่ได้ใช้มา เปิ ดให้ถูกแสงสว่าง 5. การใช้ก้อนหินขว้างโคมไฟที่เทศบาลติดตั้งไว้สำา หรับให้แสงสว่างตอนกลางคืนเสียหาย เป็ นความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ท่ียอมความกันไม่ได้ 6. ดำาให้แดงเช่าบ้านอยู่อาศัย ต่อมาดำาต้องการให้คนอื่นเช่าจึงกระทำาการ ที่จะไม่ให้มีความ ผิดฐานบ่กร่กคือ ดำานำาจดหมายบอกเลิกสัญญาเช่าไปวางไว้ท่ีหน้าบ้านของแดง และยื่นคำาขาดให้ ออกจากบ้านภายใน 3 วัน 7. การเข้าไปในบ้านเรือนของผู้อ่ ืนจะเป็ นความผิดฐานบ่กร่กเคหสถานในกรณี เข้าไปเพื่อ ทวงหนี้ แล้วเกิดโต้เถียงกับเจ้าของบ้าน เจ้าของบ้านไล่ให้ออกไป แต่ไม่ยอมออกจนกว่าเจ้าของบ้าน จะชำาระหนี้ ให้ 8. ความผิดฐานบ่กร่ก ในกรณีกระทำาในเวลากลางคืน ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น 9. เงินที่ผู้อ่ ืนให้เป็ นค่าจ้างในการช่วยขายทรัพย์ท่ีผู้อ่ ืนลักมา เงินนี้ ไม่ใช่เป็ นของโจร 10. การแยกชิ้นส่วนของรถจักรยานยนต์แล้วเอาไปซ่อนไว้ในสถานที่ต่างกัน เป็ นของโจรที่ยัง ไม่หมดสภาพเป็ นของโจร 11. ม่วง คราม นำ้าเงิน ร่วมกันไปลักทรัพย์ของผู้อ่ ืนแล้วแบ่งปั นทรัพย์สินกัน ม่วงรับซื้อส่วน แบ่งของครามและนำ้ าเงิ นไว้ ห มด จากนั้ น ม่ ว งก็ เอาทรั พย์ น้ั น ไปขายให้ เขีย ว และ เหลื อง โดย บอกว่าเป็ นทรัพย์ท่ีลักมา เขียวและเหลืองซื้อไว้ แล้วก็เอาไปฝาก แดง บอกให้ช่วยขายต่อเพราะ เป็ นทรั พ ย์ ท่ี ลั ก มา แดงไม่ นำา ไปขายต่ อ แต่ รั บ ซื้ อไว้ เ อง ใครมี ค วามผิ ด ฐานรั บ ของโจร คำา ตอบ เหลือง แดง และ เขียว 12. ลักไก่ของเจ้าหนี้ ซึ่งเป็ นผู้มีอาชีพกสิกรรมมาแล้วฆ่าไก่เอาเนื้ อทำาอาหาร เป็ นความผิดฐาน ลักทรัพย์ท่ีต้องรับโทษหนักขึ้น 13. ยิงม้าของกสิกรตาย เป็ นความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ท่ียอมความกันได้ 14. บ่กร่กเข้าไปดูหมิ่นเจ้าของบ้านซึ่งหน้า เป็ นความผิดฐานบ่กร่กที่ผู้กระทำา ไม่ต้องรับโทษ หนักขึ้น
หน่วยที่ 15 ความผิดลหุโทษ 1. การไม่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ หรื อ ปฏิ บั ติ ต ามคำา สั่ ง เจ้ า พนั ก งานผู้ มี อำา นาจ ปฏิบัติการตามกฎหมาย การทำาให้เอกสารที่เจ้าพนักงานแสดงไว้เสียหายและการก่อให้ เกิดความเดือดร้อนหรืออันตรายต่อความสงบส่ขของประชาชนถือเป็ นการกระทำา ความ ผิด 2. การก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินสาธารณะ การปล่อยปละละเลยให้สัตว์ไป ทำาอันตรายต่อบ่คคลหรือทรัพย์สินของผู้อ่ ืน การกระทำาทาร่ณต่อสัตว์ รวมทั้งการทิ้งซาก สัตว์ซึ่งอาจเน่าเหม็นไว้ในหรือริมทางสาธารณะ ถือเป็ นการกระทำาความผิด
