สรุปคณิตศาสตร์ม.ต้น.pdf

February 8, 2017 | Author: japan2911 | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

สรุปคณิตศาสตร์ม.ต้...

Description

สรุ ปเนือ้ หาวิชาคณิตศาสตร์ จานวนและตัวเลข การเขียนตัวเลขและจานวน ในการเขียนตัวเลขจานวน ในจานวนที่สาคัญพิจารณาได้ ดงั นี ้ ระบบตัวเลขฮินดู อารบิก เป็ นระบบที่ใช้ ทวั่ ๆไปในปั จจุบนั โดยใช้ เลขฐาน 10 ดังนี ้ 129  100  20  90

(เพราะว่า 100 = 1)

 1  (10) 2  2  (10)1  9  (10)

ระบบตัวเลขโรมัน เป็ นระบบของการเขียนแบบรวมพวกอย่างง่าย โดยใช้ เลขฐาน 10 ดังนี ้ ตัวเลขโรมัน

I

V

X

L

C

D

M

ตัวเลขอารบิก 1

5

10

50

100

500

1000

ระบบตัวเลขฐานสอง ในระบบนี ้จะใช้ ตวั เลข 2 ตัว คือ 0 กับ 1 เช่น 1011012  1 (25)  0  (24)  1 (23)  1 (22)  1 (21)  1 (20)  32  0  8  4  0  1 1011012  45

(ในเลขฐาน 10 ซึง่ ฐาน 10 จะไม่เขียนห้ อยไว้ ละไว้ ในฐานที่เข้ าใจ)

จานวนนับ (N) จานวนนับ หรื อ จานวนธรรมชาติ คือจานวนที่ใช้ ในการนับซึง่ เริ่มตังแต่ ้ 1, 2, 3, ... ไปเรื่ อยๆ พิจารณาดังต่อไปนี ้ ตัวประกอบ ตัวประกอบของ

A คือ จานวนที่หาร A ได้ ลงตัว เช่น

ตัวประกอบทังหมดของ ้ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 จานวนเฉพาะ จานวนเฉพาะ คือ จานวนที่มีคา่ มากกว่า 1 และมีคา่ มากกว่า 1 และมีตวั ประกอบเพียงสองตัวคือ 1 และตัวมันเอง เช่น 23 เป็ นจานวนเฉพาะ เพราะว่า มีตวั ประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และ 23

จานวนคู่ และ จานวนคี่ จานวนคู่ คือ จานวนทุกจานวนที่ 2 หารลงตัว หรื อ กล่าวได้ วา่ “เป็ นจานวนที่มี 2 เป็ นตัวประกอบ เช่น 22” จานวนคี่ คือ จานวนทุกจานวนที่ 2 หารแล้ วเหลือเศษ 1 เช่น 15 ข้ อควรทราบ ถ้ ากาหนดให้

n  0,1,2,  จะได้ วา่

- จานวนคู่ คือ

2n

- จานวนคี่ คือ

เช่น

n3

จะได้ จานวนคู่

จะได้ จานวนคี่

2n  1

 2(3)  6 = 2(3) = 6  2(3)  1  7

ตัวคูณร่ วมน้ อย (ค.ร.น) ตัวคูณร่วมน้ อยของ A และ B คือ จานวนนับที่น้อยที่สดุ มี A และ B เป็ นตัวประกอบ เช่น ค.ร.น ของ 3 และ 4 คือ 12 ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.) ตัวหารร่วมมากของ ของ 18 และ 27 จะได้ วา่

C และ D คือ จานวนนับที่มีคา่ มากที่สดุ ที่หาร C และ D ได้ ลงตัว เช่น ห.ร.ม.

