บทที่ 2 กลไกตลาด (ดุลยภาพ)
July 21, 2017 | Author: ec210 | Category: N/A
Short Description
ppt...
Description
บทที่ 2 กลไกตลาด I บทท ดุลยภาพของตลาด ดลยภาพของตลาด
มนุษย์
มนุษย์
ตัดสินใจ
แลกเปลี่ยน
อย่างไร
กันอย่างไร
ระบบ เศรษฐกิจ เศรษฐกจ ทัทงหมดทางาน ้งหมดทํางาน อย่างไร
คําถามเบื้องต้นทีเ่ ศรษฐศาสตร์สนใจ
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• ทาไมมนุ ทําไมมนษย์ ษยตองแลกเปลยน ต้องแลกเปลี่ยน ? • การแลกเปลี่ยน อาจเป็นทางเลือกทีม่ ปี ระสิทธิภาพกว่า การผลิติ ทุกๆอย่า่ งด้ว้ ยตนเอง • การทีแ่ ต่ละคนมีความชํานาญในการผลิต (Specialization) ต่างกัน ทําให้ผลิตสินค้าทีต่ นถนัดได้ ประหยัดกว่า และทําให้เกิดผลได้จากการแลกเปลี่ยน (gains from trade)
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• ตวอยาง: ตัวอย่าง: ชาวไรกบคนเลยงวว ชาวไร่กับคนเลี้ยงวัว • ชาวไร่: ปลูกมัน 1 กก. ใช้เวลา 10 ชม. ผลิตเนื้อ 1 กก. ใ ้เวลา 20 ชวโมง ใช้ ั่ โ • คนเลี้ยงวัว: ปลูกมัน 1 กก. ใช้เวลา 8 ชม. ผลิตเนื้อ 1 กก. ใช้เวลา 1 ชม. • ถ้าทัง้ สองคนมีเวลาในการผลิตสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง และแบ่งไปปลูกมันและผลิตเนื้ออย่างละ 20 ชม. เหมือนกันทั้งคู่ • ชาวไร่: จะได้มนั สัปดาห์ละ 2 กก. และเนื้อ สัปดาห์ ละ 1 กก. • คนเลี้ยงวัว: จะได้มัน สัปดาห์ละ 2.5 กก. และเนื้อ สัปดาห์ละ 20 กก. สปดาหละ กก
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• ตวอยาง: ตัวอย่าง: ชาวไรกบคนเลยงวว ชาวไร่กับคนเลี้ยงวัว • เมื่อมีการแลกเปลี่ยน ทัง้ สองคนเจรจาตกลงกันในอัตรา หนึง่ เชน หนง เช่น มัมนน 1 กก. กก ตอเนอ ต่อเนื้อ 3 กก. กก • สมมติ ให้ชาวไร่ใช้เวลาทัง้ หมด 40 ชม. ผลิตมันอย่าง เดียว จะผลตมนได เดยว จะผลิตมันได้ 4 กก. กก ถาเขาขายมนใหกบคนเลยง ถ้าเขาขายมันให้กบั คนเลี้ยง วัว 1 กก. ท้ายสุด เข้าจะเหลือมันไว้บริโภค 3 กก. และ ได้เนื้อมาบริโภคอีก 3 กก. • ส่วน คนเลี้ยงวัว อาจเลือกจัดสรรเวลาในการผลิตใหม่ คือ ผลิตเนื้อ 24 ชม. และผลิตมันอีก 16 ชม. เขาจะได้ เนื้อ 24 กก. และมัน 2 กก. ซึ่งหากเขาตกลงแลกเนื้อ 3 กก. กับมัน 1 กก. จากชาวนา เขาจะเหลือเนื้อไว้บริโภค 24 – 3 = 21 กก. และได้ ไ มันเพิ่มขึ้น 2 + 1 = 3 กก. • สุดท้ายแล้วทัง้ สองคนจะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการค้า (gains from trade)
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• ความถนั ความถนดททาใหแตละคนไดเปรยบโดยเปรยบเทยบ ดที่ทําให้แต่ละคนได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (comparative advantage) นี้ ทําให้เกิดการค้าขึ้น • เป็ป็นพืน้ื ฐานของระบบตลาด (Market): การ แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ (goods and services) โดยมีผู้มีความต้องการเสนอซื้อ (demand) และผูมู้ ีความต้องการเสนอขาย (supply)