3. การประท่ษร้ายต่อกายหรือจิตใจของบ่คคลอื่น หรือการกระทำา การทาร่ณต่อผู้ท่ี อ่อนแอกว่า แม้เป็ นเรื่องเล็กน้อยก็ถือเป็ นการกระทำา ความผิด นอกจากนี้ การละเลยคน วิ ก ลจริ ต ที่ ค วบค่ ม อยู่ ป ล่ อ ยปละให้ อ อกไปเที่ ย วโดยลำา พั ง การไม่ ช่ ว ยผู้ อ่ ื นซึ่ ง อยู่ ใ น ภยัน ตราย การกระทำา อั น ควรขายหน้า ต่อ ธารกำา นั ล และการดู หมิ่ น ผู้อ่ ื นก็ ถื อ เป็ นการ กระทำาความผิดด้วยเช่นกัน 15.1 ความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน และเกี่ยวกับการก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือ
อันตรายต่อความสงบส่ขของประชาชน 1. การไม่ ย อมบอกหรื อ แกล้ ง บอกชื่ อหรื อ ที่ อ ยู่ อั น เป็ นเท็ จ ต่ อ เจ้ า พนั ก งาน หรื อ ไม่ ปฏิ บั ติ ต ามคำา สั่ ง ของเจ้ า พนั ก งานโดยไม่ มี เ หต่ อั น สมควร หรื อ ทำา ให้ เ สี ย ประโยชน์ซึ่ ง เอกสารที่เจ้าพนักงานแสดงไว้ ถือเป็ นความผิด 2. การทำา ให้ประชาชนเกิดความเดือดร้อนรำา คาญ หรือตระหนกตกใจ หรือกีดขวาง ทางสาธารณะ อันเป็ นการกระทบกระเทือนต่อความสงบส่ขของประชาชน ถือเป็ นความ ผิด 15.1.1 ความผิดเกีย ่ วกับเจูาพนักงาน
ความผิดลห่โทษเกี่ยวกับเจ้าพนักงานมีกรณีใดบ้าง ความผิดลห่โทษเกี่ยวกับเจ้าพนักงานมี 4 ฐานด้วยกันคือ 1) ไม่ยอมบอกหรือแกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็ นเท็จ 2) ไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งเจ้าพนักงานโดยไม่มีเหต่หรือข้อแก้ตัวอันสมควร 3) ทำาให้เอกสารที่เจ้าพนักงานแสดงไว้ไร้ประโยชน์ 4) ไม่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานซึ่งเรียกให้ช่วยระงับสาธารณภัย พระราชบั ญ ญั ติ ลั ก ษณะปกครองท้ อ งที่ พ.ศ. 2547 มาตรา 118 บั ญ ญั ติ ว่ า “กรมการอำาเภอมีหน้าที่จะต้องตรวจตรา และจัดการรักษาทางบกทางนำ้าอันเป็ นทางที่ ราษฎรไปมาค้า ขายให้ไปมาโดยสะดวก ตามที่จ ะเป็ นได้ ท่ก ฤดู กาล การอัน นี้ ถ้า จะต้อ ง ทำาการซ่อมแซมหรือแก้ไขความขัดข้องให้กรมการอำาเภอเรียกราษฎรช่วยกันทำา อย่างว่า มาแล้ว” ถ้าเกิดนำ้าท่วมในเขตอำา เภอ เป็ นผลให้ถนนและสะพานชำา ร่ด นายอำา เภอจึงออก คำาสั่ง (1) ให้ ดำา ซึ่ง เป็ นราษฎรไปช่ วยข่ด ดิน เพื่อซ่อ มถนนที่ ชำา ร่ ด แต่ ดำา จำา เป็ นต้อ ง เลี้ยงกระบือจึงไม่ไปตามคำาสั่ง (2) ให้แดง ซึ่งเป็ นราษฎรจัดหาไม้มา 5 แผ่น ตามขนาดที่กำาหนดเพื่อใช้ในการ ซ่อมแซมสะพาน แดงเสียดายไม้ท่ีมีอยู่จึงไม่จัดไปให้ตามคำาสั่ง ดำาและแดงจะมีความผิดฐานขัดคำาสั่งเจ้าพนักงานตาม ปอ.