18  3  3  2  9  2 27  3  3  3  9  3

 ห.ร.ม. ของ 18 และ 27 คือ 9

ระบบจานวนเต็ม (I) จานวนเต็ม คือ จานวนที่ประกอบด้ วย จานวนเต็มลบ ( บวก (I+) พิจารณาสิ่งต่อไปนี ้

I-), จานวนเต็มศูนย์ (I0) และ จานวนเต็ม

คุณสมบัตขิ องจานวนเต็ม กาหนดให้

A, B, C เป็ นจานวนเต็มใดๆ จะได้ วา่ 1. A + 0

=

0+A

( 0 เป็ นเอกลักษณ์ของการบวก )

2. 1 x A

=

Ax1=A

( 1 เป็ นเอกลักษณ์ของการคูณ )

3. A + B

=

B+A

4. A x B

=

BxA

5. (A + B) + C

=

A + (B + C)

6. (A x B) + C

=

A x (B x C)

7. A x (B + C)

=

(A x B) + (A x C)

ค่ าสัมบูรณ์ ( x ) กาหนดให้

X, Y เป็ นจานวนจริงใดๆ และ A เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 0 จะได้ วา่ 1.

X 0

และ

X  X

2.

X A

ก็ตอ่ เมื่อ

XA

3.

X A

ก็ตอ่ เมื่อ

 A X  A

4.

X A

ก็ตอ่ เมื่อ

X  A

5.

X2 X2

และ

6.

X Y  X  Y

7.

X Y  X  Y

8.

XY  X Y

9.

X X  Y Y

หรื อ

X  A

หรื อ

XA

X  X2

เมื่อ Y  0

เศษส่ วนและทศนิยม เศษส่ วน เป็ นจานวนจริงแต่ไม่ใช่จานวนนับ ซึง่ ตัวเลขที่อยูข่ ้ างบนเรี ยกว่าเศษ ตัวเลขที่อยูข่ ้ างล่าง เรี ยกว่า ส่วน เช่น

3 4

เป็ นต้ น พิจารณาประเภทเศษส่วนได้ ดงั นี ้

- เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนที่มีเศษน้ อยกว่าส่วน เช่น

5 7

เป็ นต้ น 5 3

- เศษส่วนไม่แท้ คือ เศษส่วนที่มีเศษส่วนมากกว่าหรื อเท่ากับส่วน เช่น - เศษส่วนอย่างต่า คือ เศษส่วนที่มี

เป็ นต้ น

ห.ร.ม. ของเศษและส่วนเป็ น 1 เช่น 13 เป็ นต้ น

- เศษส่วนเหมือน คือ เศษส่วนที่มีสว่ นเป็ นจานนเดียวกัน เช่น

19

1 7

และ

3 7

เป็ นต้ น

- เศษส่วนจานวนคละ คือ เศษเกินที่เขียนในรูปผลบวกของจานวนเต็มกับเศษส่วน 25 1 8 3 3

เช่น

เป็ นต้ น

ในการเขียนเศษส่วนที่มีสว่ นเป็ นกาลังของ 10 สามารถเขียนเป็ นทศนิยมได้ ดงั นี ้ เช่น

7  0.07 100

เช่น

0.0375 

ดังนัน้

และจานวนที่เขียนในรูปทศนิยม ก็ใช้ ระบบตัวเลขฐาน 10 และมีคา่ ประจาตาแหน่งดังนี ้

375 300  70  50 300 70 5     10,000 10,000 10,000 10,000 10,000

0.0375 

3 7 5 3 7 5    2  3  4 100 1,000 10,000 10 10 10

นันคื ้ อ

- ค่าประจาตาแหน่ง ของ 3 คือ 10-2 - ค่าประจาตาแหน่ง ของ 7 คือ 10-3 - ค่าประจาตาแหน่ง ของ 5 คือ 10-4 ฉะนัน้ จะได้ วา่ 0.0375 0.0375  (3  10  2)  (7  10  3)  (5  10  4) ทศนิยม สามารถพิจารณาได้ ดงั นี ้ - ทศนิยมรู้จบ คือ ทศนิยมที่จานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม เป็ นจานวนรู้จบ หรื อมีศนู ย์ซ ้า เช่น