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• หากแลกเปลยนแลวทาใหตางฝายตางดขน หากแลกเปลีย่ นแล้วทําให้ต่างฝ่ายต่างดีขึ้น – “Pareto Improvement”
• หากแลกเปลียี่ นแล้ว้ นํําไไปสู่จุดทีี่ฝ่ายหนึึง่ จะได้ ไ ้ ประโยชน์ แล้วต้องมีฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ เป็น จุดที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้แล้ว – “Pareto Pareto Optimality Optimality”
มนษย์ มนุ ษย
• แบบจําลองการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ (The Circular-Flow model of economy)
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
ได้รายรับ (revenue)
ตลาดสินค้าและบริการ ตลาดสนคาและบรการ ขายสินค้าและบริการ
ซื้อสินค้าและบริการ
จ่ายรายจ่าย (spending)
หน่วยผลิต
ครัวเรือน
• ผลิตและขายสินค้าและ บริการให้ภาคครัวเรือน • ซื้อปัจจัยการผลิตจากภาค ครัวเรือน
• ซื้อสินค้าและบริการจาก หน่วยผลิต • ขายปัจจัยการผลิตให้หน่วย ผลิต
จ่จายคาเชา ายค่าเช่า (rent)/ ดอกเบี้ย (interest) / ค่าจ้าง (wage)/ กําไร (profit) กาไร
ซื้อปัจจัยการผลิต
ขายปัจจัยการผลิต
ตลาดปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผูป้ ระกอบการ)
ได้รายได้ (income)
มนษย์ มนุ ษย
• การแลกเปลยนในระบบเศรษฐกจแบบตางๆ การแลกเปลี่ยนในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
แลกเปลี่ยน
What?
How?
For Whom?
ทุุนนิยม
แบบผสม
สังคมนิยม
(Mixed Economy)
(Socialism or Command Economy )
กันอย่างไร
(Capitalism or Market Economy)
ชุมชน (Community-based Economy )
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• ลักษณะที่สําคัญของระบบเศรษฐกิ ฐ จแบบตลาด (Market Economy) • การมกรรมสทธในทรพยากร การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยากร (ownership of resources) • เสรีภี าพในธุ ใ รกิิจ (freedom (f d off enterprise)) • ระบบราคา (price system) โดยที่กําไรเป็น เครื่องจูงใจ (profit motive) • ผลตสนคาแล ผลิตสินค้าและบริ บรการทผู การที่ผบ้ ริรโภคตองการแล โภคต้องการและ มีความสามารถในการซื้อ • “Invisible “I i ibl hand” h d” leads l d market k t to t “desirable outcomes” • “มือใครยาว สาวได้สาวเอา”
มนษย์ มนุ ษย
แลกเปลี่ยน กันอย่างไร
• สาเหตุุที่ต้องมีรฐั บาลในระบบเศรษฐกิ ฐ จแบบผสม (Mixed Economy) • “ความล้ ความลมเหลวของตลาด มเหลวของตลาด” (Market Failure) 1) ผลิตอะไร (What?) • เป็นไปได้ยากที่จะเกิดตลาดสําหรับสินค้าและบริการ บางอย่างโดยภาคเอกชน • เช่น กองกําลังป้องกันประเทศ 2) ผลิตอย่างไร (How?) • ควบคุมผลกระทบภายนอก (Externalities) • เช่น การใช้ ใ แ้ รงงานเด็ก็ ปัญหามลภาวะและ สิ่งแวดล้อม 3) ผลตเพอใคร ผลิตเพื่อใคร (For Whom?) • เป้าหมายในเรื่องความเป็นธรรมในการกระจาย รายได้ • คนจนและคนพิการ?