มาตรา 368 หรือไม่ ข้อ 1 ดำามีความผิดเพราะข้ออ้างที่ว่าติดเลี้ยงสัตว์ไม่เป็ นข้อแก้ตัวอันสมควร ข้อ 2 ไม่มีความผิด เพราะอำา นาจของนายอำา เภอดังกล่าวข้า งต้น มีความหมาย เฉพาะการเกณฑ์แรงงานราษฎรเท่านั้น ไม่รวมถึงการเกณฑ์เอาทรัพย์สินด้วย ดังนั้น คำา สั่งของนายอำาเภอจึงไม่เป็ นคำาสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 368 ผู้ใดทราบคำาสั่งของเจ้าพนักงานซึ่งสั่งการตามอำานาจที่มีกฎหมายให้ไว้ ไม่ ปฏิบัติตามคำาสั่งนั้นโดยไม่มีเหต่หรือข้อแก้ตัวอันสมควรต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินสิบวันหรือปรับ ไม่เกินห้าร้อยบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้ าการสั่งเช่น ว่านั้ น เป็ นคำา สั่ งให้ ช่ ว ยทำา กิ จ การในหน้าที่ ข องเจ้ า พนั กงานซึ่ งกฎหมาย กำาหนดให้ส่ังให้ช่วยได้ ต้องระวางโทษจำาค่ก ไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ 15.1.2 ความผิดเกีย ่ วกับการก่อใหูเกิดความเดือดรูอนหรืออันตรายต่อ ความสงบสุขของประชาชน ดำา ต้องการจะไปดูภาพยนตร์กลางแปลง ซึ่งฉายอยู่ในวัดนอกเมือง แต่ทางเดิน จากบ้านดำา จะไปวัดเป็ นสถานที่สาธารณะที่มืดและเปลี่ยวมีโจรผู้ร้ายช่กช่ม ดำา ดำา จึงพก มีดไปโดยเหน็บไว้ท่ีเอว เพื่อให้หยิบฉวยออกมาป้ องกันตัวได้ถนัด แต่ดำา ก็ปล่อยชายเสื้อ ลงมาปิ ดไว้ จ นคนภายนอกมองไม่ เ ห็ น ดำา ไปถึ ง วั ด โดยไม่ มี เ หต่ ร้ า ยเกิ ด ขึ้ น จึ ง เข้ า ไปดู ภาพยนตร์ร่วมกับคนอื่นๆ ที่มาเที่ยวงานจนดึกโดยยังพกมีดไว้ในลักษณะเดิมตลอดเวลา ดำามีความผิดตาม ปอ.มาตรา 371 หรือไม่ การที่ ดำา พกมีดเดินไปตามถนนนั้น ดำาไม่ผิดมาตรา 371 เนื่องจากพกพาไปใน ลักษณะที่มิดชิดและมีเหต่สมควร แต่เมื่อดำาไปถึงวัดซึ่งมีการฉายภาพยนตร์กลางแปลง
อันนับได้ว่าเป็ นช่มน่มชน ที่วัดให้มข ี ึ้นเพื่อการนี้ การที่ดำายังพกมีดซึ่งเป็ นอาว่ธโดยสภาพ อยู่ ดำาจึงมีความผิด ดำากับแดง ต่างก็เป็ นแม่ค้าขายผักอยู่ในตลาด ซึ่งเป็ นของเอกชนเกิดไม่พอใจกัน ขึ้ น จึ ง ร้ อ งด่ า กั น และใช้ ผั ก และกระจาดที่ ใส่ ผั ก ท่่ ม ใส่ กั น ดำา กั บ แดงมี ค วามผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 372 หรือไม่ ผิด เนื่ องจากตลาดเป็ นสถานที่ท่ีประชาชนเข้าไปโดยชอบธรรม ถึงแม้จะเป็ น ของเอกชนก็เป็ นสถานที่สาธารณสถาน การที่ ดำา และแดง ร้องด่ากันจึงเป็ นการทะเลาะ อื้ ออึ ง และการที่ ใ ช้ ผั ก และกระจาดท่่ ม ใส่ กั น และกั น ก็ เ ป็ นการกระทำา ให้ เ สี ย ความสงบ เรียบร้อยในสาธารณสถาน ดำา แกล้งปล่อยข่าวลือว่าในขึ้นปี ใหม่จะมีดาวหางวิ่งผ่านเข้าใกล้โลก และผู้ท่ีอยู่ ในประเทศไทยจะมองเห็นได้ชัดเจนและสวยงามมาก คนที่ได้ยินข่า วนี้ ต่า งก็สนใจเฝ้ าดู แดงได้ยินข่า วลือ นี้ จึงบอกเล่า ต่อ ไปว่า การที่ดาวหางผ่า นมาเช่นนี้ จะเกิ ดเหต่เ ภทภัย ไฟ ไหม้ นำ้าท่วม ผู้คนจะตายหมด ทำา ให้ประชาชนบางส่วนได้ยินข่า วที่แดงแกล้งบอกเล่า นี้ ต่ า งก็ พ ากั น เก็ บ ข้า วของเตรี ยมอพยพหลบภั ย ดำา และแดง มี ค วามผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 384 หรือไม่ ดำา ไม่ ผิ ด ตามมาตรา 384 เพราะความเท็ จ ที่ ดำา บอกเล่ า ไม่ ไ ด้ เ ป็ นเหต่ ใ ห้ ประชาชนตื่นตกใจ แต่แดงมีความผิดเนื่ องจากความเท็จที่แดงบอกเล่าทำาให้ประชาชนตื่น ตกใจ