48.392 อ่านว่า สี่สิบแปดจุดสามเก้ าสอง 3.400 อ่านว่า สามจุดสี่ศนู ย์ศนู ย์

- ทศนิยมไม่ร้ ูจบ คือ ทศนิยมที่จานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมเป็ นจานวนไม่ร้ ูจบมี 2 ชนิด คือ 1. ทศนิยมไม่ร้ ูจบแบบไม่ซ ้า คือ ทศนิยมที่มีตวั เลขหลังจุดทศนิยมมากมายโดยไม่ซ ้ากัน เช่น 17.83945…. อ่านว่า สิบเจ็ดจุดแปดสามเก้ าสี่ห้าละ 2. ทศนิยมไม่ร้ ูจบแบบซ ้า คือ ทศนิยมที่มีตวั เลขหลังจุดทศนิยมหนึง่ ตัวหรื อมากกว่าซ ้ากัน อย่างเป็ นระบบ เช่น 4.5 = 4.555…. อ่านว่า สี่จดุ ห้ า ห้ าซ ้า การแปลงทศนิยมไม่ ร้ ู จบแบบซา้ ให้ เป็ นเศษส่ วน ซึง่ สามารถพิจารณาได้ ดงั นี ้ 1. ทศนิยมไม่ร้ ูจบแบบซ ้าล้ วนๆ เป็ น 9 เท่ากับจานวนทศนิยมที่ไม่ร้ ูจบ เช่น

0.6433 

643 999

5.677   5 

76 99

2. ทศนิยมที่ร้ ูจบผสมกับทศนิยมที่ไม่ร้ ูจบแบบซ ้า ให้ เอาตัวเลขหลังจุดทศนิยมทังหมดตั ้ งลบด้ ้ วยตัวเลขที่ เป็ นทศนิยมจบ แล้ วหารด้ วย 9 ซึง่ จานวนเท่ากับจุดทศนิยมไม่ร้ ูจบ แล้ วเติมศูนย์ลงข้ างท้ ายเท่ากับ จานวนทศนิยมรู้จบ นัน่ คือ จานวนทศนิยมคละ =

เลขทศนิยมทังหมด ้ - ตัวเลขทศนิยมที่ไม่ร้ ูจบ

_

เลข 9 เท่ากับ จานวนทศนิยมที่ไม่ร้ ูจบตามด้ วย 0 เท่ากันจานวนทศนิยมรู้จบ เช่น

7.594  7 

594  5 589 7 990 990

จานวนจริง คือ จานวนที่ประกอบไปด้ วย จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ สามารถ พิจารณาโครงสร้ างของระบบจานวนจริง ได้ ดงั นี ้

จานวนจริง

จานวนจริง (R) จานวนตรรกยะ (Q) จานวนเต็ม (I) จานวนเต็มลบ (I-)

จานวนตรรกยะ

จานวนอตรรกยะ (Q’)

เศษส่วน (F)

จานวนเต็มศูนย์ (I0)

จานวนเต็มบวก (I+)

คือ จานวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน หรื อทศนิยมซ ้าได้ นัน่ คือ “ถ้ า A เป็ น จานวนจริงใดๆ แล้ วA จะเป็ นจานวนตรรกยะ ก็ตอ่ เมื่อ มีจานวนเต็ม M และ N ทาให้