การทางาน การทํ างาน ของตลาด
• ตลาด (Market) คืออะไร? • การที่ผู้ซื้อ (ผู้บริโภค)และผู้ขาย (ผู้ผลิต) ตกลงกัน เพื่อทําการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ • ฝ่ายหนึ่งจะได้สินค้าและบริการตามที่ตนต้องการ ส่วนอีกฝ่ายจะได้รับสิ่งตอบแทนสินค้าและบริการ สวนอกฝายจะไดรบสงตอบแทนสนคาและบรการ นั้น • ในทางเศรษฐศาสตร์ตลาดไม่ได้หมายถึงสถานที่ เฉพาะเจาะจง • • • • •
ตลาดนัด, โรงอาหาร, โรงแรม, ธุรกิจกําจัดขยะ ตลาดหลักทรัพย์ ตลาดการคาขายเงนตราระหวางประเทศ, ตลาดหลกทรพย, ตลาดการค้าขายเงินตราระหว่างประเทศ e-commerce website, ตลาดค้ายาเสพย์ติด, บริการทางเพศ สถานศึกษา รฐบาล สถานศกษา, รัฐบาล ตลาดแรงงาน
การทางาน การทํ างาน ของตลาด
• ตลาดจึงต้องมีองค์ประกอบหลัก คือ • ความต้องการซื้อ (Demand) • ความตองการขาย ความต้องการขาย (Supply)
การทางาน การทํ างาน ของตลาด
คําถาม • กิจิ กรรมข้อ้ ใดต่ ใ อ่ ไปนี ไป ้ี เกียี่ วข้อ้ งกัับแนวคิิดเรืือ่ งของ “ตลาด” น้อยที่สุด เพราะเหตุใด ก) มีนักศึกษาพม่ามาเรียนเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยมาก ขึ้นหลังการเปิด AEC ข) นางสาวมุตตาไปทําแท้งโดยคลินิกรับทําแท้งเถื่อน ค) นางสาวกรองแกว นางสาวกรองแก้ว นํนาเงนทไดจากการชนะการประกวด าเงินที่ได้จากการชนะการประกวด นางงามไปฝากเงินกับธนาคาร ง) คุ ณ ปู นายกสมาคมตลกฯ มีี ภ ารกิ จ ค่่ อ นข้้ า งมาก จึึ ง ต้อ งการจั ด สรรเวลาในแต่ละวันอย่างรอบคอบเพื่อทํ า กิจกรรมต่างๆ จ) เด็กชายต๊อบ ซื้อขายอาวุุธในเกมออนไลน์ โดยใช้ “เงิน เสมือน” (ไม่ใช่เงินจริง)
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• จํานวนของสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อเพื่อ บริโภค (able and willing to consume) ดวย บรโภค ด้วย รายได้ที่ผู้บริโภคมีอยู่ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้า ชนิดนั้น ในระยะเวลาที ชนดนน ในระยะเวลาทกาหนด ่กําหนด • เมื่อเราพูดถึง อุปสงค์ หรือความต้องการซื้อ ต้องมี ความเต็มใจทีจ่ ะซื้อ ((willingness g to ppay) y) ความสามารถในการซื้อ (ability to pay) มิฉะนั้นจะไม่เกิดการซื้อขึ้น มฉะนนจะไมเกดการซอขน
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• ผู้ บ ริ โ ภคจะซื้ อ สิ น ค้ า ชนิ ด หนึ่ ง มากหรื อ น้ อ ยขึ้ น กั บ ปัจจัยอะไรบ้าง? ปจจยอะไรบาง?