มาตรา 371 ผู้ใดพาอาว่ ธไปในเมือ ง หมู่ บ้านหรื อ ทางสาธารณโดย เปิ ดเผยหรื อ โดย ไม่มีเหต่สมควร หรือพาไปในช่มน่มชนที่ได้จัดให้มี ขึ้นเพื่อนมัสการ การรื่นเริงหรือการอื่นใด ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน หนึ่ งร้อยบาท และให้ศาลมีอำานาจสั่งให้ริบอาว่ธนั้น มาตรา 372 ผู้ ใ ดทะเลาะกั น อย่ า งอื้ ออึ ง ในทางสาธารณ หรื อ สาธารณสถาน หรื อ กระทำา โดยประการอื่ นใดให้ เสี ย ความสงบเรี ย บร้ อ ย ในทางสาธารณ หรื อ สาธารณสถาน ต้ อ ง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท มาตรา 384 ผู้ใดแกล้งบอกเล่าความเท็จให้เลื่องลือจนเป็ นเหต่ ให้ประชาชนตื่ นตกใจ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือนหรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 15.2 ความผิดเกีย ่ วกับการก่อการใหูเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน สาธารณะและเกีย ่ วกับสัตว์ 1. ทรัพย์สินสาธารณะ เช่น ทาง หรือท่อ ระบายนำ้า เป็ นสิ่งที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์ของ ส่ ว นรวม บ่ ค คลจึ ง มี ห น้า ที่ ท่ี จ ะต้ อ งสงวนรั ก ษาไม่ ทำา ให้ เ กิ ด ความขั ด ข้ อ ง หรื อ เสี ย หาย เพราะความขัดข้องหรือเสียหายดังกล่าวย่อมก่อให้เกิดภยันตรายต่อส่ขภาพ และร่างกาย ของประชาชน ดังนั้นกฎหมายจึงต้องบัญญัติความผิดไว้ 2. บ่ ค คลใดมี ห น้า ที่ ค วบค่ ม สั ต ว์ ต้ อ งควบค่ ม สั ต ว์ น้ั น ไว้ ไ ม่ ใ ห้ ไ ปไหนโดยลำา พั ง เพื่ อ ป้ องกั น มิ ใ ห้ ไ ปทำา อั น ตรายต่ อ บ่ ค คลอื่ นหรื อ ทรั พ ย์ สิ น ของบ่ ค คลอื่ น หากผู้ ค วบค่ ม สั ต ว์ ละเลย กฎหมายบัญ ญัติไว้เป็ นความผิด นอกจากนี้ การใช้แรงงานสัตว์เกินสมควร การ ทาร่ณสัตว์ หรือกระทำา ประการใดต่อสัตว์โดยปราศจากความเมตตา กฎหมายบัญญัติไว้ เป็ นความผิด ด้ว ย รวมทั้ง การทิ้ งซากสัต ว์ ซึ่ งอาจเน่ า เหม็ นไว้ ใ นหรือ ริม ทางสาธารณะ กฎหมายก็บัญญัติไว้เป็ นความผิดเช่นเดียวกัน 15.2.1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินสาธารณะ
ความผิดลห่โทษเกี่ยวกับการก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินสาธารณะมีก่ี ประการอะไรบ้าง มีท้ังหมด 3 ฐานคือ 1) ทำา ให้รางระบายนำ้า ร่องนำ้า หรือท่อระบายของโสโครกอันเป็ นสิ่งสาธารณะ เกิดขัดข้อง หรือไม่สะดวก 2) ทำาให้เกิดปฏิกูลแก่น้ ำาในบ่อ สระหรือที่ขังนำ้าอันมีไว้ให้ประชาชนใช้สอย 3) ข่ดหล่มหรือราง หรือปลูกปั กหรือวางสิ่งของเกะกะในทางสาธารณะ แดง มีท่ีดินอยู่ติดกับร่อ งนำ้ า ซึ่งเป็ นทางนำ้ าไหลถ่า ยเทระหว่า งคลองไปสู่หนอง สาธารณะ ซึ่งประชาชนนำา นำ้าจากหนองไปใช้สอย แดง ต้องการข่ดบ่อในที่ดินของตนจึง เอาดินที่ข่ดได้มากองไว้ แต่ดินทะลายลงไปในร่องนำ้าโดยที่ แดงไม่ทราบ เป็ นเหต่ให้ร่อง นำ้าตื้นเขินนำ้าไหลผ่านร่องนำ้าไม่สะดวก แดง มีความผิดตาม ปอ.มาตรา 375 หรือไม่ การที่แดงทำาให้ร่องนำ้าอันเป็ นสิ่งสาธารณะตื้นเขินนำ้าไหลไม่สะดวก แดงมีความ ผิดตามมาตรา 375 แม้ว่าแดงไม่มีเจตนา แต่ก็ไม่เป็ นข้อแก้ตัวให้พ้นผิด เนื่ องจากการก ระทำาความผิดตามมาตรานี้ ไม่ต้องการเจตนา
มาตรา 104 การกระทำา ความผิ ดลห่โทษตามประมวลกฎหมายนี้ แม้ กระทำา โดยไม่ มี เจตนาก็เป็ นความผิด เว้นแต่ตามบทบัญญัติความ ผิดนั้นจะมีความบัญญัติให้เห็นเป็ นอย่างอื่น มาตรา 375 ผู้ ใ ดทำา ให้ ร างระบายนำ้ า ร่ อ งนำ้ าหรื อ ท่ อ ระบายของโสโครกอั น เป็ นสิ่ ง สาธารณเกิดขัดข้องหรือไม่สะดวก ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าร้อยบาท 15.2.2 ความผิดเกี่ยวกับสัตว์
ดำาเลี้ยงแมวไว้ 1 ตัว แมวของดำา มักชอบไปจับนกที่บ้านใกล้เคียงเลี้ยงไว้ และดำา ก็ทราบความข้อนี้ จึงได้จับแมวขังไว้ในกรง แต่ต่อมาวันหนึ่ ง ดำา ให้อาหารแมวแล้วลืมปิ ด กรง แมวจึงแอบหนี ไปจับนกของบ้านใกล้เคียงมากินอีก เช่นนี้ ดำา มีความผิดตามมาตรา 377 หรือไม่ แมวของดำา ชอบไปทำา อัน ตรายแก่ ทรั พย์ ข องบ่ ค คลอื่ น จึ ง เป็ นสั ต ว์ ด่ การที่ ดำา ปล่ อ ยปละละเลยจนแมวไปจั บ นกของบ้ า นใกล้ เ คี ย งอี ก เช่ น นี้ ดำา จึ ง มี ค วามผิ ด ตาม ปอ.มาตรา 377 แดง มีอาชีพเลี้ยงเป็ ดโดยเลี้ยงอยู่ในที่ดินของตน แต่เป็ ดของแดงมีจำา นวนมาก จึงดูแลไม่ท่ัวถึงและเป็ ดของแดงก็เพียงแต่เข้าไปเล่นนำ้าในคูตามร่องผักของ ขาว โดยไม่ ได้ทำาความเสียผักแล้วก็กลับออกมายังที่ดินของแดง ตามเดิม เช่นนี้ แดง มีความผิดตาม มาตรา 395 หรือไม่ ปอ.มาตรา 395 ไม่ได้จำา กัดประเภทสัตว์ การที่แดงดูแลเป็ ดของตนไม่ท่ัวถึงจึง เป็ นการปล่อยปละละเลยให้เป็ ดเข้าไปในไร่ผักของ ขาว ถึงแม้ว่าเป็ ดจะไม้ได้ทำา อันตราย แก่ผัก แต่การที่เข้าไปในไร่ผักก็ทำาให้แดง ซึง ่ เป็ นผู้ควบค่มดูแลมีความผิดแล้ว
มาตรา 377 ผู้ ใ ดควบค่ ม สั ต ว์ ด่ ห รื อ สั ต ว์ ร้ า ยปล่ อ ยปละละเลยให้ สั ต ว์ น้ั น เที่ ย วไปโดย ลำาพัง ในประการที่อาจทำาอันตรายแก่บ่คคลหรือทรัพย์ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือนหรือ ปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาทหรือทั้งจำาทั้งปรับ มาตรา 395 ผู้ใดควบค่ มสั ตว์ ใด ๆ ปล่อ ยปละละเลยให้ สัตว์น้ั