A

M N

โดยที่ N  0 ” เช่น 2.9, 4.777, 9.78 เป็ นต้ น

จานวนอตรรกยะ คือ จานวนที่ไม่สามารถแทนได้ ด้วยทศนิยมซ ้า หรื อเศษส่วน นัน่ คือ “ถ้ า B เป็ น จานวนจริงใดๆ แล้ ว B จะเป็ นจานวนอตรรกยะ ก็ตอ่ เมื่อ ไม่สามารถเขียนรูป B ในรูปเศษส่วนของจานวนเต็มได้ ” เช่นค่าของ  , 2 เป็ นต้ น รากที่สอง นิยาม ถ้ า A เป็ นจานวนจริงใดๆ และ A  0 แล้ ว รากที่สองของ A คือ จานวนที่ยกกาลังสอง แล้ ว ได้ A ซึง่ รากที่สองของ A ซึง่ รากที่สองของ A มีทงรากที ั้ ่สองที่เป็ นบวกและรากที่สองที่เป็ นลบ นัน่ คือ ( A ) 2  ( A ) 2  A

Note รากที่สองของจานวนบวกจะเป็ นจานวนตรรกยะ หรื ออตรรกยะเพียงอย่างใดอย่างหนึง่ เท่านันคุ ้ ณสมบัตขิ อง A เมื่อ A  0 - ถ้ า

A0

และ

B0

แล้ ว

AB  A . B

- ถ้ า

A0

และ

B0

แล้ ว

A  B

A B

การหารากที่สอง ในการหารากที่สอง มีวิธีดงั ต่อไปนี ้ 1. การหารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ พิจารณาได้ ดงั นี ้ รากที่สองของ

256 จะได้

256  2  2  2  2  2  2  2  2



 24  24  2 2  2 2

จะได้ วา่

256  16 2

และ (16) 2 นัน่ คือ รากที่สองของ

  4  4 2

2

 16

256  16,  16

2. การหารากที่สองโดยวิธีตงหาร ั้ มีหลักการดังนี ้ - แบ่งตัวเลขจากขวามือไปหาซ้ ายมือ ครัง้ ละสองตัว , จุดทศนิยมให้ บง่ จากซ้ ายไปขวา - หาจานวนที่ยกกาลังสองแล้ วใกล้ เคียง หรื อเท่ากับจานวนแรกทางซ้ ายมือ - นาเอา 2 คูณผลลัพธ์ที่ได้ ในครัง้ แรก แล้ วหาตัวเลขมาเติม หลังผลลัพธ์ที่ได้ จากการคูณด้ วย 2 แล้ ว คูณด้ วยเลขจานวนนัน้ ทาอย่างนี ้ไปเรื่ อยๆ จนได้ เศษเป็ นศูนย์ 3. การหารากที่สองโดยวิธีเฉลี่ย โดยหาค่าที่ยกกาลังสองแล้ ว มีคา่ น้ อยกว่าจานวนที่ต้องการหาหนึง่ จานวน และ มากกว่าอีกหนึง่ จานวน แล้ วนามาหาค่าที่ใกล้ เคียง รากที่สาม นิยาม ถ้ า A เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ วรากที่สามของ A คือ จานวนจริงที่ยกกาลังสามแล้ วได้ A สัญลักษณ์ คือ

3

A

นัน่ คือ

3

A3  A

พิจารณาตัวอย่าง 3

 64  3 (4)(4)(4)

 

3

 64  4

รากที่ n นิยาม ถ้ า A เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว รากที่ n ของ A คือ จานวนที่ยกกาลัง n แล้ วได้ A สัญลักษณ์ คือ

n

A

นัน่ คือ (n

An )  A

เลขยกกาลัง คุณสมบัตขิ องเลขยกกาลัง กาหนดให้ A, B เป็ นจานวนใดๆ และ m, n เป็ นจานวนเต็มบวก 1. 2.

A m  A n  A mn

3.

( A m ) n  A mn

4.

( A  B) n  A n  B n

5.

A An ( )n  n B B

6.

A0  1

7.

A n 

8. 9.

A m  A n  A m n

เมื่อ

mn

1 An

1

A n A n

m

A  n Am n

คุณสมบัตขิ องเครื่องหมายราก กาหนดให้ A, B เป็ นจานวนใดๆ m และ n เป็ นจานวนเต็มบวก จะได้ ดงั นี ้ 1.

(n A ) n  A

2.

(n A )  (n B )  n A  B

3.