ราคา รสนิยม
รายได้
จํานวน ผูผ้บรโภค ริโภค
อุปปสสงค์
ราคาสินค้าทดแทน (Substitution goods) ราคาสินค้าใช้ประกอบกัน (Complementary goods)
การคาดคะเน เกี่ยวกับราคา ในอนาคต
ฤดูกาล ฤดกาล
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• ผู้ บ ริ โ ภคจะซื้ อ สิ น ค้ า ชนิ ด หนึ่ ง มากหรื อ น้ อ ยขึ้ น กั บ ปัจจัยอะไรบ้าง? ปจจยอะไรบาง? • สามารถเขี ย นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณซื้ อ กั บ ตัั ว กํํ า หนดอุ ป สงค์์ ได้ ไ ้ ใ นรู ป ของ “ฟัั ง ก์์ ชั่ น อุ ป สงค์์ ” (Demand Function) ของสินค้า X ได้ดังนี้
QX = f ( PX, I, T, S, PY, …) • ในเบื้ อ งต้ น เศรษฐศาสตร์ ส นใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ปริมาณซื้อ (Qx) กบตวกาหนดอุ ปรมาณซอ กับตัวกําหนดอปสงค์ ปสงคทสาคญทสุ ที่สําคัญที่สด คืคออ ราคาสินค้า (Px) เท่านั้น ส่วนปัจจัยอื่นๆจะสมมติให้คงที่ (C t i Paribus: (Ceteris P ib ‘Other ‘Oth things thi being b i equal’) l’)
QX= f ( PX)
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• ปริมาณความต้องการซื้อสัมพันธ์กับราคาอย่างไร? • ความสัมั พันั ธ์ร์ ะหว่า่ งปริ ป มิ าณซือ้ื กับั ราคา
Px --------- Qx Px ---------- Qx • กฎแห่ ฎ งอปสงค์ ุ ((Law of Demand)) “ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภค ตองการซอยอมแปรผกผนกบระดบราคาสนคาและ ซื้ ่ ป ั ั ั สิ ้ ้ บริการชนิดนั้นเสมอ”
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณซื้อกับราคา
ตารางอุุปสงค์
QX= f ( PX) PX
ราคา ปริมาณความ ปรมาณความ (บาท/ กล่อง) ต้องการซื้อ (กล่อง)
PX 5 10 15 20
QX 10 8 6 4
20 15 10 5
กราฟอุุปสงค์
D เส้นอุปุ สงค์ D 4 6 8 10 QX
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• ข้อยกเว้น • สินิ ค้้าบางอย่า่ งอาจไม่ ไ เ่ ป็นไป ไปตามกฎของอุปสงค์์
• “Giffen Goods” หมายถึง กลุ่มสินค้าจําเป็นสําหรับผู้มีรายได้น้อย ซึ่ง แม้จะมีราคาสูงขึ้น แต่ก็อาจต้องบริโภคเพิ่มขึ้น อาจ เพราะไม่ ไ มีทางเลือกอื่นในการบริ ใ โภคได้ ไ ้ เช่น มาม่า ข้าวเกรดต่ํา ฯลฯ เมื่อราคาเพิ่ม เสมือนว่ารายได้ ของผ้บรโภคจะลดลง ของผู ริโภคจ ลดลง จนบรโภคสนคาอนไดนอยลง จนบริโภคสินค้าอื่นได้น้อยลง และต้องบริโภค Giffen goods มากขึ้น
• “Veblen “V bl goods” d” หมายถึง สินค้าที่ราคาจะสะท้อนถึงคุณภาพและ สถานะของผู้บริิโภค เมืื่อราคาสูงขึึ้น มีีคนกลุ่มหนึึ่ง ต้องการสูงขึ้น เช่น สินค้าแบรนด์เนม รถ supercar ไ ์ ฯลฯ ไวน
อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด (Individual demand and Market demand)
PX 20 15 10 5
นาย ก QXก 0 1 2 3
นาย ข นาย ค QXข QXค 0 0 1 2
0 0 0 1
ตลาด QXรวม 0 1 3 6
อุปุ สงค์ส่วนบุคุ คลและอุุปสงค์ตลาด (Individual demand and Market demand) PX
นาย ก
นาย ข
นาย ค
ตลาด
20 15 10 5 0 1234
012 3
0 12
01 3
6 9
QX
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• การย้ายเส้นอุปสงค์ • หากกรณีีที่ตัวกํําหนดอุปสงค์์อื่นๆ ทีี่ไม่่ใช่่ราคาสิินค้้านัั้น เปลี่ ย นไป จะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ อ ปริ ม าณการซื้ อ เช่น่ กันั โดยที โ เ่ี ส้น้ อุปสงค์จ์ ะย้้ายไปทั ไ ัง้ เส้น้ (shift)