น เข้ าในสวน ไร่ ห รื อ นา ของผู้อ่ ืนที่ได้แต่งดินไว้ เพาะพันธ์่ไว้ หรือมี พืชพันธ์่หรือผลิตผลอยู่ ต้องระวางโทษปรั บไม่เกินห้า ร้อยบาท 15.3 ความผิด เกี่ย วกับการก่อใหูเกิดอันตรายแก่กายหรือจิต ใจ และความ ผิดลหุโทษอื่นๆ 1. การกระทำา อั น ตรายต่ อ กายหรื อ จิ ต ใจของผู้ อ่ ื น การข่ ม ขู่ ห รื อ ข่ ม เหงรั ง แกผู้ อ่ ื น การกระทำาทาร่ณต่อผู้ท่ีออ ่ นแอกว่าเนื่องจากอาย่หรือความเจ็บป่ วย แม้เป็ นเพียงเล็กน้อย กฎหมายก็บัญญัติไว้เป็ นความผิด 2. บ่คคลวิกลจริตกฎหมายถือว่า เป็ นบ่คคลที่ต้องอยู่ในความควบค่ม ดังนั้น การกระ ทำา ทาร่ ณ ต่ อ ผู้ ท่ี อ่ อ นแอแกว่ า เนื่ องจากอาย่ ห รื อ ความเจ็ บ ป่ วย แม้ เ ป็ นเพี ย งเล็ ก น้ อ ย กฎหมายจึงบัญญัติเอาผิดแก่ผู้ปล่อยปละละเลยนั้น นอกจากนี้ การช่วยบ่คคลที่ตกอยู่ใน ภยันตรายเป็ นสิ่งที่มน่ษย์ควรกระทำา การละเลยจึงเป็ นการกระทำา ที่ผิดต่อกฎหมายรวม ทั้งการเปลือยหรือเปิ ดเผยร่างกาย หรือการกระทำาลามกต่อหน้าธารกำานัล กฎ หมายถือ เป็ นความผิ ด เช่ น เดี ย วกั น และการดู ห มิ่ น เป็ นสิ่ ง ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความบาดหมางกั น ในหมู่ ประชาชน เป็ นอันตรายต่อการอยู่ร่วมกันของบ่คคลในสังคม กฎหมายจึงต้องบัญ ญัติใ ห้ เป็ นความผิดด้วย 15.3.1 ความผิดเกีย ่ วกับการก่อใหูเกิดอันตรายแต่กายหรือจิตใจ
ดำาโกรธแดง จึงชักปื นออกมาขู่ทำาท่าจะยิง แดง แต่ แดงรู้นิสัยของดำาดีว่า ดำาเป็ น คนเก่งแต่ปากและไม่กล้ายิง แต่ก็ไม่อยากจะมีเรื่องต่อไป แดงจึงวิ่งหลบหนี ไป เช่นนี้ ดำามี ความผิดตาม ปอ.มาตรา 392 หรือไม่ การที่แดง ไม่เกิดความกลัวหรือตกใจ การขู่เข็ญของดำา จึงเป็ นความผิดเพียงขั้น พยายามซึ่งมาตรา 105 บัญญัติว่าไม่ตอ ้ งรับโทษ ไก่ เอาท่อนไม้ขว้างลูกมะม่วงที่อยู่บนต้น ท่อนไม้หล่นลงมาถูกศีรษะ ส้ม ซึ่งยืน อยู่ใต้ต้นไม้เป็ นเหต่ให้ส้มได้รับบาดเจ็บเลือ ดไหลเป็ นแผลรักษา 10 วันหาย เช่นนี้ ไก่มี ความผิดหรือไม่ การที่ไก่ เอาท่อนไม้ขว้างลูกมะม่วง แล้วท่อนไม้หล่นลงมาถูกศีรษะ ส้ม ซึ่งยืนอยู่ ใต้ต้นไม้จึงเป็ นการกระทำาโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบ่คคลในภาวะเช่นไก่ จักต้อง มีตามวิสัยและพฤติการณ์ ไก่จึงกระทำาโดยประมาท เมื่อผลของการกระทำา ทำาให้ส้มได้รับ อันตรายแก่กาย ไก่จึงมีความผิดตาม ปอ.มาตรา 390 มาตรา 105 ผ้ใู ดพยายามกระทำาความผิดลห่โทษ ผู้น้ันไม่ต้อง รับโทษ