(n A )  (n B )  n

4.

(n A n )  A

เมื่อ A เป็ นจานวนคี่ และ

(n A n )  A

เมื่อ A เป็ นจานวนคู่

5.

A B

(m n A )  mn A

6. คอนจูเกตของ

A B

คือ

A B

ทฤษฎีพธิ ากอรั ส ทฤษฎีบท : ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื ้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสบนด้ านตรงข้ ามมุมฉากจะเท่ากับ ผลบวกของพื ้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมบนด้ านประกอบมุมฉาก พิจารณาจากรูป

กาหนดให้ ;

ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมมุ C เป็ นมุมฉาก c เป็ นความยาวของด้ านตรงข้ ามมุมฉาก ab เป็ นความยาวของด้ านประกอบมุมฉาก

พื ้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสรูป

X  a2

พื ้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสรูป

Y  b2

พื ้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสรูป

Z  c2

จากทฤษฎีบทจะได้ วา่

c2  a2  b2

ฉะนันเราสามารถหาความยาวด้ ้ านตรงข้ ามมุมฉากได้ คือ

c  a2  b2

ความลับของทฤษฎีพธิ ากอรัส ในรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ าพื ้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสบนด้ าน ๆ หนึง่ เท่ากับผลบวกของพื ้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมจัตรุ ัสบนอีกสองด้ านแล้ ว สามเหลี่ยมรูปนันจะเป็ ้ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ในการหาความยาวของด้ านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เราต้ องทราบความยาวของด้ านสองด้ าน จึงจะสามารถหาความยาวด้ านที่สามได้

พหุนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้ อยูใ่ นรูปการคูณของค่าคงที่กบั ตัวแปรตังแต่ ้ หนึง่ ตัวขึ ้นไป โดยที่เลข ชี ้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็ นศูนย์ หรื อ จานวนเต็มบวก เอกนาม ประกอบด้ วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็ นค่าคงที่ เรี ยกว่า สัมประสิทธิ์ของเอกนาม และส่วนที่อยูใ่ นรูปการคูณของตัว แปร และผลบวกของเลขชี ้กาลังของตัวแปร ทังหมดในเอกนาม ้ เรี ยกว่า ดีกรี ของเอกนาม เช่น

 81x 2 y 2

จะได้ - 81 คือ สัมประสิทธิ์ของเอกนาม

(3  2)  5

คือ ดีกรี ของเอกนาม

การบวกลบ เอกนาม เอกนามตังแต่ ้ สองเอกนามขึ ้นไป จะบวกลบกันได้ ก็ตอ่ เมื่อเป็ นเอกนามที่คล้ ายกัน คือ เอกนามทัง้ สองมีตวั แปรชุดเดียวกัน และเลขชี ้กาลังของตัวแปรเดียวกันเท่ากัน จะได้ วา่ ผลบวกของเอกนาม

= ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x ส่วนที่อยูใ่ นรูปการคูณกันของตัวแปร

ผลลบของเอกนาม

= ผลลบของสัมประสิทธิ์ x ส่วนที่อยูใ่ นรูปการคูณกันของตัวแปร

พหุนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนในเอกนาม หรื อในรูปการบวกกันของเอกนามตังแต่ ้ สองเอกนามขึ ้นไป ดีกรี ของพหุนาม ดูจากดีกรี สงู สุดในพหุนาม 4 x 2 y  8 y 3  5x 2 y 2



35x 4 y 2 z 5  14 x 2 y 3 z  18x 4

ดีกรี เท่ากับ (4 + 5) = 9 

ดีกรี เท่ากับ (4 + 2 + 5) = 11

การบวกลบ พหุนาม การบวกพหุนาม ทาได้ โดยนาพหุนามมาเขียนในรูปการบวก ถ้ ามีพจน์คล้ ายกันให้ รวมพจน์ที่ คล้ ายกันเข้ าด้ วยกัน โดยมีการเขียนพจน์จากดีกรี มากไปหาดีกรี น้อย เช่น (5x 4  12 x 2 )  (2 x 2  8x  7)  5x 4  (12 x 2  2 x 2 )  8x  7