QX = f ( PX, I,I T, T S, S PY, …))
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• การย้ายเส้นอุปสงค์ • กรณีี ตัวกําหนดอุปสงค์์ (ทีี่ไม่ใช่ราคา) เปลีี่ยนในทิ ใ ศทาง ที่ทําให้ปริมาณซื้อมากขึ้น • ในทุกระดับราคา จะมีความต้องการซื้อมากขึ้น • เสนอุ เส้นอปสงค์ ปสงคจะยายไปทงเสน จ ย้ายไปทั้งเส้น (shift) ( hift) ไปทางขวา
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• การย้ายเส้นอุปสงค์ • กรณีี ตัวกําหนดอุปสงค์์ (ทีี่ไม่ใช่ราคา) เปลีี่ยนในทิ ใ ศทาง ที่ทําให้ปริมาณซื้อลดลง • ในทุกระดับราคา จะมีความต้องการซื้อลดลง • เสนอุ เส้นอปสงค์ ปสงคจะยายไปทงเสน จ ย้ายไปทั้งเส้น (shift) ( hift) ไปทางซาย ไปทางซ้าย
อุปสงค อปสงค์ (Demand)
• • •
• • •
คําถาม นโยบายรถคั โ ั น แรก ส่่ ง ผลกระทบต่่ อ อุป สงค์์ ข องตลาด รถยนต์อย่างไร ราคาหมูแพงขึ้น ส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ของเนื้อหมูและ เนื้อไก่อย่างไร “น้ํ า ท่ ว ม” และ “การที่ ป ระชากรมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ” ส่ ง ผลกระทบต่ อ อปสงค์ สงผลกระทบตออุ ป สงคของตลาดบะหมกงสาเรจรู ข องตลาดบะหมี่ กึ่ ง สํ า เร็ จ รปป อย่างไร การห้ามขายสราช่ การหามขายสุ ราชวงกลางวน วงกลางวัน ส่สงผลกระทบตออุ งผลกระทบต่ออปสงค์ ปสงค ของตลาดสุราอย่างไร ราคานํ้ามันแพงขึ้น ส่งผลกระทบต่อตลาดรถยนต์ และ การใช้บริการขนส่งสาธารณะอย่างไร โครงการจํานําข้าว ส่งผลต่ออุปสงค์ของตลาดข้าวอย่างไร
อุปทาน อปทาน (Supply)
• จํานวนของสินค้าและบริการที่ผู้ผลิต (หรือผู้ขาย) มีความ เต็็มใใจทีี่จะผลิิตและสามารถนํําออกขาย ณ ระดัับราคา ต่างๆ ภายในระยะเวลาที่กําหนด
อุปทาน อปทาน (Supply)
• ผู้ ผ ลิ ต (ผู้ ข าย)จะขายสิ น ค้ า ชนิ ด หนึ่ ง มากหรื อ น้ อ ย ขึนึ้ กับั ปัจจัยั อะไรบ้ ไ า้ ง?
ราคา ต้นทุนการ ผลิต ราคาสินค้าอื่นที่หน่วย ผลิตขายเช่นกัน
จํานวนผูู้ผลิต เทคโนโลยีการ ผลิต ผลต
อุปทาน นโยบาย รัฐบาล
การคาดคะเน เกี่ยวกับราคาใน อนาคต
ฤดกาล ฤดู กาล
อุปทาน อปทาน (Supply)
• สามารถเขี ย นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณขายกั บ ตัั ว กํํ า หนดอุ ป ทาน ได้ ไ ้ ใ นรู ป ของ “ฟั ง ก์์ ชั่ น อุ ป ทาน” (Supply Function) ของสินค้า X
QX = f ( PX, Tech, n, PY, …) • ในเบื้ อ งต้ น เศรษฐศาสตร์ ส นใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ปริมาณขาย (Qx) กับตัวกําหนดอุปทานที่สําคัญที่สุด คือ ราคาสินค้า (Px) • ปัจจัยอื่นๆจะสมมติให้คงที่ (Ceteris Paribus: ‘Other g beingg equal’) q ) things
QX= f ( PX)
อุปทาน อปทาน (Supply)
• ความต้องการขายสัมพันธ์กับราคาอย่างไร? Px --------- Qx Px ---------- Qx • กฎแห่งอุปทาน (Law of Supply) “ปริมาณของ สิ น ค้ า และบริ ก ารชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ที่ ผู้ ผ ลิ ต หรื อ ผู้ ข ายต้ อ งการขายย่ อ มแปรผั น โดยตรงกั บ ระดั บ ราคาสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ” ราคาสนคาและบรการชนดนนเสมอ
ความต้องการขายสัมพันธ์กับราคาอย่างไร?