มาตรา 390 ผ้ใู ดกระทำาโดยประมาท และการกระทำานั้นเป็ นเหต่ให้ผู้อ่ ืนรับอันตรายแก่ กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำา ค่กไม่เกิน หนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่ งพั น บาท หรือทั้ งจำา ทั้ ง ปรับ มาตรา 392 ผู้ ใ ดทำา ให้ ผู้ อ่ ื นเกิ ด ความกลั ว หรื อ ความตกใจโดยการ ขู่ เ ข็ ญ ต้ อ งระวาง โทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพัน บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 15.3.2 ความผิดลหุโทษอื่นๆ
ดำาเห็นแดงเสียหลักตกลงมาจากต้นไม้จะลงสู่พ้ ืน ดำาเข้าไปรับ แดง แต่กลับ พลาดไปกระแทกถูกแดง ทำาให้แดงตกลงไปในสระก่อนที่จะตกลงสู่พ้ ืนดิน เป็ นเหต่ให้แดง ไม่ได้รับอันตราย นอกจากเคล็ดขัดยอกเล็กน้อยเนื่องจากแรงกระแทกของดำา ดำาไม่ชอบหน้าแดง จึงถ่มนำ้าลายใส่แดงถูกที่ใบหน้า ทั้งสองกรณี ดำามีความผิดหรือไม่ กรณี แรก ดำา ไม่ผิด เพราะดำามีเจตนาที่จะช่วยแดง ไม่ได้รับอันตราย การที่ดำา พลาดไปกระแทกถูกแดงจึงเป็ นการกระทำาที่ไม่มีเจตนาจะทำาร้าย กรณีหลัง ดำามีความผิด เพราะการถ่มนำ้าลายเป็ นการใช้กำาลังทำาร้ายอย่างหนึ่ ง เมื่อแดง ไม่ได้รับอันตราย แก่กายหรือจิตใจ จึงเป็ นความผิดตามมาตรา 391 จิม ๋ ไปเที่ยวชายทะเล เห็นหาดทรายแห่งหนึ่ งซึ่งเป็ นที่สาธารณะและกำา ลังปลอด คน จิม ๋ จึงเปลือยกายลงเล่นนำ้าทะเลและวิ่งเล่นอยู่ท่ีชายหาดทราย ถ้าโจซึ่งนั่งเล่นอยู่โคน ต้นไม้ริมทะเลออกไป 30 เมตร เห็นจิม ๋ เปลือยกายดังนี้ จิม ๋ จะมีความผิดตามมาตรา 388 หรือไม่ มีความผิด แม้ว่าโจจะเห็นเพียงคนเดียวแต่การกระทำาของจิม ๋ มีลักษณะที่บ่คคล อื่นควรเห็นการกระทำานั้นได้ จึงถือว่าเป็ นการกระทำาต่อหน้าธารกำานัล มาตรา 388 ผู้ใดกระทำาการอันควรขายหน้าต่อหน้าธารกำานัล โดยเปลือยหรือเปิ ดเผย ร่างกาย หรือกระทำาการลามกอย่างอื่น ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท มาตรา 391 ผ้ใู ดใช้กำาลังทำาร้ายผู้อ่ ืนไม่ถึงกับเป็ นเหต่ให้เกิด อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำาค่กไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
แบบประเมินผลการเรียน หน่วยที่ 15
1. ความผิดฐานไม่ยอมบอกหรือแกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็ นเท็จ หมายถึง การไม่ยอมบอก หรือแกล้งบอกชื่อที่อย่อ ู ันเป็ นเท็จเมื่อเจ้าพนักงานถามเพื่อปฏิบัติการตามกฎหมาย 2. ดำากระทำาความผิดลห่โทษในกรณีดังต่อไปนี้ คือ เจ้าพนักงานถามชื่อดำาเพื่อปฏิบัติการตาม กฎหมายแต่ดำาไม่ยอมบอก 3. ดำา กระทำา ความผิ ด ลห่ โ ทษในกรณี ดั ง ต่ อ ไปนี้ เช่ น กรณี เกิ ด เพลิ ง ไหม้ ดำา ไปยื น ดู เจ้ า พนักงานขอให้ดำาช่วยดับเพลิง แต่ดำากลัวร่างกายสกปรก จึงไม่ช่วย 4. การไม่ปฏิบัติตามคำา สั่งของเจ้าพนักงานในกรณีท่ีถือว่าเป็ นความผิด ได้แก่ ทราบคำา สั่ง ของเจ้าพนักงานซึ่งสั่งการตามอำานาจที่มีกฎหมายให้ไว้แล้วไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งนั้น