 5x 4  14 x 2  8x  7

การลบพหุนาม ทาได้ โดยเขียนพหุนามในรูปการลบให้ อยูใ่ นรูปการบวก ซึง่ อาศัยจานวนตรงข้ ามพหุนามโดยเรี ยง พจน์จากดีกรี มากไปหาดีกรี น้อย เช่น (3x 2  8x 7 )  (5x 6  9 x 2  8x  12)

จะได้

 (8x 7  3x 2 )  5x 6  9 x 2  8x  12  8x 7  5x 6  (3x 2  9 x 2 )  8x  12  8x 7  5x 6  12 x 2  8x  12

การคูณพหุนาม ในการคูณพหุนามด้ วยพหุนาม ทาได้ โดยคูณแต่ละพจน์ของพหุนามหนึง่ กับทุกๆ พจน์ ของอีกพหุ นามหนึง่ แล้ วนาผลคูณพหุนามนันมาบวกกั ้ น การหารพหุนาม การหารพหุนามด้ วยเอกนาม ทาได้ โดย นาตัวหารไปการทุกพจน์ของตัวตัง้ แล้ วนาผลหารที่ได้ มา บวกกัน การหารพหนุนามด้ วยพหุนาม กาหนดให้

P(x)

คือตัวตัง,้

จะได้ ความสัมพันธ์วา่ นัน่ คือ

( x  a)

คือตัวหาร, ผลหาร คือ

Q(x)

และ r คือเศษ

P ( x) r  Q( x)  ( x  a) ( x  a) P( x)  Q( x)( x  a)  r

การหารสังเคราะห์ ถ้ าตัวหารในผลการของสองพหุนาม อยูใ่ นรูป x  c สามารถทาได้ โดยการหารสังเคราะห์ คือ เขียนเฉพาะสัมประสิทธิ์ของตัวตัง้ และใช้ ศนู ย์แทนสัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ไม่ปรากฏ ตัวหารคือ x  c ถ้ า x  c  0 แล้ วจะได้ x  c

การแยกตัวประกอบของพหุนาม ในการแยกตัวประกอบของพหุนามสามารถพิจารณาได้ ดงั นี ้ 1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง ในรูป สามารถสรุปได้ วา่ ( x  A)( x  B) 

Ax 2  Bx  c

เมื่อ

A, B, C

คือค่าคงที่

A 1

x 2  ( A  B) x  AB

( x  A) 2



x 2  2 Ax  A 2

( x  A) 2



x 2  2 Ax  A 2

2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง ในรูป Ax2 + Bx + C เมื่อ A > 1 สามารถสรุปได้ วา่ ( Ax  By )(Cx  Dy) 

ACx 2  ( AD  BC ) xy  BDy 2

3. การแยกตัวประกอบของพหุนามในรูปผลต่างกาลังสอง สามารถสรุปได้ วา่ ( x  A)( x  A) 

x 2  A2

4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง โดยวิธีทาให้ เป็ นกาลังสองสมบูรณ์ สามารถสรุปได้ วา่ ( x  A)( x  A)  ( x  A) 2



x 2  2 Ax  A 2

( x  A)( x  A)  ( x  A) 2



x 2  2 Ax  A 2

มีหลักในการพิจารณาดังนี ้ 1. ทา ส.ป.ส. ของ

x2

ให้ เป็ น 1 เสมอ

2. พิจารณา ส.ป.ส. ของ

x

และหารด้ วย 2 แล้ ว จึงยกกาลังสอง

3. นาผลที่ได้ จากข้ อ 2 มาบวกเข้ าและลบออก เพื่อให้ อยูใ่ นรูป 4. ดาเนินการแยกตัวประกอบด้ วยสูตรข้ างต้ นที่กล่าวมา การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสาม สามารถสรุปได้ ว่า x 3  A3  ( x  A)( x 2  Ax  A 2 ) x 3  A3  ( x  A)( x 2  Ax  A 2 ) ( x  A) 3  x 2  3x 2 A  3xA 2  A3 ) ( x  A) 3  x 2  3x 2 A  3xA 2  A3 )

x 2  2 Ax  A 2

ทฤษฎีเศษ เมื่อหารพหุนาม

P(x)