ตารางอุุปทาน
QX= f ( PX)
ราคา ปริมาณเสนอ ปรมาณเสนอ (บาท /กล่อง) ขาย (กล่อง) QX PX 5 4 10 6 15 8 20 10
กราฟอปทาน กราฟอุ ปทาน
PX เส้นอปทาน เสนอุ ปทาน 20 15 10 5 4
6
8 10
S
QX
อุปุ ทานส่วนบุคุ คลและอุุปทานตลาด (Individual Supply and Market Supply) PX
บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค ตลาด QXก QXข QXค QXรวม
4 6
0 1
0 0
0 0
0 1
8 10
2 3
1 2
0 1
3 6
อุปทาน อปทาน (Supply)
• การย้ายเส้นอุปทาน • หากกรณีีที่ตัวกํําหนดอุปทานอื่ืนๆ ทีี่ไม่่ใช่่ราคาสิินค้้านัั้น เปลี่ยนไป จะเกิดการเปลี่ยนแปลงต่อปริมาณการเสนอ ขายเช่น่ กันั โดยที โ เ่ี ส้น้ อุปทานจะย้า้ ยไปทั ไ ัง้ เส้น้ (shift) • ถ้ า เปลี่ ย นในทิ ศ ทางที่ ทํ า ให้ ป ริ ม าณขายมากขึ้ น เส้ น อุปทานจะย้ายไปทั้งเส้น (shift) ไปทางขวา • ถาเปลยนในทศทางททาใหปรมาณขายนอยลง ถ้ า เปลี่ ย นในทิ ศ ทางที่ ทํ า ให้ ป ริ ม าณขายน้ อ ยลง เสน เส้ น อุปทานจะย้ายไปทั้งเส้น (shift) ไปทางซ้าย
อุปทาน อปทาน (Supply)
• การย้ายเส้นอุปทาน
shift ซ้าย (ลด)
S2
P 200 150 B 100 2 50 A 3 4
E2
E C
C2
S
B 6 7 8
C1
B1 10
S1
Shift ขวา (เพิ่ม)
Q
• คําถาม
PX P2 P1 P3
E B
A
C
D Q4 Q2 Q1 Q3 Q5
ถ้ถาให าให้ X คอ คือ ขาวเปลอก ข้าวเปลือก 1.ถ้าราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นจาก P1 ไปเป็น P2 ปริมาณการเสนอขายข้าวเปลือก ปรมาณการเสนอขายขาวเปลอก จะเปลี่ยนจากจุด A ไปจุดใด QX
2. ถ้าเกิดอุทกภัย เส้นอุปทานของข้าวเปลือกจะเปลี่ยนไปอย่างไร 3. นโยบายรับจํานําข้าว จะส่งผลต่อเส้นอุุปทานข้าวเปลือกอย่างไร
อุปทาน อปทาน (Supply)
• คําถาม ข้อใดต่อไปนี้มีผลทําให้อุปทานของสินค้าและบริการลดลง ก. ค่าแรงงานถููกลง ข. รายได้ของผู้ซื้อสินค้าลดลง ค รสนยมของผู ค. รสนิยมของผ้บริรโภคเปลยนแปลงไป โภคเปลี่ยนแปลงไป ง. ราคาวัตถุดิบสูงขึ้น
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
• ดุลยภาพตลาด คือ จุดที่ปริมาณและราคาที่ผู้บริโภค ต้องการจะซื้อและผูผ้ ลิตต้องการจะขายมีความ สอดคล้องกัน • Demand = Supply • ผู้ซื้อและผู้ขายจะตกลงกัน ในเรื่องของ • ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) และ • ปรมาณดุ ปริมาณดลยภาพ ลยภาพ (Equilibrium Quantity)