โดยไม่มีเหต่หรือ ข้อแก้ตัวอันสมควร 5. “อาว่ธ” หมายความว่า สิ่งที่เป็ นอาว่ธโดยสภาพและสิ่งที่ไม่เป็ นอาว่ธโดยสภาพแต่ได้ใช้ หรือเจตนาจะใช้ประท่ษร้ายร่างกายถึงอันตรายสาหัสอย่างอาว่ธ 6. การพกพาอาว่ธที่จะเป็ นความผิด ตัวอย่างเช่น การพาไปในช่มน่มชนที่จัดให้มีขึ้นเพื่อการ รื่นเริงโดยซ่อนเร้น 7. ทางลงท่านำ้าในที่ดินของเอกชน แต่เจ้าของยอมให้ผู้ท่ีเช่าท่านำ้าใช้เป็ นทางขนสินค้าขึ้นลง จากเรือโดยมีผู้อ่ ืนอาศัยขึ้นลงด้วยมาเจ็ดปี แล้ว ในกรณีน้ี ไม่ถือว่าเป็ นทางสาธารณะ 8. ทางเดินเป็ นคันนาอยู่ในเขตที่ดินของดำาซึ่งคนทั่วไปใช้มาตั้ง 40-50 ปี ก่อนตกเป็ นของดำา บนคันนามีต้นผลไม้และต้นกล้วยที่ปลูกเอาไว้ดังนี้ ทางเดินนี้ จะเป็ นทางเดินสาธารณะหรือไม่ คำา ตอบ ทางเดิ น นี้ ไม่ ใ ช่ ท างสาธารณะเพราะการที่ ป ลู ก ต้ น ผลไม้ แ ละต้ น กล้ ว ยไว้ แ สดงว่ า เจ้ า ของ หวงแหนใช้สิทธิครอบครองอยู่ 9. ดำา แกล้งกระพือข่าวว่าเทวดามาเข้าฝั นบอกเหต่ว่าในอีก 7 วันข้างหน้าจะมีน้ ำ าท่วมโลก ทำาให้คนอื่นตื่นตกใจ ดำามีความผิดฐานใดหรือไม่ คำาตอบ ดำามีความผิดฐานแกล้งบอกเล่าความเท็จ ให้เลื่องลือจนเป็ นเหต่ให้ประชาชนตื่นตกใจ 10. เอาหินมากองในทางสาธารณะโดยได้รับอน่ญาต เมื่อการอน่ญาตสิ้นส่ดลงแล้วไม่มาขน หินออกไป ในกรณีน้ี ไม่ถือว่าผู้กระทำามีความผิดฐานข่ดหล่มหรือราง หรือปลูกปักหรือวางสิ่งของ เกะกะไว้ในทางสาธารณะ
11. การปล่ อ ยปละละเลยให้ สั ต ว์ ด่ ร้ า ยหรื อ สั ต ว์ ร้ า ยเที่ ย วไปโดยลำา พั ง ในประการที่ อ าจทำา อันตรายแก่บ่คคลหรือทรัพย์ กฎหมายกำาหนดให้ผู้ใดเป็ นผู้ท่ีต้องรับผิดทางอาญาในการกระทำาดัง กล่าว คำาตอบ ผู้ควบค่มสัตว์ด่ร้ายหรือสัตว์ร้าย 12. การใช้กำาลังทำาร้าย หมายความถึง การกระทำาใดๆ ที่ต้องการมีการเคลื่อนไหวร่างกายเข้า ทำาร้าย 13. การกระทำาต่อหน้าธารกำานัล หมายความถึง การกระทำาในสถานที่เปิ ดเผยและมีบ่คคลอื่น เห็นการกระทำานั้น 14. คำากล่าวที่ถือได้ว่าเป็ นการดูหมิ่นได้แก่ ไอ้เหี้ย ไอ้สัตว์ 15. คำากล่าวต่อไปนี้ ยังไมถือว่าเป็ นการดูหมิ่น อีหน้าเลือดไม่ปราณีคนจน 16. ดำาแสดงตนเป็ นผู้วิเศษแอบอ้างว่าสามารถทำาให้คนมีความส่ขได้ตลอดชีวิต ถ้าผู้น้ันมาให้ ดำาพ่นนำ้าหมากใส่ศีรษะ มีคนหลงเชื่อแตกตื่นกันมาหาดำามากมาย ซึ่งดำาก็พ่นนำ้าหมากใส่ศีรษะให้ โดยไม่คิดเงิน ดังนี้ ดำามีความผิดฐานแกล้งบอกเล่าความเท็จให้เลื่องลือจนเป็ นเหต่ให้ประชาชนตื่น ตกใจหรือไม่ คำาตอบ ผิดเพราะเป็ นการบอกเล่าความเท็จจนผู้คนแตกตื่น 17. การดูหมิ่นซึ่งหน้าหมายความว่ า ผู้ดูหมิ่นกล่าวคำา พูดดูหมิ่นให้ผู้ ถูก ดูห มิ่น ได้ ยิน ก็เ พีย ง พอแล้ว ***************************************
View more...
Comments