ด้ วยพหุนาม

xa

เมื่อ

a

เป็ นจานวนจริงใดๆ

Q( x )  0

เราจะเรี ยก

ว่าเศษส่วนของพหุนาม การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่ วนพหุนาม ในการบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนพหุนาม มีหลักเกณฑ์ ดังนี ้ - หลักในการบวกเศษส่วนพหุนาม คือ

A C AD  BC   B D BD

เมื่อ

B

และ

D0

- หลักในการลบเศษส่วนพหุนาม คือ

A C AD  BC   B D BD

เมื่อ

B

และ

D0

- หลักในการคูณเศษส่วนพหุนาม คือ

A C AC   B D BD

เมื่อ

B

และ

D0

- หลักในการหารเศษส่วนพหุนาม คือ

A C A D AD     B D B C BC

เมื่อ

B

และ

D0

P Q

สมการและอสมการ สมการ และ อสมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว รูปทัว่ ไปของสมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว คือ

เมื่อ

Ax  B  0

A, B

เป็ นค่าคงที่ และ

A0

สิ่งที่ควรทราบ และจาเป็ นต้ องใช้ ในการแก้ สมการ ดังนี ้ คุณสมบัตทิ ่ เี กี่ยวกับการบวก และการคูณจานวนจริง 1. ถ้ า

A, B, C

เป็ นจานวนจริงใดๆ ซึง่

A B

2. ถ้ า

A, B, C

เป็ นจานวนจริงใดๆ ซึง่

A  B แล้ ว AC  BC

3. ถ้ า

A, B, C

เป็ นจานวนจริงใดๆ ซึง่

AC  BC

4. ถ้ า

A, B, C

เป็ นจานวนจริงใดๆ ซึง่

C0

5. ถ้ า

A, B, C

เป็ นจานวนจริงใดๆ ซึง่

A  B  0 แล้ ว A   B

6. ถ้ า

A

7. ถ้ า

A, B

8. ถ้ า

A

9. ถ้ า

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว  ( A  B)  ( A)  (B)

10. ถ้ า

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว  ( A)(B)  ( AB)

11. ถ้ า

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว ( A)(B)  ( AB)

เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว

แล้ ว

และ

AC  BC

แล้ ว

A B

AC  BC

แล้ ว

A B

และ

B  A

A 0  0 A  0

เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่

A B  0

แล้ ว

A0

หรื อ

B0

เป็ นจานวนจริงใดๆ แล้ ว  ( A)  A

12. ถ้ า A, B, C, D เป็ นจานวนจริงใดๆ และ

B, D  0

แล้ ว

A C  B D

ก็ตอ่ เมื่อ

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่

A, B  0

และ

14. ถ้ า

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่

A, B  0

แล้ วจะได้ วา่

1 1 1   A B AB

แล้ ว

A C AC   B D BD

15. ถ้ า A, B, C, D เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่ 16. ถ้ า

A, B

เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่

AB  1 แล้ ว A 

1 B

13. ถ้ า

B, D  0

A, B  0

แล้ ว

A B

จะได้ วา่

AD  BC

แล้ ว

B

1 A

A B  1 หรื อ  1 B A

อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่บอกถึงความสัมพันธ์ของจานวน โดยมีสญ ั ลักษณ์ >,
View more...

Comments

Copyright ©2017 KUPDF Inc.
SUPPORT KUPDF