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
ร ปส ปสงคและอุ ์ ปทานของสม ส้ ณ ตลาดแหงหนง ่ ึ่ ตารางอุ ราคาส้ม ราคาสม ปริมาณความ ปรมาณเสนอ ปรมาณความ ปริมาณเสนอ (บาท / ก.ก) ต้องการส้ม(ก.ก) ขายส้ม(ก.ก) QDX QSX PX 5 10 90 10 70 30 ปริมาณ ปรมาณ ราคา 15 50 50 ดุลยภาพ ดุลยภาพ20 70 30 90 25 10
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
กรณีที่ราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ • เกิดภาวะ “Excess supply” (อุปทานส่วนเกิน) คือ ปริมาณความต้องการขายที่มากกว่าความ ต้องการซื้อ Price
S
Excess supply P1 E
PE
D QD
QE
QS
Quantity
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
กรณีที่ราคาสินค้าต่ํากว่าราคาดุลยภาพ • เกิดภาวะ “Excess demand” (อุปสงค์ ส่วนเกิน) คือ ปริมาณความต้องการซื้อทีม่ ากกว่า ความต้องการขาย หรือเกิดภาวะสินค้าขาดตลาด (Shortages)
Price
S E
PE P2
Excess demand QS
QE
D QD
Quantity
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การปรับตัวเข้าสู่ราคาดุลยภาพ • ราคาจะทําหน้าที่แบ่งสรรสินค้า (rationing) เช่น ปรับ ลดลงเมื่อสินค้าล้นตลาด หรือปรับเพิ่มขึ้นเพื่อสินค้า ขาดตลาด PX
อุปทานส่ว่ นเกิิน
P2 P1
E
P3 0
S
อุุปสงค์ส่วนเกิน Q2 Q5 Q1 Q4 Q3
D QX
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกําหนดเส้นอุปสงค์และ เส้นอปทาน เสนอุ ปทาน แลวทาใหเสนอุ แล้วทําให้เส้นอปสงค์ ปสงค และ/หรอ และ/หรือ เส้ เสนอุ นอปทาน ปทาน เกิดการย้ายเส้น (shift) ย่อมทําให้ดุลยภาพตลาด (ราคา แล ปริมาณดลยภาพ) และปรมาณดุ ลยภาพ) เกดการเปลยนแปลงเชนกน เกิดการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand shift อย่างเดียว P
S E2
P2 P1
E1 D* D
0
Q1 Q
Q2
Q
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Supply shift อย่างเดียว S*
P P2 P1
S E2 E1 D
0
Q2
Q1
Q
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand และ Supply shift พร้อมกัน • ยกตัวอย่าง กรณีเส้น Demand shift ไปทางขวา แต่เส้น Supply shift ไปทางซ้าย • ราคาดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร?
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand และ Supply shift พร้อมกัน • ยกตัวอย่าง กรณีเส้น Demand shift ไปทางขวา แต่เส้น Supply shift ไปทางซ้าย S*
P
S
P2 P1 D* D 0
Q1 Q2
Q
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand และ Supply shift พร้อมกัน • ยกตัวอย่าง กรณีเส้น Demand shift ไปทางขวา แต่เส้น Supply shift ไปทางซ้ายS* P
S
P2 P1
D* D 0
Q2 Q1
Q
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand และ Supply shift พร้อมกัน • ยกตัวอย่าง กรณีเส้น Demand shift ไปทางขวา แต่เส้น Supply shift ไปทางซ้าย P
S* S
P2 P1 D* D 0
Q1
Q
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพตลาด • เมือ่ เส้น Demand และ Supply shift พร้อมกัน Demand Shift ขวา Demand Shift ซ้าย
Equilibrium) Supply Shift ขวา
P ไม่แน่นอน Q เพมขน เพิม่ ขึ้น
P ลดลง Q ไมแนนอน ไม่แน่นอน
Supply Shift ซาย ซ้าย
P เพิม่ ขึ้น Q ไม่แน่นอน
P ไม่แน่นอน Q ลดลง
ขึ้นอยู่กับขนาดของการเปลี่ยนแปลงระหว่าง Demand และ Supply pp y เปรียบเทียบกัน
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
แบบฝึกฝน 1. ผลผลิติ พืชื ไร่ ไ ใ่ นประเทศลดลง เนือ่ื งจากสภาพดินิ ฟ้้าอากาศแห้้ง แล้ง 2. ตลาดชาเขียี วมีีผู้ผลิิตรายใหม่ ใ ่เข้้ามาขายจํํานวนมากขึึน้ 3. งานวิจัยชี้ กินถั่วเหลืองมากๆ ระวังเป็นมะเร็ง!! 4. การเพิม่ ปรับั ราคาขึึน้ ของข้า้ ว จากโครงการรั โ ับจํํานํําข้้าว 5. การที่โรงงานปลากระป๋องนําเข้าเครื่องจักรชนิดใหม่มาใช้ 6. การเติบโตขึ้นของตลาดแผ่นหนังก๊อป กระทบต่อแผ่นลิขสิทธิ์ อย่างไร 7. การที่ราคาน้ํ้ามันปรับตัวสูงขึ้น จะกระทบต่อตลาดของเอทา นอลอย่างไร 8. รััฐบาลส่่งเสริิมใให้้ประชาชนมีีการท่่องเทีี่ยวในประเทศและใน ใ ใ ขณะเดียวกันก็ให้สิทธิพิเศษแก่บริษัททัวร์ที่นําเที่ยวในประเทศ
ดุลยภาพ ดลยภาพ ตลาด (Market Equilibrium)
ตัวอย่างคําถาม
รถไฮบริ ไ ิดและรถยนต์์ไฟฟ้า เป็ป็นเทคโนโลยี โ โ ีที่ช่วยให้ ใ ้มีการประหยั ป ัด การใช้น้ํามันเชื้อเพลิงอย่างมาก ทั้งยังมีส่วนช่วยทําให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น เพราะลดการปล่อยไอเสียออกส่บรรยากาศดวย เพราะลดการปลอยไอเสยออกสู รรยากาศด้วย แต่ แตอยางไรกด อย่างไรก็ดี ยัยงมผู งมีผ้ ขั บ ขี่ ที่ เ ลื อ กซื้ อ รถยนต์ ไ ฮบริ ด และรถยนต์ ไ ฟฟ้ า อยู่ จํ า นวนไม่ สู ง เท่าที่ควร ด้ดวยสาเหตุ เทาทควร วยสาเหตหลั หลกคอราคาของทงตวรถและแบตเตอรทยง กคือราคาของทั้งตัวรถและแบตเตอรี่ที่ยัง แพงมากเมื่อเทียบกับรถยนต์ปกติทั่วไป หากรัฐบาลต้องการส่งเสริม ให้มีการใช้รถยนต์ไฮบริดมากขึ้น โดยมีสามทางเลือก คือ ก) การเก็บภาษีจากผู้ซอื้ รถยนต์ธรรมดาให้สูงขึ้น จนทําให้ ราคาไม่แตกต่างเมื่อเปรียบเทียบกับรถยนต์ไฮบริด ข) การให้ ใ ส้ ิทธิลดหย่่อนและคืนื ภาษีแี ก่ผ่ ้ซู ือ้ รถยนต์ไ์ ฮบริด ค) การให้งบประมาณอุดหนุนการลงทุนแก่ผผู้ ลิตรถยนต์ ไฮบริด ไฮบรด จงอธิ บ ายว่ า ทั้ ง สามนโยบายส่ ง ผลกระทบต่ อ ตลาดของ รถยนต์ไฮบริดอย่างไร รถยนตไฮบรดอยางไร
View more...
Comments